You are on page 1of 12

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและการพิจารณาวรรณกรรมเรือ่ ง คัมภีร์ฉน
ั ทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์
สงเคราะห์

โดย
นางสาว พามนัส หาญประวีณ ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ห้อง 7 เลขที่ 6
นางสาว อัคครยา เลิศเดชอุดมกุล ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ห้อง 7 เลขที1
่ 0
นางสาว วัลย์ลดา พรรัตนพิทกั ษ์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ห้อง 7 เลขที่ 14

เสนอ
อาจารย์ พนมศักดิ้ มนูปรัชญากรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5

คานา
รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรมระดับชัน ้ มั
ธยมศึกษาปี ที5 ่ โดยมีจุดประสงค์เพือ่ วิเคราะห์และศึกษาหาความรูจ้ ากคาประพั
นธ์เรือ่ งคัมภีร์ฉน ั ทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
เนื้อหานี้มีการย่อความเนื้อหาศึกษาโครงเรือ ่ ง
การใช้ภาษาและรวมถึงประโยชน์
ของเนื้อหาในเล่มทัง้ คณะผูท ้ าหวังว่าผูอ้ า่ นจะได้สาระเนื้อหาและประโยชน์
จากรายงานเล่มนี้ไม่มากก็น้อย
เพือ่ นาไปเป็ นประโยชน์ในการศึกษาในภายภาคหน้าทางคณะผูจ้ ดั
ขอขอบคุณผูส ้ นับสนุนการทารายงานเล่มนี้มา ณ โอกาสนี้ดว้ ย
คณะผูจ้ ดั ทา

สารบัญ
1. การอ่านและพิจรณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
หน้า
1.1เนื้อเรือ
่ ง
1
1.2โครงเรือ ่ ง
1
1.3บทราพึงราพัน
1
1.4แก่นเรือ ่ ง
2
2. การอ่านและการพิจรณาการใช้ภาษาในวรรคดีและวรรณกรรม
2.1การสรรคา
2-3
2.2การใช้สานวนไทย
3
2.3การเล่นเสียงสัมผัส
3
2.4คาซา้
3
2.5การใช้โวหาร
3-4
2.6การเรียบเรียงคา
4-6
3.การอ่านและการพิจรณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรคดีและวรรณกรรม
3.1คุณค่าด้านอารมณ์
6
3.2คุณค่าด้านคุณธรรม
7
3.3คุณค่าด้านอืน
่ ๆ
7
บรรณานุกรรม
8
1
1.การอ่านพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีวรรณคดีและวรรณกรรม
1.1 เนื้อเรือ ่ ง
ในคัมภีร์ฉน
ั ทศาสตร์ แพทย์ศ าสตร์ส งเคราะห์เปิ ดเรื่องด้วยบทไหว้ค รู
ไ ห ว้ พ ร ะ รั ต น ต รั ย ไ ห ว้ เ ท พ เ จ้ า ข อ ง พ ร า ห ม ณ์
