You are on page 1of 14

 

รายงานเชิงวิชาการ 

การอานและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท 

 
โดย 

  นางสาวณฐวีร ศรีฟา  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๕ เลขที่ ๑๙ 

นายอินทัช สุวรรณาภรณ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๕ เลขที่ ๒๐ 

นางสาวชัญญา  เทศรัตนวงศ  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๕ เลขที่ ๒๑ 

  นายวิชญพล  อุทุมพร  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๕ เลขที่ ๒๔ 

 
เสนอ  

อ. พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ 

 
ภาคเรียนที่ ๒ ปการศีกษา ๒๕๖๒ 

โรงเรียนสาธิตนานานชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 

 
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนพื้นฐาน (Project Based Learning) 

รายงานวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ 

   
1

คํานํา 
 
รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนสวนยิ่งของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรมระะดับชั้นมัธยมศึกษาปที่๕ 
โดนมีจุดประสงคในการศึกษาความรูและวิเคราะหวรรณคดีไทยเรื่องสามัคคีเภทคําฉันทเพื่อเปนประโยชนตอ 
การเรียนของตัวนักเรียนเอง และนักเรียนทานอื่น 
ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชนแกผูอานที่ตองการศึกษาวรรณคดี  เรื่อง
สามัคคีเภทคําฉันท หากมีขอแนะนําหรือขอผิดพลาดใด ผูจัดทําขอนอมรับไว และขออภัยมา ณ ที่น ี้
 
คณะผูจัดทํา  
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ 
2

สารบัญ 
คํานํา 1 
สารบัญ 2 
1. การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรรม 3 
1.1 เนื้อรื่อง 3 
1.2 โครงเรื่อง 3 
๑.๓ ตัวละคร 4-6 
๑.๔ ฉากทองเรื่อง 6 
๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงราพัน 6-7 
๑.๖ แกนเรื่อง 6 
 
๒. การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 8 
๒.๑ การสรรค 8-9 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา 9-10 
๒.๓ การใชโวหาร
10-11 
 
๓. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม 11 
๓.๑ คุณคาดานอารมณ  11 
๓.๒ คุณคาดานคุณธรรม 12 
๓.๓ คุณคาดานสังคม 12 
๓.๔ คุณคาดานวัฒนธรรม 12 
๓.๕ คุณคาดานการใชภาษา 12 
บรรณานุกรม 13 
3

   
4

๑. การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรรม 
๑.๑ เนื้อเรื่อง 

พระเจาอชาตศัตรูแหงแควนนมคธทรงมีพราหมณชั้นสูงเปนที่ปรึกษาชื่อวัสสการพารหมณเปนผูรอบ รู
ศิลปศาสตรและมีสติปญญาเฉียบแหลม  เมื่อพระเจาอชาตศัตรูมีพระประสงคในการขยายอาณาจักรใหกวาง 
ขวางแควนที่ทรงเปนที่หมายตาคือแควนวัชชีของเหลากษัตริยลิจฉวีที่เปนแควนขนาดใหญและเจริญกวาแควน
ใดในสมัยนั้นผูไดครอบครองแควนนี้นอมแสดงถึงความยิ่งใหญของกษัตริยพระองคนั้นการทําสงครามกับแควน
วัชชีไมใชเรื่องงายเพราะกษัตริยลิจฉวีมีความสามัคคีปรองดองและมั่นคงมากวัสสการพราหมณมีอุบายในการตี
แควนวัชชีโดยอาสาเปนเปนไสศึกไปยุยงทําใหเหลากษัตริยลิจฉวีแตกความสามัคคีโดยที่พระเจาอชาตศัตรู
แกลงทําเปนลงโทษวัสสการพราหมณอยางหนักแลวเนรเทศออกจากเมืองวัสสการพราหมณมุงหนาไปเมืองเว
สาลีเพื่อขอรับ  ราชการดวยความเปนผูมีวาทศิลป  รูจักใชเหตุผลโนมนาวใจจึงทําใหเลากษัตริยลิจฉวีไววางใจวัส
สการพราหมณก ็ ดําเนินอุบายขั้นตอไปคือการทําใหเหลาพระกุมารเขาใจวาพระกุมารพระองคอื่นนําปมดอย
ของตนไปเลาใหผูอื่นทราบ ทําใหเสียชื่อเหลากุมารจึงนําความไปกราบทูลพระบิดาซึ่งตางก็เชื่อถือพระโอรสของ
พระองค  ทําใหเกิด  ความขุนเคืองกันทั่วไปในหมูกษัตริยลิจฉวี  หลังจากนั้นวัสสการพราหมณทดสอบความสามัั
คคีของเหลากษัตริย  ลิจฉวีโดยการตีกลองนัดประชุมแตไมมีกษัตริยพระองคไหนเขารวมประชุมวัสสการพรา
หมณเห็นวาแผนของตน  นั้นสําเร็จจึงลอบสงขาวไปใหพระเจาอชาตศัตรูลิจฉวีใหทรงยกทัพมาตีแควนวัชชี 
เหลากษัตริยลิจฉวีไมคิด วางแผนปองกันภัยจึงทําใหกองทัพของแควนมคธตีแควนไดอยางงายดาย 
 
