You are on page 1of 161

การจัดการการเรียนรู้ งานหล่ อเครื่องประดับ

โดย
นายอานนท์ กั้นเกษ

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
การจัดการการเรียนรู้ งานหล่ อเครื่องประดับ

โดย
นายอานนท์ กั้นเกษ

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
LEARNING MANAGEMENT OF JEWERLY FOUNDRY

By
Mr. Arnon Kanget

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree


Master of Engineering Program in Engineering Management
Department of Industrial Engineering and Management
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2013
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุ มตั ิให้วิทยานิ พนธ์เรื่ อง “การจัดการการเรี ยนรู ้
งานหล่อเครื่ องประดับ” เสนอโดย นายอานนท์ กั้นเกษ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลัก สู ต ร
ปริ ญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม

……...........................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

.................................................... ประธานกรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ หุดากร)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์)
............/......................../..............

....................................................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์)
............/......................../..............
53405322: สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
คําสําคัญ: รู ปแบบการเรี ยนรู ้ / เส้นการเรี ยนรู ้ /เครื่ องประดับ
อานนท์ กั้นเกษ: การจัดการการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ. อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์:
ผศ.ดร.นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์. 148 หน้า.

การวิจยั ครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถในจัดการการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อ


เครื่ องประดับแล้วนําความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ
(ต้นแบบ) มาออกแบบและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ โดยการประยุกต์
ทฤษฎีการจัดการความรู ้ การวิจยั นี้เริ่ มต้นจาก 1)เก็บข้อมูลต่างๆ ได้แก่ เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ใน
งานหล่อเครื่ องประดับ 2)ศึกษากระบวนการหล่อเครื่ องประดับ และกระบวนการตรวจสอบคุณภาพ
แล้วนํามาจัดทําเป็ นชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ ซึ่งประกอบด้วย คู่มือการฝึ กอบรม คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม
คู่มือผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม สื่ อการสอน และใบงานในการฝึ กภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิของผูเ้ ข้ารับ
การฝึ กอบรม 3)หาความสามารถก่อนและหลังการฝึ กอบรมของช่างงานหล่อเครื่ องประดับโดยใช้
ทฤษฎีเส้นการเรี ยนรู ้เพื่อหาเส้นการเรี ยนรู ้
ผลที่ได้จากงานวิจยั นี้ คือ การพัฒนาองค์ความรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ โดยแบ่ง
เส้นการเรี ยนรู ้ออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผลการเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี และผลการเรี ยนรู ้ภาคปฏิบตั ิของช่าง
งานหล่อเครื่ องประดับ ซึ่ งสามารถหาสมการการเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎีของช่างหล่อเครื่ องประดับ คือ Y
= 16.22 Ln(x)+ 41.93 และจํานวนครั้งที่ตอ้ งทําการอบรมของภาคทฤษฎี เพื่อให้ช่างหล่อ
เครื่ องประดับผ่านเกณฑ์ที่บริ ษทั กําหนดเท่ากับ 20 ครั้ง และได้สมการการเรี ยนรู ้ภาคปฏิบตั ิของช่าง
หล่อเครื่ องประดับ คือ Y = 4.745 Ln(x)+ 20.99 และจํานวนครั้งที่ตอ้ งทําการอบรมของภาคปฏิบตั ิ
เพื่อให้ช่างหล่อเครื่ องประดับผ่านเกณฑ์ที่บริ ษทั กําหนดเท่ากับ 12 ครั้ง
จากงานวิจยั พบว่า ชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิ ภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดี ทําให้ผเู ้ ข้ารับการ
ฝึ กอบรมมีความรู ้ ทักษะ และความสามารถเพิ่มขึ้นทั้งด้านทฤษฎี และปฏิบตั ิ

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


ลายมือชื่อนักศึกษา............................................................. ปี การศึกษา 2556
ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์...........................................................

53405322 : MAJOR : ENGINEERING MANAGEMENT
KEY WORDS : LEARNING’S FORM /LEARNING CURVE / JEWELRY FOUNDRY
ARNONKANGET: LEARNING MANAGEMENT OF JEWERLY FOUNDRY. THESIS
ADVISOR: ASST.PROF.NITIPONG SOPONPONGPIPAT, Ph.D. 148 pp.

This research studied learning management ability of skillful jewelry workers in order
to leverage their knowledge and skill which could help design the improved learning pattern for
them. The study was conducted by 1) collecting data of jewelry making tools, 2) studying jewelry
casting and quality assurance process, then constructing learning set including training manual,
handbook for instructor, handbook for trainee, learning materials, and worksheets for both
theoretical and practical trainings, 3) evaluating trainees’ ability before and after joining the
training course by using learning curve. The result was categorized into 2 groups; theoretical result
and practical results. It was found that the equation of theoretical learning was Y=16.22
ln(x)=41.93. Jewelry workers had to attend 20 trainings to get qualified. The equation of practical
learning was Y=4.745 ln(x)= 20.99 and the workers had to attend 12 trainings to get qualified. It
can be concluded that the learning set is effective and it can improve both theoretical and practical
skills of trainees.

Department of Industrial Engineering and Management Graduate School, Silpakorn University


Student's signature.................................................. Academic Year 2013
Thesis Advisor's signature........................................................

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาํ เร็ จลุล่วงไปด้วยดีดว้ ยความกรุ ณาในการให้ความช่วยเหลืออย่างดี


ยิ่งของอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ผชู ้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิ ติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์ และผูช้ ่วย
ศาสตราจารย์ วันชัย ลีลากวีวงค์ที่กรุ ณาให้แนวคิดคําแนะนําและข้อคิดเห็ นอันเป็ นประโยชน์ต่อ
งานวิจยั มาโดยตลอดรวมถึงคณะกรรมการสอบวิทยานิ พนธ์ทุกท่านซึ่ งประกอบด้วยผูช้ ่วยศาสตราจารย์
ดร.ธี รศักดิ์ หุ ดาการและ รองศาสตราจารย์ ดร.วลัยลักษณ์ อัตธี วงศ์ ที่ช่วยให้คาํ แนะนําและข้อคิดเห็น
ในการทําวิจยั จึงขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่น้ ีดว้ ย
นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ขอขอบพระคุณทีมงานและเพื่อนทุกคนสําหรับความช่ วยเหลือและ
ให้กาํ ลังใจด้วยดี เสมอมารวมถึ งโรงงานตัวอย่าง อันได้แก่ ผูจ้ ดั การโรงงานผูจ้ ดั การแผนกหล่อ
เครื่ องประดับผูจ้ ดั การฝ่ ายซ่ อมบํารุ งตลอดจนช่างหล่อเครื่ องประดับทุกท่านที่ได้ให้ความสะดวก
ด้านข้อมูลต่างๆ อันเป็ นประโยชน์อย่างยิ่ง การให้คาํ แนะนําและข้อเสนอแนะต่างๆ ในการดําเนิ นการ
วิจยั มาโดยตลอด รวมถึงพนักงานจากหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องของโรงงานตัวอย่างทุกท่านที่ได้
เอื้อเฟื้ อให้ความร่ วมมือเป็ นอย่างดีในทุกๆด้านในการทําวิจยั


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ........................................................................................................................ ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ................................................................................................................... จ
กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................................ ฉ
สารบัญตาราง ................................................................................................................................ ฎ
สารบัญภาพ ................................................................................................................................... ฏ
บทที่
1 บทนํา ............................................................................................................................ 1
ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา .............................................................. 1
กรอบแนวความคิด .............................................................................................. 4
วัตถุประสงค์การวิจยั ........................................................................................... 4
ขอบเขตการวิจยั ................................................................................................... 4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.................................................................................. 5
นิยามคําศัพท์........................................................................................................ 5
2 ทฤษฏีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ....................................................................................... 7
การจัดการความรู ้ (Knowledge Management: KM) ............................................ 7
นิยามและคําจํากัดความของความรู ้ ........................................................... 7
วงจรความรู ้ (Knowledge Spiral: SECI Model) ........................................ 9
แหล่งเก็บความรู ้ในองค์กร (คลังความรู ้)................................................... 10
ทฤษฎีโครงสร้างทางเชาวน์ปัญญา (Structure of Intellect Model) ........... 11
พัฒนาการด้านปัญญาของมนุษย์............................................................... 13
สิ บวิธีการเรี ยนรู ้เพื่อปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์ในองค์กร ........................ 14
การเปรี ยบเทียบกระบวนการเรี ยนรู ้ ทางปั ญญาของคนไทย กับ
ทฤษฎีกระบวนประมวลการสารสนเทศทางปัญญากระบวนการ
เรี ยนรู ้ของคนไทย ............................................................................ 16
การวัดผลการเรี ยนรู ้ .................................................................................. 18
การจัดการความรู ้ (Knowledge Management) .......................................... 19
เส้นการเรี ยนรู ้งาน (Learning Curve)................................................................... 23
สมการคณิ ตศาสตร์ของการเรี ยนรู ้ (The Mathematics of Learning) ......... 23


