You are on page 1of 29

๑๐๐๔

สมุดภาพ

เทพเจา
สารบัญ พระนารายณ์
หัวข้อ ผูเ้ ขียน
ชญานันท์ อนุเอกจิตร เลขที่ ๑
หน้า
1-2
พระอิศวร เเมทธิว เยียงจิสกี้ เลขที่ ๘ 3
พระลักษมี สุ มิตา เศวตศุทธิสรร เลขที่ ๑๘ 4
พระพรหม พสธร ศุจิพิศุทธิ์ เลขที่ ๑๗ 5
พระแม่สรัสวดี จิดาภา อธิภคั กุล เลขที่ ๒ 6
พระอินทร์ ฌีน ฉันตระกูลเกษม เลขที่ ๕ 7
พระกฤษณะ ศุภวรรณ สังข์นุช เลขที่ ๑๓ 8
พระพิฆเนศ ชนัฎดา สารี รัตน์ เลขที่๑๔ 9
กามเทพ ปัณณวิชญ์ ต่อเศวตพงศ์ เลขที่ ๒๑ 10
พระขันธกุมาร สรวิศ เฉลิมนัย เลขที่ ๔ 11
พระแม่คงคา นันท์นภัส แย้มสวน เลขที่ ๒๕ 12
พระอัคนี ญาณิ กา ศรี สุนทร เลขที่ ๑๕ 13
ป่ าหิ มพานต์, สัตว์ป่าหิ มพานต์ อรรทวิทย์ โรจน์ทวีนิธิ เลขที่ ๑๒
14
สวรรค์ กฤติน โชตินพรัตน์ภทั ร เลขที่ ๗
15
นรกภูมิ พศิน งามธนไพศาล เลขที่ ๙
วริ ศ ตูจ้ ินดา เลขที่ ๒๒
16
พระราหู 17
พระพิรุณ เเพรวไพลิน เทิดสิ โรตม์ เลขที่ ๒๐
ภูทศั น์ พลพานิช เลขที่ ๑๐ 18
พระยม / พระยามัจจุราช
ลลิตพรรณ ไทยเดช เลขที่ ๑๙ 19
ภูเขาไกรลาส
ภัททิยา ฉัตรภูมิรุจี เลขที่ ๖ 20
พระเกตุ
อสุ รกายภูมิ มนุสสภูมิ อกฤษณ์ วรนิธฺพงศ์ เลขที่ ๒๔ 21
พระวิษณุกรรม รวิพล ประเสริ ฐบูรณ์ เลขที่ ๑๑ 22
เดรัจฉานภูมิ เปรตภูมิ จิรพล วรกิจการวศิร เลขที่ ๒๓ 23
พระธรณี เคล่า เรชิล บิคเนล เลขที่ ๓ 24-26
ณัชชา ทรัพย์เจริ ญพร เลขที่ ๑๖ 27
พระนารายณ์

พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ คือมหาเทพผู้ยง ิ่ ใหญ่ทส


ี่ ุดองค์หนึง
่ แห่งศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู เป็นหนึง
่ ใน 3 มหาเทพสูงสุด

ทรงมีเทวานุภาพขจัดเหล่ามารและสิง่ ชัว
่ ร้ายทังปวง พระองค์ทรงคุ้มครองทุก
สรรพชีวิต ทรงบันดาลอํานาจวาสนาแก่มนุษย์ทุกคนทีร ่ ะลึกถึงพระองค์อยู่เสมอ
อสูรและเหล่ามารทุกตนล้วนแล้วแต่เกรงกลัวอานุภาพแห่งพระองค์

พระวิษณุอวตารไปเป็น พระกฤษณะ พระราม พระพุทธเจ้า และ เทพเจ้าองค์อน


ื่ ๆ
อีกถึง 10 ปาง เพือ
่ ภารกิจปกป้องโลกมนุษย์จากอสูรชัว
่ ร้าย

มีพระชายาคือ พระแม่ลักษมี พระแม่เจ้าผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ และความ


ผาสุกแก่ผู้ศรัทธา

1
พระนารายณ์

ที่ประทับของพระวิษณุ
สวรรค์ทพี่ ระวิษณุประทับอยู่นัน จะอยู่ในมหาสมุทร เรียกว่า เกษี ยรสมุทร อันเป็น
ทะเลนํานม ร่วมกับพระชายา

สัตว์บริวาร
1. พญาครุฑ เป็น พาหนะบริวาร
พระวิษณุจะทรงพญาครุฑไปทุกหนทุกแห่ง ยามเสด็จในภารกิจต่างๆ
2. พญานาค เป็น บัลลังค์บริวาร
พระวิษณุจะประทับบนพญานาค ณ เกษี ยรสมุทร
ในยามว่าง หรือ ขณะบรรทม

ศาสตราวุธ
1. หอยสังข์
2. จักร
3. คฑา
4. พระขรรค์
5. ลูกศร, ธนู
6. ดอกบัว น.ส.ชญานันท์ อนุเอกจิตร เลขที่ 1

2
พระอิศวร/พระศิวะ เทพเเหงการทําลาย
พระศิวะ เปนบิดาของ พระพิฆเนศ มีชายาคือ พระแมอุมาเทวี พระศิวะทรงเปนมหาเทพผูเปน
ใหญในจักรวาล หนึ่งใน ตรีมูรติ หรือ 3 มหาเทพสูงสุดแหงศาสนาพราหมณ-ฮินดู

พระองคทรงประทานพรวิเศษใหแกผูหมั่นกระทําความดี และยึดมั่นในศีลธรรม

พระศิวะ ผูเปนพระเปนเจาแหงการทําลายลางพระองคเปยมไปดวยอํานาจ พระพักตรของ


พระองคแสดงใหเห็นวาเปนทั้งชาย เปนทั้งหญิง เปนทั้งผูใจดี เปนทั้งผูดุราย จากชิ้นฝุนธุลี
ไปจนถึงภูเขาหิมาลัย จากมดตัวเล็กๆ ไปจนถึงชางตัวใหญ จากมนุษยไปจนถึงพระเปนเจา
อะไรก็ตามที่เราสามารถเห็นไดนั้น เปนรูปแบบของพระศิวะทั้งหมด

