You are on page 1of 10

รายงานเชิงวิชาการ 

 
การอ่านเเละพิจารณาวรรณคดีเรือง ลิลิตตะเลงพ่าย 
 

 
 
โดย 
 
นางสาวเเพรวา อัศวรังสี ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๘ เลขที ๒ 
นางสาวนนทชา  พันธุเ์ พ็ง ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๘ เลขที ๑๒ 
นางสาวเพ็ญพิชชา  อําไพฉลวย ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๘ เลขที ๑ 
นางสาวชิสา  ลาภผาติกล ุ ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๘ เลขที ๗ 
 
 
เสนอ 
 
อ. พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ 
 
ภาคเรียนที ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๑ 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 
 
รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปนฐาน 
(Project Based Learning) 
 
รายวิชาภาษาไทยเเละวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที ๕ 
คํานํา 
 
รายงานเล่มนีถูกจัดทําขึนเพือเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทยชัน
มัธยมศึกษาปที ๕/๘ เพือทีจะศึกษาหาความรูใ้ นเรืองลิลิตตะเลงพ่ายให้
เข้าใจอย่างลึกซึง ผูจ
้ ัดทําหวังว่ารายงานเล่นนีจะเปนประโยชนืกับผูอ
้ ่าน
หรือนักเรียนนักศักษาทีต้องการฐานข้อมูลในการค้นคว้าทํารายงานหาก
มีขอ้ ผิดพลาดประการใดผูจ ้ ัดทําขออภัยและขอน้อมรับคําแนะนําเพือนํา
ไปปรับปรุงมา ณ ทีนีด้วย 
 
 
้ ัดทํา   
คณะผูจ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สารบัญ 
หน้า 
คํานํา ก 
1. ก
​ ารอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 3   
1.1เนือเรือง  3 
1.2.โครงเรือง 4 
1.3 ตัวละคร  4 
1.4 ฉากท้องเรือง  5 
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน  5 
1.6 แก่นเรือง  6 
 
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม  7 
ประกอบด้วย 
2.1 การสรรคํา 7 
2.2 การเรียบเรียงคํา 9 
2.3 การใช้โวหาร  9 
 
3.การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม    
3.1 คุณค่าด้านอารมณ์  11 
3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม  11 
3.3 คุณค่าด้านอืนๆ  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๑. การอ่านและพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม 
เนือเรือง 
 
๑.๑ เนีอเรือง หรือ เนีอเรืองย่อ 
ฝ่ายนันทบุเรง กษัตริ ยแ์ หง่ นครรามัญ พมา่ หรื อหงสาวดี ทราบขา่ ววา่ พระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต ตอนนี้
พระราชโอรส ซึ่งก็คือสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดข้ ้ึนครองบัลลงกแ ์ ละพระเอกาทศรถไดค ้ รองตาํ แหน่งอุปราช
และอาจมีศก ึ แยง่ ชิงบัลลังก์ จึงสง่ พระมหาอุปราชาซึ่งเป็ นบุตรไปตีสยาม พระมหาอุปราชาจึงให้โหรทาํ นาย และ
โหรไดท ้ าํ นายวา่ พระองคก ์ าํ ลังมีเคราะหถ์ ึงตาย พระมหาอุปราชาจึงไปทูลพระเจา้ นันทบุเรง พระเจา้ นันทบุเรงจึง
ตรัสวา่ ถา้ เกรงที่จะไปรบก็ให้ไปเอาผา้ สตรี มาสวมใส ่ ดว้ ยความอับอาย พระมหาอุปราชาจังยกทัพไปตีกรุ ง
ศรี อยุธยา โดยเกณฑพ ์ ลจากเชียงใหมแ ่ ละเมืองขึ้นตา่ งๆมาชว่ ย ในขณะเดียวกันสมเด็จพระนเรศวรไดเ้ ตรี ยม
กองทัพเพื่อไปทาํ ศก ึ กับพมา่ โดยทรงบัญชาให้ทัพหน้าไปประจาํ ที่ตาํ บลหนองสาหร่าย ในขณะที่พมา่ ไดย้ กทัพ
ผา่ นดา่ นเจดียส์ ามองคม ์ ายึดเมืองกาญจนบุรี จากนัน ้ ก็นําทัพผา่ นเขา้ มาทางพนมทวน ณ ที่แหง่ นี้ ลมไดพ ้ ั ดพระ
ฉัตรของพระมหาอุปราชาจนหักลง ถือเป็ นลางไมด ่ ีสาํ หรับพระมหาอุปราชา ในสว่ นของสมเด็จพระนเรศวรและ
สมเด็จพระเอกาทสรถไดเ้ คลื่อนทัพทางนํา้ และขึ้นบกที่อาํ เภอป่าโมก จากนัน ้ ําพลไปที่อาํ เภอหนองสาหร่าย
้ ไดน
และบัญชาทัพหน้าให้เขา้ โจมตีทันที จากนัน ้ กท
้ าํ ให้ศัตรุ ชะลา่ ใจโดยการทาํ ทีเป็ นถอยทัพ แตบ ่ ั งเอิญวา่ ชา้ งของ
สมเด็จพระนเรศวรเกิดตกมันและหลงเขา้ ไปในดงศั ตรู ทาํ ให้แมท ่ ั พตา่ งๆเสด็จตามไมท่ ั น สมเด็จพระนเรศวรจึง
กลา่ วให้พระมหาอุปราชาออกมาทาํ ยุทธหัตถีกัน ทา้ ยที่สุดสมเด็จพระนเศวรทรงมีชัยเหนื อพระมหาอุปราชา
สมเด็จพระนเรศวรไดม ้ ีพระบัญชาให้สร้างสถูปเจดียข์ ้ึนที่น่ี แลว้ ยกทัพกลับกรุ งศรี อยุธยา  
 
