You are on page 1of 10

รายงานเชิงวิชาการ

การอ-านและพิจารณาวรรณคดี เรื่อง
คัมภีร<ฉันทศาสตร< แพทย<ศาสตร<สงเคราะห<

โดย

นางสาวสุพิชญา รักษาแก4ว ชั้นมัธยมศึกษาป;ที่ ๕/๓ เลขที่ ๙


นางสาววานิตตา รังสิทานันทG ชั้นมัธยมศึกษาป;ที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๐
นางสาวอันนา ศรีจันทรG ชั้นมัธยมศึกษาป;ที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๕

เสนอ
อ. พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณG

ภาคเรียนที่ ๒ ป;การศึกษา ๒๕๖๒


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เปUนสVวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรู4โดยใช4โครงงานเปUนฐาน (Project Based Learning) รายวิชา


ภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาป;ที่ ๕
คำนำ
รายงานเรื่อง การอVานและพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องคัมภีรGฉันทศาสตรG แพทยศาสตรG
สงเคราะหG เลVมนี้ เปUนสVวนหนึ่งของ Project based learning ทีจ่ ัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะหGวรรณคดีเรื่อง คัมภีรG
ฉันทศาสตรG แพทยศาสตรGสงเคราะหG ซึ่งผู4จัดทำได4รวบรวมความรู4เกี่ยวกับการอVานและพิจารณาเนื้อหา กลวิธี
การใช4ภาษา และคุณคVาในวรรณคดีและวรรณกรรม โดยนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป;ที่ ๕ ห4อง ๓ กลุVมที่ ๔
เสนอ อ. พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณG ประจำภาคเรียนที่ ๒ ป;การศึกษา ๒๕๖๒
ผู4จัดทำหวังเปUนอยVางยิ่งวVา รายงานเลVมนี้จะกVอให4เกิดประโยชนGสูงสุด หากมีข4อผิดพลาดประการใด
ผู4จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้ด4วย

