You are on page 1of 14

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดี เรือ
่ ง มหาเวสสันดรชาดรกัณฑ์มทั รี

โดย

นาย คณาไกร มหกิจพลัช ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที๕
่ /๒ เลขที่ ๗

นาย ชานัต เทพชะนะกุล ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที๕
่ /๒ เลขที่ ๒๐

นาย กฤษฎิ ์ ยิง่ ชนะเกียรติ ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที๕
่ /๒ เลขที่ ๒๑

เสนอ

อใพนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน

(Project Based Learning)

ราชวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕
คานา

รายงานเล่มนี้ จดั ทาขึน ้ มาเพือ ่ ให้ผอ ู้ า่ นได้เข้าใจเรือ่ ง


มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี ได้มากขึน ้ โดยการ
วิเคราะห์วรรณคดีเรือ ่ งดังกล่าว ประกอบไปด้วยเนื้อหา และ กลวิธีในการแต่ง
การใช้ภาษา และ ด้านคุณค่าของวรรณคดี
โดยผูจ้ ดั หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า
รายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ตอ ่ ผูอ้ า่ นไม่มากก็น้อย
หากผิดพลาดประการใด ทางผูจ้ ดั ทาขออภัยมา ณ ทีน ่ ี้
ผูจ้ ดั ทา



สารบัญ
๑. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

๑.๑ เนื้อเรือ
่ ง

๑.๒ โครงเรือ ่ ง

๑.๓ ตัวละคร

๑.๔ ฉากท้องเรือ ่ ง

๑.๕ บทเจรจาและราพึงราพัน

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

๒.๑ การสรรคา
๓-๔
๒.๒ การเรียบเรียงคา

๒.๓ การพิจารณาการใช้โวหารในวรรณคดีและวรรณกรรม

๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์และคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

๓.๑ คุณค่าด้านอารมณ์
๕-๖
๓.๒ คุณค่าด้านคุณธรรม

๓.๓ คุณค่าด้านอืน
่ ๆ
๖-๗
บทนา

เจ้าพระยาพระคลัง(หน)เป็ นกวีเอกคนหนึ่งในสมัยต้นรัตนโกสินทร์มีนา
มเดิมว่าหนเกิดเมือ ่ ใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ ชดั
น่ าจะอยูใ่ นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา และถึงแก่อสัญกรรม ในสมัยรัชกาลที่
๑ พ.ศ. ๒๓๔๘
ผลงานด้านวรรณคดีทท ี่ า่ นได้แต่งไว้หลายเรือ ่ งด้วยกันเจ้าพระยาพระคลังเป็ น
บุตรเจ้าพระยาบดินทร์สุรน ิ ทร์ฦๅชัย (บุญมี) กับท่านผูห้ ญิงเจริญ
มีบุตรธิดาหลายคน ทีม ่ ีชือ ่ เสียงคือ เจ้าจอมพุม่ ในรัชกาลที๒ ่ เจ้าจอมมารดานิ่ม
พระมารดาสมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร (มั่ง) ในรัชกาลที่ ๒ นายเกต
และนายพัดซึง่ เป็ นกวีและครูพณ ิ พาทย์ เป็ นต้นสกุล บุญหลง
๑. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

