You are on page 1of 8

รายงานเชิงวิชาการ

การอานและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง พระ
เวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี
จัดทําโดย:
นาย ธรณธันย ศิริจรรยากุล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/7 เลข
ที่ 18
นาย ยศพัทธ โลหะวัฒนะกุล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/7
เลขที่ 11
นาย หฤษฎ ตั้งถิรสุข ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/7 เลขที่ 20
นาย นฤเบศ โชติวิจิตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/7 เลขที่ 4

 เสนอ
อ.พนมศัดิ์ มนูญปรัชญาภรณ
1.การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย

1.1 พระนางมั
เนื้อเรืทรี่ อฝันงร้ายว่ามีบุรุษมาทําร้ายจึงขอให้พระเวสสันดรทํานายฝันให้แต่พระนางก็ยงั ไม่สบายพระทัยก่อนเข้าป่ าพระนางฝากพระ
โอรสกับพระธิดากับพระเวสสันดรให้ช่วยดูแลหลังจากนั้นพระนางมัทรี กเ็ สด็จเข้าป่ าเพื่อหาผลไม้มาปรนนิบตั ิพระเวสสันดรและสองกุมาร
ขณะที่อยูใ่ นป่ าพระนางพบว่าธรรมชาติผดิ ปกติไปจากที่เคยพบเห็นเช่นต้นไม้ที่เคยมีผลก็กลายเป็ นต้นที่มีแต่ดอกต้นที่เคยมีกิ่งโน้มลงมาให้พอ
เก็บผลได้ง่ายก็กลับกลายเป็ นต้นตรงสูงเก็บผลไม่ถึงทั้งท้องฟ้ าก็มืดมิดขอบฟ้ าเป็ นสี เหลืองให้รู้สึกหวัน่ หวาดเป็ นอย่างยิง่ ไม้คานที่เคยหาบ
แสรกผลไม้กพ็ ลัดตกจากบ่า ไม้ตะขอที่ใช้เกี่ยวผลไม้พลัดหลุดจากมือ ยิง่ พาให้กงั วลใจยิง่ ขึ้นบรรดาเทพยดาทั้งหลายต่างพากันกังวลว่าหาก
นางมัทรี กลับออกจากป่ าเร็ วและทราบเรื่ องที่พระเวสสันดรทรงบริ จาคพระโอรสธิดาเป็ นทานก็จะต้องออกติดตามพระกุมารทั้งสองคืนจากชู
ชกพระอินทร์จึงส่ งเทพบริ วาร 3 องค์ให้แปลงกายเป็ นสัตว์ร้าย 3 ตัว คือราชสี ห์ เสื อโคร่ ง และเสื อเหลืองขวางทางไม่ให้เสด็จกลับอาศรมได้
ตามเวลาปกติเมื่อล่วงเวลาดึกแล้วจึงหลีกทางให้พระนางเสด็จกลับอาศรมเมื่อพระนางเสด็จกลับถึงอาศรมไม่พบสองกุมารก็โศกเศร้าเสี ย
พระทัยเที่ยวตามหาและร้องไห้ครํ่าครวญพระเวสสันดรทรงเห็นพระนางเศร้าโศกจึงหาวิธีตดั ความทุกข์โศกด้วยการแกล้งกล่าวหานางว่าคิด
นอกใจคบหากับชายอื่นจึงกลับมาถึงอาศรมในเวลาดึกเพราะทรงเกรงว่าถ้าบอกความจริ งในขณะที่พระนางกําลังโศกเศร้าหนักและกําลังอ่อน
ล้าพระนางจะเป็ นอันตรายได้ในที่สุดพระนางมัทรี ทรงครํ่าครวญหาลูกจนสิ้ นสติไปครั้นเมื่อฟื้ นขึ้นพระเวสสันดรทรงเล่าความจริ งว่าพระองค์
ได้ประทานกุมารทั้งสองแก่ชูชกไปแล้วด้วยเหตุผลที่จะทรงบําเพ็ญทานบารมีพระนางมัทรี จึงทรงค่อยหายโศกเศร้าและทรงอนุโมทนาในการ
บําเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรด้วย
1.2 โครงเรื่ อง
โครงเรื่ องของร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็ นโครงเรื่ องที่มีความขัดแย้งที่ค่อนข้างรุ นแรง แต่ในความขัดแย้งก็ยงั เสนอความเป็ นเหตุ
เป็ นผลของความขัดแย้งนั้น ๆ ยกตัวอย่างเช่นในตอนที่พระนางกัณฑ์มทั รี เกิดความขัดแย้งกับพระเวสสันดรเพราะด้วยพระเวสสันดรนั้น
บริ จาคลูกๆของตัวเองให้กบั ชูชกไป