คณะผู4จัดทำ
สารบัญ
หน4า
๑. การอVานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้อเรื่อง ๑
๑.๒ โครงเรื่อง ๑
๑.๓ ฉากท4องเรื่อง ๑
๑.๔ แกVนเรื่อง ๑
๒. การอVานและพิจารณาการใช4ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคำ ๑-๒
๒.๒ การเรียบเรียงคำ ๒-๓
๒.๓ การใช4โวหาร ๓-๔
๓. การอVานและพิจารณาประโยชนGหรือคุณคVาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณคVาด4านสังคม ๕
๓.๒ คุณคVาด4านคุณธรรม ๕
๓.๓ คุณคVาด4านปwญญา ๕
๓.๔ คุณคVาด4านวรรณศิลปx ๕-๖
๔. บรรณานุกรม ๗
การอ-านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑. เนื้อเรื่อง
คัมภีรGฉันทศาสตรG จะเปzดเรื่องด4วยบทไหว4ครู ซึ่งมีการไหว4พระรัตนตรัย ไหว4เทพเจ4าของพราหมณG
ได4แกV พระอิศวร พระพรหม ไหว4หมอชีวกโกมารภัจ (แพทยGหลวงของพระเจ4าพิมพิสารแหVงแคว4นมคธ) และ
ไหว4ครูแพทยGโดยทั่วไป จากนั้นจะกลVาวุถึงความสำคัญของแพทยGและคุณสมบัติที่แพทยGพึงมี ตVอจากนั้นจะ
กลVาวถึง วิธีการสังเกตอาการโรคตVาง ๆ การหาสาเหตุการกำเนิดโรคภัย และยารักษาสำหรับแตVละโรค รวมไป
ถึงการสังเกตนิมิตของผู4ใกล4ตาย นอกจากนี้ยังกลVาวถึงลักษณะของแพทยGที่ดีอีกด4วย
๒. โครงเรื่อง
คัมภีรGฉันทศาสตรG แพทยGศาสตรGสงเคราะหG ไมVมีโครงเรื่องที่แท4จริง เนื่องจากคัมภีรGนี้เปUนตำรา ที่เปUน
ตำราเฉพาะของแพทยG ไมVใชVวรรณคดี แตVทั้งนี้ทั้งนั้น คัมภีรGฉันทศาสตรG แพทยGศาสตรGสงเคราะหGจะมีเนื้อหา
ครอบคลุมในเรื่องของ การให4ความเข4าใจในภาพโดยรวมของอาการของโรคและการรักษา อีกทั้งยังกลVาวถึง
ความสำคัญของแพทยGและคุณสมบัติที่แพทยGควรมี
๓. ฉากทNองเรื่อง
แพทยGศาสตรGสงเคราะหGมีฉากท4องเรื่องทีเ่ กิดขึ้นบนโลก เนื่องจากแพทยGเปUนมนุษยG ซึ่งมนุษยGอยูVบน
โลก และข4อสังเกตุนั้นสามารถดูได4จากบทตVอไปนี้
อนึ่งจะกลVาวสอน กายนครมีมากหลา
ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา
ในบทนี้จะสังเกตุได4จากคำวVา โลกา ซึ่งคำนี้แสดงให4เห็นถึงสถานที่นั่นก็คือ บนโลกเนื่องจากคำวVาโลกา
มีความหมายเหมือนกันกับคำวVาโลก นอกจากนี้เวลาที่เกิดเรื่องนั่นก็คือในชVวงสมัยรัชกาลที่ ๕ เนื่องจาก
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล4าเจ4าอยูVหัวทรงพระกรุณาโปรดเกล4าโปรดกระหมVอมให4รวบรวมตำราฉบับนี้ขึ้น
และคัมภีรGฉันทศาสตรG แพทยGศาสตรGสงเคราะหG ได4เปUนฉบับสมบูรณGเมื่อพระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวร
เวช) ได4จัดพิมพGขึ้นอยVางสำเร็จในวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๐ ซึ่งอยูVในชVวงรัชสมัยรัชกาลที่ ๕
๔. แก-นเรื่อง
คัมภีรGฉันทศาสตรG แพทยGศาสตรGสงเคราะหGนี้ได4กลVาวถึง ความสำคัญของแพทยG คุณสมบัติที่แพทยGพึง
มี แพทยGควรมีทั้งความรู4 คุณธรรม และจรรยาบรรณในการเปUนแพทยGที่ดี นอกจากนี้ ยังมีเนื้อหาในเรื่องของ
อาการของโรคและการรักษา ซึ่งการรวบรวมคัมภีรGนี้ขึ้น มีจุดประสงคGเพื่อที่จะให4คัมภีรGนี้เปUนหลักฐานไว4
เผยแพรVให4คนรุVนหลัง ได4เรียนรู4 และเพื่อเปUนประโยชนGแกVประชาชนทั่วไปที่ต4องการหาวิธีรักษาโรคด4วยตนเอง
ซึ่งความรู4ในคัมภีรGนี้สามารถนำไปใช4ได4ในชีวิตประจำวัน
การอ-านและพิจารณาการใชNภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑. การสรรคำ
การใชNถNอยคำที่เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและบุคคล---ในเรื่องเลือกใช4คำที่สามารถถVายทอดความรู4 ให4
เข4าใจได4อยVาง ตรงไปตรงมา เชVน
บางหมอก็กลVาวคำ มุสาซ้ำกระหน่ำความ