๑.๑ เนื้อเรือ
่ ง

รุง่ เช้าพระนางมัทรีได้เข้าป่ าเพือ่ ไปหาผลไม้เกิดเหตุการณืไม่คาดฝันผลไม้ทีน ่


างเก็บทุกวันได้หายไปเช่นมะม่วงลูกจันทน์ลน ิ้ จีน
่ ้อยหน่ าสาลีล่ ะมุดพุทราหลังจ
ากนัน ้ ก็เกิดพายุใหญ่จงึ คิดว่าจะมีภยั แต่พระเวสสันตรากัณหาและ
ชาลีพระนางมัทรีรีบยกหาบใส่บา่ และรีบเดินทางพอถึงช่องแคบระหว่างนัน ้ ก็พ
บสองเสือสามตัวมานอนสกัด
หน้าเทวดาสามองค์แปลงร่างเป้ นราชสีห์และเสือโคร่งสกัดทางไว้เพือ ่ มิให้พระ
นางมัทรีตด ิ ตามกัณหาชาลีได้ทน ั แต่ก็ดว้ ยความรักลูกและห่วงพระภัสดาพระน
างก็กม ้ ลงวิงวอนขอให้หลบทางให้และก็รีบตามไปแต่ก็ไม่พบกัณหาชาลีพระน
างจึงบอกว่า“ชาลีกณ ั หาแม่มาถึงแล้วเพราะอะไรพระลูกแก้วถึงไม่ออกมาแต่ก่
อนยังวิง่ ระรีเ่ รียง
เคียงแข่งกันมารับพระมารดาพระชนนีพอ ่ ชาลีก็จะรับเอาผลไม้แม่กณ ั หาก็จะอ้
อนวอนไหว้เพลาพลางเจ้าเคย
ฉอเลาะแม่ตา่ งๆตามประสาทารก”บัดนี้ลูกรักทัง้ คุไ่ ปไหนจึงไม่มารับแม่”ครัน ้ ไ
ปถามพระเวสสันดรก็กลับถูกคาตอบตัดพ้อกลับมาจนพระนางมัทรีได้สลบลงพ
ระเวสสันดรจึงมาปฐมพยาบาลจนพระนางมัทรีฟื้นแล้วแจ้ง
ความจริงว่าได้ทรงยกลุกรักชายหญิงทัง้ สองมอบให้แก่ชูชกไปแล้ว
พระนางก็อนุโมทนาซึง่ ทานนัน ้ ด้วย

๑.๒ โครงเรือ
่ ง

โครงเรือ
่ งของร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็ นโครงเรือ่ งทีม่ ีความขัดแ
ย้งทีค
่ อ
่ นข้างรุนแรงแต่ในความขัดแย้งก็ยงั เสนอความเป็ นเหตุเป็ นผลของควา
มขัดแย้งนัน ้ ๆ

๑.๓ ตัวละคร

๑. พระเวสสันดร
เป็ นพระโอรสของพระเจ้ากรุงสญชัยและพระนางผุสดีแห่งเมืองสีพี ๑.๑
มีอุปนิสยั และพฤติกรรมทีส ่ าคัญคือ มีการตัดพ้อและคร่าครวญ
“ …นนุ มทฺทิ ดูกรนางนาฏพระน้องรัก ภทฺเท
เจ้าผูม ั ผุดผ่องเสมือนหนึ่งเอาน้าทองเข้ามาทาบทับประเทืองผิว
้ ีพกั ตร์อน
ราวกะว่าจะลอยลิว่ เลือ ่ นลงจากฟ้ า “

1
๒.
พระนางมัทรี เป็ นตัวละครประกอบอยูใ่ นวรรณคดีเรือ ่ งร่ายยาวมหาเวส
สันดรชาดก
๒.๑ มีอุปนิสยั ความรักและความห่วงใยทีพ ่ ระนางมัทรีมีตอ ่ ลูก
ดังตัวอย่าง “…แม่สูพ
้ ยาบาลบารุงเจ้าแต่เยาว์มา
เจ้ามิได้หา่ งพระมารดาสักหายใจโอความเข็ญใจในครัง้ นี้นี่เหลือขนาด
สิน
้ สมบัตพิ ลัดญาติยงั แต่ตวั ต้องไปหามาเลี้ยงลูกและผัวทุกเวลา”

๒.๒ มีความภักดีตอ ่ พระเวสสันดร ดังตัวอย่าง


“…พระคุณเอ่ยจะคิดดูม่งั เป็ นไรเล่า
ว่ามัทรีนี้เป็ นข้าเก่าแต่กอ ่ นมาดั่งเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน
นอกกว่านัน ้ ทีแ
่ น่ นอนคือนางไหนอันสนิทชิดใช้แต่กอ ่ นกาล
ยังจะติดตามพระราชสมภารมาบ้างละหรือ”
๒.๓ มีความสัมพันธ์กบ ั ธรรมชาติอย่างชัดเจน
“…โอพระอาศรมเจ้าเอ๋ยน่ าอัศจรรย์ใจ
แต่กอ ่ นดูนี่สุกใสด้วยสีทองเสียงเนื้อนกนี่ร่าร้องสาราญรังเรียกคูค่ ข
ู ยับขั
น ทัง้ จักจั่นพรรณลองไนเรไรร้องอยูห ่ ริง่ ๆ ระเรือ
่ ยโรย”

๑.๔ ฉากท้องเรือ
่ ง

ในเรือ
่ งมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มทั รีมีการเปรียบเทียบต่างๆในระหว่าง
การเดินทางเช่นเขาวงกต เพือ ้
่ ให้เห็นเป็ นภาพได้งา่ ยขึน

๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงราพัน

- การเลือกเสียงของคำา
มีการเลียนเสียงธรรมชาติทาให้ได้ความรูส้ ก ึ ทีเ่ พิม
่ ขึน ้ เปรียบเสมือนอยูใ่ นตัวเรื่
องเอง
เช่นได้ยน ิ เสียงผีป่าโป่ งโป้ งเปิ่ งกูก
่ อ
้ งร้องกระหึม ่ ผีผวิ พึมฟังขนพองเสียงชะนีร ้
องอยูโ่ หวยโวยโว่ยวิเวกวะหวามอก พราหมณ์ ก็หยุดยืนตืน ่ ตกตะลึงนึก
- มีการเปรียบเทียบแบบอุปลักษณ์ ดงั คาประพันธ์ทวี่ า่
“โอ้เจ้าดวงสุรยิ น ั จันทราทัง้ คูข่ องแม่เอ่ย
แม่ไม่รเู ้ ลยว่าเจ้าจะหนี พระมารดาไปสูพ ่ าราใดไม่รท ู ้ ี”
- การใช้ลีลาจังหวะ เสียงหนักเบา เช่น
ในบทโกรธการเลือกความหมายของคาให้เหมาะสมกับเนื้อเรือ ่ งและลักษณะข
องร้อยกรอง ห น้ า | ๕
- การเล่นคา การใช้คา การเล่นอักษร การเล่นเสียง -
มีรสทางวรรณคดีทป ี่ รากฏ คือ มีเสาวรจนีเล็กน้อย ไม่มีนารีปราโมทย์

2
มีพโิ รธวาทังมาก เนื่องจากมีการใช้อารมณ์ ในการสือ
่ สาร และ
สัลลาปังคพิไสยพบมากก ในช่วงทีค ่ ร่าครวญหาลูก

๑.๖ แก่นเรือ
่ ง

1.ความรักของเเม่: ความรักของนางมัทรีทม ี่ ีตอ


่ ลูกๆ
2.ความโศกเศร้า: ของนางมัทรีทเี่ สียลูกๆไป
3.ความเป็ นห่วง: ของพระเวสสันดรทีม ่ ีให้นางมัทรี

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

๒.๑ การสรรคา

ผูป
้ ระพันธ์เลือกทีจ่ ะใช้คาทีต
่ อ
้ งการ
ซึง่ สอดคล้องกับเนื้อเรือ
่ งรวมถึงบทบาทบุคคลในเรือ่ ง
รวมถึงลักษณะคาประพันธ์ และการใช้คาทีท ่ าให้เกิดความไพเราะด้านเสียง

1. การใช้คาพ้องเสียงและคาซา้

ในบทประพันธ์มีการใช้เล่นเสียงและคาซา้ ให้เกิดความไพเราะ เช่น


“…ควรจะสงสารเอ่ยด้วยต้นหว้าใหญ่ใกล้อาราม งามด้วยกิง่ ก้านประกวดกัน
ใบชอุม
่ เป็ นชุม ่ ช่อเป็ นฉัตรชัน ้ ดั่งฉัตรทอง
แสงพระจันทร์ดน ิ้ ส่องต้องน้าค้างทีข ่ งั ให้ไหลลงหยดย้อย
เหมือนหนึ่งน้าพลอยพร้อยๆ อยูพ ่ รายๆ … พระพายราเพยพัดมาฉิวเรือ่ ย
เรไรระรีเ่ รือ่ ยร้องอยูห ่ ริง่ ๆ”
“พระนางยิง่ หมองศรีโศกกาสรดสะอึกสะอื้น”

“อุตสาหะตระตรากตระตราเตร็ดเตร่หาผลาผลไม้”

๒. การใช้คาเล่นเสียงสัมผัส

3
ในบทประพันธ์มีทง้ ั สัมผัสนอกและสัมผัสในโดยใช้สม
ั ผัสพยัญชนะและสระทา
ให้เกิดเสียงไพเราะ

๒.๑ สัมผัสพยัญชนะ

“ ก็กลายเป็ นดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร”

สะดุง้ พระทัยไหวหวาดวะหวีดวิง่ วนแวะเข้าข้างทาง พระทรวงนางสั่นระรัวริ
กเต้นดั่งตีปลา”