เ ป รี ย บ คั ม ภี ร์ ฉั น ท์ ศ า ส ต ร์ ดั่ ง แ ส ง ส ว่ า ง
อี ก จ ะ ก ล่ า ว เ ป รี ย บ เ ที ย บ ร่ า ง ก า ย ใ ห้ เ ห มื อ น กั บ บ้ า น เ มื อ ง
โ ด ย ด ว ง จิ ต เ ป รี ย บ เ ห มื อ น ก ษั ต ริ ย์ เ ป รี ย บ โ ร ค ภั ย เ ป็ น ข้ า ศึ ก
เ ป รี ย บ แ พ ท ย์ เ ป็ น ท ห า ร ที่ มี ค ว า ม ช า น า ญ
ค อ ย ดู แ ล ป ก ป้ อ ง รั ก ษ า ไ ม่ ใ ห้ ร่ า ง ก า ย มี โ ร ค ภั ย
อีกทัง้ ดวงใจก็พยายามอย่าโกรธเพือ ่ ไม่ให้โรคภัยคุกคามเร็วเกินไปและได้กล่า
ว ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร รั ก ษ า จึ ง ต้ อ ง ศึ ก ษ า คั ม ภี ร์ ใ ห้ ดี
เพือ่ ทีจ่ ะสามารถวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องก่อนการรักษาและถ่ายทอดความรูแ ้ ก่
ผูอ
้ ืน
่ ได้
1.2 โครงเรือ ่ ง
อ า ชี พ แ พ ท ย์ เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม ส า คั ญ
แ ล ะ มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ทุ ก ค น
แพทย์ ผู้ ร ก ั ษาต้ อ งมี จ รรยาบรรณมี ค วามช านาญและความรู ้อ ย่ า งถ่ อ แท้
มิฉะนัน ้ อาจจะเกิดการผิดพลาดในการวินิจฉัยโรคได้การรับการของแพทย์จาเ
ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ค ว า ม แ ม่ น ย า แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว
เพือ
่ ทีจ่ ะสามารถรักษาผูป ้ ่ วยได้อย่างทันเวลา
1.3 บทเจรจาราพึงราพัน
อ า ชี พ แ พ ท ย์ เ ป็ น อ า ชี พ ที่ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม ส า คั ญ
แ ล ะ มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ทุ ก ค น แ พ ท ย์ ผู้ รั ก ษ า ต้ อ ง มี จ ร ร ย า บ ร ร ณ
มี ค ว า ม ช า น า ญ แ ล ะ ค ว า ม รู ้ อ ย่ า ง ถ่ อ แ ท้
มิฉะนัน ้ อาจจะเกิดการผิดพลาดในการวินิจฉัยโรคได้การรับการของแพทย์จาเ
ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ค ว า ม แ ม่ น ย า แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว
เพือ
่ ทีจ่ ะสามารถรักษาผูป ้ ่ วยได้อย่างทันเวลา
บทของกาพย์ยานี 11 ดังต่อไปนี้
้ เพือ
คือตัวอย่างของบทราพึงราพันทีไ่ ด้ถูกแต่งขึน ่ ให้ผอ
ู้ า่ นได้ทราบ
และเข้าใจ จากความรูท
้ ต
ี่ อ
้ งการจะสือ

