You are on page 1of 8

บทนำำ

ไส้ต่ิงอักเสบ (Appendicitis) ภาวะไส้ต่ิงอักเสบ เชื่อ


ว่าเป็ นผลจากการอดกั้นช่องไส้ต่ิงแบบขดปิ ด (closed
loop) โดย fecalith หรือที่พบบ่อยน้อยกว่าจากการเจริญ
งอกงามเกินของเนื้ อเยื่อน้้าเหลือใต้ช้ ันเยื่อเมือกภายหลัง
การติดเชื้ อไวรัส สาเหตุอ่ ืนของการอุดกั้นมีหนอนพยาธิ
เนื้ องอก carcinoid เนื่ องจากเยื่อเมือกจะยังคงคัดหลัง่
เมือกอย่่ผลท้าให้มีการสะสมสิ่งคัดหลัง่ และเพิ่มความดัน
ภายในช่องไส้ต่ิง แบคทีเรียจะเจริญงอกงามเกินภายในช่อง
จากการอุดกั้นและสิ่งคัดหลัง่ หยุดไหล ประกอบด้วย
แบคทีเรียทั้ง rerobes และ anaerobes เช่นเดียวกับที่พบ
ในล้าไส้ใหญ่ ความดันภายในช่องที่เพิ่มมากขึ้นท้าให้มีการ
อุดกั้นการไหลของน้้าเหลือง ผนั งบวม เลือดด้าไหลเวียน
เลวลง เยื่อเมือกมีการตายเฉพาะส่วน แบคทีเรียลุกลาม
เข้าผนั ง ถ้ายังไม่ได้รบ
ั การรักษากระบวนการจะลุกลาม มี
การอุดกั้นหลอดเลือดด้า เกินลิ่มเลือดในหลอดเลือดแดง
ท้าให้ผนั งตายเน่าเกิดการทะลุได้
ส่วนส้าคัญที่สุดในการวินิจฉัยไส้ต่ิงอักเสบคือการซัก
ประวัติและตรวจร่างกาย
เด็กป่ วยที่มีไส้ต่ิงอักเสบทุกรายจะมีอาการปวดท้อง
เริม
่ แรกอาการปวดท้องอย่่รอบสะดือ ผ้่ป่วยจ้านวนไม่มาก
ที่บอกการเริม
่ ปวดท้องบริเวณสะดือได้ อาการนี้ เป็ นผลมา
จากการกักคัง่ สิ่งคัดหลังในช่องไส้ต่ิง กระตุ้นตัวความร้่สึก
ที่หลอดเลือดผนั งไส้ต่ิง เมื่อผนั งไส้ติ่งถ่กรุกรานด้วย
แบคทีเรียมีการอักเสบเกิดขึ้น เมี่อปฏิกิรย
ิ าตอบ สนองต่อ
การอักเสบของเยื่อบุช่องท้องบริเวณไส้ต่ิง ท้าให้เกิด
อาการปวดท้องที่เป็ นร่ปแบบบริเวณช่องท้องด้านขวาล่าง
อาการปวดท้องจากไส้ต่ิงอักเสบจะเป็ นแบบปวดตลอดเวลา
เด็กไส้ต่ิงอักเสบมักมีอาเจียนร่วมด้วย บางรายมีท้องร่วง
ซึ่งมักเป็ นผลจากมีการอักเสบในอุ้งเชิงกราน และระคาย