พระองค์เห็นพิรุธร่องรอยร้าวรานทีต
่ รงไหน ทอดพระเนตรสังเกตไว้แต่ปางก่
อนจึงเคือง ค่อนด้วยคาหยาบยอกใจเจ็บจิตเหลือกาลัง”
“ พระพายราเพยพัดมาฉิวเฉื่อย เรไรระรีเ่ รือ
่ ยร้องอยูห
่ ริง่ ๆ”

้ จะลีลาหลีกตัดเดาไปทางใดก็เหลือเดิน ทัง้ สองข้างเป็ นโขดเขินขอบคันขึ้
ครัน
นกัน
้ ไว้”
๒.๒ สัมผัสสระ
ั ญีสลบลงตรงหน้าฉาน ปานประหนึ่งว่าพุม
“นางก็ถงึ วิสญ ่ ฉัตรทองอันต้องสาย
อัสนีฟาดระเนนเอนก็ลม ้ ลงตรงหน้าพระทีน
่ ่ งั เจ้า นัน
้ แล”

๓. การใช้ถอ ้ ยคาให้เกิดอารมณ์ สะเทือนใจ


กวีเลือกใช้คาให้เหมาะสมกับอารมณ์ ทต ี่ อ
้ งการจะถ่ายทอด

การใช้ถอ
้ ยคาราพึงราพัน

เป็ นการราพึงราพันบรรยากาศผ่านตัวละครทีไ่ ด้อารมณ์ ความสะเทือนใจ และ


ตรงใจผูเ้ ป็ นแม่ในชีวต
ิ จริงในทุกยุคทุกสมัย
เป็ นการเพิม ่ ความรักความผูพ้ น
ั ให้ผอ
ู้ า่ นและผูฟ
้ งั ทีเ่ ป็ นแม่และลูกได้เป็ นอย่าง
ดียงิ่

4
“...เมือ่ เช้าแม่จะเข้าสูป
่ ่ า พ่อชาลีแม่กณ
ั หายังทูลสั่ง
แม่ยงั กลับหลังมาโลมลูบจูบกระหม่อมจองเกล้าทัง้ สองรา กลิน ่ ยังจับนาสาอยูร่
วยรืน
่ ....ใครจะดอกพระศอเสวยนมผทมด้วยแม่เล่า
ยามเมือ่ แม่จะเข้าทีบ่ รรจถรณ์ เจ้าเคยเรียงหมอนนอนแนบข้างทุกราตรี
แต่นี้แม่จะกล่อมใครให้นิทรา...”

๒.๒ การเรียบเรียงคา
ในการเขียนบทประพันธ์ ผุแ ้ ต่งจะมีการเรียบเรียงคาเพือ
่ ให้
ผูอ
้ า่ นเข้าถึงอารมณ์ ทถ ้
ี่ ูกต้องและเร็วขึน

๑.
เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นไปตามลาดับดุจขัน
้ บันไดจนขัน
้ สุดท้ายที่
สาคัญทีส่ ุด

“... ( สา มทฺที ) ปางนัน


้ ส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทรเทพ กัญญา
จาเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับพระอาวาส พระทัย
นางให้หวั่นหวาดพะวงหลัง ตัง้ แต่พระทัยเป็ นทุกข์ถงึ พระเจ้าลูกมิ ลืมเลย
เดินพลางทางเสวยพระโศกพลาง พระนัยเนตรทัง้ สองข้าง
ไม่ขาดสายพระอัสสุชล...”

บทความทีม่ ีความเข้มข้นของบทความทีเ่ กีย่ วกับนางมัทรีทเี่ ริม


่ ค่อยๆครุน
่ คิดเกี่
ยวกับลูกจนถึงขัน
้ ร้องให้จนแก้มอาบน้าตา

๒. เรียงคา วลี หรือประโยคทีม


่ ีความสาคัญเท่าๆกัน เคียงกันไป

“... พลางพิศดูผลาผลในกลางไพรทีน ่ างเคยได้อาศัยทรงสอยอยูเ่ ป็ น


นิตย์ผดิ สังเกต เหตุไฉนไม้ทผ
ี่ ลเป็ นพุม
่ พวง ก็กลายกลับเป็ นดอกดวง
เดียรดาษอนาถเนตร แถวโน้นก็แก้วเกดพิกุลแกมกับกาหลง ถัดนั่นก็
สายหยุดประยงค์และยมโดย พระพายพัดก็รว่ งโรยรายดอกลงมูน มอง
แม่ยงั ได้เก็บดอกมาร้อยกรองไปฝากลูก เมือ ่ วันวานก็เพี้ยนผิด
พิสดารเป็ นพวงผล ผิดวกลแต่กอ ่ นมา ...”