เมือ
่ อ่อนรักษาได้ แก้แล้วไซร้ยากนักหนา
ไข้นน
้ ั อุปมา เหมือนเพลิงป่ าไหม้ลุกลาม
จากข้ อ ความข้ า งต้ น กวี ไ ด้ ก ล่ า วความว่ า ไข้ ที่ ไ ม่ รุ น แรงมากนัก
ส า ม า ร ถ ไ ด้ รั บ ก า ร รั ก ษ า แ ล ะ ห า ย ไ ด้ แ ต่ เ มื่ อ ไ ข้ เ ริ่ ม ห นั ก ขึ้ น
ก า ร รั ก ษ า จ ะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ย า ก ขึ้ น เ ป รี ย บ เ ส มื อ น ไ ฟ ที่ ลุ ก ล า น
หากรีบดับตัง้ แต่เริม่ ลุก ก็จะสามารถดับให้มน ั หายได้ แต่หากปล่อยไว้นานเกิน
ไฟจะลุ ก ลามทั่ว ป่ า การดับ ไฟหรื อ การรัก ษาผู้ ป่ วยจะเป็ นไปได้ อ ยากขึ้ น
ห รื อ ถึ ง ขั้ น ม อ ด ไ ห ม้ ทั้ ง ป่ า แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ดั บ ไ ด้ อี ก เ ล ย
เฉกเช่นการเสียชีวต ิ ของผูป้ ่ วย
บ้างรูแ
้ ต่อยากวาด เทีย่ วอวดไม่เกรงภัย
โรคน้อยให้หนักไป ดังก่อกรรมให้ตด
ิ กาย
2
จ า ก ข้ อ ค ว า ม ข้ า ง ต้ น ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง แ พ ท ย์ ที่ ไ ม่ ช า น า ญ
แ ล ะ ไ ม่ มี ค ว า ม รู ้ ม า ก พ อ จึ ง ใ ห้ ค า แ น ะ น า ผู้ ป่ ว ย ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และให้ ย าผิ ด ชนิ ดต่ อ อ าก า ร ขอ งผู้ ป่ วย อาก ารที่ เ บา ก ลับ ให้ ย า ห นั ก
และโรคที่ห นัก กลับ ให้ย าที่ไ ม่ มี ป ระสิท ธิภ าพมากพอท าให้มี ภ ยั คุก คามตาม
มาหากแพทย์ผรู้ กั ษาไม่มีความ
ชานาญในการแจกแจงชนิดยา และรักษาเช่นนี้
จะสามารถทาให้ผป ู้ ่ วยถึงแก่กรรม และจะทาให้เป็ นตราบาป
และความผิดหวังติดกายไปชั่วชีวต ิ
บทราพึงทีไ่ ด้กล่าวมาทัง้ หมด ทาหน้าทีใ่ นการสือ
่ สารข้อความ
ให้ผอ
ู้ า่ นได้เข้าใจ จึงมีความสัมพันธ์ตอ ่ บทประพันธ์นี้มาก
1.4 แก่นเรือ ่ ง
แ ก่ น เ รื่ อ ง คื อ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง อ า ชี พ แ พ ท ย์
ร่ า ง ก า ย ข อ ง ม นุ ษ ย์ นั้ น ซั บ ซ้ อ น แ ล ะ มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด อ่ อ น อ ย่ า ง ม า ก
จึ ง ควรได้ ร ับ ความดู แ ลที่ ดี จากแพทย์ ที่ มี จ รรยาบรรณ ความช านาญ
ที่จะสามารถวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง และสามารถรักษาผู้ป่วยอย่างถูกวิธีได้
แพทย์ทข ี่ าดความคล่องแคล่ว และสั่งยาผิด อาจทาให้อน ั ตรายถึงแก่ชีวต ิ ได้
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
คัมภีร์ฉน ั ท์ศาสตร์จดั เป็ นตาราทีม ่ ีเนื้อหาเฉพาะด้านจึงใช้โวหารอธิบายเ
ป็ นส่วนใหญ่ แต่เมือ ่ กล่าวถึงสิง่ ทีเ่ ป็ นนามธรรมผูแ ้ ต่งได้เลือกใช้อุปมาโวหาร
ซึง่ ทาให้ผอ
ู้ า่ นเข้าใจเนื้อหามากขึน ้