ชื่อ เเมทธิว เยียงจิสกี้ เลขที่ 8 3


พระลักษมี เทพีแหงความความงาม ความอุดมสมบูรณ
พระแมลักษมี คือเทวีแหงความงดงาม ความรํ่ารวย และความอุดมสมบูรณ พระองคมักประทานความสําเร็จในการประกอบ
กิจการ การเจรจาตอรอง การทํามาคาขาย การประกอบธุรกิจทุกสาขา ตลอดจนประทานโภคทรัพย เงินทอง สมบัติ แกผู
หมั่นบูชาพระองคและประกอบความดีอยูเปนนิจ

พระแมลักษมี มีกําเนิดจากฟองนํ้า ในคราวเทวดาและอสูรกวนเกษียรสมุทร ทํานํ้าอมฤต จึงไดนามวา ชลธิชา (เกิดแตนํ้า)


หรือ กษีราพธิตนยา (ลูกสาวแหงทะเลนํ้านม) ในขณะที่ผุดขึ้นมานั้นนั่งมาในดอกบัวและมือถือดอกบัวดวย จึงมีอีกนามหนึ่ง
วา ปทมา หรือ กมลา
พระแมลักษมีทรงเปนเทวีแหงความงาม ตามตํารามักกลาวกันวา ทรงมีพระวรกายเปนสีทอง ทรงพัสตราภรณสีเหลือง แดง
หรือ ชมพู ประทับนั่งหรือยืนบนดอกบัวอันเปนสัญลักษณแหงพระนาง บางครั้งก็ประทับบนหลังชาง ทรงมี 4 พระกรเมื่ออยู
โดยลําพัง แตถาประทับรวมกับพระวิษณุแลว ก็ทรงมี ๒ พระกรบาง 4 พระกรบาง รัศมีแหงองคพระแมลักษมีนั้น กลาวกัน
วาสุกปลั่งเปนประกายอยางสายฟาแลบ กลิ่นหอมจากพระวรกายนั้นจากกลิ่นดอกบัว หอมจรุงไปไกลถึงหลายรอยโยชน
พระแมลักษมี และ พระวิษณุ นั้นเปนคูกัน ครั้งที่พระวิษณุอวตารเปนพระราม พระแมลักษมีก็อวตารมาเปนนางสีดาคูกับ
พระราม ในปางกฤษณาวตาร พระวิษณุอวตารเปน พระกฤษณะ พระแมลักษมีก็ไปเปน พระนางรุกมิณี หรือ พระนางรา
ธาเทวี

สิ่งที่พระลักษมีทรงถืออยูที่เห็นกันบอยที่สุด คือ ดอกบัว ซึ่งเปนสัญลักษณประจําพระองค และมักจะถือไว 2 ดอก หรือไมก็


ทรงถือ หมอนํ้า พระหัตถหนึ่ง อีก พระหัตถหนึ่งหงายลงสูพื้น มีเหรียญทองโปรยปรายลงจากใจกลางพระหัตถนั้น หรือไมก็
เทออกมาจากในหมอ เปนสัญลักษณของเทวีแหงโชคลาภและความรํ่ารวย บางครั้งก็จะทรงอาวุธบาง เชน จักร อันบงความ
หมายถึงองคนารายณ

กลาวกันไววา พระลักษมีและเทพีแหงกรีกองคหนึ่ง ที่มีนามวา “อโฟรไดท” มีความเหมือนคลายคลึงกันเปนอยางมาก


เนื่องจากเทพีทั้งสองนี้ถือกําเนิดมาจากทองทะเลอันกวางใหญเหมือนกัน อีกทั้งทั้งคูยังเปนตัวแทนของความงดงาม
4
สุมิตา เศวตศุทธิสรร เลขที่ 18
พระพรหม เทพแหงการสราง
ตามมติของพราหมณาจารยแตโบราณกลาวถึงตํารา
พรหมชาติ วาเปนตําราที่มาจากพรหม ตําราพุทธ
ลักษณะที่ฤษีแตงไวก็มาจากพรหม เหตุที่รูเห็นถึงพุทธ
ลักษณะไดเพราะพรหมเปนผูมีอายุยืนและไดรูเห็น
เรื่องราวตางๆอยูตลอดกาลนาน เมื่อเวลาพราหมณ
หนุมเที่ยวสืบหาที่เรียนและทําความเคารพนบนอบในผู
เฒาผูแกอยูนั้น พระพรหมเห็นแกความกรุณา พอ
ทราบเรื่อง จึงไดแปลงเพศมาเปนพราหมณฤษีแลว
บอกวิชา ทั้งเรื่องมนต ไสยเวท ตําราพยากรณ ตําราดู
ลักษณะของหมอดู ตางๆนั้นเองพราหมณจึงถือวามา
จากพรหม และจึงไดนับถือกันวาเปนของศักดิ์สิทธิ์มีค
วามงดงาม แมคัมภีรปงคละดาบส ตําราโตลก
จือโหราศาสตรจีน ถึงตลอดคัมภีรโหราศาสตรในรุน
หลังๆ ก็ไดกลาววาไดมาแตฤษีและเทวะบันดาล
อาจารยผูที่เรียนรูไวตางกลาวถึงสิ่งมงคลนี้ในทํานอง
เดียวกัน

5
พระแมสรัสวดี เทวีแหงปญญาความรู
พระแมสรัสวดี คือชายาแหงพระพรหมผูสรางโลก พระองคประทับอยูในวิมาน ณ สวรรคชั้น
พรหม หรือพรหมโลก เปนมหาเทวีหนึ่งในสามเทวีสูงสุด ในศาสนาพราหมณ-ฮินดู ในประเทศ
อินเดียยังมีแมนํ้าสายที่สําคัญมากที่ชื่อ สรัสวดี อีกดวย

