You are on page 1of 15

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านเเละพิจารณาวรรณคดี เรือ
่ งมัทนะพาธา

โดย
ธรรมวรรษ จิรนิติ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6 เลขที่ 4
กฤษติยา เหลือลมัย ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6 เลขที่ 7
มหัสวัต โอวาทเวโรจน์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6 เลขที่ 9
เพชรดาว พัฒนบัณฑิต ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6 เลขที่ 10

เสนอ
อ. พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้ป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
คานา
้ เพือ
รายงานเล่มนี้ จดั ทาขึน ่ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย
ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
เพือ ่ ให้ไว้เป็ นแหล่งข้อมูลในการศึกษาหาความรูใ้ นเรือ ่ งการอ่าน ถอดความ
ประเมินค่า และพิจารณาวรรณคดีเรือ ่ งมัทนะพาธา
โดยหวังว่าจะเป็ นประโยชน์ตอ ่ ผูอ ้ า่ นทุกคน
ตัง้ แต่นกั เรียนและนักศึกหาทีต ่ อ
้ งการข้อมูลในบทเรียนเดียวกันนี้
ไปจนถึงบุคคลทั่วไปทีป ่ ระสงค์จะทาความเข้าใจบทละครพูดคาฉันท์เรือ ่ งนี้อย่า
งลึกซึง้ และชัดเชน หากมีขอ
้ แนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด
คณะผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ทีน ่ ี้ดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทา
วันที่ 6 มิถุนายน 2562
สารบัญ
1.การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
1.1 เนื้อเรือ ่ ง
……………………………………………………………………………………………………………
………1
1.2
โครงเรือ ่ ง…………………………………………………………………………….....................
.............................1
1.3
ตัวละคร…………………………………………………………………………………………………………
……………….1
1.4
ฉากท้องเรือ ่ ง…………………………………………………………………………..................
.............................2
1.5
บทเจรจาหรือราพึงราพัน……………………………………………………………………………
…………………….3
1.6
แก่นเรือ ่ ง………………………………………………………………………………...................
............................3
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1
การสรรคา……………………………………………………………………………………………………
………………….4
2.2 การเรียบเรียงคา
………………………………………………………………………......................................
.....4
2.3
การใช้โวหาร…………………………………………………………………………………………………
…………………6
3. การอ่านและพจิารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1 คุณค่าด้านอารมณ์
………………………………………………………………………………………………………….6
3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม
………………………………………………………………………………………………………..7
3.3
คุณค่าด้านอืน ่ ๆ……………………………………………………………………………………………
…………………..7
4.
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………
…………………….8
1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
1.1 เนื้อเรือ ่ ง
เทวดาสุเทษณ์ หลงรักนางฟ้ ามัทนา แต่นางไม่ได้รกั ตอบ
เขาจึงให้มายาวินผูเ้ ป็ นบริวารใช้มนตร์สะกดนางให้มาหาเขาเพือ ่ ถามความใน
ใจ แต่คาตอบของมัทนากลับเหมือนกับคาพูดของคนกาลังละเมอ
ไม่มีชีวต ิ จิตใจ ซึง่ คุยด้วยไปก็เหมือนคุยกับหุน ่ ยนต์ ทาให้สุเทษณ์ ไม่พอใจ
มายาวินจึงอธิบายว่าอาการเช่นนี้เป็ นเพราะฤทธิม ์ นตร์
ซึง่ สามารถทาให้มทั นาอยูร่ บ ั ใช้สุเทษณ์ โดยไม่ขดั ขืนได้ อย่างไรก็ตาม
มันไม่สามารถบังคับใจนางให้รบ ั รักสุเทษณ์ ได้ เมือ่ ได้ยน
ิ ดังนัน ้
สุเทษณ์ จงึ กล่าวว่าเขาไม่ตอ ้ งการความรักทีอ ่ ยูไ่ ด้เพราะมนตรา
และเป็ นไปตามทีเ่ ขาต้องการเพียงฝ่ ายเดียว เมือ
่ เขารักนาง
ก็หวังให้นางรักตอบด้วยความเต็มใจ มิฉะนัน้ ก็เสียงเเรงทีร่ กั นาง
ว่าแล้วก็ส่งั ให้มายาวินคลายมนตร์ เมือ่ มัทนากลับมามีสติครบถ้วน
ก็ปฏิเสธสุเทษณ์ ดว้ ยคิดว่าความรูส้ ก ึ ของสุเทษณ์ นน ้ ั เป็ นเพียงความหลงของผูช ้
าย สักวันก็จะเบือ ่ ไป
สุเทษณ์ นน ้ ั ลุเเก่โทษะเเละสาปมัทนาให้จุตจิ ากสวรรค์ไปยังโลกมนุษย์ในสภาพ
ของดอกกุหลาบ ซึง่ เป็ นดอกไม้ทม ี่ ีรูปสวยงาม มีกลิน่ หอมหวน
และมีหนามเเหลมคมไว้ป้องกันตนจากคนพาล
นางจะคืนสภาพเป็ นมนุษย์ในวันเพ็ญ
เเละจะเป็ นมนุษย์โดยถาวรเมือ ่ มีความรัก
เเต่เมือ่ ใดทีค ่ วามรักนัน ้ ทาให้เศร้าโศกจนเกินทน
ให้ออ ้ นวอนต่อสุเทษณ์ และเขาจะทาลายคาสาปให้

