You are on page 1of 12

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านเเละพิจารณาวรรณคดีเรือ่ ง ลิลต
ิ ตะเลงพ่าย

โดย

นางสาวเเพรวา อัศวรังสี ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๘ เลขที่ ๒
นางสาวนนทชา พันธุ์เพ็ง ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๘ เลขที่ ๑๒
นางสาวเพ็ญพิชชา อาไพฉลวย ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๘ เลขที่ ๑
นางสาวชิสา ลาภผาติกุล ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๘ เลขที่ ๗

เสนอ

อ. พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)

รายวิชาภาษาไทยเเละวัฒนธรรม ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕

คานา

1
รายงานเล่มนี้ถูกจัดทาขึน้ เพือ
่ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยชัน ้ มัธยมศึ
กษาปี ที่ ๕/๘
เพือ ่ ทีจ่ ะศึกษาหาความรูใ้ นเรือ
่ งลิลต ิ ตะเลงพ่ายให้เข้าใจอย่างลึกซึง้
ผูจ้ ดั ทาหวังว่ารายงานเล่นนี้จะเป็ นประโยชน์กบ ั ผูอ
้ า่ นหรือนักเรียนนักศึกษาที่
ต้องการฐานข้อมูลในการค้นคว้าทารายงานหากมีขอ ้ ผิดพลาดประการใดผูจ้ ดั
ทาขออภัยและขอน้อมรับคาแนะนาเพือ ่ นาไปปรับปรุงมา ณ ทีน ่ ี้ดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา

สารบัญ

2
คานา
หน้า
๑. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

๑.๑ เนื้อเรือ
่ งหรือเนื้อเรือ
่ งย่อ
4
๑.๒ โครงเรือ ่ ง
4
๑.๓ ตัวละคร
4-5
๑.๔ ฉากท้อเรือ ่ ง
5-6
๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงราพัน
6-7
๑.๖ แก่นเรือ ่ งหรือสารัตถะของเรือ
่ ง
7
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคา
7
๒.๒ การเรียบเรียงคา
7-8
๒.๓ การใช้โวหาร 8-
9
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าด้านอารมณ์
9
๓.๒ คุณค่าด้านคุณธรรม
9
๓.๓ คุณค่าด้านอืน ่ ๆ
9
บรรณานุกรม
10

3
๑. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

๑.๑ เนื้อเรือ่ งหรือเนื้อเรือ่ งย่อ


ฝ่ ายนันทบุเรง กษัตริย์แห่งนครรามัญ พม่าหรือหงสาวดี
ทราบข่าวว่าพระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต ตอนนี้พระราชโอรส
ซึง่ ก็คอ ื สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ขน ึ้ ครองบัลลงก์และพระเอกาทศรถได้ค
รองตาแหน่ งอุปราช และอาจมีศก ึ แย่งชิงบัลลังก์
จึงส่งพระมหาอุปราชาซึง่ เป็ นบุตรไปตีสยาม
พระมหาอุปราชาจึงให้โหรทานาย
และโหรได้ทานายว่าพระองค์กาลังมีเคราะห์ถงึ ตาย
พระมหาอุปราชาจึงไปทูลพระเจ้านันทบุเรง
พระเจ้านันทบุเรงจึงตรัสว่าถ้าเกรงทีจ่ ะไปรบก็ให้ไปเอาผ้าสตรีมาสวมใส่
ด้วยความอับอาย พระมหาอุปราชาจังยกทัพไปตีกรุงศรีอยุธยา
โดยเกณฑ์พลจากเชียงใหม่และเมืองขึน ้ ต่างๆมาช่วย
ในขณะเดียวกันสมเด็จพระนเรศวรได้เตรียมกองทัพเพือ ่ ไปทาศึกกับพม่า
โดยทรงบัญชาให้ทพ ั หน้าไปประจาทีต ่ าบลหนองสาหร่าย
ในขณะทีพ ่ ม่าได้ยกทัพผ่านด่านเจดีย์สามองค์มายึดเมืองกาญจนบุรี
จากนัน ้ ก็นาทัพผ่านเข้ามาทางพนมทวน ณ
ทีแ ่ ห่งนี้ลมได้พดั พระฉัตรของพระมหาอุปราชาจนหักลง
ถือเป็ นลางไม่ดส ี าหรับพระมหาอุปราชา
ในส่วนของสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทสรถได้เคลือ ่ นทัพทางน้า
และขึน ้ บกทีอ ่ าเภอป่ าโมก จากนัน้ ได้นาพลไปทีอ ่ าเภอหนองสาหร่าย
และบัญชาทัพหน้าให้เข้าโจมตีทน ั ที
จากนัน ้ ก้ทาให้ศตั รุชะล่าใจโดยการทาทีเป็ นถอยทัพ
แต่บงั เอิญว่าช้างของสมเด็จพระนเรศวรเกิดตกมันและหลงเข้าไปในดงศัตรูทา
ให้แม่ทพ ั ต่างๆเสด็จตามไม่ทน ั
สมเด็จพระนเรศวรจึงกล่าวให้พระมหาอุปราชาออกมาทายุทธหัตถีกน ั
ท้ายทีส ่ ุดสมเด็จพระนเศวรทรงมีชยั เหนือพระมหาอุปราชา