ยกตนวVาตนงาม ประเสริฐยิ่งในการรักษา
บางหมอก็เกียจกัน ที่พวกอันแพทยGรักษา
บ4างกลVาวเปUนมารยา เขาเจ็บน4อยวVามากครัน
บ4างกลVาวอุบายให4 แกVคนไข4นั้นหลายพัน
หวังลาภจะเกิดพลัน ด4วยเชื่อถ4อยอาตมา
เลือกใชNคำโดยคำนึงถึงเสียง---การเลVนเสียงสัมผัส พยัญชนะกับพยัญชนะ เชVน
วิจิกิจฉาเลVา จงถือเอาซึ่งครูตน
อยVาเคลือบแคลงอาการกล เห็นแมVนแล4วเรVงวางยา
การเพิ่มเสียง "ร"---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
ให4ดำรงกระษัตริยGไว4 คือดวงใจให4เรVงยา
อนึ่งห4ามอยVาโกรธา ข4าศึกมาจะอันตราย
๒. การเรียบเรียงคำ
เรียงขNอความที่บรรจุสารสำคัญไวNทNายสุด---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
อนึ่งจะกลVาวสอน กายนครมีมากหลาย
ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา
๓๙ ดวงจิตคือกระษัตริยG ผVานสมบัติอันโอฬารG
ข4าศึกคือโรคา เกิดเขVนฆVาในกายเรา
๔๐ เปรียบแพทยGคือทหาร อันชำนาญรู4ลำเนา
ห4อมล4อมรอบทุกทิศา ข4าศึกมาอยVาใจเบา
๔๑ ให4ดำรงกระษัตริยGไว4 คือดวงใจให4เรVงยา
อนึ่งห4ามอยVาโกรธา ข4าศึกมาจะอันตราย
๔๒ ปzตตํ คือ วังหน4า เรVงรักษาเขม4นหมาย
อาหารอยูVในกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา
๔๓ หนทางทั้งสามแหVง เรVงจัดแจงอยูVรักษา
ห4ามอยVาให4ข4าศึกมา ปzดทางได4จะเสียที
ใจความสำคัญของบทนี้มีความได4วVาการที่จะรักษาไมVให4เปUนพิษเปUนภัยอะไรต4องทำให4
สามอยVางนี้คงอยูV ได4แกV จิตคือกษัตริยG ปzตตํ คือ วังหน4าปzตตํและ วังหลังแพทยGเหมือนทหาร ชVวยป•องกันข4าศึก
คือโรคร4าย กวีได4แตVงบทกลอนถูกต4องตามฉันทลักษณGของกาพยานียG ๑๑ ทุกประการ มีการเรียบเรียงเนื้อหา
ให4มคี วามสำคัญเทVากันเคียงขนานกันไป ทั้งนี้ ยังมีการใช4สำนวนไทย ชVวยมาชVวยประกอบกรอธิบายเพื่อสื่อ
ความหมายชัดเจนมากขึ้น
เรียงคำ วลี หรือประโยคที่มีความสำคัญเท-าๆ กัน เคียงขนานกันไป---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
ดวงจิตคือกระษัตริยG ผVานสมบัติอันโอฬารG
ข4าศึกคือโรคา เกิดเขVนฆVาในกายเรา