พระสรัสวดี หรือ พระสุรัสวดี ทรงเปนธิดาแหงพระทักษะและนางประสูตร แตในมหากาพย


มหาภารตะนั้นมีการกลาวถึงวา พระกฤษณะคือผูสรางพระสุรัสวตี และคัมภีรพระเวทขึ้นมาพรอมกัน
จากจิตใจของพระองค พระแมสุรัสวตีจึงถือวาเปนเทพแหงพระเวททั้งปวง

พระแมสรัสวตีจึงเปรียบเสมือนครู อาจารย พระองคคือเทวีแหงสรรพความรู วิชาการอันลํ้า


ลึก วิทยาการอันกาวหนา พระองคคือสัญลักษณแหงงานศิลปะทุกแขนง ทั้งการวาดเขียน การ
ดนตรี อักษรศาสตร การแตงตํารา การเขียนหนังสือ พระองคคือเทวีแหงปรีชาญาณอันชัดเจน
แจมแจง การเลาเรียน ศึกษาหาความรู การวิจัย การวิเคราะห การพูดจา การเจรจาตอรอง ตลอด
จนเปนผูใหกําเนิดอักขระของอินเดีย คือ อักษรเทวนาครี นั่นเอง

ชื่อ จิดาภา อธิภัคกุล เลขที่ 2 6


พระอินทร
พระอินทรมีลักษณะคลายพระนารายณ มีรูปกายที่สวยงาม และมีผิวสีเขียว แตใน
บางครั้งจะเปลี่ยนเปนสีทองจนถึงขาวนวล

พระอินทร มีมเหสีหลายคน ไมวาจะเปน นางสุธรรมา สุชาดา สุนันทา สุจิตรา


และยังมีนางฟาเปนชายาอีกเกาสิบสองนาง

เมื่อครั้งสมัยโบราณ พระอินทรถือเปนผูยิ่งใหญที่มีอานุภาพสูงที่สุดในเหลาบรรดา
เทพ พระองคสามารถดลบันดาลใหเกิดฝนตกตองตามฤดูกาล บันดาลใหพืช
พรรณงดงาม และบันดาลใหเกิดภัยทางธรรมชาติที่เปนภัยอันรายแรงไดดวย ไม
วาจะเปนพายุ ฝนตก นํ้าทวม ฟารอง หรือฟาผา เปนตนทั้งนี้ก็เพราะพระอินทรมี
วัชระหรือสายฟาเปนศาสตราวุธคูกาย ซึ่งอาวุธนี้สามารถสรางสายฝน ฟาผา หรือ
ฟารองตามที่ตองการได วัชระเปนศาสตราวุธที่มีอํานาจทรงพลังเปนอยางมาก
สามารถผามหาสมุทร ผาภูเขาได หรือผาทองฟาไดดั่งใจนึก

7
พระกฤษณะ เทพแห่งความหลุดพ้น
พระกฤษณะเทพ ถือเป็นปางที 8 จากการอวตาร 10 ปาง

พระกฤษณะเป็นบุตรของ พระวสุเทพ(โอรสท้าวศูรราช) กับ นางเทวกี


(บุตร ีท้าวอุคระเสน) แห่งนครมถุรา ลัทธิไวษณพนิกาย กล่าวไว้ว่า
พระกฤษณะเกิดมาเพือทําลายอสูรทีชือกังสะ

ชาวฮินดูนับถือพระกฤษณะในฐานะเทพผู้ยิงใหญ่องค์หนึงซึงได้รับการ
นับถืออย่างกว้างขวางในอินเดีย โดยเชือว่าเป็นการอวตารปางที 8
ของพระนารายณ์ โดยพระกฤษณะเป็นเทพเจ้าแห่งการประนีประนอม
ความอ่อนโยน และความรักประชาชนจะจัดงานบูชาพระกฤษณะใน วัน
กฤษณชันมาษฏมี หร ือวันประสูติของพระกฤษณะ ซึงตรงกับช่วงแรม
8 คํา เดือน 9 ตามปฏิทินจันทรคติของชาวฮินดู

8
พระพิฆเนศ ลักษณะ
ของพระ
-มีพระว
พิฆเนศ
รกายเป
นมนุษย
- มีพระเ เพศชาย
ศียรเปน อวนเตี้ย
ินดู ทองพลุย
ศาสนาฮ
ชาง มีงา
พ ใ น -สีพระว ขางเดีย
น เ ท เร็จ ว (ถูกขวา
● เป แ ห ง
 ความสํา ร
รกายสีแ
ดง (บาง นปรศุรา
าและกา
ท พ แ ห มหักเสีย
นเ -มี 4 พร ง
 วาผิวเห งา)
● เป งศิลป ว ท
ิ ย ะกร พระ ลือง นุงห
นเทพแห หัตถซาย หัตถขวา มแดง)
● เป าม
บนทรงป
าศะ (เช
บนทรงต
รีศูล พร
ประพันธ

น า
ํ คณ ะขามคว -พระหัต ือก) ะหัตถขว
าลางทร
หนา อง) ถซายลา งงาชาง
ท ร งเปนหัว เ
 ห น อ
ื ความขัดข งทรงขัน
นํ้ามนตเ
พระ
● (ผูใหญ ปนกะโห
ขัดของ ลกศีรษะ
มนุษย

9
กามเทพ “มาร” หรือพระกามเทพ นั้น เปนผูที่พลีชีพเพื่อความสุขและความรักแหงทวยเทพ
ตั้งแต่พระสดีได้สิ้นชนมีพไป พระอิศวรมีความเสี ยพระทัยมาก จึงเสด็จไปเข้าฌานประพฤติพระองค์เป็ น สันยาสี (ผู ้
เที่ยวภิกขาจาร เลี้ยงชีพด้วยการขอเขากิน ซึ่งคงเป็ นนิสยั ของพราหมณ์ พระอิศวร ผูเ้ ป็ นสันยาสี น้ นั ตั้งจิตมุ่งอยูต่ รงปร
พรหมและนฤพาน) ซึ่งในขณะนั้นทวยเทพได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก

ต่อมาพระสดีได้มีกาํ เนิดใหม่เป็ นบุตรี ทา้ วหิ มาลัย ทรงนามว่า พระอุมาเหมเทวี หรื อบรรพตี เหล่าเทวดาจึงคบคิดกันจะให้พระ
อุมาได้เป็ นพระมเหสี พระอิศวร โดยให้พระกามเทพเป็ นผูไ้ ปจัดการ กามเทพจึงสัง่ ให้วสันต์ ผูเ้ ป็ นมิตรคู่ใจของตนเนรมิต
ดอกไม้ให้ผลิข้ ึนเต็มไปหมดเพื่อสร้างบรรยากาศอันน่ารื่ นรมย์และเชิญให้พระอุมาไปอยู่ ณ ที่อนั ควร แล้วพระกามเทพจึงยิง
พระอิศวรด้วย บุษปศร (ศรที่ทาํ ด้วยดอกไม้) แต่พระอิศวรทรงตกพระทัยและพิโรธจึงเกิดลืมพระเนตรที่สามขึ้น ซึ่งบันดาลให้
เกิดเพลิงไหม้กามเทพสูญไป กามเทพจึงได้พระนามอีกอย่างหนึ่งว่า อนังคะ (ไม่มีตวั ) การปฏิบตั ิภารกิจครั้งนี้ของพระกามเทพ
เรี ยกได้วา่ “เป็ นการสละชีพในหน้าที่กว็ า่ ได้” แต่เพื่อให้ทวยเทพไม่ตอ้ งเดือดร้อนจากการที่พระอิศวรและพระชายาไม่ได้ครอง
รักกัน และเพื่อความรักของเทพเจ้าผูย้ งิ่ ใหญ่ กามเทพจึงต้องปฏิบตั ิภารกิจให้ลุล่วงไปแม้ตนจะต้องสละชีวติ ก็ตาม ครั้นต่อมา
เมื่อพระอิศวรคลายความพิโรธลงแล้วจึงโปรดให้กามเทพได้เกิดใหม่เป็ น พระประทยุมน์ ผูเ้ ป็ นโอรสของพระกฤษณาวตาร
และได้เป็ นพระบิดาแห่งพระอนิรุทธ์ (อุณรุ ท) นักรบผูย้ งิ่ ใหญ่แห่งมหากาพย์มหาภารตะในภายหลัง

10
พระขันธกุมาร มหาเทพแหงนักรบแหงสวรรค
● ระขันทกุมาร มหาเทพองคนี้มีชื่อใกลมาทางฝายไทย และมีสวนเกี่ยวของกับพระพิฆเนศ ในอินเดียเรียกพระขันท
กุมารนี้วา สกันทะ (ผูโลดเตน ผูทําลาย) , กรรตติเกยะ (บางแหงเขียนวา การัตติเกยะ) อินเดียตอนใตเรียก สุ
พราหมัณเย ซึ่งเปนที่เคารพนับถือมากตามหมูบานทั้งหลายในอินเดีย จึงนิยมตั้งศาลสักการะบูชาพระขันธกุมาร
กันแทบทุกหมูบาน
● พระขันธกุมาร (ขันทกุมาร) เปนโอรสของ พระศิวะเทพ กับ พระนางปราวตี (พระแมอุมา) เกิดจากนํ้าเชื้อของ
พระศิวะมหาเทพ ที่รวงหลมลงพื้นธรณี จนยากที่จะพิสูจนวาพระพิฆเนศกับพระขันธกุมารใครเปนพี่เปนนอง
● ในวรรณคดีโบราณ เชน โองการแชงนํ้า แมจะมิไดขานพระนามของพระขันธกุมารโดยตรง แตก็มีคําที่วา "ขุน
กลาขี่นกยูง" ปรากฎความอยู

● "ขุนกลา" ในโองการแชงนํ้านั้นหมายถึง พระขันธกุมารนั่นเอง ดวยมีสัตวพาหนะเปนนกยูงที่


ชื่อ ปรวาณี (กอนนั้นเปนปทมาอสูร)

11
พระแมคงคา
ลักษณะ
● พระแมคงคาจะมีสี่กร ประวัติ
● มีพาหนะเปนจระเข
● มีอาวุธเปนตรีศูลย และมีหมอกลาฮัมและ ● เปนราชธิดาของพระหิมวัตและนางเมนกา
หมอนํ้า ● มีหนาที่เปนผูดูแลรักษาสายนํ้าคงคา
● แตบางครั้งก็มีสองกรและทรงอาวุธเปน อันเปนแมนํ้าศักดิ์สิทธิ์ที่ไหลมาจากสรวง
ตรีศูลย สวรรค
● โดยสวนมากจะเห็นเปนสตรีที่ยื่นหนา ● มีความเชื่ออีกวานํ้าจากแมนํ้าคงคาถือ
ออกมาจากมวยพระเกศของพระศิวะเจา เปนนํ้าที่วิเศษที่สามารถชําระลางบาปของ
และปากมีสายนํ้าพนออกมา มนุษยทั้งหลายได

ตํานานกลาวไววา สวนอีกตํานานหนึ่งกลาวไววา

เดิมทีนั้นแมคงคาไหลเวียนไมไปไหนจากนิ้วเทา การบูชาของไทยนั้นเครื่องบูชาจะประกอบดวย ดวยความที่เดิมทีโลกมนุษยมีความแหงแลงอยาง


ของพระวิษณุแตสาเหตุที่พระคงคาเปลี่ยน หนักเนื่องจากพระแมคงคาไมยอมใหนํ้าไหลลง
ทิศทางไหลลงมาที่โลกมนุษยก็เพราะวา พระศิวะ ผาแพร สี ขาวตอก นํ้านม ดอกไมสีเหลืองหรือ มาสูโลกมนุษยพระศิวะจึงทรงไปคิดตามใหพระ
ไดรองรับพระแมคงคาดวยมวยพระเกศกอนที่จะ สม พวงมาลัยดอกดาวเรือง ขนมหวาน ชนิด แมคงคากลับมาแลวใชพระเกศของตนรัดพระแม
ปลอยลงสูโลกมนุษย ผลไมรสหวาน ชนิด รูปปนพระแมคงคา คงคาจนในที่สุดพระนางก็ยอมปลอยสายนํ้าออก
มา