 
๑.๒ โครงเรือง 
ลิลิตตะเลงพ่ายเปนวรรณคดีทีพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงนํามาจาก
ประวัติศาสตร์ไว้เฉลิมฉลองพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขอบเขตของเนือเรืองจะถูก

กําหนดไว้ทีสงครามยุธหัตถี แต่เพือให้เนือเรืองสนุกขึนจึงเติมเนืือหาทีไม่เกียวข้องกับสงคราม
เข้าไป เนือหาหลักของเรืองจะดําเนินตามเค้าเรืองของพงศาวดาร ตัวอย่างเช่น การทําสงคราม 
หรือการจัดทัพ เนือหาเพิมเติมจะเปนบทประพันธ์ทีเปนลักษณะนิราศ ซึงจะกล่าวถึงพระมหาอุป
ราชาทีกําลังเดินทางและคราครวญถึงคนรัก 
 
 
 
 
๑.๓ ตัวละคร 
 
ฝายไทย 
 
๑. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองคด ์ าํ ) สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราชหรื อพระองคด ์ าํ พระมหาธรรมราชาเป็ นพระบรมชนกนาถ มีพระนามวา่
สมเด็จพระนเรศวร หรื อสมเด็จพระสรรเพชญท ์ ่ี ๒ กษัตริ ยอ์ งคท
์ ่ี ๑๘ แหง่ กรุ งศรี อยุธยา ทรง
์ ่ีเกง่ กลา้ สามารถ เป็ นผูป
เป็ นพระมหากษัตริ ยท ้ ระกาศเอกราชหลังจากที่เสียไปให้กับพมา่ ถึง

๑๕ ปี รวมทังขยายราชอาณาจ ั กรให้กวา้ งใหญ่ ทาํ สงครามกับพมา่ จนพมา่ หวาดกลัวไมก่ ลา้
มารบกับไทยอีกเลยเป็ นเวลาร้อยกวา่ ปี

๒. สมเด็จพระเอกาทศรถ(พระองคข์ าว)
สมเด็จพระเอกาทศรถหรื อพระองคข์ าว อนุ ชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรง
ดาํ รงตาํ แหน่งอุปราช ไดค ้ รองเมืองพิษณุ โลก แตม ่ ีเกียรติยศเสมอพระเจา้ แผน
่ ดิน พระนามวา่
สมเด็จพระเอกาทศรถ หรื อสมเด็จพระสรรเพชญท ์ ่ี ๓ มีพระราชโอรสที่ประสูติจากพระ
อัครมเหสี สององคค ์ ือ เจา้ ฟ้าสุทัศน์ และเจา้ ฟ้าศรี เสาวภาค และมีพระราชโอรสที่ประสูติจาก
พระสนม อีกสามองคค ์ ือ พระอินทรราชา พระศรี ศลิ ป์ และพระองคท ์ อง สมเด็จพระเอกาทศรถ
เสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.๒๑๕๓ พระชนมพ ์ รรษาได้ ๕๐ พรรษาเศษ ครองราชยไ์ ดห ้ ้าปี

