You are on page 1of 96

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2


ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition
ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
Home works

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2


Home works

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2


ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2
For the machine element shown, determine the x coordinate of the center of gravity.

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed 2


โมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia)
โมเมนตความเฉื่อย เปนสมบัติอยางหนึ่งเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหมุน เปนปริมาณที่บอก
ความเฉื่อยในการหมุน (Rotational Inertia) ของวัตถุ ในการที่จะพยายามรักษาสภาพเดิมของ
การหมุนเอาไว โดยวัตถุมีโมเมนตความเฉื่อยมาก ก็จะทําใหวัตถุนั้นเปลี่ยนสภาพของการ
หมุนเดิมไดยาก และถาวัตถุนั้นมีโมเมนตความเฉื่อยนอยก็จะทําใหวัตถุนั้นเปลี่ยนสภาพของ
การหมุนเดิมไดงาย ซึ่งโมเมนตความเฉื่อยของวัตถุมีคาขึ้นกับแกนหมุน รูปรางของวัตถุและ
ลักษณะการเรียงตัวของวัตถุรอบแกนหมุน
โดยทั่ ว ๆไปมัก จะกํ า หนดโมเมนต ค วามเฉื่ อ ยรอบแกนที่ผ า นจุ ด ศูน ย กลางมวล
(Icm)มาให แตถาตองการหาโมเมนตความเฉื่อย รอบแกนอื่นๆ จําเปนจะตองใชทฤษฎีมาชวย
ในการหาคาโมเมนตความเฉื่อย โดยทฤษฎีที่ชวยในการหาคาโมเมนตความเฉื่อยมี 2 ทฤษฎี
คือ ทฤษฎีแกนตั้งฉากและทฤษฎีแกนขนาน

ที่มา http://www.rsu.ac.th/science/physics/sema/
โมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia)

10cm 3cm

10cm 3cm P
10cm
1cm x
(A) (B) (C) A B
1cm

พิจารณาทางเลือกของหนาตัดคาน AB ที่มีพื้นที่หนาตัดเทากันและมีน้ําหนักตอหนึ่ง
หนวยความยาวเทากัน
จากรูป เมื่อ P มีคาๆ หนึ่งแลว หนาตัดใดของคานจะมีคาการแอนตัวต่ําสุด? ทําไม?
หนาตัดรูป (A) มีคาการแอนตัวต่ําสุด เพราะวามีคา moment of inertia รอบแกน x
สูงสุด (เนื่องจากพื้นที่โดยสวนใหญของหนาตัดอยูไกลจากแกน x)

ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
โมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia)

สําหรับ differential area dA:


d Ix = y2 dA
d Iy = x2 dA และ
d JO = r2 dA
เมื่อ JO คือ polar moment of inertia รอบจุด
O หรือแกน z

moments of inertia ของพื้นที่จะหาไดโดยการ integration


Ix = ∫A y2 dA ; Iy = ∫A x2 dA
JO = ∫A r2 dA = ∫A ( x2 + y2 ) dA = Ix + Iy
moments of inertia มักจะถูกเรียกวา second moment ของพื้นที่ และมีหนวยเปนความยาวยก
กําลังสี่ (m4)
ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
โมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia)

ทฤษฎีแกนตั้งฉาก เปนทฤษฎีที่ใชในการคํานวณหาคาโมเมนตความเฉื่อยของวัตถุ
แข็งเกร็งที่มีลักษณะเปนแผนบาง ๆ

ทฤษฎีแกนขนาน คาโมเมนตความเฉื่อยของวัตถุโดยทั่ว ๆ ไปเราจะทราบคาโมเมนต


ความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนที่ผานจุดศูนยกลางของมวลของวัตถุ ถาตองการจะหาคา
โมเมนตความเฉื่อยของวัตถุนั้นรอบแกนหมุนใด ๆ ซึ่งขนานกับแกนหมุนที่ผานจุด
ศูนยกลางมวล และหางออกมาเทากับ
ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)
จากรูป moments of inertia ของพื้นที่ dA
รอบแกน x
dI=
x ( y ′ + d y ) 2
dA