1.2 โครงเรือ
่ ง
มัทนะพาธาเป็ นเรือ่ งสมมุตท ี่ ล่าวถึงต้นกาเนิดของดอกกุหลาบซึง่ เป็ นด
ิ ก
อกไม้บนสวรรค์ในโลกมนุษย์ จากนางฟ้ าทีถ ่ ูกสาปให้จุตเิ ป็ น "ดอกกุพฺชกะ"
ซึง่ แปลว่า "ดอกกุหลาบ” โดยเรือ ่ งราวเกิดขึน ้ ในอินเดียโบราณ
บทละครพูดคาฉันท์เรือ ่ งมัทนะพาธาได้ถูกพระราชนิพนธ์ขน ึ้ โดย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
โดยไม่ได้ตดั ตอนหรือแปลความมาจากวรรณคดีเรือ ่ งอืน
่ ใด ชือ
่ เรือ
่ ง
“มัทนะพาธา” หมายความว่า “ความเจ็บปวดและเดือดร้อนจากความรัก”

1.3 ตัวละคร
1. สุเทษณ์
เทพบุตรชาวฟ้ า ทีห ่ ลงรักในตัวนางฟ้ ามัทนาอย่างหัวปักหัวปัม
เขาเชือ ่ ว่ารักทีด
่ น
ี น
้ ั ต้องประกอบด้วยความสมัครใจจากทัง้ สองฝ่ าย
ซึง่ เห็นได้จากบทกลอนดังต่อไปนี้
“อ๊ะ ! เราไม่ขอ ได้นางละหนอ โดยวิธีนน
้ั !
เสียแรงเรารัก สมัคใจครัน อยากให้นางนัน ้ สมัครักตอบ.
ผูกจิตด้วยมนตร์ แล้วตามใจตน ฝ่ ายเดียวมิชอบ,
เราใฝ่ ละโบม ประโลมใจปลอบ ให้นางนึกชอบ นึกรักจริงใจ.”

เเต่ทว่า เขาก็เป็ นคนเจ้าอารมณ์ เอาแต่ใจตัวเอง ต้องการสิง่ ใด


ต้องได้สงิ่ นัน
้ เมือ
่ ไม่สมปรารถนาในความรักเพราะมัทนาไม่ตกลงปลงใจด้วย
จึงสาปนางให้กลายเป็ นดอกกุหลาบในโลกมนุษย์ดว้ ยความโกรธ
ความอารมณ์ รอ้ นของสุเทษณ์ สามารถเห็นได้ชดั เจนจากบทดังต่อไปนี้

“สุเทษณ์ : (ตวาด) อุเหม่!


มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชชิ า่ งจานรรจา,
ตะละคาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ.
ดนุถามเจ้าก็ไซร้ บ่มต ิ อบณคาถาม,
วนิดาพยายาม กะละเล่นสานวนหวน. 1
ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน,
ผิวะให้อนงค์นวล ชนะหล่อนทะนงใจ.
บ่มยิ อมจะร่วมรัก และสมัครสมรไซร้,
ก็ดะนูจะยอมให้ วนิดานิวาสสวรรค์”

2. มัทนา
นางฟ้ าผูง้ ดงาม พูดจาไพเราะอ่อนโยน แต่ตรงไปตรงมา
คิดอย่างไรก็กล้าพูดไปอย่างนัน ้ ไม่มีเล่ห์เหลีย่ ม
ซึง่ เห็นได้จากการทีน ่ างปฏิเสธความรักของสุเทษณ์ ในบทกลอนดังต่อไปนี้

“ฟังถ้อยดารัสมะธุระวอน ดนุนี้ผเิ อออวย


จักเป็ นมุสาวะจะนะด้วย บมิตรงกะความจริง.
อันชายประกาศวะระประทาน ประดิพทั ธะแด่หญิง,
หญิงควรจะเปรมกะมะละยิง่
ผิวะจิตตะตอบรัก;
แต่หากฤดีบอะภิรม จะเฉลยฉนัน
้ จัก
เปนปดและลวงบุรุษะรัก ก็จะหลงละเลิงไป.
ตูฃา้ พระบาทสิสุจริต บมิคด
ิ จะปดใคร,
จึง่ หวังและมุง่ มะนะสะใน วรเมตตะธรรมา.”

ด้วยเหตุนน
้ ั เอง นางจึงถูกสุเทษณ์ สาปให้กลายเป็ นดอกกุหลาบเพือ
่ ลงโทษ

3. มายาวิน
บริวารคนสนิทของสุเทษณ์ ผูม
้ ีมนต์ตราแกร่งกล้า

“นางมาแล้วไซร้ แต่วา่ ฉันใด จึง่ ไม่พูดจา


์ นตรา, แต่วา่ ตูขา้ จะแก้บดั นี้ ”
นางยังงงงวย ด้วยฤทธิม

จากตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นว่ามายาวินสามารถใช้พลังเวทมนต์สะก
ดจิตนางมัทนาเพือ
่ พามาหาสุเทษณ์ ได้ และสามารถคลายมนตร์นน ้ ั ได้เช่นกัน

1.4 ฉากท้องเรือ
่ ง
บทละครพูดคาฉันท์เรือ ่ งมัทนะพาธาในองก์ทน ี่ ามาศึกษานัน ้
ปรากฏฉากบนสวรรค์ สังเกตุได้จากตัวอย่างบทกลอนด้านล่าง
ทีน
่ างมัทนากล่าวถึงหมูช
่ าวฟ้ าทัง้ หลายหรือนางฟ้ าในภาษาปัจจุบน ั
แสดงให้เห็นว่าเหตุการณ์ ทง้ ั หมดนัน ้ ในทีพ
้ ต้องเกิดขึน ่ กั อาศัยของนางฟ้ าและเ
ทวดา ซึง่ คือบนสวรรค์น่ น
ั เอง

“เหตุใดพระองค์ทรงธรรม์ จึง่ ทาเช่นนัน ้ ให้ฃา้ พระบาทต้องอาย


แก่หมูช
่ าวฟ้ าทัง้ หลาย? โอ้พระฦๅสาย พระองค์บทรงปราณี.”
1.5 บทเจรจาราพึงราพัน 2
เรือ
่ งมัทนะพาธานี้ เป็ นบทละครพูดจึงเป็ นบทเจรจาทัง้ เรือ
่ ง
ผูแ
้ ต่งสามารถแสดงความรูส้ ก ึ ของตัวละครต่างๆออกมาได้ดแ ี ละชัดเจน
เช่นในบทราพึงราพันทีส ่ ุเทษณ์ พรรณนาถึงความรักทีม ่ ีให้แก่นางมัทนา
หลังจากทีน ่ างมัทนาพยายามจะปฏิเสธความรักของตนในนางฟัง
สุเทษณ์ กล่าวว่า

“พีน ่ ี้นะรักเจ้า และจะเฝ้ าประคับประคอง


คูช
่ ด ิ สนิทน้อง บ่มใิ ห้ระคางระคาย
พีร่ กั วะธุนวล
บ่มค
ิ วรระอาละอาย
อันนาริกบ ั ชาย ฤก็ควรจะร่วมจะรัก
รูปเจ้าวิไลราว
สุระแสร้งประจิตประจักษ์ ,
มิควรจะร้างรัก เพราะพะธูพถ ิ ีพถ
ิ น