บทที่ หน้า
การเรี ยนรู ้ของมนุษย์ (Human Learning) .................................................. 24
การประยุกต์ใช้เส้นการเรี ยนรู ้ ................................................................... 25
บันไดสี่ ข้ นั สู่การเรี ยนรู ้ (Learning) ........................................................... 25
กระบวนการผลิตเครื่ องประดับ ........................................................................... 26
การขึ้นต้นแบบ (Master Piece).................................................................. 28
การอัดแบบพิมพ์ยาง (Molding) ................................................................ 28
การหล่อปูนและการหล่อโลหะ (Casting) ................................................. 29
การเผาไล่เทียน (BurnOut) ........................................................................ 29
การแต่งตัวเรื อน (Filing)............................................................................ 30
การเชื่อมประกอบชิ้นงาน (Soldering Assembly) ..................................... 30
การประดับอัญมณี (Setting) หรื อการฝังอัญมณี ........................................ 31
การขัด (Polishing)..................................................................................... 32
การชุบเคลือบผิวชิ้นงาน ............................................................................ 32
การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน (Inspection) ............................................... 32
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................... 33
3 วิธีดาํ เนินงานวิจยั .......................................................................................................... 37
วิธีการศึกษาที่นาํ มาใช้ ......................................................................................... 37
ขั้นตอนในการศึกษาและการดําเนินงาน.............................................................. 37
เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา ................................................................................... 39
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลสภาพทัว่ ไป และกระบวนการผลิต .......................... 39
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ ............................... 40
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่างงานหล่อ
เครื่ องประดับ และช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ....... 40
ชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ ................................................................................. 40
เส้นการเรี ยนรู ้ เป็ นเส้นที่ใช้แสดงผลการเปลี่ยนแปลง และพัฒนา
การเรี ยนรู ้ ......................................................................................... 40
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง .................................................................................. 41
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ........................................................................................ 41
ข้อมูลปฐมภูมิ .......................................................................................... 41


บทที่ หน้า
ข้อมูลทุติยภูมิ .............................................................................................. 41
สถานที่เก็บข้อมูล................................................................................................. 41
การสร้างแบบฟอร์มที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ........................................................... 41
การวิเคราะห์ขอ้ มูล .............................................................................................. 43
4 ผลการศึกษา .................................................................................................................. 45
ผลการศึกษาความสามารถในการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับ ................... 45
ผลการศึกษาการออกแบบและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อ
เครื่ องประดับ .............................................................................................. 51
ผลการศึกษาการหาความสามารถก่อนและหลังการพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้
ของช่างหล่อเครื่ องประดับในโรงงานตัวอย่างAจํากัด ................................ 55
ผลการหาเส้นการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับในโรงงานตัวอย่างAจํากัด ... 56
5 สรุ ปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ............................................................................... 63
สรุ ปผลการศึกษา ................................................................................................. 63
ผลการศึกษาความสามารถในการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับ .......... 63
ผลการออกแบบและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อ
เครื่ องประดับ .................................................................................... 64
ผลการหาความสามารถก่อนและหลังการพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้
พร้อมกับการหาเส้นการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับใน
โรงงานตัวอย่าง A จํากัด.................................................................... 64
ปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานวิจยั ........................................................... 65
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจยั ครั้งต่อไป ............................................................. 66
รายการอ้างอิง .................................................................................................................................. 67
ภาคผนวก ........................................................................................................................................ 69
ภาคผนวก ก กระบวนการผลิตเครื่ องประดับ ............................................................... 70
ภาคผนวก ข การวิเคราะห์เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับ .......... 80
ภาคผนวก ค การวิเคราะห์กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ .......................................... 82
ภาคผนวก ง การวิเคราะห์การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อเครื่ องประดับ ..................... 85
ภาคผนวก จ แบบทดสอบก่อนการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ .................................... 87
ภาคผนวก ฉ เฉลยแบบทดสอบก่อนการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้............................ 92


หน้า
ภาคผนวก ช คู่มือการฝึ กอบรม .................................................................................... 96
ภาคผนวก ซ คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม ............................................................................. 101
ภาคผนวก ฌ คู่มือผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม ....................................................................... 107
ภาคผนวก ญ ประเมินผลภาคปฏิบตั ิ ............................................................................ 142
ประวัติผวู ้ จิ ยั .................................................................................................................................... 148


สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 ปริ มาณของชิ้นงานเสี ยและซ่อมเทียบกับปริ มาณผลผลิตทั้งหมด ............................ 1
2 อันดับชนิดของข้อบกพร่ องที่พบมากในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน 2554 ......... 2
3 แสดงคะแนนภาคทฤษฎีของทุกคนแยกเนื้อหาในแต่ละด้าน ................................ 46
4 แสดงคะแนนภาคปฏิบตั ิของทุกคนแยกเป็ นแต่ละด้าน ........................................ 47
5 แสดงปั ญหา สาเหตุ และแนวทางในการแก้ไขปั ญหา........................................... 50
6 แสดงผลการประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้........................................................... 52
7 แสดงผลการประเมินการเรี ยนรู ้ช่างหล่อเครื่ องประดับแต่ละคน .......................... 55
8 แสดงผลการประเมินโครงการฝึ กอบรม ............................................................... 58
9 การวิเคราะห์เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับ ....................... 81
10 การวิเคราะห์กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ ....................................................... 83
11 การวิเคราะห์การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อเครื่ องประดับ .................................. 86


สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 แผนภูมิพาเรโตแสดงข้อบกพร่ องต่างๆที่พบในแต่ละประเภทงานช่วงเดือน 3
มิถุนายน –กันยายน 2554 .............................................................................
2 แสดงกรอบแนวความคิดของงานวิจยั ................................................................... 4
3 แสดงแผนผังปิ รามิดลําดับขั้นของความรู ้ ............................................................. 8
4 แสดงสัดส่ วนความรู ้ ............................................................................................. 9
5 แสดงแผนผังของวงจรความรู ้ ............................................................................... 9
6 แสดงแผนภูมิวงกลมของสัดส่ วนแหล่งเก็บข้อมูลความรู ้ ..................................... 11
7 แสดงแผนผังกระบวนการเรี ยนรู ้ของคนไทย........................................................ 16
8 แสดงแผนผังกระบวนการเรี ยนรู ้ที่อิงทฤษฎีกระบวนการประมวลสารสนเทศ
ทางปั ญญา ................................................................................................... 17
9 แสดงแผนผังเป้ าหมายของการจัดการความรู ้........................................................ 20
10 แสดงแผนผังกระบวนการจัดการความรู ้............................................................... 21
11 แสดงรู ปแบบจําลองปลาดัดแปลงมาจากดร.ประพนธ์ ผาสุ ขยืด ........................... 22
12 แสดงแผนผังขั้นบันไดสี่ ข้นั สู่การเรี ยนรู ้ดดั แปลงมาจาก ดร.ประพนธ์ ผาสุ ขยืด .. 26
13 แสดงแผนผังกระบวนการผลิตเครื่ องประดับอัญมณี ............................................ 27
14 แสดงแผนภูมิแท่งคะแนนสรุ ปภาคทฤษฎีของทุกคนแยกเนื้อหาแต่ละด้าน ......... 47
15 แสดงแผนภูมิแท่งคะแนนสรุ ปภาคปฏิบตั ิของทุกคนแยกเป็ นด้าน ....................... 48
16 แสดงผังก้างปลาของปั ญหากระบวนการหล่อเครื่ องประดับและการตรวจสอบ... 49
17 แสดงกราฟผลการประเมินการเรี ยนรู ้ช่างหล่อเครื่ องประดับแต่ละคน ................. 56
18 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คะแนนภาคทฤษฎีกบั จํานวนครั้งที่อบรม ................ 56
19 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คะแนนภาคปฏิบตั ิกบั จํานวนครั้งที่อบรม................ 57
20 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง คุณภาพของการฝึ กอบรม .................. 59
21 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง สื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point ............ 60
22 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง สื่ อสื่ อวีดีทศั น์ .................................... 61
23 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง คุณภาพของเอกสารประกอบ ............ 61


บทที่ 1

บทนํา

1. ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา


ในปั จจุบนั พบว่าอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วแล้ว
เป็ นอุตสาหกรรมส่ งออกที่ทาํ รายได้เข้าประเทศเป็ นจํานวนมาก จะเห็นได้จากมูลค่าการส่ งออกอัญมณี
และเครื่ องประดับของประเทศไทยปี พ.ศ. 2553 เป็ นจํานวนเงิน 366,818.3 ล้านบาท ซึ่ งจากการ
สํารวจพบว่าการส่ งออกล้วนเป็ นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิ ดการจ้างงานจํานวนมาก เนื่องจากว่าเป็ น
ผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งใช้ฝีมือ ทักษะความชํานาญ และความประณี ตละเอียดอ่อนของช่าง ซึ่ งเครื่ องจักร
ไม่สามารถทดแทนฝี มือและทักษะของช่างได้ อุตสาหกรรมนี้ จึงได้ก่อให้เกิดการสร้างงาน ไม่ว่า
จะเป็ นระดับครัวเรื อนจนถึงระดับโรงงานขนาดใหญ่ กระจายอยูท่ วั่ ทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งเป็ น
การกระจายรายได้สู่ ชนบทได้อย่างดีอีกด้วย อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมนี้ยงั เชื่อมโยงไปถึงธุรกิจอื่นๆ
เช่น ธุ รกิจการผลิตเครื่ องจักรและอุปกรณ์ ธุ รกิจการออกแบบเครื่ องประดับ ธุ รกิจการผลิตวัสดุ
ประกอบการทําเครื่ องประดับ ธุ รกิ จการผลิ ตกล่ องบรรจุ ภณ ั ฑ์อญ
ั มณี และเครื่ องประดับ และ
ยังช่วยส่ งเสริ มอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เป็ นต้น
จากข้อมูลปริ มาณการผลิตของโรงงานกรณี ศึกษาตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงกันยายน พบว่า
มีปริ มาณการผลิต 87,569 ชิ้น โดยในจํานวนชิ้นงานทั้งหมดนี้จะมีชิ้นงานที่เสี ยและชิ้นงานที่ตอ้ งนํา
กลับไปซ่อม 39,702 ชิ้น ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 45.34 ของปริ มาณการผลิตทั้งหมด ดังตารางที่ 1 และ
จากรายงานปริ มาณชิ้นงานที่เสี ยและชิ้นงานที่ตอ้ งนํากลับไปซ่อม