เคืองต่อ rectum
การตรวจพบส้าคัญที่สุดที่ยืนยันการวินิจฉัยคือกดเจ็บ
เฉพาะที่ (localized tenderness) และหรือกดเจ็บสะท้อน
(rebound tenderness) การตรวจหน้าท้องพบ guarding
หรือ rigidity บ่งถึงไส้ต่ิงทะลุและเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ในเด็กโตบางรายระยะหลังมากอาจพบก้อนด้วยจากการเกิด
ฝี ไส้ต่ิง การฟั งเสียงล้าไส้อาจลดลง ระยะแรกผ้่ป่วยไส้ต่ิง
อักเสบจะมีไข้ต้่า 38-38.5 องคาเซลเซียส บางรายไม่มีไข้
ไข้ส่งมกว่า 39 องศาเซลเซียส จะพบในไส้ต่ิงอักเสบที่มี
การแตกและมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบแล้ว ทางทวารหนั ก
ทัว่ ไปยังคงแนะน้าให้กระท้าทุกรายที่สงสัยว่าเป็ นไส้ต่ิง
อักเสบ มีประโยชน์ส่งในพกที่การตรวจทางหน้าท้องไม่ได้
ชัดเจน ได้ประโยชน์อย่างยิ่งในการขจัดโรคเร่งด่วนอื่นทาง
ช่องท้อง หรือภาวะทางนรีเวชในเด็กหญิง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผ้่ป่วยส่วนใหญ่จะพบ
จ้านวนเม็ดเลือดขาวส่ง ระหว่าง 10,000 - 15,000 ตัว/
ลบ.มม. อย่างไรก็ตามเม็ดเลือดขาวอาจมีจ้านวนปรกติ
หรือต้่าได้แม้ไส้ต่ิงอักเสบแตกแล้ว ชนิ ดของเม็ดเลือดขาว
ที่ส่งจะเป็ น polymorph การตรวจปั สสาวะพบเลือดหรือ
เม็ดเลือดขาว เพราะไส้ต่ิงอักเสบที่อย่่ใกล้ชิดหลอดไตหรือ
กระเพาะปั สสาวะ ท้าให้มีเลือดและเม็ดเลือดขาวในปั สสาวะ
ได
การตรวจด้วยอัลตราซาวนด์อาจช่วยขจัดภาวะโรคอุ้ง
เชิงกรานอักเสบในเด็กหญิง กรณี ไส้ต่ิงอักเสบจะพบเส้นผ่า
ศ่นย์กลางไส้ต่ิงมากกว่า 6 มม. และมีสารเหลวอย่่บริเวณ
ใกล้เคียงตัวไส้ต่ิงเป็ นท่อยาว ร่ปไข่ ปลายตัน กดไม่ยุบ
ช่องภายใน anechoic ล้อมรอบด้วยเยื่อเมือกที่
echogenic
ในแง่ของการรักษา ผ้่ป่วยที่ยังไม่สามารถขจัดการ
วินิจฉัยไส้ต่ิงอักเสบได้ ควรรับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อเฝ้ า