4
ึ้ ทีน
สมเด็จพระนเรศวรได้มีพระบัญชาให้สร้างสถูปเจดีย์ขน ่ ี่
แล้วยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา

๑.๒ โครงเรือ่ ง
ลิลต
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นวรรณคดีทพ ี่ ระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชต ิ ชิโน
รสทรงนามาจากประวัตศ ิ าสตร์ไว้เฉลิมฉลองพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรม
หาราช ขอบเขตของเนื้อเรือ ่ งจะถูกกาหนดไว้ทส ี่ งครามยุธหัตถี

แต่เพือให้
่ เนื้อเรือ
่ งสนุกขึน้ จึงเติมเนืื้อหาทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับสงครามเข้าไป
เนื้อหาหลักของเรือ ่ งจะดาเนินตามเค้าเรือ ่ งของพงศาวดาร ตัวอย่างเช่น
การทาสงคราม หรือการจัดทัพ
เนื้อหาเพิม ่ เติมจะเป็ นบทประพันธ์ทเี่ ป็ นลักษณะนิราศ
ซึง่ จะกล่าวถึงพระมหาอุปราชาทีก ่ าลังเดินทางและคร่าครวญถึงคนรัก

๑.๓ ตัวละคร
ฝ่ ายไทย
 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดา)
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือพระองค์ดา
พระมหาธรรมราชาเป็ นพระบรมชนกนาถ มีพระนามว่า
สมเด็จพระนเรศวร หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๒ กษัตริย์องค์ที่ ๑๘
แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ทเี่ ก่งกล้าสามารถ
เป็ นผูป
้ ระกาศเอกราชหลังจากทีเ่ สียไปให้กบั พม่าถึง ๑๕ ปี
รวมทัง้ ขยายราชอาณาจักรให้กว้างใหญ่ ทาสงครามกับพม่า
จนพม่าหวาดกลัวไม่กล้ามารบไทยอีกเลยเป็ นเวลาร้อยกว่าปี
 สมเด็จพระเอกาทศรถ(พระองค์ขาว)
สมเด็จพระเอกาทศรถหรือพระองค์ขาว
อนุชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงดารงตาแหน่ งอุปราช
ได้ครองเมืองพิษณุโลก แต่มีเกียรติยศเสมอพระเจ้าแผ่นดิน
พระนามว่าสมเด็จพระเอกาทศรถ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๓
มีพระราชโอรสทีป ่ ระสูตจิ ากพระอัครมเหสี สององค์คอ ื เจ้าฟ้ าสุทศั น์
และเจ้าฟ้ าศรีเสาวภาค และมีพระราชโอรสทีป ่ ระสูตจิ ากพระสนม
อีกสามองค์คอ ื พระอินทรราชา พระศรีศลิ ป์ และพระองค์ทอง
สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตเมือ ่ ปี พ.ศ.๒๑๕๓ พระชนม์พรรษาได้
๕๐ พรรษาเศษ ครองราชย์ได้หา้ ปี
 พระมหาธรรมราชา
สมเด็จพระมหาธรรมราชาหรืออีกพระนามหนึ่งว่า สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๑
เสด็จพระราชสมภพ พระองค์ทรงรับราชการเป็ นทีข ่ นุ พิเรนทรเทพ
เจ้ากรมตารวจรักษาพระองค์ หลังจากทีเ่ หตุการณ์ วนุ่ วายในราชสานักยุตลิ ง
และพระเฑียรราชาได้ขนึ้ ครองราชย์เป็ นสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๐๙๑
้ เป็ นสมเด็จพระมหาธรรมราชา
แล้วขุนพิเรนทรเทพ ได้รบั สถาปนาขึน