ธาดาธสร้างองค์ อรเพราะพิสุทธิสรรพ์
ไว้เพือ ่ จะผูกพัน ธนะจิตตะจองฤดี.
อันพีส ่ บิ ุญแล้ว ก็เผอิญประสบสุรี
และรักสมัครมี มนะมุง่ ทะนุถนอม.
ขอโฉมเฉลาปลง พระฤดีประนีประนอม.
รับรักและยินยอม ดนุรกั สมัครสมาน.
หากนางมิขอ ้ งขัด ประดิพทั ธ์ประสมประสาน
ทัง้ สองจะสุขนาน มนะจ่อบจืดบจาง.
อ้าช่วยระงับดับ ทุขะพีร่ ะคายระคาง;
พีร่ กั อนงค์นาง ผิมส
ิ มฤดีถวิล
เหมือนพีม ่ ไิ ด้คง วรชีวะชีวต ิ น
ิ -
ทรีย์ไซร้บไ่ ฝ่ จิน- ตะนะห่วงและห่อนนิยม.
ชีพอยูก ่ ็เหมือนตาย เพราะมิวายระทวยระทม
ทุกข์ยากและกรากกรม อุระชา้ ระกาทวี.
อ้าฟังดนูเถิด มะทะนาและตอบวจี
พอให้ดนูนี้ สุขะรืน
่ ระเริงระรวย.”

จากตัวอย่างข้างต้นสุเทษณ์ ตอ้ งการทีจ่ ะโน้มน้าวเกลี้ยกล่อมใจของนางมั


ทนาให้ยนิ ยอมรับรักของสุเทษณ์ และพิชต ิ ใจนางมัทนา
ด้วยการชมว่ารูปของนาง ก็งดงามราวกับถูกเนรมิตมา
นางฟ้ าอย่างมัทนาก็ไม่ควรทีจ่ ะขาดความรักเลย

1.6 แก่นเรือ ่ ง
บทประพันธ์เรือ ่ งนี้แสดงให้เห็นถึงโทษของความรัก
แต่ถงึ อย่างไรทุกอย่างก็ยอ ่ มมีสองด้านเสมอ ความรักทีด ่ ยี อ
่ มมีความสุข
เมือ
่ ความรักสมหวังย่อมมีจต ิ ใจทีเ่ บิกบานผ่องใส
แต่ความรักซึง่ เป็ นดาบสองคมอาจนาพามาซึง่ ความหลงจนครอบง่าตัวเรา
ทาให้ขาดการพิจารณาสิง่ ต่างๆรอบตัวอย่างขาดสติและใช้อารมณ์ เป็ นทีต ่ ดั สิน
บทละครเรือ ่ งแสดงถึงแง่มุมของความรัก อย่างทีใ่ ดมีรกั ทีน ่ ่น
ั ย่อมมีทุกข์
อีกทัง้ ยังสะท้อนทาให้เห็นถึงทัง้ ข้อดีและข้อเสีย 3
และให้แง่มุมเกีย่ วกับความรักทีเ่ ข้าใจได้งา่ ยอีกด้วย
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1 การสรรคา
การสรรคา คือ การเลือกใช้คาให้สือ ่ ความคิด ความเข้าใจ ความรูส้ ก ึ
และอารมณ์ ได้อย่างงดงาม
ในส่วนของการสรรคาทีผ ่ เู้ เต่งได้ใช้ในการประพันธ์บทละครพูดคาฉันท์เรือ ่ งมั
ทนะพาธานัน ้ ได้ใช้คาทีส ่ ละสลวยด้วยความคล้องจองของเสียง ความหมาย
และลูกเล่นในการใช้คาศัพท์
มีการใช้คาไวพจน์เพือ ่ ไม่ให้เกินการใช้คาเดิมซา้ ๆ
เช่นในตัวอย่างบทกลอนด้านล่าง สุเทษณ์ กล่าวเรียกมัทนาด้วยคาว่าสุปริยา
ดรุณี และอภิระตี ซึง่ มีความหมายเหมือนกันว่าสตรีทีร่ กั ใคร่