๑.๒ โครงเรื่อง 

กษัตริยของแควนมคธตองการที่จะขยายอํานาจไปยังแควนใกลเคียงแตแควนวัชชีมีกษัตริยที่ยึดมั่นใน
อปริหานิยธรรมทําใหมีความสามัคคีปรองดอง กษัตริยแควนมคธจึงไดออกอุบายสงพราหมณที่ปรึกษาไปเปน 
ไสศึกเขาไปทําลาย ความสามัคคีของแควน แลวยกทัพเขาโจมตี 
 
 
5

๑.๓ ตัวละคร 

พระเจาอชาตศัตรู: 
- ทําใหบานเมืองเจริญรุงเรื่องและใหพสกนิกรอยูอยางสงบสุข  
- ตองการแผขยายอิทธิพลของแควน และตองการยกทัพไปตีแควนวัชชี  
- มีความเชื่อใจวัสสการพราหมณใหชวยคิดแผนการและกลอุบายเพื่อจะไดตีแควนวัชชีและยึด
มาได สําเร็จ 
 

วัสสการพราหมณ  
- เปนพราหมณปุโรหิตของแควนมคธ  
- เปนคนฉลาดเฉลียว รอบคอบ 
- มีความเสียสละ 
- มีความจงรักภักดี  
- รอบรูในดานศาสตรศิลป 
- รักชาติและเสียสละเพื่อบานเมือง 
 
กษัตริยลิจฉวี 
- ยึดมั่นในหลักอปริหานิยธรรม๗ ประการ หรือธรรมอันไมเปนที่ตั้งแหงความเสื่อม 
- ขาดความรอบคอบ วิจารณญาณและสติ 
- หูเบาเชื่อทํางาย 
- มีทิฐิสูง 
 
๑.๔ ฉากทองเรื่อง 

สามัคคีเภทคําฉันทเปนเรื่องที่เราไดรับมาจากอินเดีย  จึงพยายามอธิบายฉากเปนประเทศอินเดีย  กวีได


พูดเกี่ยวกับอินเดียในสมัยของพระเขาอชาตศัตรู  แตก็แฝงกลิ่นอายความเปนไทยอยูเชน  การพรรณนาชมบาน
เมืองเกี่ยวกับบานเมืองที่ไพเราะทั้ง จังหวะ และ ลีลา 
6

ชอฟาตระการกลจะหยัน  จะเยาะยั่วทิฆัมพร 
บราลีพิลาศศุภจรูญ    นภศูลประภัสสร 
หางหงสผจงพิจิตรงอน  ดุจกวักนภาลัย 
 
๑.๕ บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 

เปนบทที่แสดงถึงความจงรักภักดีของวัสสการพราหมณที่มีตอพระเจาอาชาตศัตรู  
 

โดยเต็มกตัญู  กตเวทิตาครัน  
ใหญยิ่งและยากอัน  นรอื่นจะอาจทน  
หยั่งชอบนิยมเชื่อ  สละเนื้อและเลือดตน  
ยอมรับทุเรศผล  ขรการณพะพานกาย  
ไปเห็นกะเจ็บแสบ  ชิวแทบจะทําลาย  
มอบสัตยสมรรถหมาย  มนมั่นมิหวั่นไหว 
 