5
แล้วได้รบั โปรดเกล้าให้ไปครองเมืองพิษณุ โลก สาเร็จราชการหัวเมืองฝ่ ายเหนือ
มีศกั ดิเ์ ทียบเท่าพระมหาอุปราช ได้รบั พระราชทานพระวิสท
ุ ธิกษัตรี
พระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเป็ นพระอัครมเหสี
ต่อมามีพระราชโอรสและพระราชธิดาสามพระองค์คอ ื พระสุพรรณเทวี
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ
ฝ่ ายพม่า
 พระเจ้าหงสาวดีหรือนันทบุเรง
กษัตริย์พม่า เดิมชือ่ มังชัยสิงห์ราช โอรสของบุเรงนอง
ดารงตาแหน่ งอุปราชในสมัยบุเรงนอง ได้ขน ึ้ ครองราชย์ตอ
่ จากบุเรงบอง
พระราชบิดา ทรงหวังทีจ่ ะสร้างความยิง่ ใหญ่เหมือนกับพระราชบิดา
แต่ก็ทาไม่สาเร็จ สุดท้ายถูกลอบวางยาพิษสิน ้ พระชนม์
 พระมหาอุปราชา
โอรสของนันทบุเรง ดารงดาแหน่ งอุปราชาในสมัยของนันทบุเรง
เดิมชือ
่ มังสามเกียด หรือมังกะยอชวา
เป็ นเพือ่ นเล่นกันกับพระนเรศวรในสมัยทีพ ่ ระองค์ประทับอยูท ่ ก
ี่ รุงหงสาวดี
ทรงทางานสนองพระราชบิดาหลายครัง้ โดยเฉพาะราชการสงคราม
และได้ถวายงานครัง้ สุดท้ายในการยกทัพ ๕ แสนมาตีไทย
และสิน ้ พระชนม์ในการทายุทธหัตถีกบ ั สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