1.3 ตัวละคร
-พระเวสสันดร:
เป็ นตัวละครที่มีบทบาทสําคัญอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกมีชื่อเรี ยกต่างๆกันเช่นหน่อพระชินศรี โมลีโลกสมเด็จพระ
บรมนราพิสุทธิ์พทุ ธางกูรเป็ นต้นเป็ นพระโอรสของพระเจ้ากรุ งสญชัยและพระนางผุสดีแห่งเมืองสี พีมีอุปนิสยั และพฤติกรรมที่สาํ คัญคือการ
บริ จาคทาน
-พระนางมัทรี :
เป็ นตัวละครประกอบอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกมีชื่อเรี ยกต่างๆกัน เช่น พระสุ ณิสาศรี สะใภ้ นางแก้วกัลยาณี
เป็ นต้น และเป็ นพระมารดาของ กันหา ชาลี มีอุปนิสยั ที่สาํ คัญคือ รักลูกรักสามี คอยดูแลพระเวสสันดรและลูก
-พระชาลี:
เป็ นตัวละครประกอบอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกมีชื่อเรี ยกต่างๆ เช่น พ่อสายใจ พ่อหน่อน้อยภาคีไนยนาถ เป็ นต้น
เป็ นพระเชษฐาของพระกัณหาเมื่อเวลาประสูติพระประยูรญาติได้ทรงนําตาข่ายทองมารองรับ จึงได้รับพระราชทานนามว่า ชาลี แปลว่าผูม้ ี
ตาข่าย
-พระกัณหา หรื อ กัณหาชินา:
เป็ นตัวละครประกอบอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็ นพระธิดาของพระเวสสันดรและพระนางมัทรี เป็ นพระนัดดาของ
พระเจ้ากรุ งสญชัยและพระนางผุสดีและเป็ นพระกนิษฐาของพระชาลีพระกัณหาเป็ นผูห้ นึ่งที่ทาํ ให้พระเวสสันดรได้บาํ เพ็ญบุตรทานบารมีซ่ ึงเป็ น
ทานอันยิง่ ใหญ่ที่มนุษย์ท้ งั หลายไม่สามารถทําได้นอกจากมหาบุรุษผูท้ รงหวังพระโพธิญาณเท่านั้น
-ท้าวสักกเทวราช:
เป็ นตัวละครประกอบอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็ นพระราชสวามีของพระนาง ผุสดีขณะสถิตอยู่ ณ สวรรค์ช้ นั
ดาวดึงส์ มีนามเรี ยกต่างๆ เช่น โกสี ย ์ อมริ นทร์ เป็ นต้น ท้าวสักกเทวราชหรื อพระอินทร์เป็ นตัวละครที่เป็ นตัวเชื่อมเหตุการณ์ต่างๆภายในเรื่ องให้
เนื้อหามีความต่อเนื่องกันคอยช่วยก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นให้ลุล่วง ไปได้ดว้ ยดี และยังเป็ นผูด้ ลบันดาลให้ตวั ละครต่างๆได้มาพบกันด้วย
-พระนางผุสดี:
เป็ นตัวละครอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเดิมเป็ นพระราชธิดาของพระเจ้าพันธุมราชชื่อสุ ธมั มาต่อมาได้บงั เกิดเป็ น
อัครมเหสี ของสม เด็จพระอมริ นทราธิราชชื่อผุสดีเมื่อจุติจากสวรรค์ได้ถือกําเนิดเป็ นพระราชธิดาของพระเจ้ามัททราชครั้นเจริ ญวัยก็ได้อภิเษกเป็ น
อัครมเหสี ของพระเจ้ากรุ งสญชัยและเป็ นพระมารดาของพระเวสสันดรพระนางผุสดีมีอุปนิสยั รักสวยรักงามเช่นในพรที่ขอจากพระอินทร์ส่วน
มากก็จะยึดติดกับรู ปกายภายนอก เช่น ขอให้ดวงเนตรทั้งสองมีสีดาํ ประดุจดวงตาลูกเนื้อทรายส่ วนในข้อที่แสดงว่าพระนางเป็ นผูม้ ีความเมตตา
กรุ ณาก็คือได้ขอพระราชทานพรให้ทรงมีอาํ นาจปลดปล่อยนักโทษประหารชีวติ ให้พน้ โทษและในข้อที่แสดงความยึดมัน่ ในตําแหน่งฐานะก็คือ
ขอให้ได้ประทับในปราสาทพระเจ้าสี วรี าช
-พระเจ้ากรุ งสญชัย:
เป็ นตัวละครอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกมีชื่อเรี ยกต่างๆกันเช่น สมเด็จพระบรมกษัตริ ย ์ พระปิ่ นเกล้ามกุฎพิภพสี พี เป็ น
ต้น พระองค์ทรงเป็ นกษัตริ ยท์ ี่เห็นแก่ประโยชน์ของบ้านเมืองมากกว่าประโยชน์ส่วนพระองค์เอง ทรงเนรเทศพระเวสสันดรออกจากเมืองพร้อม
ด้วยพระนางมัทรี พระชาลี และพระกัณหา เมื่อชาวเมืองมาร้องทุกข์วา่ พระโอรสทรงกระทําผิดแม้พระมเหสี จะทูลขอร้องประการใดก็มิได้คืนคํา
ทั้งที่ทรงอาลัยรักในพระโอรสแต่กท็ รงหักพระทัยได้ เพื่อประโยชน์สุขของบ้านเมืองและยังได้ทรงไถ่ตวั พระชาลีและพระกัณหาคืนจากชูชกด้วย
-ชูชก:
เป็ นตัวละครประกอบอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องร่ ายยาวมหาเวสสันดรชาดกเป็ นผูเ้ กิดในตระกูลพราหมณ์โภวาทิกชาติซ่ ึงเป็ นพราหมณ์พวกที่ถือตน
ว่ามีกาํ เนิดสูงกว่าผูอ้ ื่นมักใช้คาํ ว่า “โภ”แปลว่า “ผูเ้ จริ ญ” เป็ นคําร้องเรี ยก แม้ชูชกจะเกิดในตระกูลพราหมณ์ที่ถือตนว่ามีกาํ เนิดสูงกว่าผูอ้ ื่นแต่ชูชกก็
ยากจนเข็ญใจยิง่ ต้องเที่ยวขอทานเขาเลี้ยงชีพ มีรูปร่ างหน้าตาน่าเกลียดประกอบด้วยบุรุษโทษ ๑๘ประการ ลักษณะนิสยั ของชูชกคือ มีความตระหนี่
เหนียวแน่น ขอทานได้มากเท่าไรก็เก็บไว้ไม่ยอมนําไปใช้จ่าย มีความโลภ รักและหลงเมีย ยอมให้นางทุกอย่าง เป็ นคนฉลาด มีเล่ห์เหลี่ยมมาก ฉลาด
ทั้งในด้านการพูดและกลอุบาย มีความละเอียดรอบคอบและมีความยึดมัน่ ในพิธีทางไสยศาสตร์
1.4 ฉากท้องเรื่ อง
ในเรื่ องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี มีการกล่าวถึงฉากต่าง ๆ เช่น ฉากในป่ า ฉากในเขาวงกต ซึ่ งมีการใช้ภาพพจน์ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อ ให้ผู ้
อ่านเห็นภาพได้ง่ายยิง่ ขึ้น