๔๐ เปรียบแพทยGคือทหาร อันชำนาญรู4ลำเนา
ข4าศึกมาอยVาใจเบา ห4อมล4อมรอบทุกทิศา
๔๑ ให4ดำรงกระษัตริยGไว4 คือดวงใจให4เรVงยา
อนึ่งห4ามอยVาโกรธา ข4าศึกมาจะอันตราย
๔๒ ปzตตํ คือ วังหน4า เรVงรักษาเขมันหมาย
อาหารอยูVในกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา
๔๓ หนูทางทั้งสามแหVง เรVงจัดแจงอยูVรักษา
ห4ามอยVาให4ข4าศึกมา ปzดทางได4จะเสียที
๑. เรามีดวงจิตเปUนเหมือนกษัตริยGรอ
๒. มีแพทยGเปUนเหมือนทหาร
๓. มีข4าศึกเปUนโรคร4าย
๔. ทุกอยVางล4วนชVวยเพื่อให4รักษาโรคภัยตัวยคำเปรียบเปรย
เรียบเรียงประโยคใหNเนื้อหาเขNมขึ้นไปตานลำดับ---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
เริ่มตัวยการกลVาวถึงรVางกายคนเรา โดยการเปรียบเทียบกับเมืองหนึ่ง มีหัวใจ
เปรียบเสมือนพระมหากษัตริยGผู4ปกครองเมือง มีแพทยGเปรียบเสมือนทหาร ที่คอยปกป•องช4าศึก
(หรือโรคภัยตVางๆ) วังหน4าเปรียบเสมือนน้ำดี ที่คอยปกป•องไมVให4ข4าศึกเข4ามาทำร4ายบ4านเมือง
และมีอาหารที่เปUนเสมือนเสบียงไว4เลี้ยงทหาร ดังนั้นแพทยGจึงมีหน4าที่รักษาอวัยวะในรVางกาย
ตVางๆ เพื่อไมVให4โรคร4ายตVางๆเข4ามาสูVรVางกายมนุษยG
เรียบเรียงถNอยคำเปZนประโยคเชิงวาทศิลป[---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
ผู4ใดจะเรียนรู4 พิเคราะหGดูผู4อาจารยG
เที่ยงแท4วVาพิสดาร ทั้งพุทธิไสยจึ่งควรเรียน
ใจความสำคัญของบทนี้มีความได4วVา คนใดต4องการจะเรียนรู4 ต4องพิจารณาจากคนที่เปUน
ครู วVารู4จริง รู4ละเอียด
๓. การใชNโวหาร
อุปมา เพื่อเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกัน---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
อุทธัจจังอยVาอุทธัจ เห็นถนัดในโรคา
ให4ตั้งตนดังพระยา ไกรสรราชเข4าราวี
อุปลักษณ< เพื่อเปรียบสิ่งหนึ่งเปZนอีกสิ่งหนึ่ง---มีตัวอยVางดังตVอไปนี้
ดวงจิตคือกษัตริยG ผVานสมบัติอันโอฬาร
ข4าศึกคือโรคา เกิดเขVนฆVาในกายเรา
ลักษณะคำประพันธ<---ลักษณะการประพันธGคัมภีรGฉันทศาสตรGนั้น ตอนเปzดเรื่องผู4แตVงใช4กาพยGยานี
๑๑ ตอนที่อธิบาย ลักษณะของทับ ๘ ประการใช4คำประพันธGแบบรVาย
๑. ทับสองโทษ


