You are on page 1of 44

พระราชพิธีโสกันต

พระราชพิธีทรงพระผนวช

พระราชพิธีอภิเษกสมรส
เสนอ

อ จินดารัชต ทวีสินธนานนท
จัดทําโดย

กลุมที่ ๒ ขาวไรซเบอรรี่
๑ นาย อรรถวิทย โรจนทวีนิธิ
๒ นาย กฤติน โชตินพรัตนภัทร
๓ นาย จิรพล วรกิจการวศิน
๔ นางสาว ญาณิกา ศรีสุนทร
๕ นางสาว ลลิตพรรณ ไทยเดช
พระราชพิธีโสกันต
ปจจุบันมีเด็กไวจุกไวแกละใหเห็นนอยมาก ประเพณีตัดจุก โกนจุก จึงอาจจะสูญหาย

● พระราชพิธีโสกันตหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา พระราชพิธีลงสรงโสกันต เปนพระราชพิธีที่ พระ


มหากษัตริยจัดขึ้นเฉพาะสําหรับพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ดํารงพระยศชั้นเจาฟาและ
พระองคเจา ที่ประสูติแตพระมเหสี สวนพระราชพิธีเกศากันตใชกับพระราชโอรสธิดา ซึ่งดํารงพระ
ยศหมอมเจาที่ ประสูติแตเจาจอมมารดา สวนสามัญชนนั้นเรียกวาพิธีโกนจุกนั่นเอง พระราชพิธี
โสกันตนี้ในสมัยสุโขทัยไม ปรากฏหลักฐานที่แนชัด แตในสมัยอยุธยาพบวาไดมีพระราชพิธี
โสกันตที่มีทั้งพระราชพิธีฝายสงฆและ ฝายพราหมณ มีแบบอยางของพระราชพิธีโสกันตที่จัดขึ้น
ในสมัยอยุธยา ดังปรากฏในพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับสมเด็จพระพนรัตนซึ่งกลาวถึง
งานพระราชพิธีโสกันตสมเด็จพระเจาลูกเธอเจาพระขวัญ ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา
พระราชพิธีโสกันต
● พระราชพิธีโสกันตหรือการโกนจุก เปนพระราชพิธีที่ส าคัญยิ่งในอดีตของพระบรมวงศานุวงศชั้น
พระองคเจาขึ้นไป เมื่อครั้งคนไทยยังนิยมใหเด็กไวผมจุก โดยจะจัดรวมกับพระราชพิธี
สัมพัจฉรฉินท หรือจัดแยกตางหาก

● พระราชพิธีโสกันตนั้น แรกเริ่มคงจะไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ แลวจึงไดนํา


พิธีกรรม ทางพุทธศาสนาประกอบเขาไปในภายหลัง
● พระราชพิธีโสกันต ซึ่งเปนพระราชพิธีโกนจุก ของพระราชโอรส หรือพระราชธิดา ของ
พระเจาแผนดิน และเจานายระดับพระองคเจาขึ้นไป สวนเจานายระดับหมอมเจา เรียกวา
พิธีเกศากันต
● โดยพิธีการนี้ ถือเปนพิธีมงคลที่ยิ่งใหญที่สุด ของเด็กไทยในสมัยนั้น เมื่อเด็กมีอายุครบตาม
กําหนด โหรหลวงจะดูฤกษยาม เพื่อกําหนดวันเวลาที่จะเริ่มพระราชพิธีโสกันต ซึ่งจะ
มีพิธีสงฆ และพิธีพราหมณพรอมกัน สวนใหญมักจะประกอบ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
พระราชพิธีโสกันต
● พิธีการในพระราชพิธีโสกันต ในงานพระราชพิธีวันแรก เมื่อใกลเวลาจะเริ่ม
พระราชพิธีโสกันต พระบรมวงศานุวงศชั้นผูใหญจะ ชวยกันแตงองค
ทรงเครื่องเจานายที่จะโสกันตอยางงดงามยิ่ง