2.1 การสรรคา
การใช้ถอ
้ ยคาทีเ่ หมาะสมกับเนื้อเรือ
่ ง ทาให้เข้าใจความหมายได้งา่ ย
เช่น
บางหมอก็กล่าวคา มุสาซา้ กระหน่าความ

ยกตนว่าตนงาม ประเสริฐยิง่ ในการรักษา

บางหมอก็เกียจกัน ทีพ
่ วกอันแพทย์รกั ษา

บ้างกล่าวเป็ นมารยา เขาเจ็บน้อยว่ามากครัน

บ้างกล่าวอุบายให้ แก่คนไข้นน
้ ั หลายพัน

หวังลาภจะเกิดพลัน ด้วยเชือ
่ ถ้อยอาตมา

3
2.2 การใช้สานวนไทย
อธิบายเนื้อเรือ ้ เช่น
่ งให้ชดั เจนมากขึน
เรียนรูค
้ มั ภีร์ไสย สุขม
ุ ไว้อย่าแพร่งพราย

ควรกล่าวจึง่ ขยาย อย่ายืน


่ แก้วให้วานร

2.3 การเล่นเสียงสัมผัส

การเล่นเสียงสัมผัสทาให้เกิดความงามในแง่ของวรรณศิลป์ เช่น

ผูใ้ ดใครทาชอบ ตามระบอบพระบาลี

กุศลผลจะมี อเนกนับเบื้องหน้าไป

2.4 การซา้ คา
การซา้ คาเป็ นอีกกลวิธีทผ
ี่ แ
ู้ ต่งเลือกใช้เพือ
่ ทาให้เนื้อหานัน
้ เกิดความงาม
ในแง่ของวรรณศิลป์
การซา้ คาคือการใช้คาคาเดียวกันในบทประพันธ์อาจวางไว้ตด ิ กันหรือแยกกัน
แต่ตอ
้ งเป็ นระเบียบเรียบร้อย
โดยความหมายหมายของคาทีซ ่ า้ จะต้องไม่เปลีย่ นแปลง เช่น
การไม่แก่รู ้ ประมาทผูอ
้ ุดมญาณ

แม้เด็กเป็ นเด็กชาญ ไม่ควรหมิน


่ ประมาทใจ

2.5 การใช้อุปมาโวหาร

กวีใช้ถอ
้ ยคาในการเปรียบเทียบทาให้ผอ
ู้ า่ นเข้าใจความหมาย
และเห็นภาพได้ชดั เจนมากขึน้ เช่น

อนึ่งจะกล่าวสอน กายนครมีมากหลาย

ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา

ดวงจิตคือกษัตริย์ ผ่านสมบัตอ
ิ น
ั โอฬาร์

ข้าศึกคือโรคา เกิดเข่นฆ่าในกายเรา

เปรียบแพทย์คอ
ื ทหาร อันชานานรูล้ าเนา

ข้าศึกมาอย่างใจเบา ห้อมล้อมรอบทุกทิศา

2.5 การเรียบเรียงคา
การเรียงถ้อยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์
กวีมีการสอดแทรกการเรียบเรียงคาให้เป็ นคาถามเชิงวาทศิลป์
เป็ นคาถามทีไ่ ม่ได้ประสงค์ให้ผอ
ู้ า่ นนัน
้ ตอบคาถามโดยตรง
2.5.1 เรียงข้อความทีบ
่ รรลุสารสาคัญไว้ทา้ ยทีส
่ ุด
อนึ่งจะกล่าวสอน กายนครมีมากมาย
ประเทียมเปรียมในกาย ทุกหญิงกายในโลกา
ดวงจิตคือกระษัตริย์ ผ่านสมบัตอ
ิ น
ั โอฬาร์
ข้าศึกคือโรคา เกิดเข่นฆ่าในกาย
เปรียบแพทย์คอ
ื ทหาร อาชานาญรูล้ าเนา
ข้าศึกมาอย่างใจเบา ห้อมล้อมรอบทุกทิศา
ให้ดารงกระษัรติย์ไว้ คือดวงใจให้เร่งย่า
อนึ่งห้ามอย่าโกรธา ข้าศึกมาจะอันตราย
ปิ ตต คือ วังหน้า เร่งรักษาเขม้นหมาย
อาหารอยูใ่ นกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา
5
หนทางทัง้ สามแห่ง เร่งจัดแจงอยูร่ กั ษา
ห้ามอย่าให้ขา้ ศึกมา ปิ ดทางได้จะเสียที

(วรรคที่ 38-43)
บทนี้มีใจความสาคัญว่า การทีส ่ าคัญว่า การทีจ่ ะรักษาไม่ให้เกิดพิษ
เกิดภัยอะไรต่างๆ ต้องทาให้สามสิง่ นี้คงอยูต่ ลอด ได้แก่จต
ิ คือกษัตริย์
ปิ ตตคือวังหน้าและวังหน้าแพทย์เหมือนทหารทีช ่ ว่ ยป้ องกันข้าศึก โรคร้าย
ไม่ให้เข้ามา