อาการ : เด็กท4องขึ้น มือเท4าเย็น อุจจาระเหม็นผิดปกติ อาเจียน ลงท4อง กระหายน้ำ ปวดหัวตัวร4อน
การรักษา : เช4า ยาตรีหอม เที่ยงวัน ยาหอมผักหนอก เย็น ยาประสะนิลน4อย
๒. ทับสำรอก
อาการทับ : มีอาการสี่อยVาง อาเจียนออกมาเปUนสีเหลืองบ4าง สีเขียวบ4าง เปUนเสมหะบ4าง เปUนเม็ด
มะเขือบ4าง มีเม็ดขึ้นในคอ ทำให4ไอ นอนผวา ไมVกินนม ไมVกินข4าว เดี๋ยวร4อนเดี๋ยวหนาว แลบางคราว รVางกาย
เย็นและร4อนเปUน สVวน ๆ ตามักช4อนขึ้นบน
การรักษา : ในหนังสือไมVปรากฏ
๓. ทับละออง
อาการ : ทารกมีละอองซางเกิดขึ้นในคอ ไอกำเริบเปUนหมูV ๆ (ไอถี่ ๆ เปUนชุด ๆ) ท4องเดิน อุจจาระเปUน
มูก มีกลิ่นคาวและเปรี้ยวซึมเซา เชื่อมมัว ตัวร4อนจัดดังเปลวไฟ
การรักษา : ในหนังสือไมVปรากฏ
๔. ทับกำเดา
อาการ : มีไข4 ไอ ปวดศีรษะ ตัวร4อนดังเปลวไฟ ถอนใจใหญV (หายใจแรง) หายใจสั้น ปากคอแห4ง หลับ
ๆ หวาดผวาเกิดเม็ดในลำคอ ในอก ไมVกินข4าว ไมVกินนม ท4องขึ้นแข็ง
การรักษา : ให4ยาเย็นและสุขุม
๕. ทับกุมโทษ
อาการ : อุจจาระเปUนมูกเลือด มีสีดำหรือสีแดงสด ปวดเบVงมากตัวร4อนมากตลอดทั้งตัว เชื่อมมัวทอด
ไมVสมปฤดี หายใจขัด กระหายน้ำ
การรักษา : เช4า ให4ยาน้ำสมอไทย , ยามเที่ยง ให4ยาหอมผักหนอก
๖. ทับเชื่อมมัว
อาการ : ทารกเปUนไข4กำเดา ซึมเซาเชื่อมมัว ปวดหัว ตัวร4อนจัด ท4องขึ้น หอบไอแห4ง ๆ
ทับมีอาการอุจจาระเปUนมูกเลือด ลงมิได4เปUนเวลา ปวดเบVงเปUนกำลัง กระหายน้ำ
การรักษา : ในหนังสือไมVปรากฏ
๗. ทับซาง
อาการ : เปUนไข4 ซางกินปอด ตับอยูVภายใน ถVายออกมาคล4ายน้ำสVาเหล4าบ4าง คล4ายน้ำไขV เนVาบ4าง มี
กลิ่นเหม็นคาว สุดท4ายถVายเปUนมูกเลือด ปวดเบVง หิว กระหายน้ำ อาจทำให4มีอาการตับทรุด อาการหนักขึ้น
ถVายออกมาเปUนเลือดเสลดเนVา ตัวร4อน ท4องขึ้น มือเท4าเย็น หายใจขัด ยากจะรักษา
การรักษา : ในหนังสือไมVปรากฏ
๘. ทับช้ำใน
อาการ : ขัดยอกในกายเหตุหกล4ม อกและสีข4างกระแทก (ตับได4รับการกระทบกระแทก) ชอกช้ำ
ภายใน (ตับ) อยูVนานมา จับไข4 ตัวร4อนเปUนเวลา หน4าตาไมVมีสี( ซีด ) ให4มีอาการตับทรุด อุจจาระเปUนสVาเหล4า
แลไขVเนVาแล4วเปUนมูกเลือด ปวดเบVง ตัวร4อนหายใจสะอื้นขัด มือเท4าเดี๋ยวเย็นเดี๋ยวร4อน มีโทษถึงตาย
การรักษา : ในหนังสือไมVปรากฏ