ตารางที่ 1 ปริ มาณของชิ้นงานเสี ยและซ่อมเทียบกับปริ มาณผลผลิตทั้งหมด


เดือน ปริ มาณที่ผลิตทั้งหมด จํานวนชิ้นงานที่ตอ้ งซ่อม เปอร์เซ็นต์
(ชิ้น) หรื อหล่อใหม่ (ชิ้น)
มิถุนายน 2554 14160 5345 37.75
กรกฎาคม 2554 21818 9543 43.74
สิ งหาคม 2554 25222 12347 48.95
กันยายน 2554 26369 12467 47.28
รวม 87569 39702 45.34
1
2

ตารางที่ 2 อันดับชนิดของข้อบกพร่ องที่พบมากในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน 2554

มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม รวมตาม


ข้อบก ประเภท
ประเภท จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน %
พร่ อง (จํานวน
(ชิ้น) (ชิ้น) (ชิ้น) (ชิ้น) (ชิ้น) ชิ้น)
ตามด 1456 2324 3317 3694 10791
ตัวเรื อนผุ 1167 1780 2522 2889 8358
งานหล่อ ผืน่ 884 1472 2237 2073 6666 26699 67.25
ตัวเรื อน
78 313 316 177 884
เป็ นคลื่น
รอย
งานแต่ง กระดาษ 48 242 141 84 515 515 1.3
ทราย
งานฝัง ตอกตรา 126 518 401 482 1527 1527 3.85

ขัด
1112 2037 2577 2311 8037
ไม่เกลี้ยง
งานขัด 10961 27.6
ตัวเรื อน
439 715 783 685 2622
เป็ นรอย
อื่นๆ 35 142 53 72 302
รวม 5345 9543 12347 12467 39702 39702 100
3

ภาพที่ 1 แผนภูมิพาเรโตแสดงข้อบกพร่ องต่างๆที่พบในแต่ละประเภทงานช่วงเดือนมิถุนายน –


กันยายน 2554

จากตารางที่ 2 และภาพที่ 1 จะพบว่าเกิดจากจุดบกพร่ องหลายลักษณะ เช่น ตามด ผื่น


ตัวเรื อนผุ ตัวเรื อนเป็ นคลื่น รอยกระดาษทราย เป็ นต้น ซึ่ งชิ้นงานเสี ยและชิ้นงานที่นาํ กลับมาซ่อม
ส่ วนใหญ่เหล่านี้ เกิดจากข้อบกพร่ องจากงานหล่อเครื่ องประดับทั้งสิ้ น ที่ขาดทักษะและความชํานาญ
ในงานหล่อเครื่ องประดับ
ผูท้ าํ การวิจยั ได้ตระหนักถึงความสําคัญที่กล่าวมาข้างต้น จึงทําการสํารวจความเห็นของ
ผูป้ ระกอบการพบว่า สิ่ ง หนึ่ ง ที่ อุตสาหกรรมอัญมณี แ ละเครื่ องประดับ ควรได้รับการพัฒนาก็คือ
การยกระดับให้พนักงานช่างงานหล่อเครื่ องประดับมี ความรู ้ ความชํานาญ ให้มีทกั ษะในการทํางาน
เทียบเท่ากับผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านอัญมณี และเครื่ องประดับว่ามีประสบการณ์ในการทํางานและฝี มือ
ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน โดยวัดผลจากคุณภาพของชิ้นงานเป็ นลําดับแรก และองค์ประกอบอื่นๆ เช่น
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นน้อยสุ ด เวลาในการทํางาน เป็ นต้น ซึ่ งแนวทางของโครงงานดังกล่าวจะ
ช่วยให้ทราบรู ปแบบการเรี ยนรู ้ อัตราการเรี ยนรู ้ นําไปสู่ การจัดการการเรี ยนรู ้ที่มีศกั ยภาพและยกระดับ
ความสามารถของช่างทําเครื่ องประดับ
4

2. กรอบแนวความคิด

ตัวแปรอิสระ กระบวนการวิจัย ตัวแปรตาม

- ความรู ้ ทักษะ และ - หลักการและทฤษฎี - ปั ญหาและสาเหตุ


ความสามารถของช่าง การศึกษาและวิเคราะห์ ผลกระทบต่อความรู ้
งานหล่อเครื่ องประดับ ปั ญหา ทักษะ และความสามารถ
- แผนการฝึ กอบรมช่าง - หลักการ และทฤษฎีของ ของช่างงานหล่อ
ทําเครื่ องประดับของ การจัดการความรู ้ เครื่ องประดับ
โรงงานตัวอย่าง - หลักการและทฤษฎีการ - คู่มือการฝึ กอบรม
ประเมินผลการเรี ยนรู ้ - รู ปแบบการเรี ยนรู ้และ
ได้จาํ นวนครั้งการ
ฝึ กอบรมที่เหมาะสม

ภาพที่ 2 แสดงกรอบแนวความคิดของงานวิจยั

3. วัตถุประสงค์ การวิจัย
3.1 เพื่อศึกษาความสามารถในการเรี ยนรู ้ ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั ิของช่ างงานหล่อ
เครื่ องประดับโดยใช้แบบทดสอบ
3.2 เพื่อออกแบบและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับโดยการ
อบรม ฝึ กทักษะและจัดทําคู่มือ
3.3 เพื่อหาความสามารถก่อนและหลังการพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อ
เครื่ องประดับ
3.4 เพื่อหาเส้นการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ

4. ขอบเขตการวิจัย
การสร้างรู ปแบบการเรี ยนรู ้ ผูจ้ ดั ทําได้กาํ หนดให้มีขอบเขตการศึกษาดังนี้
4.1 ศึ ก ษาความรู ้ ทัก ษะ และความสามารถช่ า งงานหล่ อเครื่ องประดับของโรงงาน
ตัวอย่างA จํากัด เฉพาะแผนกช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
5

4.2 จัดสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ


4.3 เครื่ องมือที่ใช้ในการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
4.3.1 รู ปแบบการฝึ กอบรมของงานวิจยั วิทยานิพนธ์ และโรงงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
4.3.2 เครื่ องมือทางสถิติ เช่น ผังก้างปลา ผังเรดาร์ และแผนภูมิแท่ง
4.4 ตัวแปรที่จะศึกษา
4.4.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ สื่ อชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
4.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
4.4.2.1 ประสิ ทธิภาพของชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
4.4.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงาน
หล่อเครื่ องประดับ

5. ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ


5.1 ได้รูปแบบการเรี ยนรู ้ ท่ี ช่วยยกระดับมาตรฐานช่ างงานหล่ อเครื่ องประดับ เพื่อ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด
5.2 ได้แนวทางในการประยุกต์รูปแบบการเรี ยนรู ้ ของช่ างงานหล่อเครื่ องประดับ
สําหรับ อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับ
5.3 สามารถนํารู ปแบบการเรี ยนรู ้ ที่ถูกสร้ างขึ้นมาใช้กบั อุตสาหกรรมอัญมณี ที่อยู่ใน
เครื อข่ายเดียวกันได้

6. นิยามคําศัพท์
ความรู ้ (Knowledge) หมายถึง สิ่ ง ที่ ส ะสมจากการศึ ก ษาเล่ า เรี ย นการค้น คว้า หรื อ
ประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบตั ิและทักษะ ความเข้าใจ หรื อ สารสนเทศที่ได้รับมา
จากประสบการณ์ สิ่ งที่ได้รับมาจากการได้ยนิ ได้ฟัง การคิดหรื อการปฏิบตั ิองค์วิชาในแต่ละสาขา
การเรี ยนรู ้ (Learning) หมายถึง กระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผูเ้ รี ยนซึ่ งมี
สาเหตุมาจากสิ่ งเร้าหรื อสิ่ งกระตุน้ ส่ งผลให้เกิดพฤติกรรมที่แตกต่างออกไปตามสถานการณ์ นั้น
กระบวนการดังกล่าวคลุมการแก้ปัญหาและการแก้เหตุผล
เส้นการเรี ยนรู ้ (Learning Curve) หมายถึง เส้นแนวโน้มของการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นจากการ
ปฏิบตั ิงานของพนักงาน การเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้เมื่อ ทํางานเดิม ซํ้าๆ หรื อเกิดจากการทํางานปริ มาณ
มากๆ และเกิดจากการเรี ยนรู ้ดว้ ยวิธีอื่นที่นอกเหนือจากการปฏิบตั ิ
6

การจัดการความรู ้ (Knowledge Management: KM) หมายถึง กระบวนการที่ดาํ เนิ น


ร่ วมกันโดยผูป้ ฏิบตั ิงานในองค์กรหรื อ หน่ ว ยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู ้ในการ
ทํางานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ข้ ึนกว่าเดิม โดยมีเป้ าหมายพัฒนางานและคน (นพ.วิจารณ์ พานิช)
บทที่ 2

ทฤษฏีและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

ในการศึ ก ษาการพัฒ นารู ป แบบการเรี ย นรู ้ ข องช่ า งงานหล่อ เครื่ องประดับ สําหรับ
อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับ กรณี ศึกษา โรงงานเครื่ องประดับ นอกจากจะต้องมีการเก็บ
ข้อมูลของสถานภาพ และความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับโรงงานตัวอย่าง โดยศึกษา
การเรี ยนรู ้, วัดอัตราการเรี ยนรู ้ โดยเก็บข้อมูลจริ งจากช่ า งงานหล่ อ เครื่ อ งประดับ ของโรงงาน
ตัวอย่าง ซึ่งเครื่ องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม หรื อแบบประเมินความสามารถตามระดับความเชื่อมัน่
ตามหลักการจัดการเรี ยนรู ้ แล้วต้องศึกษาทฤษฎีและงานวิจยั ที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่ องประกอบด้วย เพื่อ
ใช้สร้างแบบประเมิน วิเคราะห์รูปแบบการเรี ยนรู ้ และสร้างรู ปแบบการเรี ยนรู ้ได้อย่างเหมาะสมซึ่ง
มีดงั นี้
1. ทฤษฏีการจัดการความรู ้ (Knowledge Management: KM)
2. ทฤษฏีของเส้นการเรี ยนรู ้งาน (Learning Curve)
3. กระบวนการผลิตเครื่ องประดับ
4. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

1. การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)


1.1 นิยามและคําจํากัดความของความรู้
ความรู ้ คื อ สิ่ ง ที่ ส ะสมจากการศึ ก ษาเล่า เรี ย นการค้น คว้า หรื อ ประสบการณ์
รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบตั ิและทักษะ ความเข้าใจ หรื อ สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์
สิ่ งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรื อการปฏิบตั ิองค์วิชาในแต่ละสาขา (ราชบัณฑิตยสถาน,
2542)
ความรู ้ คือ สารสนเทศที่ผา่ นกระบวนการคิดเปรี ยบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู ้อื่น
จนเกิ ดเป็ นความเข้าใจและนําไปใช้ประโยชน์ในการสรุ ปและตัดสิ นใจในสถานการณ์ต่างๆ โดยไม่
จํากัดช่ วงเวลา และ ฮิ ดิโอ ยามาซากิ (Hideo Yamazaki) ได้ให้คาํ จํา กัด ความของความรู ้ ในรู ป
ของปิ รามิดแสดงลําดับขั้นของความรู ้ 4 ขั้นตอนคือ
1. ข้อมูล (Data)
2. สารสนเทศ (Information)
7
8

3. ความรู ้(Knowledge)
4. ปั ญญา (Wisdom)

ปัญญา
(Wisdom)

ความรู ้
(Knowledge)

สารสนเทศ
(Information)

ข้อมูล
(Data)

ภาพที่ 3 แสดงแผนผังปิ รามิดลําดับขั้นของความรู ้

ไมเคิลโพลานยิ (Michael Polanyi)และอิคุจิโร โนนากะ (Ikujiro Nonaka)ได้แยก


ความรู ้เป็ น 2 ประเภทคือ
1. ความรู ้ฝังลึก (Tacit Knowledge)เป็ นความรู ้ที่ฝังลึกอยูใ่ นตัวของแต่ละบุคคล เกิด
จากประสบการณ์ การเรี ย นรู ้ หรื อพรสวรรค์ต่ า ง ๆ ซึ่ ง เป็ นความรู ้ ที่ สื่ อ สารหรื อ ถ่ า ยทอดด้ว ย
ลายลักษณ์อกั ษรได้ยาก แต่สามารถแบ่งปั นกันได้
2. ความรู ้ชดั แจ้ง (Explicit Knowledge) เป็ นความรู ้ เ ปิ ดเผย สามารถรวบรวม
ถ่ายทอดออกมาในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสื อ เอกสารไอซี ที (ICT)ฯลฯ ซึ่ งสามารถเข้าถึงได้ง่าย
ความรู ้ในองค์ก รส่ ว นใหญ่ป ระมาณร้ อ ยละ80 จะเป็ นความรู ้ ประเภทฝั ง ลึ ก ส่ วนอีกร้อยละ 20
เป็ นความรู ้ประเภทชัดแจ้ง ซึ่งเปรี ยบเหมือนภูเขานํ้าแข็งที่โผล่พน้ นํ้ามาให้เห็นเพียง ประมาณ 20 %
ของทั้งหมดจากส่ วนที่อยูใ่ ต้พ้ืนนํ้าที่มองไม่เห็นอีก 80 %
หากเปรี ยบเทียบกับการจัดการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน จะเห็นว่ามีครู เป็ นจํานวน
มากที่มีกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนที่ดีมีคุณภาพที่นาํ ไปใช้จริ งและเห็นผลมาแล้วกับนักเรี ยน
9

รุ่ นต่างๆ แต่ก็เป็ นความรู ้ที่อยู่ในตัวครู คนนั้นไม่ได้มีการนํามาเผยแพร่ ตรวจสอบ วิพากษ์วิจารณ์


เพื่อ แบ่ ง ปั น ความรู ้ ใ ห้ผูอ้ ื่ น หรื อ เพื่อ การพัฒ นาความรู ้ อ ย่า งเป็ นระบบและอย่างจริ งจัง ทําให้
ความรู ้ ฝั ง ลึ ก เหล่ า นี้ ถู ก ละทิ้ ง ไปอย่า งน่ า เสี ย ดาย รวมทั้ง ความรู ้ ฝั ง ลึ ก ของผูบ้ ริ ห ารบุ ค ลากร
ทางการศึกษา ศึกษานิ เทศก์ นักเรี ยนชุ มชน ภูมิปัญญา ฯลฯ อีกมากมาย ที่ยงั ขาดการจัดการให้มี
การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้หรื อทําให้ความรู ้งอกงามเพิ่มขึ้น หรื อทําให้ความรู ้ฝังลึกกลายเป็ นความรู ้แบบ
ชัดแจ้ง

ความรู้ชัดแจ้ ง
(Explicit Knowledge)

อธิบายได้แต่ยงั ไม่ถูก
นําไปบันทึก
อธิบายได้แต่ไม่ อธิบายไม่ได้
อยากอธิบาย

ความรู้ฝังลึก
(Tacit Knowledge)

ภาพที่ 4 แสดงสัดส่ วนความรู ้

1.2 วงจรความรู้ (Knowledge Spiral: SECI Model)

Tacit Knowledge ------->Tacit ---------> Socialization

Tacit Knowledge ------->Explicit Knowledge ---------> Externalization

Explicit Knowledge ------->Explicit Knowledge (new) ---------> Combination

Explicit Knowledge ------->Tacit Knowledge --------->

ภาพที่ 5 แสดงแผนผังของวงจรความรู ้
10

มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. โซเชียลไลซ์เซชัน่ (Socialization) เป็ นการแบ่งปันและสร้างความรู ้ จาก ความรู ้
ฝังลึก ไปสู่ ความรู ้ฝังลึก โดยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรงของผูท้ ี่สื่อสารระหว่างกัน
2. เอ๊กซ์เทอร์นอลไลซ์เซชัน่ (Externalization)เป็ นการสร้างและแบ่งปั นความรู ้จาก
การแปลง ความรู ้ฝังลึก เป็ น ความรู ้ชดั แจ้ง โดยเผยแพร่ ออกมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
3. คอมบิเนชัน่ (Combination)เป็ นการแบ่งปั นและสร้างความรู ้ จาก ความรู ้ชดั แจ้ง
ไปสู่ ความรู ้ชดั แจ้ง โดยรวบรวมความรู ้ประเภท ความรู ้ชดั แจ้ง ที่เรี ยนรู ้มาสร้างเป็ นความรู ้ประเภท
ความรู ้ชดั แจ้งใหม่ๆ
4. อินเตอร์ เนไลซ์เซชัน่ (Internalization) การแบ่งปั นและสร้างความรู ้จาก ความรู ้
ชัดแจ้งไปสู่ ความรู ้ฝังลึก โดยมักจะเกิดจากการนําความรู ้ที่เรี ยนรู ้มาไปปฏิบตั ิจริ ง
องค์ประกอบที่สาํ คัญของวงจรความรู ้
1. คน ถือว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญที่สุด
เป็ นแหล่งความรู ้
เป็ นผูน้ าํ ความรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
2. เทคโนโลยี เป็ นเครื่ องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นําความรู ้
ไปใช้อย่างง่ายและรวดเร็ วยิง่ ขึ้น
3. กระบวนการความรู ้ เป็ นการบริ หารจัดการเพื่อนําความรู ้จากแหล่งความรู ้ไปให้
ผูใ้ ช้ เพื่อทําให้เกิดการปรับปรุ งและนวัตกรรม
1.3 แหล่ งเก็บความรู้ ในองค์ กร (คลังความรู้) มักจะประกอบไปด้วย 4 ประเภทดังนี้
ฐานข้อมูลความรู ้ (Knowledge Base)ซึ่งมีประมาณ 12 %
สมองของพนักงานในองค์กรซึ่งมีประมาณ 42 %
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Document Electronic)ซึ่งมีประมาณ 20 %
เอกสารกระดาษ ซึ่งมีประมาณ 26 %
11

เอกสาร (กระดาษ) 26 % ฐานข้อมูลความรู ้ 12 %

เอกสาร (อิเล็กทรอนิกส์) 20 % สมองพนักงาน 42 %

ภาพที่ 6 แสดงแผนภูมิวงกลมของสัดส่ วนแหล่งเก็บข้อมูลความรู ้

1.4 ทฤษฎีโครงสร้ างทางเชาวน์ ปัญญา (Structure of Intellect Model)