1.5 บทเจรจาหรื อราพึงราพัน


บทที่เป็ นคําพูดหรื อความนึกคิดของตัวละครเป็ นกลวิธีการประพันธ์อย่างหนึ่งที่นอกจากจะทําให้ผอู ้ ่านเข้าใจเนื้อเรื่ องแล้ว ยังทําให้เข้าใจลักษณะ
นิสยั ท่าที และความรู ้สึกของตัวละครอีกด้วย ในวรรณคดีโบราณ บทเจรจาและบทรําพึงรําพันมักจะมีสาํ นวนโวหารที่คมคายเป็ นที่จบั ใจผูอ้ ่าน ตัวอย่าง
เช่น ในตอนที่พระนางกัณฑ์มทั รี เป็ นห่วงลูกๆของตัวเองมากจนรําพึงออกมา
...แม่มิเคยได้เคืองแค้นเหมือนหนึ่งครั้งนี้ เมื่อจากบุรีทุเรศมา ก็พร้อมหน้าทั้งลูกผัวเป็ นเพื่อนทุกข์ สําคัญว่าจะเป็ นสุ ขประสายากเมื่อยามจน ครั้นลูกหาย
ทั้ง สองตคนก็สิ้นคิด บังคมทูลพระสามีกม็ ิได้ตรัสปรานีแต่สกั นิดสักหน่อยหนึ่ง ท้าวเธอก็ขงั ขึงตึงพระองค์ ดูเหมือนทรงพระขัดเคืองเต็มเดือดด้วยอัน
ใด