นันทนภัส แยมสวน เลขที่ ๒๕ 12


พระอัคนี
พระอัคนี เปนเทพแหง ไฟ ทรงเปนหนึ่งในเทพเจาผูยิ่งใหญในยุคแรก และทรงเปนคูแขงสําคัญของ พระอินทร
อยางไรก็ตาม พระองคก็มีตํานานที่นาเคารพมากมายเชนเดียวกับพระอินทร ถือกันวา ไฟ เกิดขึ้นไดก็มาจากการเสียดสี
ของสิ่ง 2 สิ่ง ดังนั้นไฟจึงถือวาเปนบุตรของ โลก (พระนาง ปฤถวี) และ สวรรค (พระทโยส : Dyaus) และเปนพระ
อนุชาของพระอินทร ทรงโปรดเสวยนํ้าเนยใสเหมือนพระอินทร ทรงโปรดนํ้าโสม พระองคจึงมีพระชิวหา (ลิ้น) ถึง 7
ชิวหา เพื่อใชเลียเนยที่ละลายจากการบูชายัญไฟ ซึ่งแตละชิวหามีชื่อประจํา พระอินทรเปนผูใหชีวิต และพระอัคนีเปน
สัญลักษณของการจุดประกายที่สําคัญ ซึ่งเปนรากฐานแหงชีวิตมนุษย สัตว รวมถึงพืช ตนไม

พระอัคนีทรงเปนอมตะ เปนผูริเริ่มพิธีบูชายัญ พระองคทรงเปนตนแบบของพราหมณ เปนสื่อกลางระหวางพระเจาและ


มนุษย เปนผูสื่อสารของพระเจา โดยการไปเยี่ยมมนุษยในพิธีบูชายัญ และจะเปนผูอัญเชิญเทพเจามายังสถานบูชา

13
ปาหิมพานต, สัตวปาหิมพานต
ป่ าหิ มพานต์ หรื อ หิ มวันต์
เป็ นป่ าในวรรณคดีและความเชื่อในเรื่ องไตรภูมิ ตามคติศาสนาพุทธและฮินดู มีความเชื่อว่า ป่ าหิ มพานต์ต้ งั อยูบ่ นเชิงเขาพระสุ เมรุ
ป่ าหิ มพานต์มีเนื้อที่ประมาณ 3,000 โยชน์ (1 โยชน์ เท่ากับ16 กิโลเมตร) วัดโดยรอบได้ 9,000 โยชน์ ประดับด้วยยอด 84,000 ยอด
มีสระใหญ่ 7 สระ คือ สระอโนดาต , สระกัณณมุณฑะ , สระรถการะ , สระฉัททันตะ , สระกุณาละ , สระมัณฑากิณี , สระสี หปั ปา
ตะ บรรดาสระทั้ง 7 นั้น สระอโนดาตแวดล้อมไปด้วยภูเขาทั้ง 5 ที่จดั เป็ นยอดเขาหิ มพานต์ ยอดเขาทุกยอดมีส่วนสูงและสัณฐาน
200 โยชน์ กว้างและยาวได้ 50 โยชน์
สัตว์ป่าหิ มพานต์
คือสัตว์ในจินตนาการที่กวี หรื อจิตรกร พรรณนาถึง อาศัยอยูใ่ นป่ าหิ มพานต์หรื อเขาไกรลาส ดังที่ปรากฏในวรรณคดีไตรภูมิพระ
ร่ วง
และรามเกียรติ์ โดยมีลกั ษณะของสัตว์หลายชนิดมาประกอบกันในตัวเดียว จําแนกออกเป็ น 3 ประเภท คือ
สัตว์ทวิบาท สัตว์จตุบาท และจําพวกปลา สัตว์เหล่านี้เกิดจากจินตนาการของจิตรกรไทยโบราณ ที่ได้สรรค์สร้างภาพจากเอกสาร
เก่าต่างๆ

14
สวรรค
สวรรคในความเชื่อทางศาสนาพุทธ แปลวา ภูมิหรือดินแดนที่มีอารมณเลิศดวยดี
เปนที่อยูของเทวดา เหตุที่ทําใหมาเกิดเปนเทวดาเพราะได สรางบุญกุศลไวเมื่อครั้งยังเปน
มนุษย
วิมานคือที่อยูอาศัยของเทวดา ลวนมีความวิจิตรงดงาม มีขนาดแตกตางกัน มี ความ
เปนอยูสะดวกสบาย มีอาหารทิพยบังเกิด ขึ้น มีบริวารคอยรับใชใกลชิด เสื้อผาเปนทิพย
วิจิตรงดงาม
จะอุบัติขึ้น ณ สวรรคชั้นไหน เปน เทวดาประเภทใด และอยูในฐานะอะไรนั้น ขึ้นอยู
กับบุญที่ตัวเองสั่งสมมาเมื่อครั้งยังเปนมนุษย ซึ่งไดมีกลาวไวในคิลายนสูตร ของพระ
ไตรปฎกภาษาบาลี ดังนี้
● จาตุมหาราชิกา ตั้งอยู ณ เชิงเขาพระสุเมรุ ที่ไดชื่อสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา เพราะมีเทพผู
เปนใหญครองสวรรคชั้นนี้อยู 4 ทาน คือ ทาวธตรฐปกครองพวกคนธรรพ ทาววิรุฬหก
ปกครองพวกกุมภัณฑ ทาววิรูปกษปกครองพวกนาคทาวเวสสุวรรณปกครองพวกยักษ
● ดาวดึงส ตั้งอยูที่บนยอดเขาพระสุเมรุ ที่ชื่อวา ดาวดึงส เพราะเปนที่อยูของเทพผูปกครองภพ
ถึง 33 องค โดยมีทาวสักกะเปนประธาน และที่สําคัญมีจุฬามณีเจดีย ซึ่งทุกวันพระเทวดาจะมา
ประชุมกันที่ศาลาสุธรรมา เพื่อรับฟงโอวาทจากทาวสักกะ
● ยามา มีทาวสุยามะเปนจอมเทพ
● ดุสิต มีทาวสันดุสิตเปนจอมเทพ
● นิมมานรดี มีทาวสุนิมมิตเปนจอมเทพ
● ปรนิมมิตวสวัตดี มีทาววสวัตตีเปนจอมเทพ