๑.๔ ฉากท้อเรือ่ ง
ในเนื้อเรือ
่ งนัน
้ สถานทีท ่ ถี่ ูกกล่าวถึงอ้างอิงมาจากสถานทีจ่ ริง
เป็ นเหตุการภายในเมืองมอญและสภาพแวดล้อมในระหว่างการเดินทางของพ
ระมหาอุปราชาจากเมืองมอญจนถึงเมืองกาญจนบุรี ฉากในท้องเรือ ่ งมีดงั นี้
 หงสาวดี เมืองหลวงของพม่า
 อยุธยา เมืองหลวงของไทย
 ด่านเจดีย์สามองค์ เขตแดนระหว่างไทยกับพม่า อาเภอสังขละบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี
 กาญจนบุรี เมืองหน้าด่านของไทยทีพ ่ ระมหาอุปราชายกเข้ามา
เป็ นเมืองแรก
 แม่กษัตริย์ ชือ่ แม่น้าในจังหวัดกาญจนบุรีทแ ี่ ม่ทพั นายกองเมือง
กาญจนบุรีไปซุม ่ สอดแนมเพือ ่ หาข่าวของข้าศึก
 พนมทวน อาเภอหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี เมือ ่ พระมหาอุปราชา
ยกทัพมาถึงเกิดเวรัมภาพัดาให้ฉต ั รของพระมหาอุปราชาหัก
 เมืองสิงห์ เมืองสิงห์บุรี เมืองสรรค์ และเมืองสรรค์บุรี
อยูใ่ นจังหวัดชัยนาท และเมืองสุพรรณ
 กัมพุช, พุทไธธานี , ป่ าสัก เมืองของเขมร
 ราชบุรี เมืองทีส ่ มเด็จพระนเรศวรมีพระราชบัญชาให้เจ้าเมืองจัด
ทหารห้าร้อยคนไปทาลายสะพานไม้ไผ่ เจ้าเมืองชือ ่ พระอมรินทร์ ฦๅชัย
 วิเศษชัยชาญ เมืองทีพ ่ ม่าให้กองลาดตระเวนขืน ่ ม้าหาข่าว

6
 ปากโมก เป็ นตาบลทีส ้ บกทรง
่ มเด็จพระนเรศวรยกพลขึน
พระสุบนิ ว่ารบกับจระเข้และได้ชยั ชนะก่อนยกทัพออกจากปากโมกและ
ทอดพระเนตรเห็นพระบรมสารริกธาตุ
 หนองสาหร่าย ทีต ่ ง้ ั ทัพหน้าของไทย
 โคกเผ้าข้าว ตาบลทีก ่ องหน้าของไทยปะทะกับพม่าเวลา ๗.๐๐ น.
 ตระพังตรุตาบลทีท ่ รงทายุทธหัตถี
๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงราพัน
มาเดียวเปลีย่ วอกอ้า อายสู
สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์ พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่ งเนื้อนวลสงวน
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤๅ
เพราะเพือ ่ มาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชือ ่ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
สายหยุดหยุดกลิน ่ ฟุ้ ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ ห์หาย ห่างเศร้า
กีค
่ น
ื กีว่ น
ั วาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉน ั ใด

ถอดคาประพันธ์ : การเดินทัพครัง้ นี้


ทาให้พระมหาอุปราชารูส้ ก ึ โดดเดีย่ วพระองค์ยงิ่ นัก
มองไปทางไหนไม่เบิกบานพระทัย
เพราะทรงเฝ้ าคิดถึงแต่เหล่าพระสนมนางกานัล ทรงเห็นต้นสลัดได
ก็หวนคิดถึงแต่น้องนาง ทีต ่ อ้ งมารอนแรมอยูก
่ ลางป่ าก็เพราะว่าสงคราม
เห็นต้นสละ ก็เหมือนทีพ ่ ีต
่ อ ้ งจาใจสละน้องมา เห็นต้นระกา
ก็เหมือนทีพ่ ีต
่ อ
้ งระกาใจ ดอกสายหยุดพอสายก็หมดกลิน ่
แต่ดวงใจพีแ ่ ม้ในยามสาย ไม่คลายรักน้องจะกีค ่ น ื กีว่ น
ั ทีพ
่ ีจ่ ากน้องมา
พีก
่ ็หวนคิดถึงน้องทุกค่าเช้า ไม่รูจ้ ะหยุดได้อย่างไร