“อ้าโฉมวิไลยะสุปริยา มะทะนาสุรางค์ศรี
พีร่ กั และกอบอภิระตี บมิเว้นสิเน่ ห์นกั
บอกหน่ อยเถิดว่าดะรุณิเจ้า
ก็จะยอมสมัครรัก”

นอกจากการใช้คาไวพจน์
ยังมีการจงใจให้มีคาซา้ เพือ ้
่ ให้บทพูดน่ าสนใจและไพเราะยิง่ ขึน
เช่นในการถามตอบระหว่างสุเทษณ์ และมัทนา
ทีค
่ าตอบนัน ้ กล่าวซา้ บางคาในตัวคาถาม เหมือนเป็ นการทวนคาถามก่อนตอบ
เป็ นเสน่ ในการสรรคาอย่างมาก

“สุเทษณ์ . บอกหน่ อยเถอะว่าดะรุณิเจ้า


ก็จะยอมสมัครัก.
มัทนา. ตูฃา้ สมัคฤมิสมัค
ก็มขิ ดั จะคล้อยตาม.
สุเทษณ์ . จริงฤๅนะเจ้าสุมะทะนา
วจะเจ้าแถลงความ?
มัทนา. ฃ้าขอแถลงวะจะนะตาม
สุรเทวะโปรดปราน.
สุเทษณ์ . รักจริงมิจริงฤก็ไฉน
อรไทยบ่แจ้งการ?
มัทนา. รักจริงมิจริงก็สุระชาญ
ชยะโปรดสถานใด?
สุเทษณ์ . พีร่ กั และหวังวธุจะรัก
และบทอดบทิง้ ไป.
มัทนา. พระรักสมัคณพระหทัย
ฤจะทอดจะทิง้ เสีย?
สุเทษณ์ . ความรักละเหีย่ อุระระทด
เพราะมิอาจจะคลอเคลีย.
มัทนา. ความรักระทดอุระละเหีย่
ฤจะหายเพราะเคลียคลอ?
สุเทษณ์ . โอ้โอ๋กระไรนะมะทะนา
บมิตอบพะจีพอ?
มัทนา. โอ้โอ๋กระไรอะมระง้อ มะทะนามิพอดี
!
สุเทษณ์ . เสียแรงสุเทษณ์ นะประดิพทั ธ์
มะทะนาบเปรมปรีย์.
มัทนา. แม้ฃา้ บเปรมปฺรยิ ะฉะนี้
ผิจะโปรดก็เสียแรง.
สุเทษณ์ . โอ้รูปวิไลยะศุภะเลิด
บมิควรจะใจแขง.
มัทนา. โอ้รูปวิไลยะมละแรง
ละก็จาจะแขงใจ.”

2.2 การเรียบเรียงคา
บทพูดคาฉันท์เรือ ่ งมัทนพาทา
มีวธิ ีการนาเสนอเรือ ่ งราวทีค ่ อ
่ ยๆไล่ลาดับอารมณ์ ของตัวละครจากน้อยไปมาก
รวมถึงการนาเสนอการเปลีย่ นแปลงในอารมณ์ และการกระทาของตัวละคร
จากความรักกลายเป็ นความโกรธ
และจากการร้องขอความรักเป็ นการสาปส่งนางผูเ้ ป็ นทีร่ กั 4
บทกล่อนทีย่ กมาด้านล่างนัน ้ เป็ นการ
ตัดตอนเอาพูดในเรือ ่ งมัทนพาทาจากต้นเรือ ่ งไปจนจบเรือ
่ ง
โดยเริม ่ จากการทีส
่ ุเทษณ์ สารภาพรักต่อมัทนา และขอให้นางรักตอบ
ดังทีก ่ ล่าวมาในบทกลอนต่อไปนี้

“พีน
่ ี้นะรักเจ้า และจะเฝ้ าประคับประคอง
คูช่ ด
ิ สนิธน้อง บ่มใิ ห้ระคางระคาย.
พีร่ กั วะธูนวล บ่มค ิ วรระอาละอาย,
อันนาริกบ ั ชาย ฤก็ควรจะร่วมจะรัก.”