5.2 เรียงคา วลี หรือประโยคทีม


่ ีความสาคัญเท่าๆกัน

ดวงจิตคือกระษัตริย์ ผ่านสมบัตอ
ิ น
ั โฮฬาร์
ข้าศึกคือโรคา เกิดเข่นฆ่าในกายเรา
หมายถึง เรามีดวงวจิตเป็ นเหมือนกษัตริย์

เปรียบแพทย์คอ
ื ทหาร อาชานาญรูล้ าเนา
ข้าศึกมาอย่างใจเบา ห้อมล้อมรอบทุกทิศา
หมายถึง
มีแพทย์ทเี่ ป็ นเหมือนดั่งทหาร

ให้ดารงกระษัตยิ ์ไว้ คือดวงใจให้เร่งย่า


อนึ่งห้ามอย่าโกรธา ข้าศึกมาจะอันตราย
หมายถึง มีขา้ ศึกเป็ นโรคร้าย

6
ปิ ตต คือ วังหน้า เร่งรักษาเขม้นหมาย
อาหารอยูใ่ นกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา
หมายถึง ทุกอย่างล้วนช่วยเพือ
่ รักษา
โรคภัยไข้เจ็บด้วยคาเปรียบเปรย

5.3 เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน ้ ไปตามลาดับ


เริม
่ จากการกล่าวถึงเรือ ่ งราวของร่างกายของคน
โดยเปรียบเทียบกับเมืองหนึ่ง มีหวั ใจ
เปรียบเสมือนพระมหากษัตริย์ผป ู้ กครองเมือง มีแพทย์เปรียบเสมือนทหาร
ทีค
่ อยปกป้ องข้าศึก หรือโรคภัยต่างๆ วังหน้าเปรียบเสมือนน้าดี
ทีค่ อยปกป้ องข้าศึกทีเ่ ข้ามาทาร้ายบ้านเมืองและมี
อาหารทีเ่ ป็ นเหมือนเสบียงไว้เลี้ยงทหาร
ดังนัน ้ แพทย์จงึ มีหน้าทีร่ กั ษาอวัยวะในร่างกายต่างๆ
เพือ ่ ไม้ให้โรคร้ายเข้ามาสูร่ า่ งกายของมนุษย์

5.4 เรียบเรียงถ้อยคาเป็ นประโยคเชิงวาทศิลป์


ผูใ้ ดจะเรียนรู ้ พิเคราะห์ดผ
ู อ
ู้ าจารย์
เทีย่ งแท้วา่ พิสดาร ทัง้ พุทธ์ไสยจึง่ ควรเรียน

ใจความสาคัญของบทนี้มีความหมายว่า คนใดทีต ่ อ
้ งการจะเรียนรู ้
ต้องพิจรณาจากคนทีเ่ ป็ นครู ว่ารูจ้ ริง รูล้ ะเอียด
3.การอ่านและการพิจรณาประโยชน์หรือคุณค่าทางวรรณคดีและวรรรกรรม
3.1 คุณค่าทางอารมณ์
หลังจากการอ่าน ทาให้มีความรูส้ ก ึ เคารพ ต่อความดีงาม
ของบุคคลทีม ่ ีอาชีพเป็ นแพทย์
ว่านอกจากจะเป็ นผูม ้ ีความรูท
้ างด้านวิชาการแล้ว ยังเป็ นผูท
้ มี่ ีจต
ิ ใจเมตตา
ต่อเพือ่ น มนุษย์ดว้ ยกัน
นอกจากนี้ยงั ได้รบ ั ความซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพร
ะจุลจอมเกล้าเจ้าอยู-่
หัวทีท
่ รงกรุณาโปรดเกล้าให้สืบค้นและรวบรวม ตาราแพทย์ของไทย
ไม่ให้สูตรหาย เนื่องจากทรง เห็นว่า
การแพทย์แผนโบราณและตาราพื้นบ้านของไทยเป็ นสมบัตท ิ างวัฒนธรรมทีม ่ ี
คุณค่าอย่างยิง่ และต่อมา พระยาพิศนุประสาทเวช
อาจารย์ผเู้ ชียวชาญด้านการแพทย์แผนไทยของ ราชแพทยาลัย
ได้ทาการจัดพิมพ์ ตารา\