● การแตงกายของเจานายที่จะโสกันตใหงดงามถูกตองตามประเพณีนั้น นับเปน
เรื่องส าคัญยิ่ง เมื่อแตงพระองคเรียบรอยแลว จะเสด็จขึ้นเกยรอลงเสลี่ยง
เจาพนักงานกรับจะรัวกรับ เมื่อ พนักงานแตรเปาแตรหนึ่งครั้ง เปนสัญญาณ
วาเจานายที่จะโสกันตลงเสลี่ยง เมื่อแตรครั้งที่สองดังขึ้นให กราบถวายบังคม
เจาพนักงานบัณเฑาะว และกรับจะประโคมเสียง เมื่อแตรครั้งที่สามดังขึ้น เปน
สัญญาณ ใหขบวนแหเริ่มเคลื่อนขบวน
งานโกนจุก
● คนไทยสมัยโบราณมักนิยมใหเด็กไวผมจุก เพื่อใหเปนเครื่องหมายวายังเปน
เด็ก เด็กจะโกนจุกออกตอนอายุครบ ป หรือ ป หรือ ป
ขั้นตอนของพิธีโกนจุก
๑ จัดเตรียมการ

● กําหนดวันทําการใหตรงกับวันฤกษงามยามดี
● ตองใหโหรผูกดวงชาตาของเด็ก เพื่อสอบหาวันและเวลาฤกษสําหรับทําการ ใหสอดคลองตองกัน
กับชาตาชันษาเด็ก
● พิธีนี้ควรทํางาน ๒ วัน คือ
○ เริ่มพิธีและสวดมนตตอนเย็น
○ รุงขึ้นพระสงฆฉันอาหารบิณฑบาตเชาและตัดจุก
ขั้นตอนของพิธีโกนจุก
● จัดการตกแตงสถานที่
● จัดอาสนะสําหรับพระสงฆเจริญพระพุทธมนต และตั้งโตะหมูมีพระพุทธรูปพรอมดวยเครื่องบูชา
ตลอดการวงดายสายสิญจน
● จัดโตะหรือมาสําหรับวางเครื่องมงคลพิธี เชน ถาดหรือพานใสเครื่องกรรบิดกรรไกร ดังอธิบายมา
แลวในพิธีโกนผมไฟ
● เตรียมที่ใสนํ้ามนต และเครื่องจุณเจิม
● เชิญโหรหรือพราหมณมาทําพิธีทางไสยศาสตร
ขั้นตอนของพิธีโกนจุก
๒ พิธีตอนเย็น

● ตอนเย็นวันแรก จัดการโกนผมรอบจุกของเด็ก
● จัดการอาบนํ้าแตงตัวเกลาจุกใหพองาม สวมพวงมาลัยและปกปนที่จุก
● นําเอาเด็กออกมานั่งหนาโตะที่จัดวางถาดหรือพานใสเครื่องมงคลตัดจุกนั้น
● เตรียมจัดดายสายสิญจนทําใหเปนวงกลมพอที่จะสวมผมจุกของเด็กได
● เมื่อพระเริ่มเจริญพระพุทธมนต ก็สวมสายสิญจนลงทีเดียว แลวเอาดายสายสิญจนที่พระทานจับ
สวดมนตนั้นมาคลองลงบนศีรษะเด็ก
● พอพระสวดจบก็ปลดสายสิญจนออกจากศีรษะ พวกพิณพาทยมโหรีบรรเลงมหาฤกษ
ขั้นตอนของพิธีโกนจุก
๓.พิธีตอนเชา

● ตอนเชาวันรุงขึ้น อาบนํ้าใหเด็กเรียบรอยแลว แตงตัวนุงขาวหมขาว


● จัดแจงแบงผมจุกออกเปน ๓ ปอย เอาแหวนนพเกลาผูกไวปอยละ ๑ วง(รวม ๓ วง)
● โบราณทานใหเอาใบเงินใบทอง และหญาแพรก แซมไวที่ผมดวย

๔)ทําขวัญจุก

● พิธีมงคลโกนจุก นับวาเปนอันยุติกันในเมื่อเสร็จพิธีตอนเชาดังกลาวแลว คนธรรมดาสามัญมักทํากัน


เพียงแคนี้
● แตถาเปนผูมีฐานะดีหรือผูมีเกียรติ ก็จะประกอบพิธีในตอนบายตออีก ซึ่งเรียกวา “ทําขวัญจุก”
สิ่งที่จะตองเตรียมเพิ่มเติมขึ้นในพิธีทําขวัญจุก

