You are on page 1of 8

สมุดภาพเทพเจ้า

จัดทําโดย ห้อง ๑๐๐๗


เดรัจฉานภูมิ

เดรัจฉานภูมิ เป็นภูมิที่ขวางต่อมรรคผล คือ หมดโอกาส


ที่จะทําบุญ ทําทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนาให้ถึง
พระนิพพานได้ มีแต่จะสร้างบาปอกุศลกรรมอยู่ร่าํ ไป
มีชีวิตอยู่ได้โดยอาศัยชีวิตผู้อ่น
ื ตลอดชีวิตชาติหนึ่งภพ
หนึ่งได้กินหรือทําลายชีวิตสั ตว์อ่นื ไม่สามารถที่จะนับ
จํานวนได้
ตําแหน่งที่ตั้งของเดรัจฉานภูมิ คือ โลกมนุษย์ เพียงแต่
มิได้อุบัติเป็นมนุษย์
แต่เป็นเหล่าบรรดาสรรพสั ตว์อ่น ื ๆ
เดรัจฉานภูมิ

สั ตว์เดรัจฉาน มีสัญชาติญาณหรือสั ญญา 3 อย่าง

-โคจรสั ญญา = รู้จักกินนอน


-มรณสั ญญา = รู้จักกลัวตาย
-กามสั ญญา = รู้จักเสวยกามคุณ

ส่ วนธรรมสั ญญา คือ รู้ดีรู้ชอบ รู้ผิดรู้ถูก รู้บุญรู้บาป


อย่างมนุษย์นั้นไม่มี
ยกเว้นสั ตว์เดรัจฉานที่เป็นพระโพธิสัตว์ เช่น ช้าง พญา
ฉัตรทัณฑ์ มีธรรมสั ญญาเช่นเดียวกับมนุษย์
เดรัจฉานภูมิ
p ช้างแก้วนั้นมีอยู่ 10 ตระกูล ได้แก่
ช้างที่มีผิวกายสี ดํา(กาฬาพกหัตถีกุล)
ช้างที่มีผิวกายสี น้าํ ไหล (คังเคยยหัตถีกุล)
ช้างที่มีผิวกายสี ขาว (ปั ณฑรหัตถีกุล)
ช้างที่มีผิวกายสี ทองแดง (ตามพหัตถีกุล)
ช้างที่มีผิวกายสี แสด (ปิงคลหัตถีกุล)
ช้างที่มีกลิ่นหอม (คันธหัตถีกุล)
ช้างมงคล (มังคลหัตถีกุล)
ช้างที่มีสีกายสี ทอง (เหมหัตถีกุล)
ช้างซึ่งรักษาศีลแปด(อุโปสถหัตถีกุล)
ช้างหกงา (ฉัททันตหัตถีกุล)
ฝูงช้างทั้งหลายนี้ อาศัยใน
ถํ้าทองกว้างใหญ่ตกแต่งอย่างงดงาม
เดรัจฉานภูมิ
สั ตว์ที่ไม่มีตีน อันได้แก่ ปลาใหญ่ 7 ตัว คือ ตัวหนึ่งชื่อ
ติมิ ตัวยาว ๒๐๐ โยชน์ ตัวหนึ่งชื่อ ติงมิงคล ตัวยาว
๓๐๐ โยชน์ ตัวหนึ่งชื่อ ติมิรปิงคล ตัวยาว 500 โยชน์
ส่ วนอีก 4 ตัวต่อไปนี้ตัวยาว 1000 โยชน์ ได้แก่ ปลา
อานนท์ ปลาติมินทะ ปลาอัชฌนาโรหะ ปลามหาติมิระ
เมื่อใดที่ปลาติมิรปิงคล โบกครีบไปมา
นํ้าในมหาสมุทรก็จะเกิดเป็นฟองประดุจดังหม้อแกงเดือ
ด ฟองนี้จะแผ่กระจายไปไกลถึง 400 โยชน์ เมื่อใดที่
ปลานี้โบกครีบทั้งสองแกว่งหางแกว่งหัว ว่ายนํ้า
ฉวัดเฉวียน นํ้านั้นก็จะกระเทือนไปถึงแผ่นดิน ทําให้
เกิดฟองกระจายไป 700 ถึง 800 โยชน์ ที่กล่าวมานี้
แสดงให้เห็นความแข็งแรงของปลาติมิรปิงคล ส่ วนปลา
ใหญ่อีก 4 ชนิดก็ยิ่งมีกําลังใหญ่ยิ่งกว่า
เดรัจฉานภูมิ