แต่มทั นากลับไม่ได้รกั ตอบ


และปฏิเสธเพราะเชือ ่ ว่าไม่นานสุเทษณ์ ก็จะเบือ
่ และไม่เหลียวแลตน
ดังทีก
่ ล่าวมาในบทกลอนต่อไปนี้
“จะโปรดปรานฃ้าบาทนี้ สักกีร่ าตรี? และเมือ ่ พระเบือ ่ ฃ้าน้อย
จะมิตอ ้ งนั่งละห้อย นอนโศกเศร้าสร้อย ชะเง้อชะแง้แลหรือ?
หม่อมฉันนี้เปนผูถ ้ ือ สัจจาหนึ่งคือ ว่าแม้มริ กั จริงใจ,
ถึงแม้จะเปนชายใด ขอสมพาศไซร้ ก็จะมิยอมพร้อมจิต.
ดังนี้ขอเทพเรืองฤทธิ ์ โปรดฃ้าน้อยนิด, ฃ้าบาทขอบังคมลา.

เมือ
่ มัทนาขอลา สุเทษณ์ จงึ เริม่ โกรธ อารมณ์ ของบทพูดจึงเริม
่ เปลี่ยนไป
มีการโต้เถียงและความหงุดหงิดใจ มีการใช้เครือ ่ งหมายอัศเจรีย์
เพือ่ แสดงถึงการใช้น้าเสียงทีร่ ุนแรงของสุเทษณ์
ไม่ออ ่ นหวานเหมือนตอนบอกความในใจแก่มทั นา
ดังทีก่ ล่าวมาในบทกลอนต่อไปนี้
“สุเทษณ์ . ช้าก่อน! หล่อนจะไปไหน?
มัทนา. หม่อมฉันอยูไ่ ป ก็เครือ
่ งแต่ทรงราคาญ.
สุเทษณ์ . ใครหนอบอกแก่นงคราญ ว่าพีร่ าคาญ?
มัทนา. หม่อมฉันสังเกตเองเห็น.
สุเทษณ์ . เออ! หล่อนนี้มาล้อเล่น! อันตัวพีเ่ ปน คนโง่ฤๅบ้าฉันใด?
มัทนา. หม่อมฉันเคารพเทพไท ทูลอย่างจริงใจ ก็บมิทรงเชือ ่ เลย”

อารมณ์ ของสุเทษณ์ นน ้ เรือ


้ ั รุนเเรงขึน ่ ยๆ มีการตวาดและต่อว่ามัทนา
ดังทีก
่ ล่าวมาในบทกลอนต่อไปนี
“สุเทษณ์ : (ตวาด) อุเหม่!
มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชช
ิ า่ งจานรรจา,
ตะละคาอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ.”

สุดท้าย สุเทษณ์ ไม่สามารถควบคุมความโกรธของตนได้


และได้ลงมือสาปมัทนาซึง่ เป็ นหญิงทีต
่ นรัก
ให้ลงไปเกิดเป็ นดอกไม้ในโลกมนุษย์ ดังทีก ่ ล่าวมาในบทกลอนต่อไปนี้

เพราะฉนัน้ จะให้นาง จุตส ิ ูณ


่ แดนคน,
มะทะนาประสงค์ตน จะกาเนิดณรูปใด?
ทวิบทจะตูร์บาท ฤจะเปนอะไรไซร้,
วธุเลือกจะตามใจ และจะสาปประดุจสรร; 5
จะสถิตฉนัน ้ กว่า จะสานึกณโทษทัณฑ์,”

“นางมะทะนา จุตอ
ิ ย่านาน จงมะละฐาน สุระแมนสวรรค์,
ไปเถอะกาเนิด ณหิมาวัน ดังดนุล่น
ั วจิสาปไว้ !”