๑.บายศรี ๖.ชอนเงินสําหรับตักของใหเด็กกิน

๒.มะพราวออน ๗.ขาวสาร

๓.กลวยนํ้า ๘.ขันสําหรับปกแวนเทียน

๔.ขนมตมแดง ๙.ใบพลู ๗ ใบ (ใสพานไวสําหรับ


ใสคะแนนนับรอบเวียนเทียน)
๕.ขนมตมขาว
คําศัพทที่เกี่ยวกับพระราชพิธี

● พระเมาลี หรือ พระโมลี แปลวา ผมจุก


● โสกันต และ เกศากันต แปลวา โกนจุก
● พระราชโอรส แปลวา ลูกชาย
● พระราชธิดา แปลวา ลูกสาว
ความแตกตาง

● พิธีโสกันต คืองานโกนจุกของพระราชโอรส หรือ พระราชธิดาของพระเจา


แผนดิน หรือ ราชวงศ สวนงานโกนจุกธรรมดา คืองานของสามัญชนทั่วไป
พระราชพิธีทรงผนวช (รัชกาลที่ 9)
● พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปนพุทธศาสนิกชนที่มีพระราชศรัทธาใน
พระพุทธศาสนาเปนที่ยิ่ง เมื่อ พ ศ มีพระราชประสงคที่จะทรงผนวชในพระบวรพุทธศาสนา
ตามโบราณราชประเพณี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงผนวชในพระบวรพุทธศาสนาเปน
เวลา วัน ระหวางวันที่ ตุลาคม พฤศจิกายน พ ศ ดังตามลําดับเหตุการณในระหวาง
ทรงประทับพระผนวช ดังนี้
พระราชพิธีทรงผนวช (รัชกาลที่ 9)
วันที่ ตุลาคม พ ศ

ทรงแถลงพระราชดําริในการที่จะเสด็จออกทรงพระผนวช

วันที่ ตุลาคม พ ศ

ทรงจรดพระกรรไกรบิดเปลื้องพระเกศาเปนปฐมฤกษ

วันที่ ตุลาคม พ ศ

เสด็จฯ ไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงรวมสังฆกรรมในพิธีผนวชและอุปสมบทนาคหลวงในพระบรม


ราชินูปถัมภ
พระราชพิธีทรงผนวช (รัชกาลที่ 9)
วันที่ ตุลาคม พ ศ
เสด็จฯ ไปทรงรับบิณฑบาต จากพระบรมวงศานุวงศและขาทูลละอองธุลีพระบาท

วันที่ ตุลาคม พ ศ
เสด็จฯ ไปทรงรับบิณฑบาต ณ วังสระปทุม

วันที่ พฤศจิกายน พ ศ
ไดเสด็จฯ ไปทรงนมัสการพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม
พระราชพิธีทรงผนวช (รัชกาลที่ 9)
วันที่ พฤศจิกายน พ ศ
เสด็จฯ ไปทรงรับบิณฑบาตรจากประชาชนทั้งในบริเวณถนนพระสุเมรุ อนุสาวรียชัยสมรภูมิ และสี่แยก
ราชเทวี ถนนเพชรบุรี

วันที่ พฤศจิกายน พ ศ
พระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงลาผนวช ณ วัดบวรนิเวศวิหาร รวมเวลาทรงผนวชทั้งสิ้น
วัน

https://www.youtube.com/watch?v=V4sn_rOTIqU
พระราชพิธีทรงผนวช (รัชกาลที่ 10)
ภาพในป 2521 สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บ
ดินทรเทพยวรางกูร ในหลวงรัชกาลที่ 10 ขณะทรงผนวช
ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งพระองคมีพระราชศรัทธาออก
ผนวชในพระพุทธศาสนา โดยพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ไดทรงพระกรุณาโปรดฯ ให
จัดการพระราชพิธีทรงผนวชสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
ณ พัทธสีมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 6
พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคต
ญาณ (วาสนมหาเถร) เปนพระราชอุปธยาจารย ไดรับ
ถวายพระสมณนามวา “วชิราลงฺกรโณ” และไดประทับอยู
ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดจนทรงลาสิกขาในวันที่ 20
พฤศจิกายน พ.ศ. 2521
การบวช
ในพระพุทธศาสนา เรียกการบวชวาการอุปสมบท แตเดิมนั้น
การบวชเรียกวาบรรพชา(เวนจากความชั่วทุกอยาง) ปจจุบัน
คําวาบรรพชาใชกับการบวชสามเณร ในขณะที่อุปสมบทใชกับ
การบวชพระภิกษุ