พญาครุฑก็จัดเป็นสั ตว์เดรัจฉานเช่นเดียวกัน แต่


อาหารและที่อยู่ของ ครุฑนั้นเหมือนของเทวดาใน
สวรรค์ มีฤทธิอํานาจ สามารถเนรมิตตนได้เช่นกัน
ดังนั้น จึงได้ช่อ
ื ว่าเทพโยนิ ที่เชิงเขาพระสุ เมรุมีสระ
ใหญ่สระหนึ่ง ชื่อ สิ มพลี กว้าง 500 โยชน์ มีต้นงิ้ว
ขึ้นเป็นป่ าล้อมรอบ มีความสู งเท่ากันราวกับมีผู้ปลูกไว้
ใบเขียวงามน่าดูยิ่งนักและยังมีต้นงิ้วใหญ่อยู่ต้นหนึ่ง
ขนาดเท่าต้นไม้ชมพู ทวีป สระนี้เป็นที่อยู่ของฝูงครุฑ
ไม่มีสัตว์ปกี ใดที่จะเทียบเท่าครุฑได้เลย
เดรัจฉานภูมิ
นาคมี ๒ ชนิด คือ ถลชะ ชลชะ นาคถลชะสามารถเนรมิตตนได้แต่บน
บก ไม่สามารถเนรมิตตนในนํ้า ส่ วนนาคชลชะสามารถเนรมิตตนในนํ้า
แต่ไม่สามารถเนรมิตตนบนบกได้ ในสถานที่ ๕ แห่งต่อไปนี้ นาคไม่
สามารถเนรมิตตนได้ ได้แก่ ที่เกิด ที่ตาย ที่นอน ที่สมสู่ ที่ลอกคราบ
ถ้านาคไปอยู่ในที่แห่งอื่น นอกจากห้าแห่งนี้ นาคก็สามารถเนรมิตตน
ได้ นาคสามารถเนรมิตตนให้งามราวเทพยดาได้ ส่ วนนาคตัวเมียก็
สามารถเนรมิตตนให้งามราวเทพธิดา และเทพอัปสร

เมื่อนาคต้องการล่าเหยื่อชนิดใด ก็จะแปลงตัวเป็นเหยื่อชนิดนั้น

เมื่อนาคต้องการหาอาหารบนแผ่นดิน ก็จะเนรมิตตัวเช่นงูไซ งูกระสา


งูเห่า งูเขียว และอื่นๆ บางครั้งก็จะเนรมิตตัวเป็นสั ตว์อ่น
ื ที่ต้องการ
ล่ากิน ทั้งนี้ เพราะนาคเป็นสั ตว์เดรัจฉาน
เดรัจฉานภูมิ

บรรดาสั ตว์เดรัจฉานเป็นต้นว่า ราชหงส์ ซึ่งอาศัยอยู่ในเขา


คิชฌกูฏ และในถํ้าทองนั้น อาศัยอยู่ในปราสาทรวมกับฝูง
นกอื่นๆ และสั ตว์ต่างๆ ตามที่มีอยู่ ในป่ าหิมพานต์นั้นมี
จํานวนมากมาย ส่ วนที่อาศัยอยู่ในบ้านในเมืองก็ยังมีอีกมาก
เป็นต้นว่า เป็ด ไก่ นก และห่าน ซึ่งคนเลี้ยงไว้กินเป็นอาหาร
ครุฑกินนาค เป็นอาหารส่ วนนาคกินกบเขียด กบเขียดกิน
แมลง บุ้ง สั ตว์ใหญ่มักกินสั ตว์เล็ก เสื อโคร่งเสื อเหลือง
ตัวเมีย ที่ต้องเลี้ยงลูกนั้น เมื่อหิวจัดก็จะออกไปหาอาหาร
แต่ก็หาอาหารได้ยากลําบากมาก เมื่อลูกเสื อเข้ามากินนมด้วย
ความรักนั้น แม่เสื อจึงจับลูกกินเอง เพราะความอดอยากหิว
โหยนั่นเอง

You might also like