๑.๖ แก่นเรือ่ งหรือสารัตถะของเรือ่ ง


ผูป
้ ระพันธุ์เรือ
่ งลิลต
ิ ตะเลงพ่ายต้องการจะให้เราเห็นความสามารถด้านพ
ระปรีชาสามารถทางการรบ
เเละความเสียสละของบรรพบุรุษไทย ลิลต ิ ตะเลงพ่ายสะท้อนให้เห็นความรักช
าติ ความเสียสละ ความกล้าหาญ ของบรรพบุรุษ ซึ่งคนไทยควรภาคภูมใิ จ
แผ่นดินไทยต้องผ่านการทาศึกสงครามอย่างมากมายกว่าทีจ่ ะมารวมกันเป็ นปึ

7
กแผ่นอย่างปัจจุบน
ั นี้ พระราชภารกิจของกษัตริย์ไทยในสมัยก่อน
คือการปกครองบ้านเมืองให้รม ่ เย็นเป็ นสุขและรบเพือ
่ ปกป้ องอธิปไตยของไทย

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

๒.๑ การสรรคา
 การใช้คาทีเ่ หมาะแก่เนื้อเรือ่ งและฐานะของบุคคล
 การใช้คาโดยคานึงถึงเสียง
ความไพเราะของถ้อยคาหรือความงามของถ้อยคานัน ้
พิจารณาทีก ่ ารใช้สม
ั ผัส การเล่นคา เล่นความ การเลียนเสียงธรรมชาติ
เป็ นต้น
 มีการใช้สม ั ผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคาประพันธ์ทุกบท
 ลิลติ ตะเลงพ่ายมีการใช้คาทีม ่ ีเสียงเสนาะ
 มีการใช้สม ั ผัสพยัญชนะเดียวกันเกือบทัง้ วรรค เช่น

กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว
คลาดเคล้าคลาสมร
จาใจจรจากสร้อย อยูแ
่ ม่อย่าละห้อย
ห่อนช้าคืนสม แม่แล

๒.๒ การเรียบเรียงคา
ลิลต ิ ตะเลงพ่ายนัน้ เป็ นประเภท ‘โคลง’ ซึง่ ใช้คาทีม ่ ีนาหนัก คาโบราณ
และอีกทัง้ ยังใช้เพือ
่ พรรณนาถึงเรือ่ งราวที่ ศักดิส์ ท
ิ ธิ สูงสง่า เช่น บทไหว้ครู
และ บทเทดิ พระเกียรติ

๒.๓ การใช้โวหาร
กวีเลือกใช้ถอ ้ ยคาในการบรรยาย
พรรณนาและเปรียบเทียบได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อเรือ
่ ง
ทาให้ผอ
ู้ า่ นมองเห็นภาพชัดเจน ดังนี้

o การใช้คาให้เกิดจินตภาพ
การใช้คาทีแ่ สดงให้เห็นภาพการต่อสูอ ้ ย่างห้าวหาญของพลทหารทัง้ สอง
ฝ่ ายทีผ
่ ลัดกันรุกรับขับเคีย่ วกันด้วยอาวุธหลากหลายทัง้ ขอ ง้าว ทวน หอก ธนู
จนต่างฝ่ ายล้มตายไปเป็ นจานวนมาก ดังตัวอย่าง