การบวชโดยนัยแลวคือ การละทิ้งวิถีชีวิตความเปนอยูเดิม สู วิถี


ชีวิตความเปนอยูใหม ตามครรลองแหงมรรค เพื่อเปนการงาย
เพื่อเปนการสะดวก เปนทางอันปลอดโปรง แกการบรรลุถึงซึ่ง
วัตถุประสงค คือ ความบริสุทธิ์หลุดพน ปราศจากมิลทิน หมดจด
จากความเศราหมอง และเปนอิสระจากพันธนาการเครื่องรอยรัด
ทั้งปวง
งานบวช
● งานบวช เปนประเพณีไทยสืบเนื่องมาแตโบราณกาล ผูชายทุกคนเมื่ออายุครบแลวจะตองบวช
การบวชถือวาเปนการอบรมบมนิสัยใหดีมีศีลธรรมและเปนการตอบแทนบุญคุณของบิดามารดาผู
ใหกําเนิด ดังนั้นการบวชจึงถือวา เปนประเพณีที่จําเปนสําหรับลูกผูชายทุกคน
ประโยชนของการบวช
มีผูสืบทอดอายุพระศาสนาดวยการบวชเรียน

ทําใหมีโอกาสไดซึมซับคําสอนมากขึ้น และมันก็จะชวยกอใหเกิดประโยชนตอการดําเนินชีวิตใน
อนาคต

ทําใหพอแม ญาติพี่นองไดมีโอกาสทําบุญเพิ่มขึ้น
ขั้นตอนการจัดงานบวช
สถานที่ทําพิธี

โรงอุโบสถ ประชุมสงฆ ๒๘ รูป มีพระอุปชฌาย ๑ พระกรรมวาจารย ๑ พระอนุสาวนาจารย ๑ สองรูปหลังนี้เรียกวา พระ


คูสวด อีก ๑๐ ๒๕ รูป เรียกวา พระอันดับ

คําขอขมาบิดา มารดา และญาติผูใหญเพื่อลาบวช

กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ที่ขาพเจาไดเคยประมาทลวงเกินทานตอหนาก็ดี ลับหลังก็ดี ทั้งตั้งใจก็ดี มิไดตั้งใจก็ดี


ขอใหทานจงอโหสิกรรมแกขาพเจานับแตบัดนี้เปนตนไปจนตราบเทานิพพาน เทอญ
การเตรียมตัวกอนบวช
การเตรียมตัวกอนบวช

ผูบวชจะเรียกวา อุปสัมปทาเปกข หรือ นาค ซึ่งตองทองคําบาลีหรือที่เรียกกันวาขานนาคใหคลองเพื่อใช


ในพิธี โดยตองฝกซอมกับพระอาจารยใหคลองกอนทําพิธีบวชเพื่อจะไดไมเคอะเขิน

นอกจากนี้มีหลายสิ่งหลายอยางที่ตองคิด ตองเตรียมตัว และทําเมื่อคิดจะบวชดังตอไปนี้ อยางไรก็ตาม ไม


ใชวาจะตองทําทั้งหมดเพราะวาทั้งนี้ใหคํานึงถึงความเหมาะสม และกําลังทรัพยดวย ขั้นตอนบางอยางไม
จําเปนตองมีก็ได

ผูอุปสมบทตองไปหาผูเปนอุปชฌายะ หัดใหคุนเคยกับระเบียบแบบแผนตาง ๆ ไว และทองคําตอไปนี้ใหจํา