=
Ix ∫ A
( y′ + d y ) 2 dA

∫ y′ dA + 2d ∫
= y′dA + d y2 ∫ dA
2
A y A A

I x′
∫= ∫ dA
y′dA y= 0 A

ในทํานองเดียวกัน I= I + Ad 2
x x′ y

I=
y I y′ + Ad 2
x

ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
รัศมีไจเรชัน ( Radius of Gyration )
รัศมีไจเรชันของวัตถุเปนคารัศมีเฉลี่ย แทนดวย k ซึ่งมีนิยามวาระยะหางจากแกนหมุนไปยัง
จุดเสมือนที่มวลวัตถุไปรวมอยู ถา I คือโมเมนตความเฉื่อยของวัตถุที่หมุนรอบแกนใด ๆ
และ M คือมวลของวัตถุ จะไดวา

A สําหรับพื้นที่ A ซึ่งมี moment of inertia Ix และอยู


y
ที่ตําแหนง kx จากแกน x
kx ดังนั้น Ix = kx2 A หรือ kx = √ ( Ix / A)
เทอม kx นี้ถูกเรียกวา radius of gyration ของพื้นที่
x รอบแกน x
ในทํานองเดียวกัน ky = √ ( Iy / A ) และ kO =
√ ( JO / A )
ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
การหาคาโมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่โดยการ integration
ขั้นตอนในการคํานวณ:
1. เลือก element dA: ซึ่งทําได 2
แบบคือ แถบในแนวดิ่งและ
แถบในแนวนอน

a) ทําการวางความยาวของ elementใหขนานไปกับแกนที่เรากําลังหาคา
moments of inertia เชน เราจะเลือกแถบในแนวนอนในการหาคา Ix
และแถบในแนวตั้งในการหาคา Iy
b) ถา y ถูกเขียนใหอยูในเทอมของ x ไดงาย (e.g., y = x2 + 1) แลว เรา
ควรใชแถบในแนวตั้งที่มีความกวาง dx
ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
2. ทําการ Integrate เพื่อหา moment of
inertia เชน
Iy = ∫ x2 dA = ∫ x2 y dx
และ
Ix = ∫ d Ix = ∫ (1 / 3) y3 dx

เนื่องจากในกรณีนี้ differential element คือ dx ดังนั้น เทอม y จะตองถูกเขียน


ใหอยูในเทอมของ x และ integral limit จะตองอยูในเทอมของ x ดวย ซึ่งจะ
เห็นไดวา การเลือก element และการทํา integration คอนขางยุงยาก และตอง
ทําการ trial and error และใชประสบการณ

ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)
จงหา moment of inertia ของพื้นที่รอบแกน x' ที่ผานจุด centroid
y′
1. กํ า หนดให พ น
้ ื ที เ
่ ล็ ก ๆ รู ปสี เ
่ หลี ย
่ มผื น ผ า
2. integration
dy′
I x′ = ∫ y′2 dA
h/2 A
y′ +h/ 2
C
x′
= ∫
−h / 2
y′2 b dy′

h/2 +h/ 2
=b ∫
−h / 2
y′2 dy′

b/2 b/2 1 3
I x′ = bh
12
ที่มา เอกสารคํา สอนวิชา Engineering Statics เรียบเรียงโดย ผศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย SUT
ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)
Determine by direct integration the moment of inertia of the shaded area with respect to the y axis.

1. กําหนดพื้นที่เล็กๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผา: แนวนอน


d Iy = x2 dA I y = ∫ x 2 dA
A

ที่มา Vector Mechanics for Engineers Statics, 7th Edition


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา Vector Mechanics for Engineers Statics, 7th Edition


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

Determine the moment of inertia and the radius of gyration of the shaded area with
respect to the y axis.

ที่มา Vector Mechanics for Engineers Statics, 7th Edition


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)
Determine the moments of inertia Ix and I y of the area shown with respect to centroid axes
respectively parallel and perpendicular to side AB.

I=
y I y′ + Ad 2
x I=
x I x′ + Ad 2
y

ที่มา Vector Mechanics for Engineers Statics, 7th Edition


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา Vector Mechanics for Engineers Statics, 7th Edition


ทฤษฏีแกนขนานของพื้นที่ (Parallel Axis Theorem)