๓. พระมหาธรรมราชา
สมเด็จพระมหาธรรมราชาหรื ออีกพระนามหนึ่ งวา่ สมเด็จพระสรรเพชญท ์ ่ี ๑ เสด็จพระ
ราชสมภพ พระองคท ์ รงรับราชการเป็ นที่ขุนพิเรนทรเทพ เจา้ กรมตาํ รวจรักษาพระองค์ หลัง
จากที่เหตุการณ์วุน ่ วายในราชสาํ นักยุติลง และพระเฑียรราชาไดข้ ้ึนครองราชยเ์ ป็ นสมเด็จพระ
มหาจักรพรรดิ์ เมื่อปี พ.ศ.๒๐๙๑ แลว้ ขุนพิเรนทรเทพ ไดร้ ั บสถาปนาขึ้นเป็ นสมเด็จพระมหา
ธรรมราชา แลว้ ไดร้ ั บโปรดเกลา้ ให้ไปครองเมืองพิษณุ โลก สาํ เร็จราชการหัวเมืองฝ่ายเหนื อ มี
ศั กดิเ์ ทียบเทา่ พระมหาอุปราช ไดร้ ั บพระราชทานพระวิสุทธิกษัตรี พระราชธิดาในสมเด็จพระ
มหาจักรพรรดิเ์ ป็ นพระอัครมเหสี ตอ่ มามีพระราชโอรสและพระราชธิดาสามพระองคค ์ ือ พระ
สุพรรณเทวี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ
 
 
ฝายพม่า 
 
๔. พระเจา้ หงสาวดีหรื อนันทบุเรง
กษัตริ ยพ์ มา่ เดิมชื่อมังชั ยสิงหร์ าช โอรสของบุเรงนอง ดาํ รงตาํ แหน่งอุปราชในสมัยบุเรงนอง
ไดข้ ้ึนครองราชยต ์ อ่ จากบุเรงบอง พระราชบิดา ทรงหวังที่จะสร้างความยิง่ ใหญเ่ หมือนกับพระ
ราชบิดา แตก ่ ท
็ าํ ไมส ้ พระชนม์
่ าํ เร็จ สุดทา้ งยถูกลอบวางยาพิษสิน

๕. พระมหาอุปราชา
โ​ อรสของนันทบุเรง ดาํ รงดาํ แหน่งอุปราชาในสมัยของนันทบุเรง เดิมชื่อมังสามเกียด
หรื อมังกะยอชวา เป็ นเพื่อนเลน ่ กันกับพระนเรศวรในสมัยที่พระองคป์ ระทับอยูท ่ ่ีกรุ งหงสาวดี
ทรงทาํ งานสนองพระราชบิดาหลายครัง้ โดยเฉพาะราชการสงคราม และไดถ ้ วายงานครัง้
้ พระชนมใ์ นการทาํ ยุทธหัตถีกับสมเด็จพระ
สุดทา้ ยในการยกทัพ ๕ แสนมาตีไทย และสิน
นเรศวรมหาราช

 
๑.๔ ฉากท้องเรือง 
 
ในเนือเรืองนัน สถานทีทีถูกกล่าวถึงอ้างอิงมาจากสถานทีจริง เปนเหตุการภายใน
เมืองมอญและสภาพแวดล้อมในระหว่างการเดินทางของพระมหาอุปราชาจาก

เมืองมอญจนถึงเมืองกาญจนบุรี ฉากในท้องเรืองมีดังนี 
- หงสาวดี เมืองหลวงของพม่า 
- อยุธยา เมืองหลวงของไทย 
- ด่านเจดียส์ ามองค์ เขตแดนระหว่างไทยกับพม่า อาเภอสังขละบุรี จังหวัด
กาญจนบุร ี
- กาญจนบุรี เมืองหน้าด่านของไทยทีพระมหาอุปราชายกเข้ามา เปนเมืองแรก 
- แม่กษัตริย์ ชือแม่นา้ ในจังหวัดกาญจนบุรท ี ี่แม่ทัพนายกองเมือง กาญจนบุรี
ไปซุม่ สอดแนมเพือหาข่าวของข้าศึก 
- พนมทวน อาเภอหนึงในจังหวัดกาญจนบุรี เมือพระมหาอุปราชา ยกทัพมา
ถึงเกิดเวรัมภาพัดาให้ฉต ั รของพระมหาอุปราชาหัก 
- เมืองสิงห์ เมืองสิงห์บุรี เมืองสรรค์ และเมืองสรรค์บุรี อยูใ่ นจังหวัดชัยนาท 
และเมืองสุพรรณ 
- กัมพุช, พุทไธธานี, ปาสัก เมืองของเขมร 
- ราชบุรี เมืองทีสมเด็จพระนเรศวรมีพระราชบัญชาให้เจ้าเมืองจัด ทหารห้า
ร้อยคนไปทาลายสะพานไม้ไผ่ เจ้าเมืองชือ พระอมรินทร์ฦาชัย 
- วิเศษชัยชาญ เมืองทีพม่าให้กองลาดตระเวนขืนม้าหาข่าว 
- ปากโมก เปนตาบลทีสมเด็จพระนเรศวรยกพลขึนบกทรง พระสบุน ิ ว่ารบกับ
จระเข้และได้ชย ั ชนะก่อนยกทัพออกจากปากโมกและทอดพระเนตรเห็น
พระบรมสารริกธาตุ  
- หนองสาหร่าย ทีตังทัพหน้าของไทย 
- โคกเผ้าข้าว ตาบลท่ีกองหน้าของไทยปะทะกับพม่าเวลา ๗.๐๐ น. 
- ตระพังตรุตาบลทีทรงทายุทธหัตถี 
 