ไดจนขึ้นใย คือคําขอบรรพชาอุปสมบท วิธีทําพินทุ อธิษฐาน และวิธีวิกัปจีวร คํากรวดนํ้า วิธีแสดงอาบัติ
คําอนุโมทนา คือบทยถาสัพพี คําพิจารณาปจจัยสี่ และคําสวดทําวัตรเชา เย็น ทั้งหมดนี้คําขอบรรพชาและ
อุปสมบทสําคัญที่สุดตองจําไดแมนยําจริง
ขั้นตอนงานบวช
ขั้นตอนที่ โกนผม ใหญาติผูใหญตัดผมนาค แลวนําเศษผมที่ตักใสภาชนะที่มีใบบอนรองไว
ขั้นตอนที่ พระพี่เลี้ยงโกนผมนาค ใหหมดจรด
ขั้นตอนที่ กราบมารดา บิดา ทานละ ครั้ง ไมแบมือ แลวรับมอบผาไตรจากมารดาบิดาญาติผูใหญ
ขั้นตอนที่ แหนาครอบอุโบสถ
ขั้นตอนที่ โปรยทาน บริเวณหนา อุโบสถ
ขั้นตอนที่ คุณพอคุณแมสงนาคเขาพระอุโบสถ
ขั้นตอนที่ นาคสงผาไตรใหเจาหนาที่แลวนําดอกไม บูชาที่หนาพระประธาน
ขั้นตอนที่ รอพระอุปชฌายโดยอาการสงบ
ขั้นตอนที่ กราบพระอุปชฌายแลว หยิบผาไตรวางบนแขน เปลงวาจาขออุปสมบท เอสาหัง พรอมกัน
ขั้นตอนที่ กลาวจบแลววางผาไตรลงและฟงพระอุปชฌายสอนกัมมัฏฐานแลวกลาว เกสา โลมาฯ
ขั้นตอนที่ พระอุปชฌายสวมผาอังสะใหนาค
ขั้นตอนที่ ออกไปครองผาไตรจีวร ดานหลังพระอุโบสถ ญาติไปเก็บชุดนาคที่ดานหลังพระอุโบสถดวย
ขั้นตอนที่ เปลงวาจาขอสรณะและศีล ๑๐ จากพระอาจารย
ขั้นตอนที่ เมื่อรับศีลเสร็จแลวไปที่ศาลาแดง เพื่อรับประเคนบาตรจากบิดามารดา
ขั้นตอนที่ คลานเขาเขาไปหาพระอุปชฌาย ถวายดอกไมธูปเทียนแลวกลาวคําขอนิสัย
ขั้นตอนที่ พระกรรมวาจารยคลองบาตร
ขั้นตอนที่ พระคูสวดสอบถามอันตรายิกธรรม คุณสมบัติ
ขั้นตอนที่ คลานเขาเขามาทามกลางสงฆ กราบสงฆ
ขั้นตอนที่ เปลงวาจาขอญัตติกรรม สังฆัม ภันเต
ขั้นตอนที่ ฟงอนุสาสนบาลีจากพระอุปชฌาย
ขั้นตอนที่ ถวายเครื่องไทยธรรม กรวดนํ้า เปนเสร็จพิธี
หลังจากนั้นอาจจะมีพิธีเลี้ยงเพล เลี้ยงพระใหม ตอไป
ความแตกตาง
● งานบวชใชกับสามัญชนทั่วไป แตพระราชพิธีทรงผนวชใชกับพระมหากษัตริย
● ระยะเวลาของงาน งานพระราชพิธีทรงผนวชจะใชระยะเวลาที่ยาวนานกวา
● พระราชพิธีทรงผนวชมีพิธีการที่ซับซอนและยุงยากกวางานบวช
คําศัพทที่เกี่ยวกับพระราชพิธี

● ทรงผนวช หมายถึง บวช


ทรงจรดพระกรรไกรบิดเปลื้องพระเกศา หมายถึง ตัดผม
ทรงลาผนวช หมายถึง สึก
งานแตงงาน
● งานแตงงานเปนพิธีที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาตั้งแตสมัยโบราณ เพื่อที่จะให
ชายหญิงอยูกินเปนสามี ภรรยากันตามประเพณี
ลําดับพิธีงานแตงงาน
๑ พิธีสงฆ

๒ ขบวนขันหมาก

๓ กั้นประตู

๔ มอบสินสอด

๕ สวมแหวน

๖ หลั่งนํ้าพระพุทธมนต

๗ พิธีไหวผูใหญ
ลําดับพิธีงานแตงงาน
๑).พิธีสงฆ

● เพื่อความเปนสิริมงคลในการเริ่มตนชีวิตคู นิยมนิมนตพระสงฆ 9 รูป


● บาวสาวเริ่มจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย

● พิธีกรนําไหวพระ อาราธนาศีล และรับศีล5

● พระสงฆเจริญพระพุทธมนต
● บาวสาวตักบาตรโดยใชทัพพีและใชขันใสขาวใบเดียวกัน
● พระสงฆอนุโมทนา
● คูบาวสาวกรวดนํ้า
● พระสงฆประพรมนํ้าพระพุทธมนต
● เสร็จพิธีทางศาสนา
ลําดับพิธีงานแตงงาน