15
นรกภูมิ
คือ สถานที่จองจําผูที่กระทําบาปสถานหนัก ตองชดใชบาปจากเมื่อครั้งเปนมนุษย โดยอาศัยรางที่เปน
กายหยาบรับโทษ เชน ถูกเลื่อยกาย ถูกหั่นรางเปนชิ้น ๆ ถูกไฟครอก ถูกตําดวยสาก ถูกโยนใส
กระทะนํ้าเดือด ปนตนงิ้ว เปนตน

นรกมีทั้งหมด ๔๕๗ ขุม 8ชั้น ไดแก


➔ สัญชีพนรก - เหลาสัตวที่มาอุบัติบังเกิดในนรกขุมนี้ ถึงแมจะไดรับทุกขโทษจนตายแลว ก็กลับ
เปนขึ้นมาอีก
➔ กาฬสุตตนรก - จะถูกลงโทษโดยนายนิรยบาล เอาดายดํามาตีเปนเสนตามรางกาย เเลวเลื่อย
➔ สังฆาฏนรก - จะถูกภูเขาเหล็กบดขยี้รางกายใหไดรับทุกขเวทนาอยูตลอดเวลา
➔ โรรุวนรก - เปนสัตวที่ไดรับทุกขโทษแสนสาหัส ตองรองครวญครางอยางนาเวทนาอยูตลอด
เวลา
➔ มหาโรรุวนรก - ไดรับทุกขทรมานแสนสาหัส รองไหเสียงระงมไปทั่วทั้งนรก
➔ ตาปนรก - ดรับทุกขโทษเรารอนมีหลาวเหล็กใหญโตเทาตนตาล โชติชวงแดงฉานไปดวย
เปลวไฟ
➔ มหาตาปนรก - ไดรับทุกขโทษเรารอนเปนที่สุด มีภูเขาเหล็กลุกเปนไฟตั้งอยูเปนลูก ๆ ตามพื้น
ขางภูเขามีขวากเหล็กแหลมคมลุกแดงดวยไฟ
➔ อเวจีนรก - นรกขุมใหญกวาบรรดานรกทั้งหลายแออัดยัดเยียดเบียดเสียดกัน ไดรับทุกข
ทรมานดวยการถูกเปลวไฟนรกอันรอนระอุเผาไหมอยูอยางนั้นตลอด เวลา จนกวาจะสิ้นกรรม

16
17
พระพิรุณ เทพเเหงฝน
● พระพิรุณเปนเทพแหงฝนจึงมีพาหนะเปนพญานาค ซึ่งเปนสัญญลักษณแหงนํ้าและความอุดมสมบูรณ
● พระหัตถขวาจะถือพระขรรคชัย(พระแสงดาบ)
● พระหัตถซายจะมีลักษณะจีบนิ้วซึ่งเปนลักษณะของการประทานพร
● แตละพระหัตถนั้นจะทรงถือสิ่งตางๆ ที่แตกตางกันออกไป เชน บวงนาคราช (นาคขดเปนบวง) อาโภค (รม) คนโท คันศร บแกว มณี
หอยสังข ดอกบัว
● หนาที่ของพระพิรุณจะเปนเทพที่คอยประทานฝน โดยการทํางานตามพระบัญชาของพระอินทร และมีเทพที่เปนเสมือนเทพผูชวยคือ
เทพปรชันยะ
● ประสานการทํางานรวมกันเพื่อใหฝนตกตองตามฤดูกาลโดย ทั่วไปแลวเราจะไดพบเห็นแตพระพิรุณเพียงพระองคเดียวเทานั้น

เเพรวไพลิน เทิดสิโรตม เลขที่ 20 18


พระยม / พระยามัจจุราช เทพเจาแหงนรกและความตาย ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดีย

ทาว พญายมราช หรือ พระยม ในเทวตํานานยุคตน ทาวจตุโลกบาลแหงทิศทักษิณ กลาวไวคือพระยม เปนองคเดียวกัน มีลักษณะใบหนา


ดุดัน พระวรกายสีแดงทรงเครื่องอยางกษัตริย พระหัตถขวาถือบวงยมบาศก พระหัตถซายทรงไมทาวยมทัณฑ

ทรงกระบือเปนพาหนะ มีอิทธิฤิทธิ์มากทําหนาที่พิพากษาและปกครองดวงวิญญาณทั้งหลายในนรกภูมิ มีบริวารคือ ยมฑูต หรือ นาย


นิรยบาล มีหนาที่นําวิญญาณทั้งหลายไปยังสํานักพญายม และลงโทษแกดวงวิญญาณในนรก

19
ภูเขาไกรลาส

กลาวกันวาเปนที่อยู ของเทากุเวรและเปนสวรรคของพระศิวะ มีลักษณะ ที่พรรณนากันวา สีขาว อยางเงินยวง