แพทย์ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เป็ นฉบับสมบูรณ์ เพือ ่ ให้ราษฎรนาไป


คัดลอกไว้เป็ นคูม
่ ือ ในการรักษาเวลาทีป่ ่ วยไข้ และยังประสงค์จะอนุรกั ษ์
ตาราแพทย์แผนไทยไว้ให้ คนรุน ่ หลังอีกด้วย

3.2 คุณค่าทางศีลธรรม
สามารถนาข้อคิดสาหรับการนาไปใช้ชีวต ิ ประจาวันคือ
ความไม่ประมาท ไม่อวดดี ไม่อจิ ฉา ริษยา ไม่โลภไม่เห็นแก่ตวั ไม่หลงตัวเอง
ไม่วา่ จะประกอบอาชีพอ่ะไร
สามารถนาข้อคิดคัมภีร์ฉน ั ทศาสตร์ไปใช้ได้ในทุกสาขาอาชีพ
โดยเฉพาะวิชาชีพแพทย์
ซึง่ เกีย่ วกับความเป็ นความตายของชีวต ิ ของมนุษย์เรานัน

ตัง้ แต่การตรวจสอบหรือวินิชยั โรค การให้ยา และการดูแลผูป ้ ่ วย
ด้วยการปฏิบตั ด ิ ว้ ยความรอบครอบไม่ประมาท
3.3 คุณค่าทางปัญญา
หลังจากการอ่าน
ทาให้ทราบว่าในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยูห
่ วั นอกจากการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆนัน
้ พระองค์ยงั ทรง
ให้ความสาคัญใน ด้านการแพทย์และสาธารณสุขและยังทรง ให้สืบค้น
และรักษา รวบรวมตาราแพทย์ตา่ งๆไม่ให้หายไป
ซึง่ นับเป็ นพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีห
่ าทีส
่ ุดไม้ได้
นอกจากนี้ยงั ได้มีการเพิม ่ หรือการตกแต่งให้เป็ นร้อยกรองเพือ ่ เพิม
่ อรรถรส
และสืบสารคุณค่า ทางวรรณกรรมต่อไป
ความสาคัญและคุณประโยน์นานัปการของแพทย์แผนไทย
ก็เป็ นอีกอย่างทีท ่ าให้เรา ทราบถึงคุณค่าของมัน
เพราะการแพทย์แผนไทยถือเป็ นวิธีการรักษาโรคอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเป็ น
ทีย่ อมรับเชือ ่ ถือมานานก่อนทีจ่ ะรับเอาวิทยาการแพทย์แผนใหม่จากชาติตะวัน
ตกมาใช้ ซึง่ ใน
ปัจจุบน ั นี้เองการค้นคว้าวิจยั ทางการแพทย์จะกลับมาให้ความสนใจในการใช้ส
มุนไพรตามแบบ ฉบับโบราณกันมากขึน ้
ถือเป็ นทางเลือกหนึ่งของทางการแพทย์ในการรักษาโรคเลยทีเดียว ยา
สมุนไพรต่างๆ ยังสามารถผลิตได้เองจากสมุนไพรตามพื้นบ้าน
ทีม ่ ีราคาถูกหรือ ทีข ้ึ เองตามธรรมชาติ
่ น
ซึง่ ราคาได้ถูกกว่ามากเมือ ่ เทียบกับยาทีต ่ อ้ งนาเข้ามาจากต่างประเทศ

บรรณานุกรรม

https://sites.google.com/site/aphichitsuthawa/khamphir-
chanth-sastr-phaethysastr-sngkheraah โดย ครู อภิชติ
สุธาวา
http://moo5-2.blogspot.com/2018/12/blog-post_55.html
https://www.clearnotebooks.com/th/notebooks/618923
https://prezi.com/x_badelj4qen/presentation/
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31985/04
4573

You might also like