ที่มา Vector Mechanics for Engineers Statics, 7th Edition


แรงกระจาบแบบกระทําบนคาน
(DISTRIBUTED LOADS ON BEAMS)

dW = w dx
dW =w dx = dA and W = A

it can be replaced by the product xA. We therefore have OP = x, where x is the distance from
the w axis to the centroid C of the area A
ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2
แรงกระจาบแบบกระทําบนคาน
(DISTRIBUTED LOADS ON BEAMS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงกระจาบแบบกระทําบนคาน
(DISTRIBUTED LOADS ON BEAMS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงกระจาบแบบกระทําบนคาน
(DISTRIBUTED LOADS ON BEAMS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
DEFINITION OF A TRUSS
โครงถัก (Truss) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาโครงขอหมุน เปนโครงสรางที่เกิดขึ้นจากการนาเอาชิ้นสวนหรือวาองคอาคาร
มาประกอบเขาดวยกันเปนรูปทรงเรขาคณิต มีวัตถุประสงคเพื่อใหไดโครงสรางที่มี นาหนักเบาแตสามารถรับนาหนักไดมากและวาง
พาดชวงยาวๆ ได อยางเชน โครงสรางหลังคาของโรงงาน โรงอาหาร หอประชุม อัฒจรรย ฯลฯ รวมทั้งสะพานและอาคารพิเศษอื่นๆ
ดวย โครงถักโดยทั่วไปจะทําจากเหล็กรูปพรรณหรือไม ในการออกแบบโครงถักจะตองทราบแรงที่เกิดขึ้นภายในชิ้นสวนแตละชิ้นที่
นํามาประกอบเปนโครงถักซึ่งการวิเคราะหหาแรงภายในโครงถักสามารถหาไดสองวิธีใหญๆ คือ วิธีการคํานวณ และวิธีการเขียนรูป
ซึ่งในหนวยเรียนนี้จะกลาวถึงเฉพาะวิธีการคํานวณเทานั้น

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2, building.cmtc.ac.th


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
-Simple Trusses
m+3=2n

Rigid Truss

แรงภายในชิ้นสวนของโครงถักและเครื่องหมายแทนแรง
แรงภายในชิ้นสวนของโครงถัก โดยทั่วไปเมื่อทํา
การวิเคราะห แรงภายในชิ้นสวนมี2 แรง คือ แรงดึง
(Tension ; T) และแรงอัด Compression ; C) และ
สามารถใชเครื่องหมายแทนแรงได ดังตาราง

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
การหาแรงภายในโครงถัก
การวิเคราะหหาแรงภายในที่เกิดขึ้นในโครงถัก สามารถแบงไดเปน 3 วิธี คือ
1) วิธีกราฟฟก (Graphical Methods)
2) วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)
3) วิธีคํานวณสวนตัด (Section Methods)

วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)


การคํานวณหาแรงภายในโดยวิธีคํานวณจุดตอ มีหลักการคํานวณ คือ ใหพิจารณาจุดตอที่มีตัวไม
ทราบคาเพียงสองตัว และใชสมการสมดุล

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
ขั้นตอนการคํานวณหาแรงภายในโครงถักโดยวิธีจุดตอ มีขั้นตอนดังนี้
1) คํานวณหาคาแรงปฏิกิริยาที่ฐานรองรับของโครงถัก
2) เขียนผังอิสระของแรง (F.B.D.)
3) พิจารณาจุดตอที่มีตัวไมทราบคาไมเกินสองตัว โดยสมมุติใหแรงที่ยังไมทราบคาเปนแรงดึง
ไวกอน
4) แตกแรงที่เอียงใหอยูในแนวแกน X และแกน Y
5) ใชสมการสมดุล และ คํานวณหาตัวไมทราบคา โดยกําหนดใหแรงที่มี
ทิศทางขึ้นและทิศทางไปทางขวามีคาเปนบวก และแรงที่มีทิศทางลงและทิศทางไปทางซายมีคา
เปนลบ ถาแรงที่คํานวณไดมีคาติดลบแสดงวาสมมุติหัวลูกศรผิด ใหกลับหัวลูกศรของแรงนั้น
แลวจึงคํานวณหาคาแรงตอไป
6) เมื่อทราบคาแรงภายในที่จุดตอแรกแลว ใหพิจารณาจุดตอที่สองที่อยูติดกัน
และมีตัวไมทราบคาไมเกินสองตัว เพื่อคํานวณหาแรงภายในชิ้นสวนของโครงถักที่เหลือใหครบ
ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีคํานวณจุดตอ (Joint Methods)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
ชิ้นสวนที่แรงกระทําเปนศูนย(Zero-Force Members)