๒ ขบวนขันหมาก

● ควรมีผังขบวนขันหมากพรอมรายชื่อคนถือพาน เพื่อจัดลําดับขบวนอยางถูกตองและรวดเร็ว
● ควรเรียกระดมพลกอนเวลา เพื่อจัดขบวนวาใครยืนอยูลําดับไหน ถือพานอะไร
● มีกลองยาว นําหนาเพื่อสรางความครื้นเครง โหรองรับกัน 3 ครั้ง ขันหมากจะเริ่มขบวน และโหรอง
รับอีก3 ครั้ง เมื่อมาถึงแลว
ลําดับพิธีงานแตงงาน
๓ กั้นประตู

● ญาติผูใหญฝายเจาสาว เปนผูแทนเจรจากับเถาแกฝายเจาบาว ตอนรับหนาประตู (ตองเปนผูที่สมรสแลว ไมหยารางและเปน

หมาย)
● รับพานขันหมาก พานสินสอด พานแหวนหมั้น วางไว ณ จุดประกอบพิธี สวนพานอื่นๆ วางเรียงยังโตะที่จัดไวดาน
ขาง (ตนกลวยตนออยวางไวหนาประตูไดเลย)
● บางบานอาจมีพิธีลางเทากอนเขาบาน ซึ่งสมัยนี้เพื่อความสะดวกอาจแคพรมไปบนรองเทาพอเปนพิธีจะไดไมตอง
ถอดรองเทา
● ฝายเจาสาวเริ่มจัดแถวกั้นประตูเงินประตูทอง
● บรรดาญาติพี่นองของฝายหญิงจะออกมา กั้นประตูโดยถือสรอยเงิน สรอยทอง หรือผาแพรคนละฝงเพื่อทําเปน
ประตู สมัยนี้เพื่อความสวยงามและความสะดวกจึงมีสายกั้นประตูดอกไม
● เจาบาวควรเตรียมซองเงินไวสํารอง สําหรับดานประตูเงินประตูทองที่อาจมีเพิ่ม
ลําดับพิธีงานแตงงาน

๔ มอบสินสอด

● เถาแกฝายชายจะแนะนําตัว แลวเริ่มการเจรจาสูขอ นําพานสินสอดมาใหฝายหญิง


● มีผูดูแลชวยจัดการวาพานไหนวางไวจุดไหนไหน และจัดที่นั่งใหผูใหญแตละทาน
● เถาแกฝายเจาบาวจะคลี่ผาหอขันหมากออกมาปูบนพานรับขันหมาก แลวนําใบเงินใบทองออกมาปูเปนคู ๆ จากนั้น
นําธนบัตร วางเรียงเปนวงกลมบนพาน นําแกวแหวนเงินทองตาง ๆ ทับบนธนบัตร
● เตรียมผาสีมงคลสําหรับรวบหอสินสอด ที่สําคัญตองผืนใหญ ที่สามารถรวบผูกเปนหอใหแมเจาสาวแบกขึ้นบาได
● ผูใหญฝายเจาสาวทําทีเปนตรวจนับสินสอดตามธรรมเนียม
● พอแมฝายเจาสาวชวยกันโปรยถั่ว งา ขาวเปลือก ขาวตอก ดอกไม ใบเงิน ใบทอง เพื่อสื่อถึงความเจริญงอกงาม
● แมเจาสาวหอสินสอดดวยผาแลวแบกขึ้นไวบนบาตามประเพณี เพื่อใหพูดเอาเคล็ดอีกกวา "หอนี้หนักจริง ๆ คงมีเงิน
งอกงามมากมาย
ลําดับพิธีงานแตงงาน
๔ มอบสินสอด

● เคล็ดลับใหคูบาวสาวอยูดวยกันแลวมีเงินงอกเงย ใหใสสินสอดเกินจํานวนไวเล็กนอย เพื่อใหฝาย


หญิงที่ตรวจนับเงินอุทานออกมาวา "เงินงอก"
● เพื่อความสบายใจ ควรมีผูใหญที่ไวใจได ทําหนาที่ดูแลของรับไหว ของมีคาเปนพิเศษ อาจเตรียม
กระเปาเดินทางใบยอมแลวล็อกอยางดี
● จากนั้นจึงสงคนไปรับตัวเจาสาว
ลําดับพิธีงานแตงงาน
5. สวมแหวน