2.3 การใช้โวหาร
บทประพันธ์เรือ ่ งนี้มีการใช้โวหารต่างๆเพือ ่ ให้เกิดภาพ อรรถรส
และอารมณ์ ทค ี่ ล้อยตามแก่ผอ ู้ า่ น
2.3.1 อติพจน์
อติพจน์เป็ นโวหารภาพพจน์ อย่างหนึ่งทีม ่ ีลกั ษณะในการกล่าวเกินจริงเพื่
อสร้างอารมณ์ และความรูส้ ก ึ ทีร่ ุนแรงเกินจริง ในตัวอย่างด้านล่าง
สุเทษณ์ ตอ
้ งการสือ ่ ว่าอยูไ่ ปก็ทุกข์ทรมานอย่างมากเหลือล้นจนเหมือนตายทัง้ เป็

“ชีพอยูก ่ ็เหมือนตาย เพราะมิวายระทวยระทม
ทุกข์ยากและกรากกรม อุระชา้ ระกาทวี.”

2.3.2 บุคคลวัต
การสมมุตส ิ งิ่ ไม่มีชีวต
ิ ให้มีกริ ยิ าอาการ ความรูส้ ก

ความคิดและการแสดงออกเหมือนมนุษย์
ตัวอย่างด้านล่างกล่าวถึงดอกกุหลาบว่ามีปากและแก้มสีแดง
เหมือนกับผูห้ ญิงทีก ่ าลังอาย (เป็ นอุปมาโวหารในส่วนนี้)

“ไม้เรียกผะกากุพ-ชะกะสีอรุณแสง
ปานแก้มแฉล้มแดง ดรุณีณยามอาย;
ดอกใหญ่และเกสร สุวคนธะมากมาย,”

2.3.3 สัญลักษณ์
การใช้สงิ่ ๆหนึ่งเพือ
่ มาเป็ นตัวแทนตัวละคร
ยกตัวอย่างในเรือ ่ งมัทนพาทา
ผูป
้ ระพันธ์ได้ใช้ดอกกุหลาบมาแทนตัวละครอย่างมัทนาเพือ ่ แสดงถึงความสวย
งามเเละหอมหวนน่ าพึงใจของนาง รวมไปถึงการทีน ่ างบอบบางเหมือนดอกไม้
แต่ก็มีหนามแหลมคมเป็ นตัวป้ องกันจากอันตรายต่างๆ

“ก็บุปผาอย่างใดมี ทีง่ ามทัง้ สี อีกทัง้ มีกลิน


่ ส่งไกล?
แต่ตอ
้ งให้มีหนามไว้ ป้ องกันมิให้ เหล่าเดรัจฉานผลาญยับ.”

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1 คุณค่าด้านอารมณ์
มัทนะพาธาเป็ นเรือ ่ งทีม่ ีการบรรยายและแสดงถึงอารมณ์ ทช ี่ ดั เจนของตั
วละครเพือ ่ ทีจ่ ะดาเนินเรือ่ งทีเ่ ข้าถึงความรูส้ ก ึ ของผูอ
้ ืน
่ และสร้างความสนุกสนา

คุณค่าทางด้านอารมณ์ ทถ ี่ ูกสือ ่ ออกมาจากเรือ ่ งมากทีส ่ ุดเป็ นเรือ
่ งของความรักที่
้ กับตัวละคร อย่างเช่นตอนทีม
เกิดขึน ่ ทั นาปฏิเสธความรักของสุเทษณ์ หลังจากที่ 6
มายาวินคลายมนตร์ให้
สุเทษณ์ แสดงอารมณ์ ทโี่ กรธอย่างรุนแรงทีถ ่ ูกปฏิเสธความรักทีเ่ ขามีให้นางจึง
สาปให้กลายเป็ นดอกกุหลาบ หรือไม่วา่ จะเป็ นตอนที่
สุเทษณ์ รสู้ กึ ไม่ชอบวิธีการตอบเหมือนคนไม่ได้สติของนางมัทนาทีถ ่ ูกร่ายมนต์
ใส่ไว้เพราะเขาต้องการจะรับรูค ้ าตอบทีม ่ าจากความรูส้ ก ึ จริงของนางมัทนา

สุเทษณ์ “อ้าอรเอกองค์อุไร
พีจ่ ะบอกให้ เจ้าทราบคดีดงั จินต์;
พีเ่ องใช้มายาวิน
ให้เชิญยุพน ิ มาทีน
่ ี้ดว้ ยอาถรรพณ์ ”
มัทนา “เหตุใดพระองค์ทรงธรรม์ จึง่ ทาเช่นนัน

ให้ขา้ พระบาทต้องอาย
แก่หมูช
่ าวฟ้ าทัง้ หลาย?
โอ้พระฦาสาย พระองค์จงทรงปรานี.”