8
...คนต่อคนต่อรบ ของ้าวทบทะกัน ต่างฟันต่างป้ องปัด
วางสนัดหลังสาร ขานเสียงคึกกึกก้อง ว่องต่อว่องชิงชัย ไวต่อไวชิงชนะ
ม้าไทยพะม้ามอญต่างเข้ารอนเข้าโรม ทวนแทงโถมทวนทบ
หอกเข้ารบรอหอกหลอกล่อไล่ไขว่แคว้งแย้งธนูเหนี่ยวแรง
ห้าวต่อห้าวหักหาญ ชาญต่อชาญหักเชีย่ ว เรีย่ วต่อเรีย่ วหักแรง
แขงต่อแขงหักฤทธิ ์ ต่างประชิดฟอนฟัน ต่างประชันฟอนฟาด
ล้วนสามารถมือทัด ล้วนสามรรถมือทาน ผลาญกันลงเต็มหล้า
ผร้ากันลงเต็มแหล่ง แบ่งกันตายลงครัน ปันกันตายลงมาก
ตากเต็มท่งเต็มเถือ ่ น ตากเต็มเผือ่ นเต็มพง
นอกจากนี้ผแ ู้ ต่งใช้คาพรรณนา การสูร้ บ
ทาให้ผอ ู้ า่ นเห็นภาพช้างทรงของทัง้ สองพระองค์ตา่ งสะบัดเหวีย่ งกันไปมา
ผลัดเปลีย่ นกันได้ทีแต่ก็ไม่มีผใู้ ดยอมแพ้
ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรได้ลา่ ง พระมหาอุปราชาก็เพลีย่ งพลา้
สมเด็จพระนเรศวรฟันพระมหาอุปราชาด้วยพระแสงของ้าวขาดสะพาย
แล่งสิน้ พระชนม์ทน ั ที
พระวรกายของพระมหาอุปราชาค่อยๆแอนลงซบกับคอช้างและสิน ้ พระชนม์บ
นคอช้างนั่นเอง
ตอนนี้นอกจากจะเห็นภาพการรบอย่างสง่างามแคล่วคล่องว่องไวสมเป็ นกษัตริ
ย์ของทัง้ สองพระองค์ชว่ งสุดท้ายยังเห็นภาพการสิน ้ พระชนม์ของพระมหาอุปร
าชาทีค่ อ่ ยๆเอนพระองค์ลงซบกับคอช้าง เป็ นภาพทีห ่ ดหูแ
่ ละสะเทือนใจ
ดังตัวอย่าง
พลอยพลา้ เพลียกถ้าท่าน ในรณ
บัดราชฟาดแสงพล พ่ายฟ้ อน
พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู่ เข็ญแฮ
ถนัดพระอังสาข้อน ขาดด้าวโดยขวา
o การใช้โวหารโดยการเปรียบเทียบ
สมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิเ์ หมือนพระรามยามต่อสูก ้ บั ทศกัณฐ์
ข้าศึกศัตรูทพ ี่ า่ ยแพ้ไปเหมือนพลยักษ์
สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองค์พระนารายณ์ อวตารลงมา ดังตัวอย่าง
บุญเจ้าจอมภพขึน ้ แผ่นสยาม
แสยงพระยศยินขาม ขาดแกล้ว
พระฤทธิด ์ ่งั ฤทธิร์ าม รอนราพณ์ แลฤา
ราญอริราชแผ้ว แผกแพ้ทุกภาย
ไพรินทรนาศเพี้ยง พลมาร
พระดั่งองค์อวตาร แต่กี้
แสนเศิกห่อนหาญราญ รอฤทธิ ์ พระฤา
ดาลตระดกเดชลี้ ประลาตหล้าแหล่งสถาน

9
๓. การอ่านเเละพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีเเละวรรณกรรม

๓.๑ คุณค่าด้านอารมณ์
แม้ลลิ ต
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นเรือ ่ งเกีย่ วกับประวัตศ
ิ าสตร์และยอพระเกียรติพระ
มหากษัตริย์ แต่ดว้ ยความปรีชาในด้านภาษาอย่างลึกซึง้ ของกวี
กวีสามารถใช้ถอ ้ ยคา ทาให้ผอ ู้ า่ นเกิดความสะเทือนอารมณ์
เกิดความรูส้ กึ เห็นใจ เศร้าใจ ดีใจ ภูมใิ จ ได้ตามจุดมุง่ หมายของกวี ดังนี้
การใช้ถอ้ ยคาให้เกิดความรูส้ ก ึ เห็นใจ เช่น
ตอนทีพ่ ระมหาอุปราชาเคลือ ่ นกระบวนทัพ ขณะเดินทางมีการชมธรรมชาติ
ชมพันธุ์ไม้ตา่ งๆโดยการนาชือ ่ ต้นไม้และดอกไม้มาเล่นคาให้สอดคล้องกับอาร
มณ์ และความรูส้ ก ึ ของพระมหาอุปราชาได้อย่างไพเราะ
การใช้ถอ ้ ยคาเกิดอารมณ์ สะเทือนใจ เกิดความรูส้ ก ึ เจ็บปวด
แสดงความโศกเศร้า