จากบทความเป็ นการอธิบายถึงการสงสัยของนางมัทรีทม
ี่ ีความสาคัญของวลีเท่
าๆกันเคียงกันไป

๒.๓ การใช้โวหาร

5
การใช้ภาษาทีใ่ ช้พูดและเขียนมาดัดแปลง เพือ ่ ก่อให้เห็นภาพ
ความรูส้ ก
ึ และอารมณ์ ตา่ งๆ โดยการใช้โวหารมีหลายลักษณะเรียกว่า
”ภาพพจน์ ” ดังนี้

๑.การใช้ภาพพจน์แบบอุปมา เป็ นการเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งว่าเหมือนอีกสิง่ หนึ่ง


เช่น

“…พ่อชาลีเจ้าเลือกเอาผลไม้ แม่กณ
ั หาฉะอ้อนวอนไหว้จะเสวยนม
ผทมเหนือพระเพลาพลางฉอเลาะแม่นี้ตา่ งๆ ตามประสาทารกเจริญใจ (วจฺฉา
พาลาว มาตร) มีอุปไมยเสมือนหนึ่งลูกทรายทรามคะนอง”

๒.การใช้ภาพพจน์ แบบอุปลักษณ์ เป็ นการเปรียบว่าอีกสิง่ หนึ่ง “เป็ น” หรือ


“คือ” อีกสิง่ หนึ่ง เช่น

“หวังว่าจะเป็ นเกือกทองฉลองบาทยุคลทัง้ คูแ


่ ห่งพระคุณผัว”

๓.การใช้ภาพพจน์แบบสัทพจน์เป็ นการเลียนเสียง เช่น


“แต่ยา่ งเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง”
“สมเด็จอรไทเธอเทีย่ วตะโกนกูก
่ ก
ู๋ อ
้ ง”
๔. การใช้ภาพพจน์แบบบุคลวัต
เป็ นการใช้ภาพพจน์ ทม
ี่ ีชีวต
ิ ทีม
่ ใิ ช่มนุษย์และสิง่ ไม่มีชีวต

ทากิรยิ าอาการเลียนแบบมนุษย์ เช่น
“ได้ยน
ิ แต่เสียงดุเหว่าละเมอร้องก้องพนาเวศ”
“ทัง้ พื้นป่ าพระหิมพานต์ก็ผด
ิ ผันหวั่นไหวอยูว่ งิ เวียน”

๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

๓.๑ คุณค่าด้านอารมณ์
ความรักของพระนางมัทรีทม ี่ ีตอ
่ พระกุมารทัง้ สอง
หลังจากทีพ่ ระนางมัทรีกลับมาจากการเก็บผลไม้ ก็ไม่พบพระกุมารทัง้
สองทีป
่ กติจะออกมาต้อนรับเสมอ
ทาให้นางรูส้ ก
ึ หวาดกลัวว่าจะมีอะไรเกิดขึน ้ กับลูกของตน
6
เสียใจหาลูกจนหมดสติไป เป็ นความรักของเเม่ทม ี่ ีตอ
่ ลูก
ทีท
่ าให้ผอ
ู้ า่ นรูส้ ก
ึ เห็นใจ เเละประทับใจกับความรักของพระนางมัทรี