สังเกตอาการ งดอาหาร ให้สารเหลวทางหลอดเลือด
ประการส้าคัญที่สุดคือไม่ให้ยาปฏิชีวนะตรวจผ้่ป่วยทุก 4-6
ชัว่ โมง ถ้าเป็ นไส้ต่ิงอักเสบจริงอาการแสดงจะชัดเจน
ภายใน 12 ชัว่ โมง
ผ้่ป่วยที่ไส้ต่ิงแตกทะลุและเยื่อบุช่องท้องอักเสบจะ
ต้องได้รบ
ั การเตรียมและปรับสภาพอย่างรวดเร็ว แก้ไข
ภาวะขนาดน้้าที่มีโดยให้สารละลาย Ringer lactate 20 มล./
กก. ภายใน 30 นาที ต่อด้วยปริมาณ 200 มล./กก./วัน จน
กระทัง่ ปั สสาวะออกพอเพียง ความถ่วงจ้าเพาะลดลง ให้ยา
ปฏิชีวนะ cefoxitin หรือ ampicillin, gentamicin และ
metronidazole การตระเตรียมนี้ ไม่ควรใช้เวลามากกว่า 3-4
ชัว่ โมง ภายหลังผ่าตัดให้ยาปฏิชีวนะต่ออีกประมาณ 5-7
วัน จนกระทัง่ ไม่มีหลักฐานการติดเชื้ อหลงเหลืออย่่
ผ้่ป่วยที่น้าเสนอด้วยฝี ไส้ต่ิง ถ้าการตอบสนองต่อการ
รักษาเบื้ องต้นและยาปฏิชีวนะดี มีแนวโน้มที่จะรักษาโดยวี
อนุ รก
ั ษ์ หลังจากนั้ นประมาณ 6-8 สัปดาห์ จึงมาตัดไส้ต่ิง
แบบเลือกเวลา
ผลแทรกซ้อนส้าคัญภายหลังการผ่าตัดรักษาไส้ต่ิง
อักเสบคือแผลติดเชื้ อ บ่อยมากหรือน้อยขึ้นอย่่กับความ
รุนแรงของไส้ต่ิงอักเสบ ระยะเวลา ล้าไส้อุดกั้นจากแผ่น
พังผืดยึดติด ซึ่งในเด็กบ่อยที่สุดเกิดภายหลังผ่าตัดไส้ต่ิง
อักเสบ
เอกสารอ้างอิง
1. ไพบ่ลย์ สุทธิวรรณ, บรรณาธิการ.กุมาร
ศัลยศาสตร์.กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์ , 2536
2. Adzick NS, Harrison MR, Glick PL, et al.
Diaphragmatic hernia in the fetus : prenatal
diagnosis and outcome in 94 cases. J Pediatr Surg
1985;20:357-61.
3. Buntain WL, lsaacs H Jr, Payne VC Jr, et al.
Lobar empysema, cystic adenomatiod
malformations, pulmonary sequestration and
bronchogenic cysts in infancy and chidren : a
clinical group. J Pediatr Surg 1974; 9:85-93.
4. Cran AG, Drongowski R. Congenital cystic
disease of the tracheobronchial tree in infants and
childred: experience with 44 consecutive cases.
Arch Surg 1994;129:521-7.
5. Fonkalsrud EW, de Lorimier AA, Hays DM.
Congenital atresia and stenosis of the duodenum:
a review compiled from the members of the
surgical section of the American Academe of
Pediatrics. Pediatrics 1969;43:7983.
6. Grosfeld JL, Chen H Schlatter M, et al. Changine
trends in necrotizing enterocolitis. Experience
with 302 cases in two decades . Ann Surg 1991;
214:300-6.
7. Harrison MR, Langer JC, Adzick NS, et al.
Correction of congental diaphragmatic hernia in
utero. IV Initiai clinical experience. J Pediatr Surg
1990;25:47-57.
8. Heiss K, Manning P, Oldham KT, et al. Reversal
of mortality for congenital diaphragmatic hernia
with ECMO. Ann Surg 1989; 209:225-30.
9. Larson HE. Neonatal necrotizing enterocolitis: a
neonatal infection. J Hosp Infect 1988 Zsuppl
A) ; 11:334-9.
10. Louhimo I Lindahl H. Esophageal H. Esophageal
atresia: primary results of 500 consecutive treated
patients. J Pediatr Surg 1983;18:217-29.
11. Luow JH, Barnard CN. Congenital intestinal
atresia: observations on its origin. Lancet
1955;2:1065-7.
12. Puri P, Guiney EK, O’Donnell B. lnguinal
hernia in infants: the fate of the testis following
incarceration. J Pediatr Surg 1984;19:44-6.
13. Rescorla FJ, Grosfeld JL, Intestinal atresia and
stenosis: analysis of survival in 120 cases.
Surgery 1985;98:668-76.
14. Rwe MI, O’Neill JA Jr, Grosfeld JL,
Fonkalsrud EW, Coran AG, eds Essentials of
pediatric surgery. St. Louis: Mosby, 1995.
15. Schuster SR. A new method for the staged
repair of large omphaloceles. Surg Gyn Obstet
1967; 125;837-50.
16. Stephen fD, Smith EC, eds. Anorectal
malformations in children: update, Chicago: Year
Book Medical Publishers, 1988.
17. Sutthiwan P. Prenatal diagnosis by
ultrasound. (abstracts). Siriraj Scientific Congress,
1996 March 4-8, Bangkok.
18. Sutthiwan P, Darnwiriyagul L, Sritanyaratana
S. Intussusception. J Med Assoc Thai
1982;68;403-8.
19. Sutthiwan P, Sutthiwan 1. Undiagnosed
congenital diaphragmatic hernia. Sirifaj Hosp Gaz
1982;34:366-73.
20. Sutthiwan P, Thepchareonnirund S
Appendicitis in childhood. Siriraj Hosp Gaz 1989;
41:43-9.
21. Sutthiwan P, Throngnumchai K.
Omphaloccle: result of treatment. Thai J Surg
1989;10:45-9.
22. Sutthiwan P, Throngnumchai K. Management
of gastroschisis. Siriraj Hosp Gaz 1990;42:211-7.
23. Welch KJ, Randolph JG, Ravitch MM,
O’Neill JA Jr, Rowe MI, eds. Pediatric surgery.
Chicago: year book Medical Publishers,1986.

You might also like