ตัวอย่างของบทบางส่วนทีก ่ ล่าวมานัน
้ แสดงให้เห็นถึงอาร์มของนางมัทน
าทีช
่ ดั เจนคือความเศร้า ทัง้ เจ็บ และอับอาย

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม
แสดงให้เห็นถึงค่านิยมเรือ ่ งความรักทีต ่ อ้ งเกิดจากทัง้ สองฝ่ ายไม่เกิดจาก
การบังคับมิเช่นนัน ้ จะเกิดทุกข์และความไม่สบายใจความรักทีเ่ กิดจากสองฝ่ าย
จะทาให้เกิดความสุขความสบายใจ
แสดงให้เห็นถึงการมีรกั เดียวใจเดียวการไม่นอกใจ
และสะท้อนถึงค่านิยมในเรือ ่ งการมีคค ู่ รองแค่คนเดียวของคนในยุคสมัยนัน ้ อีก
ด้วย
แสดงให้เห็นถึงการวางตัวของผูห ้ ญิงทีต
่ อ้ งระมัดระวังตัว
และสงวนท่าทีกบ ั ผูช
้ ายสามารถเปรียบเทียบได้กบ ั การทีน ่ างมัทนาต้องเป็ นดอก
กุหลาบทีถ
่ งึ แม้สวยแค่ไหนแต่กม ้ ีหนามแหลมคมทีป ่ กป้ องตัวเองจากภัยต่างๆ

3.3 คุณค่าด้านอืน ่ ๆ
3.3.1 ด้านเนื้อหา
เป็ นบทละครพูดคาฉันท์ทพ ี่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
หรือรัชกาลที่ 6 ซึง่ ได้ประพันธ์เรือ ึ้ มาโดยมีจุดประสงค์ทจี่ ะ
่ งนี้ขน
กล่าวถึงตานานของดอกกุหลาบ โดยพระราชนิพนธ์เรือ ่ งนี้
แสดงให็เห็นถึงมุมมองของความรักทีเ่ จ็บปวด
โดยมีตวั ละครทีถ ่ ูกสาปเป็ นดอกกุหลาบชือ ่ มัทนา
อีกทัง้ ยังกล่างถึงการวางตัวของผูห ้ ญิงในแง่ของความรักซึง่ ต้องเป็ นคนรักเดียว
ใจเดียว และวางตัวให้เหมาะสม
ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวต ิ และความเชือ ่ ของผูห ้ ญิงในสมัยก่อน
4. บรรณานุกรม
7
กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง.
สานักงานคณะกรรมการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน.หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
ภาษาไทยวรรณคดีวจิ กั ษ์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ถนนลาดพร้าว
แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง
กรุงเทพมหานคร: สกสค.ลาดพร้าว, ๒๕๕๕.๑๓๑ หน้า.

มัทนะพาธา. สืบค้นเมือ
่ ๖ มิถุนายน ๒๕๖๑ จาก
https://sites.google.com/site/learnthaibykr
ugikk/mathna-phatha

บทวิเคราะห์. สืบค้นเมือ
่ ๖ มิถุนายน ๒๕๖๑ จาก
http://arrow1203.blogspot.com/p/blog-
page_97.html

มัทนะพาทา: คุณค่าด้านวรรณศิลป์. สืบค้นเมือ


่ ๖ มิถุนายน ๒๕๖๑ จาก
https://sites.google.com/a/htp.
ac.th/mathna-phatha/7-bth-wikheraah/7-2-khunkha-dan-
wrrnsilp

Thanawan. ถอดความคาประพันธ์: เรือ ่ งที่ ๒ บทละครพูดคาฉันท์


เรือ
่ งมัทนะพาธา. สืบค้นเมือ
่ ๖ มิถุนายน
๒๕๖๑ จาก https://sites.google.com/a/chs.ac.th/kru-
thanawan/neuxha/thxd-khwam kha-praphanth
8

You might also like