๑.๖ แกนเรื่อง 

แกนเรื่องหลัก  
- การไมมีความสามัคคีสามารถนําไปสูความหายนะ 

แกนเรื่องรอง  
- การใชสติปญญาเอาชนะฝายตรงขามการรูจักเลือกใชบุคคลที่เหมาะกับงานที่ทํา  
- การถือทิฐิสามารถนําไปสูความเสียหายตอสวนรวม 
    
7

๒. การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
   
๒.๑ การสรรคํา 

ผูแตงไดเลือกสรรหาคําเพื่อเสียงสัมผัสทั้งเสียงสัมผัสพยัญชนะและสระ เชน 
  

- การเลนเสียงพยัญชนะ  
ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ  
กษัตริยลิจวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย   
มีการเลนเสียงพยัญชนะคําวา “คะเนกล - คะนึงการ” กับ “ระวังเหือด - ระแวงหาย”  
 

- สัมผัสสระ  
พระราชบุตรลิจ  ฉวิมิตรจิตเมิน 
ณ กันและกันเหิน    คณะหางก็ตางถือ 
มีการเลนเสียงสระคําวา “ลิจ-มิตร” กับ “เมิน-เหิน”  
 

- การเลนเสียงหนักเบา   
ดั่งนั้น ณ หมูใด ผิบไรสมัครมี 
พรอมเพรียงนิพันธน ี วิวาทระแวงกัน   
ผูแตงไดกําหนดเสียงหนักเบาไวเพื่อทําใหรูสึกถึงรสไพเราะของเนื้อความได 
 

- การใชคําที่งายซึ่งทําใหผูอานสามารถเขาใจไดงาย  
ราชาลิจฉวี  ไปมีสักองค 
อันนึกจํานง  เพื่อจักเสด็จไป 
ตางองคดํารัส  เรียกนัดทําไม 
ใครเปนใหญใคร  กลาหาญเห็นดี 
 

- การเลือกใชคําใหหลากหลาย 
ขุนคอคชคุมกุมอัง สกรายทายยังขุนควาญประจําดํารี 
8

  ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสารละตัวกําแหงแข็งขัน 
​คําวา คช ดํารีและคชสาร ลวนหมายถึงชางทั้งสิ้น 
 
 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา  

- สารสําคัญไวทายสุด 
“ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ 
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย” 
ผูแตงไดประพันธฉันทบทนี้ใหมีความหนักแนน และความกระชับของเนื้อหา โดยการลําดับ เรื่องใหจบ
ดวยใจความสําคัญของบท  
 
- เรียงคํา วลี หรือประโยคที่มีความสําคัญเทา ๆ กัน เคียงขนานกันไป 
พระราชบุตรลิจ ฉวิมิตรจิตเมิน 
ณ กันและกันเหิน คณะหางก็ตางถือ 
ทะนงชนกตน พลลนเถลิงลือ 
ก็หาญกระเหิมฮือ มนฮึก บ นึกขาม ฯ 
ผูแตงเลือกเรียงคําที่มีความหมายคลายๆกัน เชน เมิน เหิน หาง แสดงถึงการเปน ความรูสึกและ
อารมณเดียวกันและคงความสําคัญเทากัน  
  
- เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดทายที่สําคัญที่สุด 
“เหี้ยมนั้นเพราะผันแผก คณะแตกและตางมา 
ถือทิฐิมานสา หสโทษพิโรธจอง 
แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิ้น บ ปรองดอง 
ขาดญาณพิจารณตรอง ตริมหลักประจักษเจือ 
เชื่ออรรถยุบลเอา รสเลาก็งายเหลือ 
เหตุหาก ธ มากเมือ คติโมหเปนมูล   
9

จึ่งดาลประการหา ยนภาวอาดูร 
เสียแดนไผทสูญ ยศศักดิเสื่อมนาม” 
ผูแตงไดกลาวถึงความวุนวานที่เพิ่มขึ้นตามลําดับเนื้อหาที่ผูประพันธเรียงลําดับโดยกลาวถึงผลลัพธ
ปจจุบัน ตามมาดวยสาเหตุ จากความขัดแยงในหมูคณะกลายเปนความแตกหักของ บานเมือง   
   
- เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับแตคลายความเขมขนลงในชวงหรือประโยค 
สุดทายอยางฉับพลัน 
“ควรชมนิยมจัด คุรุวัสสการพราหมณ 
เปนเอกอุบายงาม กลงํากระทํามา 
พุทธาทิบัณฑิต พิเคราะหคิดพินิจปรา 
รภสรรเสริญสา ธุสมัครภาพผล 
วาอาจจะอวยผา สุกภาวมาดล 
ดีสูห ณ หมูตน บ นิราศนิรันดร 
หมูใดผิสามัค คยพรรคสโมสร 
ไปปราศนิราศรอน คุณไรไฉนดล” 
ผูแตงประพันธโดยใชการเรียบเรียงประโยคไปตามลําดับเพื่อใหผูอานเขาใจและติดตามลําดับ ของ
เหตุการณไดดียิ่งขึ้น ทวายังมีการตัดบทของเรื่องในตอนทายอยางฉับพลัน 
 
- การเรียบเรียงถอยคําใหเปนประโยคคําถามเชิงวาทศิลป  
“อยาติและหลู ครูจะเฉลย 
เธอนะเสวย ภัตกะอะไร 
ในทินนี่ ดี ฤ ไฉน 
พอหฤทัย ยิ่งละกระมัง” 
ตอนวัสสการพราหมณเริ่มทําอุบายทําลายสามัคคีใชบทเจรจาที่ไมตองการคําตอบแตใชความ สามารถ
ของวัสสการพราหมณในการเสนอเเนวคิด 
 
 
๒.๓ การใชโวหาร   
คือการพลิกแพลงภาษาทีใชพูดและเขียนใหแปลกออกไปจากที่ใชอยูเปนปกติ กอใหเกิดภาพกระทบใจ 
ความรูสึก และอารมณตางกับการใชภาษาอยางตรงไปตรงมา   
   
10

- อุปมาโวหาร เปนการกลาวเปรียบเทียบเพื่อใหผูอานเขาใจและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น เชน 


“กลกะกากะหวาดขมังธนู บหอนจะเห็นธวัชริปูสิลาถอย” 
วัสสการพราหมณเปรียบนํ้าพระราชหฤทัยกษัตริยลิจฉวี 
  
- อุปลักษณโวหาร การเปรียบเทียบโดยนัย ไมกลาวเปรียบเทียบตรง ๆ แตผูอานสามารถจับเคาไดจาก
คําที่ผูแตงใช เชน 
“ลูกขางประดาทา รกกาลขวางไป 
หมุนเลนสนุกไฉน ดุจกันฉะนั้นหนอ”  
ตอนพระเจาอชาตศัตรูทรงเปรียบเทียบการแตกสามัคคีของกษัตริยลิจฉวี 
  
- บุคคลวัต เปนการสมมุติสิ่งตางๆ ใหมีกิริยาอาการ มีความรูสึกเหมือนมนุษย เชน 
“วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน 
ทุกไทไปเอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป” 
ผูแตงนําคํากริยา “ขาน” ซึ่งหมายถึง พูดตอบ ของมนุษย มาใชกับกลองที่เปนสิ่งของ เพื่อสราง
จินตภาพใหเห็นวากลองเปนสิ่งมีชีวิต 
 
- อติพจน เปนการกลาวผิดไปจากที่เปนจริง เชน 
“ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย 
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ 
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย 
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบานตน” 
จากตอนพระเจาอชาตศัตรูยกทัพมาตีแควนวัชชี ผูแตงใชการกลาวเกิน ความจริงซึ่งก็คืออาการตื่น
ตระหนกใจในสองวรรคแรก แสดงใหเห็นวาชาววัชชีตื่นกระหนก ตกใจกับการุรกรานของพระเจาอชาตศัตรูเปน
อยางมากจนหนาซีดเหมือนเลือดหมดตัว ซึ่งทําใหผูอานสามารถเห็นภาพไดชัดเจนและรับรูถึงอารมณของเนื้อ
เรื่อง  
 