 
 
1.5 บทเจรจารําพึงรําพัน 
​มาเดียวเปลี่ยวอกอา้ อายสู 
สถิตอยูเ่ ออ ์ ู
้ งคด ละห้อย 
พิศโพน
้ พฤกษ ์ พบู บานเบิก ใจนา 
พลางคะนึ งนุ ชน้อย  แน่งเนื้ อนวลสงวน 
 
  สลัดไดใดสลัดน้อง  แหนงนอน ไพรฤๅ 

เพราะเพือมาราญรอน  เศิกไสร้ 
สละสละสมร  เสมอชื่อ ไมน้ า 
นึ กระกาํ นามไม ้ แมน ่ แมน้ ทรวงเรี ยม 
 
  ่ ฟุ้ง 
สายหยุดหยุดกลิน ยามสาย 
สายบห ่ ยุ ดเสน หห
่ ์ าย  หา่ งเศร้า 
กี่คืนกี่วันวาย  วางเทวษ ราแม ่
ถวิลทุกขวบคา่ ํ เชา้   หยุดไดฉ ้ ั นใด 
 
ถอดคาํ ประพันธ์ : การเดินทัพครัง้ นี้ ทาํ ให้พระมหาอุปราชารู้ สก ึ โดดเดี่ยวพระองคย์ งิ่ นัก มองไปทางไหนไมเ่ บิกบานพระทัย
เพราะทรงเฝ้าคิดถึงแตเ่ หลา่ พระสนมนางกาํ นัล ทรงเห็นตน ้ สลัดได ก็หวนคิดถึงแตน ่ ้ องนาง ที่ตอ ้ งมารอนแรมอยูก ่ ลางป่าก็
เพราะวา่ สงคราม เห็นตน ้ สละ ก็เหมือนทีพีตอ่ ่ ้ งจาํ ใจสละน้องมา เห็นตน ้ ระกาํ ก็เหมือนทีพีตอ่ ่ ้ งระกาํ ใจ ดอกสายหยุดพอสายก็
หมดกลิน ่ แตด
่ ่
วงใจพี แม ใ
้ นยามสาย ไม ค
่ ลายร ั กน้ อ ่
งจะกี ค ื น ่
กี ว ั น ่
ที พ่ ี จากน ้ องมา ่
พี ก ห็ วนคิ ดถึ งน้องทุกคา่ ํ เชา้ ไมร่ ู้ จะหยุดได้
อยา่ งไร

 
 
 
 
 
 
๑.๖ เเก่นเรืองหรือสารัตถะของเรือง 
ผูป้ ระพันธุเ์ รืองลิลิตตะเลงพ่ายต้องการจะให้เราเห็นความสามารถดา้ นพระ
ปรี ชาสามารถทางการรบ เเละความเสียสละของบรรพบุรุษไทย ลิลิตตะเลงพา่ ยสะทอ ้ นให้เห็น
ความรักชาติ ความเสียสละ ความกลา้ หาญ ของบรรพบุรุษ ซ่ึงคนไทยควรภาคภูมิใจ แผน ่ ดิน
ไทยตอ ้ งผา่ นการทาํ ศก ึ สงครามอยา่ งมากมายกวา่ ที่จะมารวมกันเป็ นปึ กแผน
่ อยา่ งปัจจุบันนี้
พระราชภารกิจของกษัตริ ยไ์ ทยในสมัยกอ ่ น คือการปกครองบา้ นเมืองให้ร่มเย็นเป็ นสุขและรบ
เพื่อปกป้องอธิปไตยของไทย
 