● เตรียมแผนซีดีดนตรีไทย สําหรับเปดคลอสรางบรรยากาศ
● ผูใหญฝายชายและหญิง นั่งเปนสักขีพยานในพิธีสวมแหวนหมั้น
● บาวสาวจัดทานั่งใหเรียบรอย เตรียมกมกราบผูใหญ
● เมื่อไดฤกษสวมแหวน เจาบาวคอย ๆ บรรจงสวมแหวนหมั้นใหกับเจาสาว อยาลืมคางทานี้ทิ้งไว
แลวเอียงมือที่สวมแหวนเขาหากลอง เพื่อบันทึกภาพในวินาทีสําคัญ
● เจาสาวไหวขอบคุณเจาบาว
ลําดับพิธีงานแตงงาน
๖ หลั่งนํ้าพระพุทธมนต

● ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
● คูบาวสาวนั่งบนตั่ง โดยที่เจาบาวนั่งขวา เจาสาวนั่งดานซาย (ฝายหญิงอยูทางดานซายมือของฝายชาย )
● ประธานคลองพวงมาลัยใหคูบาวสาว
● ประธานสวมมงคลแฝด พรอมเจิมแปงที่หนาผาก แลวจึงหลั่งนํ้าสังข พรอมกลาวคําอวยพรแคคูบาวสาว
● มอบหมายผูคอยเติมนํ้าและสงสังขใหผูใหญ
● จากนั้นพอแมบาวสาวเริ่มหลั่งนํ้าสังข ตามดวยญาติ ๆ และแขกผูมีเกียรติเขารดนํ้าตามลําดับอาวุโส
● เมื่อเสร็จพิธี ประธานทําการถอดมงคลแฝดมอบใหคูบาวสาว
● มีความเชื่อวาหากบาวสาว ฝายใดลุกขึ้นยืนกอน ฝายนั้นจะไดเปนผูอยูเหนือคูครองตน ผูใหญจึงบอกใหทั้งสอง
ชวยประคองกันลุกขึ้นแทน
ลําดับพิธีงานแตงงาน
๗ พิธีไหวผูใหญ

● พิธีกรเชิญพอแมของบาวสาว แลวจึงเชิญญาติผูใหญของบาวสาวมานั่งทีละคูตามลําดับอาวุโสคู
บาวสาว
● คูบาวสาวมอบพานธูปเทียนแพ นําผาไหวใหผูใหญ
● เมื่อผูใหญรับผาไหว แลวจะใหของขวัญหรือซองแกคูบาวสาว พรอมอวยพร
● คูบาวสาว กมกราบขอบคุณ
● ผูใหญจะผูกขอไมขอมือดวยสายสิญจนเพื่อเปนการรับขวัญคูบาวสาว

สวนขั้นตอนสุดทายของพิธีแตงงาน คือพิธีสงตัวเขาหอ และมีฤกษมงคลสําหรับพิธีนี้โดยเฉพาะ จัดเตรียม


ผาปูที่นอนชุดใหม และสิ่งของมงคลประกอบพิธี สําหรับทําพิธีปูเตียงเรียงหมอน
พระราชพิธีอภิเษกสมรส
● อภิเษกสมรส เปนการแตงงานกันระหวางผูมีฐานันดรศักดิ์ชั้นเจาฟา พระมหากษัตริย
สมเด็จพระราชินีนาถ หรือจักรพรรดิ "เจาฟา" หมายถึงพระราชโอรสและพระราชธิดาที่
ประสูติแต"พระมเหสี"เทานั้น
● เสกสมรส เปนการแตงงาน ใชในชนชั้นเจานายทั่วไป
● ขาราชการผูมีบรรดาศักดิ์ เรียกวา งานสมรส
คําศัพทที่เกี่ยวกับพระราชพิธี

● อภิเษกสมรส หมายถึง งานแตงงาน


● เจาฟา หมายถึง ลูกชายและลูกสาวที่เกิดจากพระมเหสีเทานั้น
● นํ้าพระพุทธมนต หมายถึง นํ้ามนต
ความแตกตาง

● งานแตงงานเปนงานที่จัดเพื่อใหคนทั่วไปมาเปนสามี ภรรยากันซึ่งแตกตาง
จากงานอภิเษกสมรสเพราะวางานอภิเษกสมรสเปนงานที่จัดสําหรับผูมี
ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจาฟา พระมหากษัตริย สมเด็จพระราชินีนาถ หรือ
จักรพรรดิ
อางอิง
พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่

การบวช
ขอบคุณครับ คะ

You might also like