- นามนัย เปนการใชชื่อสวนประกอบที่เดนของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆทั้งหมด เชน 
“แมมากผิกิ่งไม ผิวใครจะใครลอง 
มัดกํากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน 
เหลาไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมูตน 
กิจใดจะขวายขวน บ มิพรอมมิเพรียงกัน”  
11

ในบทแรกลาวถึง หากมีกิ่งไมเพียงกิ่งเดียวก็สามารถหักไดดวยมือเปลา แตเมื่อเปนกิ่งไมที่ถูก มัดอยู


เปนกํา ตอใหใชแรงมากแคไหนก็ไมสามสารถหักมันได ผูแตงไดใชลักษณะเดนของกิ่งไมเพื่อแทนความสามัคคี
เปนหนึ่งเดียวกันแทนเปนความสามัคคี ในหมูคนที่ปญหาภายนอกก็ไมสามารถทําลายความสามัคคีนี้ได 
 
๓. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
๓.๑ คุณคาดานอารมณ  
คือคุณคาดานวรรณศิลป เชน การใชคํา การใชโวหารภาพพจน เปนตน เพื่อใหผูอานสามารถเขาใจ
และจินตภาพตามเนื้อเรื่องไดอยางดี เชน  
- สรางอารมณผูอานใหเกิดอารมณหวาดกลัว ตื่นเตน ตกใจ เชน 
ตางก็ตระหนก  มนอกเตน  
ตื่น บ มิเวน  ตะละผูคน 
ทั่วบุรคา  มจลาจล 
เสียงอลวน  อลเวงไป 
 
- ทําใหผูอานเกิดอารมณชื่นชมยินดี เชน 
เห็นเชิงพิเคราะหชอง  ชนะคลองประสบสม 
พราหมณเวทอุดม  ธ ก็ลอบแถลงการณ     
 
 
  
๓.๒ ​คุณคาดานคุณธรรม 
- ไมควรนําความคิดของตนมาเปนหลัก 
- สามัคคีเภทคําฉันทมีคุณคาดานคุณธรรมที่สําคัญคือคุณธรรมที่ชาวแควนวัชชียึดมั่น ซึ่งก็คือ 
“อปริหานิยธรรม” ผูอานสามารถนําคุณธรรมนี้มาเปนแบบอยางในการดูแลบานเมืองใหมี
ความสงบสุข สามารถนําไปปรับใชได เปนหนึ่งองคประกอบของระบบการทํางาน 
 
๓.๓ คุณคาดานสังคม 
- เนนโทษของการแตกความสามัคคีในหมูคณะ 
- ดานจริยธรรม เนนถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม ซึ่งเปนธรรมอันไมเปนที่ตั้งแหงความเสื่อม 
- เนนถึงความสําคัญของการใชสติปญญาตริตรอง และแกไขปญหาตาง ๆ โดยไมตองใชกําลัง 
 
12

๓.๔ คุณคาทางวัฒนธรรม 
- ไดทราบถึงวิถีชีวิตของคนสมัยกอนที่จะทําการตีกลองเมื่อมีปญหาที่ตองการแกไขหรือรอง
ทุกขของตน อีกทั้งยังสามารถเปนสัญญาณในการเรียกนัดตางๆ จากบท 
ใหลองตีกลองนัด ประชุมขัตติยมณฑล 
เชิญซึ่งสํ่าสากล กษัตริยสูสภาคาร  
๓.๕ คุณคาดานการใชภาษา 
นิทานสุภาษิตเรื่องสามัคคีเภทคําฉันทถูกประพันธดวยภาษาที่กระชับ เขาใจงาย ผูแตงไดเลือกใชฉันท
หลากหลายรูปแบบที่มีสอดคลองกับสิ่งที่ตองการจะสื่อ อีกทั้งยังใชโวหารมากมายทําใหผูอานไดเห็นถึงวิธีการ
ใชภาษาใหสละสลวย และตรงตาม ความหมายที่ตองการจะสื่อไดชัดเจนยิ่งขึ้น 
 
 
 
 
 
 
  
  
  
  
  
 
  
  
  
  
  
  
  
13

บรรณานุกรม 
 
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียนรายวิชาขั้นพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีจักษ ม.6 . 
พิมพครั้งที่5.กรุงเทพฯ : สกสค.ลาดพราว, 2557. 169 หนา 
 

You might also like