กิลฟอร์ ด (Guilford, 1967) ได้อธิบายความสามารถทางสมองมนุษย์ในรู ปแบบจําลอง
สามมิติ (Three Dimensional Model)ซึ่ งได้แก่ มิติดา้ นเนื้ อหา (Contents) มิติดา้ นปฏิบตั ิการ
(Operations) และมิติดา้ นผลผลิต (Products) ซึ่งมีรายละเอียดสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้
1.4.1 มิติที่ 1 ด้านเนื้อหา (Contents) หมายถึง ชนิดของวัตถุ หรื อข้อมูลต่างๆ ที่ถูก
ใช้เป็ นสื่ อก่อให้เกิดความคิด ซึ่งแบ่งออกเป็ น 5 ชนิดดังนี้
1. เนื้ อหาที่เป็ นรู ปภาพ (Figural Content) ได้แก่ วัตถุที่เป็ นรู ปธรรม สามารถ
รั บรู ้ ได้ด้วยประสาทสัมผัสต่ างๆ ไม่ใช้แทนสิ่ งใดนอกจากแทนตัวมันเอง เนื้ อหาที่ เป็ นรู ปภาพ
ได้แก่ เนื้ อหาที่รับรู ้ดว้ ยประสาทตาซึ่ งมีคุณสมบัติ เช่ น มีขนาด รู ปร่ าง สี ตําแหน่ ง หรื อเนื้ อหนัง
นอกจากนี้ยงั รวมถึงสิ่ งที่ได้ยนิ หรื อรู ้สึกได้ดว้ ย
2. เนื้อหาที่เป็ นเสี ยง (Auditory) ได้แก่ สิ่ งที่อยูใ่ นรู ปของเสี ยงที่มีความหมาย
3. เนื้ อหาที่เป็ นสัญลักษณ์ (Symbolic Content)ได้แก่ ตัวอักษรตัวเลข และ
สัญลักษณ์ที่สร้างขึ้นใช้ในระบบทัว่ ๆ ไป เช่น พยัญชนะหรื อระบบจํานวน
4. เนื้ อหาที่เป็ นภาษา (Semantic Content) ได้แก่ สิ่ งที่อยูใ่ นรู ปของภาษาที่มี
ความหมาย หรื อความคิดที่เข้าใจกันโดยทัว่ ไป
12

5. เนื้ อหาที่เป็ นพฤติกรรม (Behavior Content) ได้แก่ สิ่ งที่ไม่ใช้ถอ้ ยคํา เป็ น
สิ่ งที่ เกี่ ยวกับการแสดงออกของมนุ ษย์ เจตคติ ความต้องการรวมถึ ง ปฏิ สัมพัน ธ์ระหว่างบุคคล
บางครั้งจึงเรี ยกว่า สติปัญญาทางสังคม (Social Intelligence)
1.4.2 มิติที่ 2 ด้านปฏิบตั ิการ (Operations) หมายถึงกระบวนการคิดต่างๆ ที่ผตู ้ อบ
ทําขึ้นซึ่งประกอบด้วยความสามารถ 5 ชนิด
1. การรับรู ้และการเข้าใจ (Cognition) หมายถึง ความสามารถทาง สติปัญญา
ของมนุษย์ในการรับรู ้ เข้าใจ หรื อการค้นพบสิ่ งใหม่ๆ
2. การจํา (Memory) หมายถึง ความสามารถของสติปัญญาของมนุ ษย์ในการ
สะสมเรื่ องราว หรื อข่าวสารเอาไว้ และสามารถระลึกได้เมื่อเวลาผ่านไป
3. การคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking) หมายถึง ความสามารถในการ
ตอบสนองต่อสิ่ งเร้ า และแสดงออกได้ห ลายแบบ หลายวิธีไม่จาํ กัดจํานวน โดยเป็ นวิธีการหา
คําตอบที่ถูกที่สุดจากข้อมูลที่กาํ หนดให้ได้เพียงคําตอบเดียว
4. การคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) หมายถึง ความสามารถทาง
สมองของบุคคลที่จะสรุ ปข้อมูลที่ดีที่สุดและถูกต้องที่สุดจากข้อมูลที่กาํ หนดให้ได้
5. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการตัดสิ นว่าสิ่ งที่
เรารู ้ จําได้ หรื อสิ่ งที่เราสร้างขึ้นมาจากกระบวนการคิดนั้นมีความดี ความถูกต้อง ความเหมาะสม
หรื อมีความพอเพียงหรื อไม่อย่างไร
1.4.3 มิติที่ 3 ด้านผลผลิต (Products) หมายถึง ความสามารถที่เกิดขึ้นจากการ
ผสมผสานมิติด้านเนื้ อหา และด้านปฏิบตั ิการ เมื่อสมองรั บรู้ วตั ถุภายนอกทําให้เกิ ดการคิดใน
รู ปแบบต่างๆ ได้ผลออกมาต่างๆ กัน 6 ชนิด คือ
1. หน่วย (Units) หมายถึง สิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัว และ แตกต่าง
ไปจากสิ่ งอื่น
2. จําพวก (Classes) หมายถึง กลุ่มของสิ่ งต่างๆ ซึ่ งมีคุณสมบัติบางประการ
ร่ วมกัน
3. ความสัมพันธ์ (Relations) หมายถึง การเชื่อมโยงสิ่ ง 2 สิ่ งเข้าด้วยกัน เช่น
การเชื่อมสะพาน การเชื่อมลูกโซ่
4. ระบบ (System) หมายถึ ง แบบแผนหรื อรู ปแบบของการเชื่ อมโยงส่ ว น
ต่างๆ
5. การแปลงรู ป (Transformations) หมายถึง ผลการคิดที่คาดหวัง หรื อทํานาย
อะไรบางอย่างจากข้อมูลที่กาํ หนดให้
13

6. การประยุกต์ (Implication) หมายถึง ผลการคิดที่คาดหวัง หรื อทํานายอะไร


บางอย่างจากข้อมูลที่กาํ หนดให้
1.5 พัฒนาการด้ านปัญญาของมนุษย์
พัฒนาการด้านปั ญญาของมนุษย์ แบ่งได้ดงั นี้
1.5.1 วัยทารก(Infancy) การแสดงออกทางกล้ามเนื้ อ (Reflex) ในช่ วง 0-1 เดื อน
หลัง 3 เดือนไปแล้วเขาจะสามารถแสดงอาการตามสิ่ งจูงใจ เด็กทารกในวันนี้ มีความสามารถใน
การจําที่ไม่ตอ้ งใช้การคิดอายุประมาณ 3 เดือน ความจําจะเกี่ยวข้องกับการคิดมากขึ้น อายุ 8 – 10
เดื อน เขาจะจัดประเภท สรุ ปสารสนเทศ เพื่อลดปริ มาณสิ่ งที่จาํ ในวันนี้ ทารกจะพัฒนาการเกิ ด
ความเข้าใจคําบางคํา มีความสามารถ 900 คํา ในเด็ก อายุ 36 เดือน
1.5.2 วัยเด็กเล็ก (Early Childhood) เด็กเล็กมีความสามารถด้านการคิดสัญลักษณ์
คํา ภาพวาด ความฝั น เริ่ มแสดงความตั้งใจระยะสั้นๆ เริ่ มระบบกระบวนการสารสนเทศ จําของ
บางอย่างให้ได้ มีความสามารถทางภาษา เล่าเรื่ องอดีต ปั จจุบนั อนาคต ได้ สร้าง ประโยคปฏิเสธได้
มีความสามารถ 2000 คําเด็กเริ่ มจัดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งของได้ แต่การให้เหตุผลเชิงตรรกยังคง
เป็ นแบบรู ปธรรม ความสามารถระดับนี้ ได้แก่ การจัดประเภท การผสมผสาน และการทําเป็ น
ระบบสิ่ งของมีความสามารถ 50,000 คํา
1.5.3 วัยรุ่ น (Adolescence) วัยนี้ พฒั นาการคิดเชิ งวิทยาศาสตร์ และคิดนามธรรม
เด็กวัยนี้ จะเก็บสะสมสารสนเทศได้มากกว่าเด็กวัยตํ่ากว่า มีความสามารถในการแก้ปัญหาได้มากกว่า
ใช้คาํ ที่ยากได้
1.5.4 วัยผูใ้ หญ่ตอนต้น (Early and Middle Adulthood) การเรี ยนรู ้และการจําได้มี
การเปลี่ย นแปลงเล็ก น้อ ย โดยมีค วามสามารถในการจดบัน ทึก ลงรหัส สารสนเทศ และเรี ย ก
สารสนเทศเหล่านั้นมาใช้ ทั้งนี้ เพราะวันนี้ สามารถใช้กระบวนการสารสนเทศได้ดีกว่า ถ้าพิจารณา
สติปัญญาแบบลื่นไหล (Fluid Intelligence)พบว่าจะคงที่ แต่สติปัญญาแบบตกผลึก (Crystallized
Intelligence) จะเพิ่มขึ้นจนอายุเข้าวัย 60 ปี มีความสามารถในการให้เหตุผล และแก้ปัญหา
1.5.5 วัยผูใ้ หญ่ตอนปลาย (Late Adulthood) เป็ นวัย ที่ เ ริ่ ม เสื่ อ มถอยในเรื่ อ ง
ความสามารถของปั ญญา การจํา การคิด การแก้ปัญหา ซึ่ งอาจเป็ นเพราะสภาพร่ างกาย สายตา
อวัยวะ ที่เสื่ อมถอย ในวัยผูใ้ หญ่ตอนปลายนี้ จะมีความแตกต่างจากวัยผูใ้ หญ่ตอนต้น ในความเสื่ อม
ถอยในเรื่ องการจัดจําแนกสิ่ งของ การตั้งและตรวจสอบสมมุติฐาน การแก้ปัญหา การจับประเด็น
ยกเว้นความคิดสร้างสรรค์ ที่ยงั คงมีอยู่ และเพิ่มขึ้นตามช่วงอายุ
14