ถา joint ของโครงขอหมุนเกิดจากการเชื่อมตอกันโดย


ชิ้ น ส ว นเพี ย ง 2 ชิ้ น และไม มี แ รงภายนอกหรื อ แรง
ปฏิกิริยากระทําที่ joint นั้น ชิ้นสวนทั้งสองจะเปน zero-
force member

ถา joint ของโครงขอหมุนเกิดจากการเชื่อมตอกันโดย


ชิ้นสวน 3 ชิ้น โดยที่ 2 ใน 3 ของชิ้นสวนเหลานั้นอยูใน
แนวเดี ย วกั น และเมื่ อ ไม มี แ รงกระทํ าที่ joint นั้ น
ชิ้นสวนที่เหลือจะเปน zero-force member
ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
ชิ้นสวนที่แรงกระทําเปนศูนย(Zero-Force Members)

ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)
การคํานวณหาแรงภายใน โครงถักโดยวิธีคํานวณสวนตัด เปนวิธีที่คอนขางทาไดรวดเร็วเพราะไมจา
เปนตองเริ่มที่จุดแรกแลวไลจุดถัดไปเรื่อยๆ เหมือนวิธีคํานวณจุดตอ โดยสามารถเลือกตัด Section ณ ตําแหนงที่
ตองการทราบคาไดเลย ซึ่งมีเงื่อนไขคือตองตัดผานตัวไมทราบคาไมเกิน 3 ตัวเทานั้น
ขั้นตอนการคํานวณหาคาแรงภายในโครงถักโดยวิธคี ํานวณสวนตัด
1) คํานวณหาแรงปฏิกิริยาที่ฐานรองรับของโครงถัก
2) พิจารณาตัด Section ตรงหนาตัดที่มีตัวไมทราบคาไมเกิน 3 ตัว
3) สมมุติใหแรงที่ยังไมทราบคาใหเปนแรงดึงไวกอน
4) ใชสมการสมดุล ∑ M = 0 คํานวณหาตัวไมทราบคาโดยเลือกจุดหมุนใหเหลือตัวไมทราบคาเพียงตัวเดียว

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)
จงหาแรงในชิ้นสวน GE, GC และ BC และบอกดวยวาเปนแรงกดหรื อแรงดึง

ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา Engineering Mechanics - Statics, R.C. Hibbeler, 12th Edition


การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)
จงคํานวณหาแรงภายในชิ้นสวน CD , JK , JD , DK และ DE

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา building.cmtc.ac.th
การวิเคราะหโครงสราง
(Analysis of Structures)
วิธีการตัดหนาตัด (The Method of Sections)

ที่มา building.cmtc.ac.th
แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
แรงภายใน (INTERNAL FORCES IN MEMBERS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
แรงภายใน (INTERNAL FORCES IN MEMBERS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
แรงภายใน (INTERNAL FORCES IN MEMBERS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
แรงภายใน (INTERNAL FORCES IN MEMBERS)

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
VARIOUS TYPES OF LOADING AND SUPPORT

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
VARIOUS TYPES OF LOADING AND SUPPORT

Statically Determinate Beams

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
VARIOUS TYPES OF LOADING AND SUPPORT

Statically Indeterminate Beams

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
SHEAR AND BENDING MOMENT IN A BEAM

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
SHEAR AND BENDING-MOMENT DIAGRAMS

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
SHEAR AND BENDING-MOMENT DIAGRAMS

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
SHEAR AND BENDING-MOMENT DIAGRAMS

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
SHEAR AND BENDING-MOMENT DIAGRAMS

The simple beam AC is loaded by a couple of magnitude T


applied at point B. Draw the shear and bending-moment
diagrams for the beam.

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
RELATIONS AMONG LOAD, SHEAR,AND BENDING MOMENT
Relations between Load and Shear

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
RELATIONS AMONG LOAD, SHEAR,AND BENDING MOMENT
Relations between Shear and Bending Moment

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
RELATIONS AMONG LOAD, SHEAR,AND BENDING MOMENT

Draw the shear and bending-moment diagrams for the


beam and loading shown.

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
RELATIONS AMONG LOAD, SHEAR,AND BENDING MOMENT

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
RELATIONS AMONG LOAD, SHEAR,AND BENDING MOMENT

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2


แรงในคานและสายเคเบิล
(Forces in Beams and Cables)
CABLES WITH CONCENTRATED LOADS

ที่มา vector mechanics statics&dynamics beer& johnston 9th ed2

You might also like