“(ตโย เทวปุตต ฺ า) ส่วนเทพเจ้าทัง้ สามองค์ได้ทรงฟังพระเสาวนีย์


พระมัทรีเธอไหว้วอนขอหนทาง พระพักตร์นางนองด้วยน้าพระเนตร
เทพพระเจ้าก็สงั เวชในวิญญาณ
ก็พากันอุฏฐาการคลาไคลให้มรคาแก่นางพระยามัทรี พอแจ่มแจ้งแสงศศิธร
นางก็ยกหาบคอนขึน ้ ใส่บา่ เปลื้องเอาพระภูษามาคาดพระถันให้ม่น ั คง
วิง่ พลางนางทรงกันแสงพลาง ยะเหยาะเหย่าทุกฝี ย่างไม่หย่อนหยุด
พักหนึ่งก็ถงึ ทีส ่ ุดบริเวณพระอาวาสทีพ ่ ระลูกเจ้าเคยประพาสแล่นเล่น
ประหลาดแล้วแลไม่เห็นก็ใจหาย ดั่งว่าชีวต ิ นางจะวางวายลงทันที
จึง่ ตรัสเรียนว่าแก้วกัณหาพ่อชาลีของแม่เอ่ย แม่มาถึงแล้ว
เหตุไฉนพระลูกแก้วจึง่ มิมาเล่าหลากแก่ใจ แต่กอ ่ นแต่ไรซิพร้อมเพรียง
เจ้าเคยวิง่ ระรีเ่ รียงเคียงแข่งกันมาคอยรับพระมารดา
ทรงพระสรวลสารวลร่าระรืน ่ เริงรีบเอาขอคานแล้วก็พากันกราบกรานพระชน
นี พ่อชาลีเจ้าเลือกเอาผลไม้ แม่กณ ั หาฉะอ้อนวอนไห้วา่ จะเสวยนม
ผทมเหนือพระเพลาพลางฉอเลาะแม่นี้ตา่ งๆ ตามประสาทารกเจริญใจ”

๓.๒ คุณค่าด้านคุณธรรม
ความภักดีของพระนางมัทรีทม ี่ ีตอ
่ พระเวสสันดร
พระนางมัทรีมีความจงรักภักดีตอ ่ พระเวสสันดรอย่างมาก
ถึงเเม้จะโดนกล่าวหาว่าไปคบชายอืน ่ ก็ตง้ ั ใจอธิบายให้พระเวสสันดรเข้าพระทั
ยโดยไม่ถือโทษโกรธเเต่อย่างใด เเละคอยเดินออกหาอาหารทุกวัน
ผลไม้จะหายากเพียงไหน ก็ไปหามาให้ได้รบ ั ประทานทุกวัน
เเสดงถึงความจงรักภักดีทภี่ รรยาควรมีให้สามี

“พระคุณเอ่ยจะคิดดูม่งั เป็ นไรเล่าว่า


มัทรีนี้เป็ นข้าเก่าแต่กอ ่ นมาดั่งเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน นอกจากนัน ้ ทีแ
่ น่
นอนคือ นางไหนอันสนิทชิดใช้แต่กอ ่ นกาล
ยังจะติดตามพระราชสมภารมาบ้างละหรือ
ได้แต่มทั รีแสนดือ ้ ผูเ้ ดียวดอก ไม่รจู ้ กั ปลิน
้ ปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี
มัทรีสตั ยาสวามิภกั ดิร์ กั ผัวเพียงบิดาก็วา่ ได้ ถึงจะยากเย็นเข็ญใจก็ตามกรรม (
วนมูลผล หาริยา ) อุตสาหะตระตรากตระตราเตร็ดเตร่หาผลาผลไม้
ถึงทีไ่ หนจะรกเรี้ยวก็ซอกซอนอุตส่าห์เทีย่ วไม่ถอยหลัง จนเนื้อหนังข่วนขาดเ
ป็ นริว้ รอย โลหิตไหลย้อยทุกหย่อมหนามอารามจะใคร่”

๓.คุณค่าด้านอืน
่ ๆ

7
๑.เป็ นสมบัตท ิ างพุทธศาสนา
มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี เป็ นมรดกทีส ่ าคัญทางศาสนา
เนื่องจากทีว่ า่ เป็ นนิทานชาดกเรือ่ งสุดท้ายของพระพุทธเจ้า
ซึง่ เป็ นหนึ่งในชาดกทีส ่ อนให้ชาวพุทธรูจ้ กั การให้ทานเเละปฏิบตั ต
ิ นให้เหมาะ
สมต่อสามี

๒.สะท้อนค่านิยมของคนโบราณ
เเสดงค่านิยมของสังคมสมัยก่อนทีม
่ ี
สามีเป็ นใหญ่ในครอบครัวเเละภรรยาทีต่ อ้ งคอยสนับสนุนสามี

๓.สะท้อนธรรมชาติของมนุษย์
เเสดงถึงอารมณ์ ดา้ นต่างๆทีค
่ นสามารถเเสดงออกมาได้
โดยเฉพาะความโศกเศร้าของพระนางมัทรีทถ ี่ ูกเเสดงออกมาหลังจาก
ทีส
่ ูญเสียลูกทีเ่ ป็ นทีร่ กั ไป

You might also like