1.6 แก่นเรื่ อง
แก่นเรื่ องสามารถเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า แนวเรื่ อง คือ ทรรศนะหรื อเจตนารมณ์ที่กวีตอ้ งการจะเสมอต่อผูอ้ ่านโดยแฝงอยูใ่ นเนื้อหาของเรื่ อง แก่นเรื่ อง
เป็ นแกนหลักที่กวีใช้ในการวางโครงเรื่ อง สร้างตัวละคร สร้างฉาก และดําเนินเรื่ อง จึงเป็ นจุดเริ่ มต้นในการเเต่งเรื่ อง แต่ในส่ วนของผูอ้ ่าน แก่นเรื่ องเป็ น
สิ่ งที่ควรพิจารณาหลังสุ ดหลังจากได้อ่านเรื่ องนั้นจบแล้ว เป็ นการประมวลทุกสิ่ งที่ได้อ่านอย่างพินิจพิเคราะห์มาสกัดเอาแก่นเรื่ องออกมา โดยแก่นเรื่ อง
ของเรื่ องพระเวสสันดร พระนางกัณฑ์มทั รี คือเรื่ องความรักและความเป็ นห่วงของพระนางกัณฑ์มทั รี ต่อลูกๆของตัวเอง
2.การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย
2.1 กวีการสรรคํ า
เลือกใช้ถอ้ ยคําให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจรําพึงรําพันและใช้คาํ สํานวนเชิงตัดพ้ออีกทั้งการคําที่เเสดงอารมณ์หึงหวงให้เจ็บแค้นเพื่อดับความโศกเศร้า

2.2 การเรี ยบเรี ยงคํา


การเรี ยบเรี ยงคําในเรื่ องพระเวสสันดร กัณฑ์มทั รี ส่ วนใหญ่จะใช้วธิ ีการในการเรี ยงคําวลี ประโยค ที่มีคาํ สําคัญเท่าๆกัน เคียงขนาดกันไป โดยมีเนื้อหา
ที่น่าตื่นเต้น และให้ลุน้ อยูต่ ลอด

2.3
โวหาร การใช้
การใช้โวหารในเรื่ องพระเวสสันดร กัณฑ์มทั รี ส่วนมากเป็ นการใช้พรรณนาโวหารซึ่ งพรรณนาโวหาร หมายถึง โวหารที่กล่าวถึงความงามของธรรมชาติ
สถานที่ หรื อ ความรู ้สึกนึกคิดอย่างละเอียด เพื่อให้ผอู ้ ่านเกิดความซาบซึ้ง และเกิดอารมณ์ความรู ้สึก คล้อยตาม โดยใช้ถอ้ ยคําที่มีความไพเราะ และความ
หมายที่ลึกซึ้ ง น่าสนใจให้ผอู ้ ่าน
3.การอ่านและพจิารณาประโยชน์หรื อคุณค่าในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
3.1 คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ใช้คาํ ไพเราะเล่นกับการพูดพาดพิงกับการใช้สาํ นวนและแสดงถึงความรู ้สึกที่ละเอียดอ่อนรวมถึงภาพที่ชดั เจนเนื้อหาของกัณฑ์มทั รี แสดงให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ของธรรมชาติกบั ความรู ้สึกของตัวละครได้ดี

3.2 คุณค่าด้านสังคม
เรื่ องพระมหาเวสสันดรชาดก เป็ นวรรณกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น จึงสามารถสะท้อน เรื่ องราวการเป็ นอยูข่ องประชาชนการเป็ นอยู่
ขนบธรรมเนียม และค่านิยมของคนในยุดนั้นๆ มีแง่คิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของผูห้ ญิงในฐานะที่เป็ นแม่หรื อเป็ นภรรยาที่ดี ซึ่ งเป็ นสิ่ งสําคัญมากกว่าสิ่ งใดๆ
เรื่ องนี้สะท้อนให้เห็นคือความรักของแม่ที่มีให้ต่อลูก

3.3 คุณค่าด้านเนื้อ
ด้วยเนื้อหาที่สนุกและซ่อนไปด้วยแนวคิดและหลักการทางพุทธศาสนาและแต่งด้วยคําประพันธ์ประเภทร่ ายยาวนําด้วยคําภาษาบาลีท่อนหนึ่งแล้วแต่ง
ด้วยร่ ายยาวมีคาํ บาลีแทรกเป็ นการใช้รูปแบบคําประพันธ์ได้เหมาะสมกับสาระสําคัญซึ่ งจะทําให้ผอู ้ ่านมีความซาบซึ้งในความรักของผูเ้ ป็ นแม่ได้อย่างดียงิ่

You might also like