การอ-านและพิจารณาประโยชน<หรือคุณค-าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑. คุณค-าดNานสังคม
สะทNอนใหNเห็นถึงความเชื่อของสังคมไทย---ในคัมภีรฉG ันทศาสตรG แพทยGศาสตรGสงเคราะหG มีการ
ประสานความเชื่อทางสังคมและทางพระพุทธศาสนาเข4าด4วยกัน จึงทำให4มีคำบาลีปรากฏในเนื้อหา เชVน
วิหิงสา(เบียดเบียน) วิจิกิจจา(ความลังเล) มิจฉา(ความผิด)
สะทNอนใหNเห็นคุณค-าเรื่องแพทย<แผนไทย---แพทยGแผนไทยนั้นเปUนอีกหนึ่งวิธีการในการรักษาโรคที่
เปUนที่ยอมรับและเชื่อถือมาช4านานกVอนที่จะรับเอาวิทยาการแพทยGแผนใหมVมาจากชาติตะวันตกมาใช4เสียอีก
การรักษาแบบแพทยGแผนไทยนั้นสVวนมากจะใช4สมุนไพรซึ่งมีสรรพคุณมากมายมาใช4ในการรักษาโรค ซึ่ง
ปwจจุบันแพทยGแผนไทยนั้นถือวVาเปUนอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาที่เปUนที่สนใจทั้งในประเทศและตVางประเทศ
๒. คุณค-าดNานคุณธรรม
ใหNขNอคิดสำหรับการนำไปใชNในชีวิตประจำวัน---สามารถนำข4อคิดที่ได4จากคัมภีรGฉันทศาสตรG
แพทยศาสตรGสงเคราะหG ได4แกV ความไมVประมาท ไมVอวดดี ไมVริษยา ไมVโลภ ไมVเห็นแกVตัว ไมVหลงตัวเอง และ
การมีศีลธรรมประจำใจ ไปใช4ได4ทุกสาขาอาชีพ โดยเฉพาะวิชาชีพแพทยG เพราะแพทยGนั้นต4องเกี่ยวข4องกับ
ความเปUนความตายของชีวิตคน ฉะนั้นแพทยGจึงต4องเปUนผู4ที่รอบรู4จริง และปฏิบัติด4วยความรอบคอบไมV
ประมาท โดยมีคำสอนในทางพระพุทธศาสนาเปUนแนวทางในการชี้นำ
๓. คุณค-าดNานปcญญา
ใหNความรูNเรื่องขนาดของยา---ถึงคนเราบางคนจะมีอาการแบบเดียวกัน แตVก็อาจจะไมVสามารถใช4ยา
ชนิดเดียวกันในการรักษาได4 เพราะแตVละคนอาจจะไมVถูกกับยาชนิดเดียวกัน ตัวอยVางเชVน
อนึ่งทVานได4กลVาวถาม อยVากลVาวความบังอาจอำ
เภอใจวVาตนจำ เพศไข4นี้อันเคยยา
ใชVโรคสิ่งเดียวดาย จะพลันหายในโรคา
ตVางเนื้อก็ตVางยา จะชอบโรคอันแปรปรวน
๔. คุณค-าดNานวรรณศิลป[
การใชNถNอยคำในการอธิบาย---กวีได4เลือกใช4คำสั้นๆ แตVมีความหมายมาก อVานเข4าใจงVาย เชVน
บางหมอก็กลVาวคำ มุสาซ้ำกระหน่ำความ
ยกตนวVาตนงาม ประเสริฐยิ่งในการยา
บางหมอก็เกียจกัน ทีอันแพทยGรักษา
บ4างกลVาวเปUนมารยา เขาเจ็บน4อยวVามากครัน

การใชNอุปมาโวหาร---กวีได4ใช4ถ4อยคำในการเปรียบเทียบเพื่อให4ผู4อVานเข4าใจงVาย และเห็นภาพตาม
เชVน
อุทธัจจังอยVาอุทธัจ เห็นถนัดในโรคา
ให4ตั้งตนดังพระยา ไกรสรราชเข4านาวี


การใชNสำนวนไทย---กวีได4ใช4สำนวนไทยประกอบการอธิบายเพื่อชVวยให4ผู4อVานเข4าใจเนื้อความได4มากยิ่งขึ้น
เชVน
เรียนรู4คัมภีรGไสย สุขุมไว4อยVางแพรVงพราย
ควรกลVาวจึงขยาย อยVายื่นแก4วให4วาน


บรรณานุกรม

วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก. วรรณคดีวิจักษ<. ลาดพร4าว : โรงพิมพG สกสค., ๒๒๔๙. ๑๓๑ หน4า.

อ.บุญกว4าง ศรีสุทโธ. คัมภีร<ฉันทศาสตร< แพทย<ศาสตร<สงเคราะห< [ออนไลนG]. เข4าถึงเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม


๒๕๖๒. สืบค4นได4จาก https://sites.google.com/a/htp.ac.th/khamphir-chanth-sastr-
phaethysastr-sngkheraah/7-bth-wikheraah

You might also like