1.6 สิ บวิธีการเรียนรู้เพือ่ ปรับเปลีย่ น กระบวนทัศน์ ในองค์ กร


การจัด การกับการเปลี่ ย นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 จํา เป็ นจะต้อ งอาศัย
จิตสํานึ กใหม่ที่มีคนเป็ นศูนย์กลางแบบบูรณาการซึ่ งจําเป็ นจะต้องจัดการกับปั ญหาที่เกี่ยวข้องกับ
การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของคนโดยรวมมากมาย การสร้ า งจิ ต สํา นึ ก ใหม่ มิ ไ ด้แ ค่ ส อนให้รู้
ถ่ายทอดความรู ้เท่านั้น แต่ตอ้ งสร้างกระบวนการเรี ยนรู ้ หรื อการจัดการกับความรู ้ (Knowledge
Management) เพื่อก่อให้เกิด
จิตสํานึกแห่ งการเป็ นพวกเดียวกัน มีเอกภาพในความหลากหลาย
จิตสํานึกแห่ งการเป็ นมิตรต่อกัน
จิตสํานึกแห่งการพึ่งพาอาศัยกัน
จิตสํานึกแห่ งการเป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน ไว้วางใจกัน
จิตสํานึกในการสร้างพลังร่ วมของหมู่คณะ
ศ.นายแพทย์วิจารณ์ พานิ ชปั จจุบนั ดํารงตําแหน่ งผูอ้ าํ นวยการสถาบันส่ งเสริ มการ
จัดการความรู ้เพื่อสังคมเป็ นกัลยาณมิตร เพื่อร่ วมอุดมการณ์แ น่ ว แน่ ข องผูเ้ ขีย นผูห้ นึ่ งได้นาํ เสนอ
แนวคิดที่เป็ นแก่นเพื่อการปฏิบตั ิซ่ ึ งถือเป็ นหัวใจหรื อจุดคานงัดสําคัญในการดําเนิ นงานจัดการกับ
ความรู ้เพื่อนําไปสู่ การเรี ยนรู ้กระบวนทัศน์ในการพัฒนาที่เน้นคนเป็ นศูนย์กลางแบบบูรณาการที่
น่าสนใจอย่างยิง่ และเห็นควรนํามาถ่ายทอดไว้ในที่น้ ี โดยเสนอเป็ น "ทศปฏิบตั ิ" หรื อการดําเนินการ
10 ประการ พอจะสรุ ปสาระสําคัญได้ดงั นี้คือ
ประการที่ 1 จะต้องปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การของหน่วยราชการจากวัฒนธรรม
อํานาจเป็ นวัฒนธรรมความรู ้ จากการบริ หารงานแบบควบคุม สั่งการ รวบอํานาจ (Command and
Control) แบบหวงอํานาจ เป็ นบริ หารงานแบบฟื้ นฟูพลังอํานาจ (Empower) ที่มีอยูใ่ นตัวตนของคน
ในองค์การ ในลักษณะการเรี ยนรู ้ดว้ ยกัน
ประการที่ 2 การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) จะต้องดําเนิ นการให้คนใน
องค์การร่ วมกันกําหนดวิสัยทัศน์ (ปณิ ธาน) ความมุ่งมัน่ (Purpose) และเป้ าหมาย (Goal) ในการ
ทํางานร่ วมกัน โดย ไม่ได้แค่ร่วมกันกําหนดเท่านั้นแต่ตอ้ งร่ วมกันตี ความ ทําความเข้าใจซํ้าๆ จนลึก
ลงไปถึงวิธีปฏิบตั ิ พฤติกรรมความเชื่อ และคุณค่า จนเกิดสภาพความเป็ นเจ้าของ (Ownership) ใน
วิสยั ทัศน์น้ นั ในสมาชิกทุกคนขององค์การ ซึ่งเป็ นการนําไปสู่การสร้างพลังรวมหมู่สร้างพลังทวีคูณ
(Synergy) ในการทํางาน
ประการที่ 3 การสร้างและใช้ความรู ้ในการทํางาน เมื่อมีการทํางานผูป้ ฏิบตั ิงานจะมี
ประสบการณ์ ในประสบการณ์ มี "ความรู ้ใ นคน" (Tacit Knowledge) อยู่ถา้ เอาความรู ้จ าก
15

ประสบการณ์ในผูร้ ่ วมงานมาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กนั จะเกิดการยกระดับความรู ้สาํ หรับนําไปใช้ในการ


ทํางานให้มีผลสัมฤทธิ์ยงิ่ ขึ้น
ประการที่ 4 การใช้ยทุ ธศาสตร์ "เรี ยนลัด" ในการทํางานรู ้จกั เสาะหาความรู ้ที่มีอยู่
แล้ว ใช้การได้ดีอยู่แล้วมาต่ อยอดดัดแปลงใช้งานให้เหมาะสม โดยไม่ ทาํ ให้ตอ้ งเสี ยเวลามุ่ ง คิด
ค้นหาวิธีทาํ งานใหม่ๆ ด้วยตนเอง
ประการที่ 5 การสร้างการเปลี่ยนแปลงด้วยยุทธศาสตร์เชิงบวก คือการเสาะหาตัวอย่าง
"วิธีการยอดเยีย่ ม" ในการบริ หารจัดการเน้นคนเป็ นศูนย์กลางให้พบแล้วนํามายกย่องและจัดกระบวน
การ "แบ่งปั นความรู ้" เพื่อขยายผลไปหน่วยงานอื่นๆภายในองค์การ ยุทธศาสตร์น้ ีไม่มุ่งเน้นเสาะหา
ปัญหา ไม่เน้นการแก้ปัญหาแต่มุ่งเสาะหาความสําเร็ จ เน้นการขยายผลสําเร็ จ และยกระดับผลสําเร็ จ
ซึ่งยิง่ สร้างเจตคติเชิงบวก วิธีคิดเชิงบวก
ประการที่ 6 การจัดพื้นที่หรื อเวที สําหรับแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ท้ งั อย่างไม่เป็ นทางการ
และอย่าง เป็ นทางการสําหรับให้คนในองค์การได้พบปะกันโดยตรง
ประการที่ 7 การพัฒนาคน โดยเน้นการพัฒนาคนผ่านการทํางานไปพร้อมๆ กันคน
ที่เกิดการพัฒนาจะเป็ นบุคคล เรี ยนรู ้ มีทกั ษะในการ "เรี ยนรู ้ร่วมกันผ่านการปฏิบตั ิงาน" (Interactive
Learning throughAction) มีทกั ษะในการใช้ความรู ้ในการปฏิบตั ิงาน มีทกั ษะในการเรี ยนรู ้จากผูอ้ ื่น
มีทกั ษะในการแบ่งปั นความรู ้ ฯลฯ
ประการที่ 8 การจัดระบบให้คุณให้รางวัล รางวัลไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นเงินยศถาบรรดาศักดิ์
เสมอไป รางวัลแก่ผลงานอาจต้องให้ แต่ทีมงานที่ร่วมกันสร้างผลสําเร็ จควรหลีกเลี่ยงการลงโทษ
ความล้มเหลวที่เกิดจากการริ เริ่ มสร้างสรรค์เพื่อการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์การแต่ควรส่ งเสริ มให้มี
การเรี ยนรู ้จากความล้มเหลว
ประการที่ 9 การสร้างเครื อข่ายในการทํางานเพื่อเพื่อนร่ วมทาง การทํางานโดดๆ
ตามลําพังแต่เพียงองค์กรเดียวจะขาดพลัง พอทําไประยะหนึ่งจะล้า ท้อถอยและอาจล้มเหลวได้
ประการที่ 10 การจัดทํา "ขุมความรู ้" (Knowledge Assets) ขุมความรู ้เป็ นการ
รวบรวมความรู ้ ที่ ถ อดมาจากการทํา "ความรู ้ จ ากการปฏิ บ ตั ิ " และความรู ้ เ พื่อ การปฏิ บ ตั ิ เมื่ อ
ได้รวบรวมเป็ น "ขุมความรู ้"บันทึกไว้ก็จะทํา ให้ความรู ้ ข องบุค คลกลายเป็ นความรู ้ ขององค์ก าร
สามารถนํามาใช้ได้ง่ายและมีการจัดระบบให้คน้ หาง่าย รวมทั้งคอยปรับ ปรุ งให้ "สด" ทันสมัย
การจัดการกับความรู ้ ตามวิธีการดังกล่าวนี้ น่าจะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต่ อการที่
ผูบ้ ริ หารองค์กรในทุกระดับนําไปใช้ในทางปฏิบตั ิเพื่อ ให้สามารถนํากระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนา
องค์กรออกมาสู่ ภาคปฏิบตั ิให้สอดคล้องกับการบริ หารของโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพได้ต่อไป
16

อุปสรรคที่สาํ คัญอย่างยิง่ ประการหนึ่ งในการจัดการความรู ้ก็คือการประพฤติปฏิบตั ิ


ตนของผูน้ าํ ภายในองค์กร คือ ไม่รู้จกั ไม่สนใจกับการจัดการความรู ้ชอบรวมศูนย์อาํ นาจ แก่งแย่ง
ชิงอํานาจในหมู่ผบู ้ ริ หารระดับสู งจนขาดความสามัคคีกนั ทําให้เกิดวัฒนธรรม อํานาจ ที่ยดึ นายเป็ น
ศูนย์กลาง (Boss Centered) ผูค้ นในองค์การแสดงความเคารพยําเกรง จงรักภักดีต่อนายที่เอื้อ
ประโยชน์แก่ตนได้และทํางานเพื่อสนองนโยบายของนายเป็ นหลักคนที่ทาํ งานภายในวัฒนธรรม
อํานาจเป็ นเวลานานจนเคยชิ นศักยภาพในการเรี ยนรู ้และสร้างสรรค์ก็จะหดหายไป มีผลงานวิจยั
ชี้ให้เห็นว่าการบริ หารจัดการแบบนายกับลูกน้องในแนวดิ่ง นําศักยภาพของคนออกมาใช้ได้แค่ร้อยละ
10 เท่านั้น
1.7 การเปรี ย บเทีย บกระบวนการเรี ย นรู้ ท างปั ญ ญาของคนไทย กับทฤษฎีกระบวน
ประมวลการสารสนเทศทางปัญญากระบวนการเรียนรู้ของคนไทย