 
 
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
๒.๑ การสรรคํา 
-การใช้คําทีเหมาะแก่เนือเรืองและฐานะของบุคคล  
- การใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง ความไพเราะของถ้อยคําหรือความงามของ
ถ้อยคํานัน พิจารณาทีการใช้สม ั ผัส การเล่นคํา เล่นความ การเลียนเสียง
ธรรมชาติ เปนต้น 
-มีการใช้สมั ผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคําประพันธ์ทก ุ บท 
-ลิลิตตะเลงพ่ายมีการใช้คําทีมีเสียงเสนาะ   
-​มก ั ผัสพยัญชนะเดียวกันเกือบทังวรรค เช่น 
ี ารใช้สม
กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว 
คลาดเคล้าคลาสมร 
จําใจจรจําจากสร้อย อยูแ่ ม่อย่าละห้อย 
ห่อนช้าคืนสม แม่แล 
 
 
 
 
  
๒.๒การเรียบเรียงคํา 
ลิลิตตะเลงพ่ายนันเปนประเภท ‘โคลง’ ซึงใช้คําทีมีนาหนัก คําโบราณ และ
อีกทังยังใช้เพือพรรณนาถึงเรืองราวที ศักดิสิทธิ สูงสง่า เช่น บทไหว้ครู และ บทเทดิ 
พระเกียรติ 
  
๒.๓ การใช้โวหาร  
กวีเลือกใช้ถ้อยคําในการบรรยาย พรรณนาและเปรียบเทียบได้อย่างเหมาะสมกับเนือเรือง ทําให้ผู้
อ่านมองเห็นภาพชัดเจน ดังนี 
​การใช้คําให้เกิดจินตภาพ  
การใช้คําทีแสดงให้เห็นภาพการต่อสูอ ้ ย่างห้าวหาญของพลทหารทังสองฝายทีผลัดกันรุกรับ
ขับเคียวกันด้วยอาวุธหลากหลายทังขอ ง้าว ทวน หอก ธนู จนต่างฝายล้มตายไปเปนจํานวนมาก ดัง
ตัวอย่าง 
...คนต่อคนต่อรบ ของ้าวทบทะกัน ต่างฟนต่างปองปด วางสนัดหลังสาร ขานเสียงคึก
กึกก้อง ว่องต่อว่องชิงชัย ไวต่อไวชิงชนะ  ม้าไทยพะม้ามอญ ต่างเข้ารอนเข้าโรม 
ทวนแทงโถมทวนทบ หอกเข้ารบรอหอก หลอกล่อไล่ไขว่แคว้ง แย้งธนูเหนียวแรง ห้าวต่อห้าว
หักหาญ ชาญต่อชาญหักเชียว เรียวต่อเรียวหักแรง แขงต่อแขงหักฤทธิ ต่างประชิดฟอนฟน 
ต่างประชันฟอนฟาด ล้วนสามารถมือทัด ล้วนสามรรถมือทาน ผลาญกันลงเต็มหล้า ผร้ากันลง
เต็มแหล่ง แบ่งกันตายลงครัน ปนกันตายลงมาก ตากเต็มท่งเต็มเถือน ตากเต็มเผือนเต็มพง 
นอกจากนีผูแ้ ต่งใช้คําพรรณนา การสูร้ บ ทําให้ผอ ู้ ่านเห็นภาพช้างทรงของทังสองพระองค์ต่าง
สะบัดเหวียงกันไปมา ผลัดเปลียนกันได้ทีแต่ก็ไม่มผ
ี ใู้ ดยอมแพ้ ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรได้ล่าง พระ
มหาอุปราชาก็เพลียงพลา  
สมเด็จพระนเรศวรฟนพระมหาอุปราชาด้วยพระแสงของ้าวขาดสะพายแล่งสินพระชนม์ทันที 
พระวรกายของพระมหาอุปราชาค่อยๆแอนลงซบกับคอช้างและสินพระชนม์บนคอช้างนันเอง ตอนนี
นอกจากจะเห็นภาพการรบอย่างสง่างามแคล่วคล่องว่องไวสมเปนกษัตริยข ์ องทังสองพระองค์ชว
่ งสุดท้าย
ยังเห็นภาพการสินพระชนม์ของพระมหาอุปราชาทีค่อยๆเอนพระองค์ลงซบกับคอช้าง เปนภาพทีหดหู่
และสะเทือนใจ ดังตัวอย่าง 
  พลอยพลาเพลียกถ้าท่าน ในรณ 
  บัดราชฟาดแสงพล พ่ายฟอน 
  พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู่ เข็ญแฮ 
  ถนัดพระอังสาข้อน ขาดด้าวโดยขวา 
 
