You are on page 1of 35

วิเคราะหวรรณคดีสามัคคีเภทคําฉันท

จัดทําโดย
นายพีรวิชญ จิระคุณากร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 2
นายภาณุภัทร ลิ้มประเสริฐ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 4
นายธีรเดช โล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 6
นายภูริช รัตนไพบูลย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/6 เลขที่ 14
หัวขอการนําเสนอ
พิจารณาเนื้อหาและ พิจารณาการใชภาษาใน พิจารณาประโยชน
กลวิธีในวรรณคดี วรรณคดี หรือคุณคาในวรรณคดี
- เนื้อเรื่อง - การสรรคํา - เนื้อเรื่อง
- โครงเรื่อง - การเรียบเรียงคํา - โครงเรื่อง
- ตัวละคร - การใชโวหาร - ตัวละคร
- ฉากทองเรื่อง - ฉากทองเรื่อง
- บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน - บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
- แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง - แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง
เนื้อหาและกลวิธี
เนื้อเรื่อง
พระเจาอชาตศัตรูแหงแควนมคธตองการยึดแควนวัชชีของเหลากษัตริยลิจฉวีแหงแควนวัชชีและไดมีที่
ปรึกษาที่เฉลียวฉลาดคอยชวยหาคิดวิธียึดซึ่งก็คือวัสสการพราหมณ
โครงเรื่อง
กษัตริยแควนหนึ่งหวังจะยึดดินแดนเพื่อเพิ่มขยายดินแดนตัวเองแตแควนนั้นมีความสามัคคีเปนอยาง
มากเลยมีที่ปรึกษาทํากลอุบายโดยใชสติปญญาอันเฉียบแหลมสุดทายก็สําเร็จแลวไดแควนมา
ตัวละคร
1. พระเจาอชาตศัตรูแหงแควนมคธ
2. วัสสการพราหมณ
3. เหลากษัตริยลิจฉวีแหงแควนวัชชี
พระเจาอชาตศัตรูแหงแควนมคธ
วัสสการพราหมณ
เหลากษัตริยลิจฉวีแหงแควนวัชชี
ฉากทองเรื่อง
บทเจรจาหรือบทรําพึงรําพัน
แกนเรื่อง
1. ความสําคัญของความสามัคคี
2. พละกําลังไมใชทุกสิ่ง
3. ความคิดวิเคราะหใหดีเสียกอน
การสรรคํา
เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามความหมายที่ตองการ
ความหมาย: ลูกชาย
คําไวพจน อุรสลิจฉวีสรร
และตางซักกุมารรา
พชวนกันเสด็จมา
ชองคนั้นจะเอาความ
- คําที่มีความหมายเดียวกัน
แตวิธีเขียนตางกัน พระราชบุตรลิจ ฉวิตรจิตเมิน
- เพื่อเพิ่มความหลากหลาย ณ กันและกันเหิน คณะหางก็ตางถือ
ไมซํ้าซากเวลาอาน
บทประพันธ ปวงโอรสลิจฉวีดํา ริณวิรุธก็สํา
คัญประดุจคํา ธ เสกสรร
เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามความหมายที่ตองการ
ความหมาย: กษัตริย
กุมารลิจฉวีขัตติย ก็รับอรรถอออือ
กสิกเขากระทําคือ ประดุจคําพระอาจารย

ตางทรงสําแดง ความแขงอํานาจ
สามัคคีขาด แกงแยงโดยมาน
ภูมิชลิจฉวี วัชชีรัฐบาล
บ ชุมนุมสมาน แมแตสักองค

วัชชีภูมผี อง สดับกลแงกระหึมขสน
ทุกไทไปเอาการ ณ กิจเพื่อเสด็จไป
เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามความหมายที่ตองการ
ความหมาย: พราหมณ ละครั้งระหวางครา ทินวารนานนาน
ลวงลุประมาณ กาลอนุกรม เหมาะทาทิชาจารย ธ ก็เชิญเสด็จไป
หนึ่ง ณ นิยม ทานทวิชงค
เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยง ทวิชแถลงวา พระกุมารโนนขาน
เชิญวรองค เอกกุมาร ยุบลกะตูกาล เฉพาะอยูกะกันสอง