ความรู ้เดิมที่มีมาก่อน

กลิ่น
เสี ยง
การรับ ภาพ
สัมผัส
รส

สังเกต------------->คิด ------------->ถาม

จด + จํา + ฝึ ก

แสดงพฤติกรรมตามสภาพทางสังคมวัฒนธรรมไทย

ภาพที่ 7 แสดงแผนผังกระบวนการเรี ยนรู ้ของคนไทย


17

กระบวนการเรี ยนรู ้ที่อิงทฤษฎีกระบวนการประมวลสารสนเทศทางปัญญา


ความรู้ที่มีมาก่อน

การรับสารสนเทศโดยผ่านสิ่ ง

การลงทะเบียนในสมอง

สมอง

ความจําสิ่ งที่ไม่มี ความจําที่ไม่ตอ้ งใช้ความคิดเป็ นอัตโนมัติ

กระบวนการแบบตื้นๆ

คลังความจําระยะสั้น

การโยงกับสารสนเทศเดิม การโยงกับสารสนเทศเดิม
ไม่ได้ (การลืม)

การสร้าง แผนภาพเค้าร่ าง (Schemata)


การลงรหัส
กระบวนการแบบผลึก
คลัง ความจําระยะยาวหรื อถาวร
การเรี ยกใช้
ลักษณะทางปัญญา(Cognitive
ระบบการสอน
แบบการเรี ยนรู้(Learning style)

ภาพที่ 8 แสดงแผนผังกระบวนการเรี ยนรู ้ที่อิงทฤษฎีกระบวนการประมวลสารสนเทศทางปัญญา


18

1.8 การวัดผลการเรียนรู้
การวัดผลการเรี ยนรู ้ที่ดี จะต้องวัดได้ครอบคลุ มในสิ่ ง ที่ ตอ้ งการวัด และมัน่ ใจว่า
สามารถวัดสิ่ งนั้นได้แน่นอนด้วย การวัดผล ที่ครอบคลุมควรวัดให้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้านคือ
1.8.1 ด้านสติ ปัญญา (พุทธิ พิสัย )เป็ นการวัด ความรู ้ ความคิด และการนําความรู ้
ไปประยุกต์ พฤติกรรมที่ใช้วดั ด้านนี้คือ
1. ความจําหมายถึง ความสามารถของสมองในการที่จะเก็บสะสมความรู ้หรื อ
ข้อเท็จจริ งที่ได้ประสบพบเห็นมาให้คงอยู่ ได้การแสดงออกที่บ่งบอกว่าจําได้ เช่นบอกสู ตรหรื อ
เขียนสู ตรที่ครู เคยสอนมาแล้ว
2. ความเข้าใจหมายถึ ง ความสามารถในการแปลความ ตีความและ ขยาย
ความสถานการณ์น้ นั ได้ สมรรถภาพนี้ สูงกว่าความรู ้ ความจํา การแสดงออกที่บ่งบอก ว่ามีความ
เข้าใจ ได้แก่ อธิบายข้อความที่ยากให้เป็ นภาษาง่าย ๆเปรี ยบเทียบลักษณะของสิ่ งหนึ่งกับอีกสิ่ งหนึ่ง
3. การนําไปใช้หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาโดยการนํา ประสบการณ์
หนึ่ งไปใช้ในอีกประสบการณ์หนึ่ งได้ ผลดีสมรรถภาพนี้ สูงกว่าความเข้าใจ คือ ต้องเข้าใจก่อน จึง
จะแก้ปัญหาได้การแสดงออกที่บ่งบอกว่านําไปใช้ได้ เช่นแก้โจทย์ที่ไม่เคยทํามาก่อนทดลองในสิ่ ง
ที่ใช้อย่างหนึ่งทดแทน เช่น ใช้น้ าํ มะนาวแทนนํ้ากรด
4. การวิเคราะห์หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะดูว่าสิ่ งนั้น ประกอบด้วย
อะไร การเกิดสิ่ งนั้นขึ้นอาศัยเหตุผลใด สามารถจําแนกได้ว่าสิ่ งใดสําคัญมาก สิ่ งใดมีความสัมพันธ์
กัน และเกิ ดปรากฏการณ์ น้ ัน ๆ ขึ้นอาศัยหลักการใด การแสดงออกที่ แสดงถึงการวิเคราะห์เช่ น
เลือกทานอาหาร 4-5 ชนิ ดที่มีรสชาติและราคาที่พอ ๆ กันแต่เลือกทานชนิ ดที่ดีที่สุด ทราบสาเหตุ
ของไฟฟ้ าช็อต
5. การสังเคราะห์หมายถึง ความสามารถในการรวมส่ วนย่อยต่างๆตั้งแต่ สอง
ส่ วนขึ้ นไปเข้าด้วยกัน แล้วเปลี่ ยนเป็ นสิ่ งใหม่ ที่มีคุณภาพแปลกและแตกต่ างออกไป ส่ ว นย่อย
ดังกล่าวอาจจะเป็ นเหตุการณ์สถานการณ์ ข้อเท็จจริ ง ความคิดเห็นใด ๆ ก็ได้การสังเคราะห์ก็คือ
ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์นนั่ เอง การแสดงออกที่แสดงถึงการสังเคราะห์ เช่นเขียนกลอนได้ แต่ง
เรื่ องใหม่เป็ นวางแผนการแข่งขันฟุตบอลเพื่อหารายได้
6. การประเมินค่าหมายถึง ความสามารถในการตีราคาของสิ่ งนั้นว่า ดีหรื อเลว
ชอบหรื อไม่ชอบ ควรหรื อไม่ควรเหมาะสมหรื อไม่เหมาะสมอย่าไร โดยอาศัยเหตุผลประกอบด้วย
ซึ่งหากไม่มีเกณฑ์ไม่ใช่การประเมิน เป็ นความคิดเห็นลอย ๆ การแสดงออก ที่แสดงถึงการประเมินค่า
เช่นพิจารณาตัดสิ นว่าที่เพื่อนเล่าเรื่ องราวให้ฟังนั้นควรเชื่อหรื อไม่พิจารณาตัดสิ นใจเลือกอ่านหนังสื อ
ที่เหมาะสมกับวัย
19

1.8.1 ด้านความรู ้สึก (เจตพิสยั )เป็ นการวัดเกี่ยวกับความรู ้สึก อารมณ์และทัศนคติเป็ น


การวัดสภาพการเปลี่ยนแปลงของจิตใจเมื่อมีสิ่งหนึ่ งสิ่ งใดมา กระทบแล้วเกิดการรับรู ้ เกิดความสนใจ
อยากจะเกี่ ยวข้องด้วยจนรู ้ คุณค่าทั้งทางดี และไม่ดีการวัดด้านนี้จะเริ่ มจากการรับ การสนองตอบ
การรู ้คุณค่า การจัดระบบคุณค่าและ การสร้างลักษณะนิ สัยโดยที่ทศั นคติหมายถึง ความเชื่อศรัทธา
หรื อเลื่อมใสในสิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดจนเกิ ด ความพร้ อมในจิ ต ใจสามารถประพฤติ ป ฏิ บ ัติ ตามได้ การ
แสดงออก การทํางานมากกว่าที่กาํ หนด
1.8.2 ด้านทักษะกลไก (ทักษะพิสัย)เป็ นการวัดเกี่ยวกับทักษะในการใช้ส่วนต่าง ๆ
ของร่ างกาย การประสานงานของการใช้อวัยวะต่าง ๆ ตลอดจนการใช้ เครื่ องมือต่าง ๆ เช่ นการ
เขียน การอ่าน การพูด การวิ่ง การกระโดด การว่ายนํ้า การใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ การใช้เครื่ อง คิด
เลข เป็ นต้นโดยที่ ทักษะ หมายถึง ความสามารถในการที่จะทํางานได้แคล่วคล่องว่องไวโดยไม่มี
ปิ ดหรื อคลาดเคลื่อนไปจากความเป็ นจริ งในสิ่ ง นั้น การแสดงออก บวก ลบ คูณหารได้รวดเร็ ว
ถูกต้อง พิมพ์รายงานได้รวดเร็ ว ถูกต้อง
1.9 การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
1.9.1 ความหมายการของจัดการความรู ้
การจัดการความรู ้เป็ นการรวบรวบรวมวิธีปฏิบตั ิขององค์กรและกระบวนการ
ที่เกี่ยวข้องกับ การสร้าง การนํามาใช้ และเผยแพร่ ความรู ้และบริ บทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนิ น
ธุรกิจ(ที่มาจาก The World Bank)
วิธีการจัดการความรู ้เป็ นกลยุทธ์และกระบวนการในการ จําแนก จัดหาและ
นําความรู ้มาใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยให้อ งค์ก รประสบความสํา เร็ จ ตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ (European
Foundation Quality Management: EFQM)
การจัดการความรู ้เป็ นแผนการที่เป็ นระบบและสอดคล้องกันในการจําแนก
บริ หารจัดการ และแลกเปลี่ยนสารสนเทศต่างๆ ซึ่ งได้แก่ ฐานข้อมูล เอกสาร นโยบาย และขั้นตอน
การทํางานรวมทั้งประสบการณ์และความชํานาญต่างๆ ของบุคคลากรในองค์กร โดยเริ่ มจากการ
รวบรวมสารสนเทศและประสบการณ์ต่างๆ ขององค์กร เพื่อเผยแพร่ ให้พนักงานสามารถเข้าถึงและ
นําไปใช้(ที่มาจาก The US Department of Army)การจัดการความรู ้เป็ นกระบวนการที่ดาํ เนิ นการ
ร่ ว มกัน โดยผูป้ ฏิ บตั ิ งานในองค์ก รหรื อ หน่ ว ยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู ้ในการ
ทํางานให้เกิ ดผลสัมฤทธิ์ ดี ข้ ึนกว่าเดิ ม โดยมีเป้ าหมายพัฒนางานและคน(นพ. วิจารณ์ พานิ ช)ซึ่ ง
พอจะสรุ ปได้ว่า การจัดการความรู ้ เป็ นการบริ หารจัดการเพื่อให้ “คน (RightPeople)”ที่ตอ้ งการใช้
ความรู ้ได้“รับความรู ้(Right Knowledge)” ที่ตอ้ งการใช้ใน“เวลา(RightTime)” ที่ตอ้ งการเพื่อบรรลุ
เป้ าหมายการทํางาน
20