บางทีก็เรียกกันวาผาเผือกตั้งอยูบนภูเขาหิมาลัยซึ่งเปนยอดสูงสุดในตอนใตของทะเลสาบมานัส อันเปนเทือกเขา
ตอนที่กั้นแดนทางเหนือของภรตวรรษ ซึ่งชาวฮินดูนับถือกันมาก ถือกันวาเปนที่สถิตแหงเทพและประชาบดี หรือ
ฤาษีสําคัญๆ แตถาไปเปดแผนที่ดู เราจะไมพบที่ตั้งของ เขาไกรลาสเลย ทั้งนี้ก็เพราะวาภูเขาหิมาลัยนั้นเปน
เทือกเขาที่ใหญที่สุดในโลก และก็มียอดเขาที่สูงที่สุดในโลกตลอดจนสูงติดอันดับมากมายหลายยอดตั้งแต
ศักกะมารตา หรือเอเวอเรสตที่สูง 29,028 ฟุต และยอดเขาไกรลาสสูงเปนลําดับที่ 32 ในโลก คือสูง 22,020
ฟุต และสูงเปนที่ 19 ในหมูยอดเขาในเทือกเขาหิมาลัย

การที่ชื่อภูเขาไกรลาสหาไมคอยจะพบก็เพราะวามันมีชื่อเปนทางการวา กังติ-สู-ชาน (Kangti-ssu-shan)


ในปจจุบันอยูในเขตทิเบต หรืออีกชื่อหนึ่งคือ กัวลา มาน ฮาตา (Gurla mand hata) ตั้งอยูบนเขตพื้นที่
ไกรลาส (Kailasrange)

20
พระเกตุ
เปนเทวดานพเคราะหองคหนึ่ง ในคติไทย พระเกตุถูกสรางจากหางของพระราหู เนื่องจากพระราหูแอบไปขโมยนํ้า
อมฤตที่เทวดาไดกวนไวดื่ม พระนารายณโกรธจึงขวางจักรตัดเอวพระราหู เดชะฤทธิ์นํ้าอมฤต พระราหูจึงไมตาย
และกลับไปยังวิมานเดิม หางที่ขาดนั้นเองก็กลายเปนพระเกตุ (บางตําราก็วา สรางจากพญานาค ๙ ตัว) ประจําใน
ทิศทามกลาง ใหผลเปนกลาง ๆ ในการพยากรณ จึงไมนิยมพิจารณาพระเกตุมากนัก

นโหราศาสตรไทย พระเกตุถูกแทนดวยสัญลักษณ ๙ (เลขเกาไทย) มีอัตราการจรในแตละราศีประมาณสองเดือน


โคจรยอนจักราศีเชนเดียวกับราหู แตไมไดเล็งกับราหูตลอดเวลาเชนทางสากลและอินเดีย โดยในสวนของเกตุมีค
วามสัมพันธกับจันทร จึงเปนปจจัยที่มีความหมายที่คลายกับจันทรสวนหนึ่งคือความหวั่นไหว ออนไหวไดงาย แตวา
เปนขั้นสูงของจันทรที่ละเอียดกวา จึงแทนดวยสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่รับรูไดดวยใจ และเมื่อเกตุไปกุมกับดาวเคราะหใดๆ จะ
ทําใหดาวนั้นเพิ่มการตอบสนองจากการถูกกระทบมากขึ้น เชนการเกิดอารมณรวมกับเหตุการณอันเกิดจากดาวที่
จรมากระทบไดมากขึ้นกวาเดิม ซึ่งมีสิ่งที่เกิดดุจดังเลข ๙ ที่มีลักษณที่ดุจดังนํ้าหรือเปลวไฟที่มีอาการสั่นไหวนั่นเอง

21
อสุรกายภูมิ มนุสสภูมิ
อสุรกายภูมิ จัดเปนอบายภูมิอันดับที่ 3 เปนปรโลกฝายทุคติ ที่ชื่อวา อสุรกายภูมิ เพราะเปนสถานที่ปราศจากความราเริง สัตวที่ละโลกจาก
อัตภาพที่เปนมนุษยไปเปนอสุรกายก็ดี หรือหมดกรรมจากมหานรกมาเปนอสุรกายก็ดี ยอมไมไดรับความบันเทิงใจ ไมมีความสนุกสนาน
ราเริงอยางโลกมนุษย จะตองไดรับทุกขเวทนาอยางเผ็ดรอนจากผลกรรมชั่วที่ตนกระทําไว

1.มนุสสภูมิเปนภูมิที่อยูอาศัยของมนุษยเรา และเปนที่อยูของผูที่มีใจสูง เพราะมนุษยมีความรูจักผิดชอบชั่วดี ถาทําความดีก็จะไดถึงดีที่สุด


หากทําชั่วก็จะถึงชั่วที่สุด

2. มนุสสภูมิ ไมไดมีเฉพาะโลกมนุษยที่เราอาศัยอยูเทานั้น แตมีถึง 4 โลก หรือ 4 ทวีปดวยกัน คือ ปุพพวิเทหทวีป อปรโคยานทวีป


ชมพูทวีป และอุตตรกุรุทวีป ตั้งอยูในทิศทั้ง 4 ของเขาสิเนรุ ลักษณะของมนุษยแตละทวีปมีรูปพรรณสัณฐานคลายกัน ตางกันแตเพียง
ขนาด ความไดสัดสวนและความประณีตสวยงามอายุขัยของมนุษยในแตละทวีปจะมีความคงที่ยกเวนชมพูทวีปจะมีอายุขัยขึ้นลงตามการกระ
ทําของมนุษยในยุคนั้น

3. มนุษยแบงออกเปนประเภทตามการกระทําไดหลายประเภท ไดแก มนุษยนรก มนุษยเปรต มนุษยสัตวเดียรัจฉาน และมนุษยเทวดา

4.การเกิดเปนมนุษยเปนการยากเพราะยังมีภพภูมิอีกถึง30ภพภูมิที่สรรพสัตวเมื่อตายแลวตองไปเกิดหากเทียบการเกิดในภูมิมนุษยกับภูมิ
อื่นๆ แลว นับวาปริมาณการเกิดในภูมิมนุษยนั้นนอยมาก เหตุที่ทําใหเกิดเปนมนุษย คือ ศีล 5 อันเปนความปกติของมนุษยนั่นเอง