๓.๒ คุณค่าด้านคุณธรรม
ลิลต
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นตัวอย่างทีด ่ อ
ี ย่างเช่นสอนให้เรานัน
้ ความรอบคอบไม่
ประมาทในเรือ ่ งลิลต ิ ตะเลงพ่ายนี้เราจะเห็นคุณธรรมของพระนเรศวรได้อย่างเ
ด่นชัดและสิง่ ทีท
่ าให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรี
ชาสามารถมากทีส ่ ุดคือ ความรอบคอบ ไม่ประมาท เป็ นคนรูจ้ กั การวางแผน
เเละ การเป็ นคนรูจ้ กความกตัญญูกตเวที

๓.๓ คุณค่าด้านอืน
่ ๆ
วรรณคดีเรือ ่ งนี้นอกจากจะเป็ นตัวอย่างทีด
่ ใี ห้เรามีความรอบคอบแล้วยัง
เป็ นเหตุการณ์ ทส
ี่ าคัญในประวัตศิ าสตร์ไทยทีไ่ ทยได้รบ ั ชัยชนะจากการสูร้ บยุ
ทธหัตถีระหว่างกษัตริย์ไทยและพม่า
ลิลติ ตะเลงพ่ายบางตอนได้แสดงให้เห็นไหวพริบและสติปญ ั ญาทีห
่ ลักแหลมขอ
งพระมหากษัตริย์ไทยทีไ่ ด้ใช้กลยุทธ์อน ั หลักแหลมเอาชนะกองทัพพม่าและพร
ะมหาอุปราชาแห่งหงสาวดี

บรรณานุกรม

10
นางพันทิพย์ โขมะนามม. วรรณคดีไทยน่ าอ่าน เรือ
่ ง ลลิตตะเลงพ่าย
(ออนไลน์ ). เข้าเมือ
่ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้ จากเว็บไซต์
https://thaistudym5.wordpress.com/ตอนที-่ ๕-เนื้อหา-
ลิลต
ิ ตะ/พระมหาอุปราชาทรงราพันถ/กิจกรรมเพือ
่ การเรียนรู/

Kruaphichiblog. วิเคราะห์คณ
ุ ค่า วรรณคดี เรือ
่ ง ลิลต
ิ ตะเลงพ่าย
(ออนไลน์ ). เข้าเมือ
่ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้ จากเว็บไซต์
https://teachertonthai.wordpress.com/2017/10/28/first-
blog-post/

Google sites. บทวิเคราะห์ดา้ นวรรณศิลป์ (ออนไลน์ ). เข้าเมือ


่ วันที่ ๒๘
พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้ จากเว็บไซต์
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-
wikheraah/8-2-dan-wrrnsilp

Google sites. เนื้อเรือ


่ งย่อ เรือ
่ งลิลต
ิ ตะเลงพ่าย (ออนไลน์ ). เข้าเมือ
่ วันที่ ๒๘
พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้ จากเว็บไซต์
https://sites.google.com/site/worakornmpn/neux-reuxng-yx

Google sites. เนื้อเรือ


่ งลิลต
ิ ตะเลงพ่าย (ออนไลน์ ). เข้าเมือ
่ วันที่ ๒๘
พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้ จากเว็บไซต์
https://sites.google.com/site/saowalakkhamdee41/neux-
reuxng-lilit-taleng-phay

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาดาเนินการจัดพิมพ์ หนังสือเรียนม
รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕, กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, พ.ศ. 25555. จานวนหน้า 131 หน้า

11
12

You might also like