ทิชงคเจาะจงเจตน กลหเหตุยุยงเสริม เบื้องนั้นทานคุรุวัสสการทิชก็ไป


กระหนํ่าและซํ้าเติม นฤพัทธกอการณ นําทัพชเนนทรไป มคธ
เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามฐานะของตัวละคร
ขอเชิญวรบาท พยุหยาตรเสด็จกรี
ตัวละครสวนใหญเปน ธาทัพพลพี ริยยุทธโดยไว ฯ
ชนชั้นกษัตริยจึงมีการใช
ราชาลิจฉวี ไปมีสักองค
ราชาศัพทเพื่อให อันนึกจํานง เพื่อจักเสด็จไป
ตางองคดํารัส เรียกนัดทําไม
เหมาะสมกับฐานะ ใครเปนใหญใคร กลาหาญเห็นดี
เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามฐานะของตัวละคร
ทรงตริไฉน ก็จะไดทํา
โดยนยดํา รัสภูบาล ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต
เสวกผอง ก็เคาะกลองขาน ดมเขตบุเรศดุจ ณเดิม
อาณัติปาน ดุจกลองพัง
ศุพทอุโฆษ ประลุโสตทาว
ตางก็ บ คลา ณ สภาคาร ลิจฉวิดาว ขณะทรงฟง
แมพระทวาร บุรทั่วไป ตาง ธ ก็เฉย และละเลยดัง
รอบทิศดาน และทวารใด ไทมิอินัง ธุระกับใคร
เห็นนรไหน สิจะปดมี ฯ
เลือกใชคําใหถูกตองตามชนิดของบทประพันธ
ณ วันหนึ่งลุถึงกา ลศึกษาพิชากร
ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ กุมารลิจฉวีวร เสด็จพรอมประชุมกัน
ตระบัดวัสการมา สถานราชเรียนพลัน
ธ แกลงเชิญกุมารฉัน สนิทหนึ่งพระองคไป

ชมความงาม ความรัก ความโศก บางครั้งก็ใชใน


บทสดุดีหรือบทถวายพระพรหรือบทที่ตองการ
ดําเนินเรื่องใหรวดเร็ว
เลือกใชคําใหถูกตองตามชนิดของบทประพันธ
เอออุเหมนะมึงชิชางกระไร
อิทิสังฉันท ๒๐ ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเปน
ศึก บ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น
จะนอยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยั้นมิทันไร ก็หมิ่นกู

พรรณนาความรูสึกที่รุนแรง เชน ความโกรธ


ความรัก และความตื่นเตน
เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามฐานะของตัวละคร
สัมผัสระหวางวรรค การใชคําซํ้า
เธอก็แถลง แจงระบุมวล ละครั้งระหวางครา ทินวารนานนาน
ความเฉพาะลวน จริงหฤทัย เหมาะทาทิชาจารย ธ ก็เชิญเสด็จไป
ตาง บ มิเชื่อ เมื่อตริไฉน
จึ่งผลใน เหตุ บ มิสม
สัมผัสในวรรค
แตกราวกราวรายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม
ทีละนอยตาม ณ เหตุผล
การเลนคํา
ฟนเฝอเชื่อนัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน
ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
สืบจะหมองมน เพราะหมายใด
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย
การเรียบเรียงคํา
เรียงขอความที่บรรจุสารสําคัญไวทายสุด
ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ เงื่อนไข
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย
เหมาะแกการณจะเสกสรร ปวัตนวัญจโนบาย
มลางเหตุพิเฉทสาย สมัครสนธิ์สโมสร ผลของเงื่อนไข
แปลวา
พราหมณที่ฉลาดคาดวากษัตริยลิจฉวีมีความประมาท
จึงเห็นวาเหมาะแกการเริ่มกลอุบายทําลายสามัคคี
เรียบเรียงถอยคําใหเปนประโยคคําถามเชิงวาทศิลป
การเขียนขางตน ตางทรงรับสั่งวา จะเรียกหาประชุมไย
เปนการตั้งคําถามแบบไม เราใชเปนใหญใจ ก็ขลาดกลัวบกลาหาญ
ตองการคําตอบ ใชเพื่อ ทานใดที่เปนใหญ และกลาใครมิเปรียบปาน
เปนการเนนยํ้า พอใจใครในการ ประชุมชอบก็เชิญเขา

แปลวา
จะเรียกประชุมทําไม เราไมไดเปนใหญ ก็กลัวไมกลาหาญ ไปเชิญผูเปนใหญประชุมเถิด
การใชโวหาร
การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง
ลูกขางประดาทา รกกาลขวางไป อุปลักษณคือการเปรียบเทียบ
หมุนเลนสนุกไฉน หยุดกันฉะนั้นหนอ
สิ่งหนึ่งเปนสิ่งหนึ่ง
ครูวัสสการแส กลแหยยุดีพอ
ปนปวน บ เหลือหรอ จะมิราวมิรานกัน

ในบทความนี้เปรียบเทียบการที่วัสสการพราหมณใชกลยุแหยทําใหศัตรูแตกสามัคคี เปรียบเปนการ
เลนลูกขางอยางสนุกสนาน
การสมมติสิ่งตางๆ ใหมีกิริยาอาการ มีความรูสึกเหมือนมนุษย
วัชชีผูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไทไปเอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป

บุคคลวัตคือการใหกิริยาหรือความรูสึกของมนุษยแกสิ่งที่ไมใชมนุษย
ในกรณีนี้คือการใหกิริยา “ขาน” แกเครื่องดนตรีกรอง
การกลาวผิดไปจากที่เปนจริง
ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบานตน

ในกรณีนี้คือการกลาวเกินจริงหรืออติพจน ตามตัวอยางขั้นตนไมไดหมายถึงการหมดเลือดจริงๆ
ประโยชน
หรือคุณคาในวรรณคดี
คุณคาดานอารมณ
1.1 การทําใหรูสึกเหมือนจริง
ชวงที่พระเจาอชาตศัตรูลงโทษวัสสการพราหมณทําใหเนื้อเรื่องดูเหมือนจริงและมีเหตุผลมากขึ้น ทําใหผูอานรูสึก
และเชื่อมตอกับเรื่องไดดี

1.2 การทําใหรูสึกถึงอารมณโกรธ กระแทกกระทั้น


กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคลองและแคลงดาล
พิโรธกาจวิวาทการณ อุบัติขึ้นเพราะขุนเคือง
พิพิธพันธไมตรี ประดามีนิรันดรเนือง
กะองคนั้นก็พลันเปลือง มลายปลาตพินาศปลงฯ
คุณคาดานอารมณ
1.3 การทําใหรูสึกถึงความหวาดระแวง
ตระบัดวัสสการมา สถานราชเรียนพลัน
ธ แกลงเชิญกุมารฉัน สนิทหนึ่งพระองคไป
ลุหองหับรโหฐาน ก็ถามการณ ณ ทันใด
มิลี้ลับอะไรใน กถาเชนธปุจฉา
คุณคาดานสังคม
2.1 การแตกความสามัคคีจะนําไปสูความพินาศ
กษัตริยแควนวัชชีมีความสามัคคีกันทําใหแควนวัชชีมีความแข็งแกรง แตเพราะวากษัตริยทั้งหลายไดเกิดความแตกแยก
กันและขาดความสามัคคี ทําใหพระเจาอชาตศัตรูตีแควนวัชชีไดสําเร็จ แสดงใหเห็นวาการขาดความสามัคคีจะนําไปสูความ
พินาศ

2.2 การใชสติปญญาก็ทําใหเกิดผลสําเร็จไดโดยที่ไมตองใชกําลัง
จากเนื้อเรื่องเราไดเห็นวาวัสสการพราหมณใชกลยุทธลอลวงเพื่อแยกความสามัคคีระหวางเจาเมืองแควนวัชชี ทําให
แควนวัชชีออนแอ พระเจาอชาตศัตรูจึงสามารถตีเมืองจนสําเร็จ แสดงใหเห็นวาการใชสติปญญาสามารถทําใหเกิดผลสําเร็จ
ไดโดยไมตองใชกําลัง
คุณคาดานสังคม
2.3 คนมีความภักดีตอนายตัวเองแลวทําหนาที่ของตนเปนคนที่นายกยอง
วัสสการพราหมณใชกลยุทธลอลวงและบางครั้งก็กระทําสิ่งที่ไมดี แตวัสสการพราหมณก็ไดทําหนาที่ของตนเองและรับ
ใชนายตัวเองดวยความภักดี ถึงแมวาจะทําไดโดยใชกลลวงก็ยังเปนคนที่นายกยองอยูดี

2.4 ยกความคิดตนเองเปนใหญจะทําความเสียหายตอสวนรวม
จะไดเห็นวากษัตริยทั้งหลายยกความคิดของตนเองเปนใหญ ทําใหเกิดการแตกความสามัคคี สุดทายก็โดนพระเจาอชาต
ศัตรูยึดครอง แสดงใหเห็นวาการยกความคิดตนเองเปนใหญจะทําความเสียหายตอสวนรวม
คุณคาดานอื่น ๆ
3.1 คุณคาดานสังคม
ความสามัคคีคือกําลัง ถาทุกคนสามัคคีกันก็จะสามารถทําสิ่งตาง ๆ ไดสําเร็จแตถาขาดความสามัคคีก็จะเกิดความ
เสียหายตอสวนรวมได แสดงใหเห็นถึงวิถีของระบอบการปกครองแบบระบอบสามัคคีธรรม

3.2 คุณคาดานวรรณศิลป
การใชภาษาอยางไพเราะ ทําใหคนอานเห็นภาพและจินตนาการตามได มีการใชอุปมาอุปไมย มีคําสอนแฝงมาใน
เนื้อเรื่อง

You might also like