22
พระวิษณุกรรม
● เปนเทพที่มีความเอื้ออาทรตอโลก มีหนาที่คอยชวยเหลือ ปดเปา ความทุกขยากของมนุษยและเทวดา
● พระวิษณุกรรมที่เคารพนี้ถือเอาภาพที่มีรูปทรงสัดสวน เหมือนบุรุษชนธรรมดา
○ พระวรกาย(รางกาย) เปนสีเขียวมรกต ที่เศียรสวมมงกุฎเทอดยอดระฆัง แสดงถึงมีปฏิภาณ สมองใส ไหวพริบ
เฉียบแหลม
○ มือขวา ทรงถือผึ่งใชสําหรับขุดรากฐานสถานบันของชาง
○ มือซาย ทรงถือลูกดิ่ง ใชสําหรับวัดความเที่ยงตรงทั่ว ๆ ไป

คาถาบูชาพระวิษณุกรรม คาถาเชิญพระวิษณุกรรม

● โอม นะโม วิษณุกรรม นะมะ ภะวันตุเม ● โอม คุรุเทวา นะมาสิ วิษณุกรรม กันเจวะ อา
ทุติยัมป นะโม วิษณุกรรม นะมะ ภะวันตุเม จาริยัง เทวา มหาปญโย นิมิตตัง ศิลปนามัง
ตะติยัมป นะโม วิษณุกรรม นะมะ ภะวันตุเม โยธามิเศษตัง ปฏิกรรมมานัง ภะวันตุโน อา
คัจฉายะ อาคัจฉาหิ นะมะ มามา วันทามิ
เกล็ดความรู

● เมื่อเวลาที่เราตองการจะบูชา หรือกราบไหวพระวิษณุกรรม ใหใชธูป 8-9 ดอก ดอกไมสีตางๆ (ถาจะใหดีตอง


ดอกดาวเรือง) เครื่องหอมตางๆ แต...หากตองการแกบน ใหใชธูป 32 ดอก
23
24
ความหมาย
เดรัจฉาน

● สัตวมีรางกายเจริญโดยขวางซึ่งตรงขามกับมนุษยที่เจริญตรงขึ้นไป

เปรต

● อมนุษยพวกหนึ่งที่เกิดในเปตวิสัย
● เปน ๑ ใน ๔ อบายภูมิ
● ปรทัตตูปชีวิเปรต คือเปรตที่ดํารงชีวิตอยูไดดวยสวนบุญที่มีผูทําอุทิศ
ให หากไมมีสวนบุญที่มีผูอุทิศใหก็มักจะกินเลือดและหนองของตัวเอง
เปนอาหาร โบราณมีความเชื่อที่วา ถาใครทํารายพอแม ชาติหนาจะ
ไปเกิดเปนผีเปรต

25
เดรัจฉานภูมิ เเละ เปรตภูมิ
เดรัจฉานภูมิ

● ภูมิที่ขวางตอมรรคผล หมดโอกาสที่จะทําบุญ ทําทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนาใหถึงพระนิพพานได มีแตจะ


สรางบาปอกุศลกรรมอยูรํ่าไป

เปรตภูมิ

● เปนแดนของพวกเปรต
● เปรตปฏิสนธิไดทั้ง ๔ แบบ มีทั้งพวกที่อยูในนํ้า บนยอดเขา และพวกที่อยูกลางเขา
● เปรตบางพวกมีความเปนอยูดีเหมือนเทวดา คือมีวิมานทิพย บางพวกมีพาหนะทองเที่ยวไปตามอําเภอใจ และ
มีอายุยืน บางพวกเปนเปรตเฉพาะเวลาขางขึ้น เปนเทวดาขางแรม บางพวกเปนเปรตตอนขางแรม และเปนเทวดา
ตอนขางขึ้น

26
พระธรณี
● หรือ พระศรีวสุนธรา ภาษากะเหรี่ยงวา ซงทะรี่เปนเทพีแหงพื้นแผนดิน ปรากฏในตํานานทั้งศาสนา
ฮินดูและศาสนาพุทธ
● ในคติของศาสนาฮินดูใหความเคารพนับถือวาแผนดินเปนสิ่งคํ้าจุนสรรพสิ่งทั้งปวงในโลกเปรียบเสมือน
มารดาผูใหกําเนิดหลอเลี้ยงโลกและแผนดิน จึงไดรับยกยองวาเปนเทพจากธรรมชาติองคหนึ่งเปนเพศ
หญิง เรียกนามวา "ธรณิธริตริ" แปลวา "ผูคํ้าจุนพระธรณี"
● ชาวนาจะขอใหพระธรณีชวยคุมครองผืนนาและวัวควาย
● ในพุทธศาสนาพระแมธรณีปรากฏกายเพื่อบีบนํ้าจากมวยผมใหทวมทัพทาววสวัตตีที่มาผจญพระโค
ตมพุทธเจาในคืนวันตรัสรู

ลักษณะของพระแมธรณี
● ตามที่ปรากฏ โดยมากมักจะเปนรูปเทวดาผูหญิง มีรูปรางอวบใหญ ลํ่าสันอยางไดสัดสวน หรือในบาง
แหงจะมีรูปรางออนแอน มีความงามประดุจเทพธิดา นั่งในทาคุกเขา แตยกเขาขวาขึ้นสูงกวาเขาซาย
บางแหงสรางใหอยูในทายืน แตที่เหมือนกันก็คือมวยผมปลอยยาว มือขวายกขามศีรษะไปจับไวที่โคน
มวยผม สวนมือซายจับมวยผมแสดงทากําลังบิดใหสายนํ้าไหลออกมาจากมวยผมนั้น สวนเครื่องทรง
ตามแตจินตนาการของผูสราง บางแหงสวมพัตราภรณเฉพาะชวงลาง แตบางแหงทั้งนุงผาจีบและหม
สไบอยางสวยงาม ประดับเครื่องถนิมพิมพาภรณมีกรอบหนาและจอนหู เปนตน
ณัชชา ทรัพย์เจริ ญพร เลขที่ 16

27

You might also like