​การใช้โวหารโดยการเปรียบเทียบ ​ว่าสมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิเหมือนพระรามยามต่อสู้
กับทศกัณฐ์ ข้าศึกศัตรูทีพ่ายแพ้ไปเหมือนพลยักษ์ สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองค์พระนารายณ์อวตาร
ลงมา ดังตัวอย่าง 
  บุญเจ้าจอมภพขึน แผ่นสยาม 
  แสยงพระยศยินขาม ขาดแกล้ว 
  พระฤทธิดังฤทธิราม รอนราพณ์ แลฤา 
  ราญอริราชแผ้ว แผกแพ้ทก ุ ภาย 
  ไพรินทรนาศเพียง พลมาร 
  พระดังองค์อวตาร แต่กี 
  แสนเศิกห่อนหาญราญ รอฤทธิ พระฤา 
  ดาลตระดกเดชลี ประลาตหล้าแหล่งสถาน 
 
๓. การอ่านเเละพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีเเละวรรณกรรม 
 
๓.๑ ด้านอารมณ์ 
แม้ลิลิตตะเลงพ่ายเปนเรืองเกียวกับประวัติศาสตร์และยอพระเกียรติพระ
มหากษัตริย์ แต่ด้วยความปรีชาในด้านภาษาอย่างลึกซึงของกวี กวีสามารถใช้
ถ้อยคํา ทําให้ผอ ู้ ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์ เกิดความรูส ้ กึ เห็นใจ เศร้าใจ ดีใจ 
ภูมใิ จ ได้ตามจุดมุง่ หมายของกวี ดังนี ก​ ารใช้ถ้อยคําให้เกิดความรูส ้ ก
ึ เห็นใจ เช่น 
ตอนทีพระมหาอุปราชาเคลือนกระบวนทัพ ขณะเดินทางมีการชมธรรมชาติ ชม
พันธุไ์ ม้ต่างๆโดยการนําชือต้นไม้และดอกไม้มาเล่นคําให้สอดคล้องกับอารมณ์และ
ความรูส ้ ก
ึ ของพระมหาอุปราชาได้อย่างไพเราะ การใช้ถ้อยคําเกิดอารมณ์สะเทือน
ใจ เกิดความรูส ้ ก ึ เจ็บปวด แสดงความโศกเศร้า 
 
3.2 ด้านคุณธรรม 
ลิลิตตะเลงพ่ายเปนตัวอย่างทีดีอย่างเช่นสอนให้เรานันความรอบคอบไม่
ประมาทในเรืองลิลิตตะเลงพ่ายนีเราจะเห็นคุณธรรมของพระนเรศวรได้อย่างเด่น
ชัดและสิงทีทําให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเปนพระมหากษัตริยท ์ ีทรงพระปรีชา
สามารถมากทีสุดคือ ความรอบคอบ ไม่ประมาท เปนคนรูจ ้ ักการวางแผน เเละ การ
เปนคนรูจ ้ กความกตัญ ูกตเวที  
 
3.3 ด้านอืนๆ 
วรรณคดีเรืองนีนอกจากจะเปนตัวอย่างทีดีให้เรามีความรอบคอบแล้วยังเปน
เหตุการณ์ทีสําคัญในประวัติศาสตร์ไทยทีไทยได้รบ
ั ชัยชนะจากการสูร้ บยุทธหัตถี
ระหว่างกษัตริยไ์ ทยและพม่า ลิลิตตะเลงพ่ายบางตอนได้แสดงให้เห็นไหวพริบและ
สติปญญาทีหลักแหลมของพระมหากษัตริยไ์ ทยทีได้ใช้กลยุทธ์อันหลักแหลม
เอาชนะกองทัพพม่าและพระมหาอุปราชาแห่งหงสาวดี 
บรรณาณุกรม 
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-wikheraah/8-
2-dan-wrrnsilp 
 
https://sites.google.com/site/worakornmpn/neux-reuxng-yx 
 
https://sites.google.com/site/saowalakkhamdee41/neux-reuxng-lilit-t
aleng-phay 
 
https://teachertonthai.wordpress.com/2017/10/28/first-blog-post/ 

You might also like