1.9.2 ประโยชน์ของการจัดการความรู ้
การจัดการความรู ้ที่ดีจะช่วยให้องค์กร
1. สร้างนวัตกรรม โดยการส่ งเสริ มให้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
2. เพิม่ คุณภาพการบริ การลูกค้า โดยการลดเวลาการตอบกลับ
3. ลดอัตราการลาออก โดยการให้ความสําคัญกับความรู ้ของพนักงาน และ
ให้ค่าตอบแทนและรางวัลที่เหมาะสม
4. ลดเวลาการบริ การและลดค่าใช้จ่าย โดยกําจัดกระบวนการที่ไม่สร้างคุณค่า
ให้กบั งาน
5. ปรับปรุ งประสิ ทธิภาพ และเพิม่ ผลผลิต ให้กบั ทุกภาคส่ วนขององค์กร
1.9.3 เป้ าหมายการจัดการความรู ้
องค์ กร บรรลุเป้าหมาย

มีประสิ ทธิภาพ
คนและองค์ กร

}
การทํางาน ประสิ ทธิผล
คิดเก่ งขึน้
(บรรลุเป้าหมาย)

คน คิดเป็ นทําเป็ น

ภาพที่ 9 แสดงแผนผังเป้ าหมายของการจัดการความรู ้


21

1.9.4 กระบวนการจัดการความรู ้

1. เราต้องมีความรู้เรื่ องอะไร 1. การบ่งชี้ความรู้


เรามีความรู้เรื่ องนั้นหรื อยัง (Knowledge Identification)

2. ความรู้อยูท่ ี่ใคร อยูใ่ นรู ปแบบ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้


อะไรจะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร (Knowledge Creation Acquisition)

3. จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 3. การจัดการความรู้ให้เป็ นระบบ


(Knowledge Organization)

4. จะทําให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4. การประมวลและกรั่นกรองความรู้
(KnowledgeCodification and Refinement)

5. เรานําความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรื อไม่ 5. การเข้าถึงความรู้


(Knowledge Access)

6. มีการแบ่งปันความรู้ให้กนั หรื อไม่ 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้


(KnowledgeSharing)

7. ความรู้น้ นั ทําให้เกิดประโยชน์กบั 7. การเรี ยนรู้


องค์กรหรื อไม่ทาํ ให้องค์กรดีข้ ึนหรื อไม่ (Learning)

ภาพที่ 10 แสดงแผนผังกระบวนการจัดการความรู ้
22

1.9.5 ปั จจัยแห่งความสําเร็ จ
ผูบ้ ริ หาร
บรรยากาศและวัฒนธรรมองค์กร
การสื่ อสาร
เทคโนโลยีที่เข้ากับพฤติกรรมและการทํางาน
การให้ความรู ้เรื่ องการจัดการความรู ้และการใช้เทคโนโลยี
แผนงานชัดเจน
การประเมินผลโดยใช้ตวั ชี้วดั
การสร้างแรงจูงใจ
1.9.6 การจัด การความรู ้ (KM) แบบผิด ทาง การให้ค วามสํา คัญ กับ “2T”(Tool
&Technology) น้อยกว่า การให้ความสําคัญกับ “2P” (People & Processes)ซึ่ งสองอย่างนี้ ตอ้ งมี
ความสมดุลกัน
1.9.7 แนวทางที่จะช่วยไม่ให้ไปผิดทาง ใช้ KM Model “ปลาทู” ประกอบไปด้วย
1. คุณเอื้อ (Knowledge Vision : KV)หมายถึง ส่ วนที่เป็ นหัวปลา ตาปลา มอง
ว่ากําลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้วา่ ทํา KM ไปเพื่ออะไร
2. คุณอํานวย (Knowledge Sharing : KS)หมายถึง ส่ วนกลางลําตัว ส่ วนที่เป็ น
“หัวใจ” ให้ความสําคัญกับการแลกเปลี่ยนความรู ้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)
3. คุณกิจ (KnowledgeAsset : KA) หมายถึง ส่ วนหาง สร้างคลังความรู ้
เชื่อมโยงเครื อข่าย ประยุกต์ใช้ ไอซีที (ICT)“สะบัดหาง” สร้างพลังจาก ซีโอพี(CoP)

KV KS KA

ภาพที่ 11 แสดงรู ปแบบจําลองปลาดัดแปลงมาจากดร.ประพนธ์ ผาสุ ขยืด


23

2. เส้ นการเรียนรู้ งาน (Learning Curve)


สมมุติฐานเบื้องต้นของเส้นโค้งการเรี ยนรู ้ คือ คนงานจะโดยส่ ว นตัว หรื อโดยเป็ น
สมาชิกของทีมงานผลิต จะมีความสามารถสูงขึ้นจากการทํางานเดียวกันหรื อจากโครงการเดียวกัน
ซํ้าๆ หลายครั้ง ถ้ามีการบันทึกความก้าวหน้าในการทํางานตามเวลาที่เพิ่มขึ้น จะมีส่วนช่วยจูงใจให้
ทํางานดีข้ ึน
การเรี ยนรู ้งานเป็ นการผูกพันงานกับเวลา คุณสมบัติของปรากฏการการเรี ยนรู ้ คือ เมื่อ
จํานวนผลผลิตของคนงานเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า เวลาต่อหน่วยในการผลิตจะลดลงในอัตราคงที่
ถ้าคนงานสามารถเข้าใจเกี่ยวกับเส้นโค้งการเรี ยนรู ้ของเขาและเข้าใจอัตราการเรี ยนรู ้
งานของตนเอง จะเป็ นการเร่ งเร้าให้เกิดความพยายามในการเรี ยนและทําให้อตั ราการเรี ยนรู ้สูงขึ้น
และผลที่ตามมาก็คือ เวลาที่ใช้ในการผลิตจะลดลงและเป็ นการเพิ่มผลผลิตในตัวเอง
เส้น การเรี ย นรู ้ ง านนั้น เป็ นปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นกับการปฏิบตั ิงานของคนงาน โดยมี
ลักษณะดังนี้ เมื่อคนงานมีการทํางานซํ้าๆ กันนานๆ เวลาและค่าใช้จ่ายต่อรอบการทํางาน (Cycle)ก็
จะลดลง โดย เส้นการเรี ยนรู ้งานสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบ คือ
1. การเรี ยนรู ้ที่เกิดในขณะที่คนงานทํางานเดิมซํ้าๆ กันตลอด
2. การเรี ยนรู ้ที่เกิดจากการที่องค์กรทําการผลิตสิ นค้าชนิ ดหนึ่ งในปริ มาณมากๆเส้นการ
เรี ยนรู ้งานจะถูกพูดถึงใน 2 หัวข้อ คือ
2.1 เป็ นการเรี ยนรู ้ของมนุษย์ (คนงาน)
2.2 เป็ นความก้าวหน้าของกระบวนการผลิต
ซึ่งทั้ง 2 หัวข้อสามารถอธิบายได้ในรู ปสมการทางคณิ ตศาสตร์ ดังนี้
2.1 สมการคณิตศาสตร์ ของการเรียนรู้ (The Mathematics of Learning)
สมการของเส้นการเรี ยนรู ้สามารถเขียนแทนด้วยรู ปทัว่ ๆ ไป ดังนี้

Y = KX
−A
.......................2.1.1

ซึ่งกําหนด Y = เวลา / รอบการทํางาน (Cycle)


K = เวลาที่เกิดขึ้นในการทํางานรอบแรก (First Cycle)
X = จํานวนรอบในการทํางาน
A = ค่าคงที่ซ่ ึงขึ้นกับแต่ละสถานการณ์, ค่า A ได้มาจากอัตรา
การเรี ยนรู ้ (Learning Rate)
24

Take log ทั้งสองข้างของสมการที่ (2.1.1)จะได้


LogY = LogK – ALogY......................2.1.2
ถ้าพล๊อตจุดที่ได้จากสมการ 2 ลงบนกระดาษกราฟ Log จะได้วา่ A คือ
ความชัน (Slope) และ K คือ จุดตัดของกราฟ ประโยชน์ขอ้ หนึ่ งที่ได้จากกราฟนี้ ก็คือ เมือ X มีค่า
เพิ่มขึ้น 2 เท่า Y จะลดลงเป็ นค่าเปอร์ เซ็นต์คงที่ค่าหนึ่ ง ลักษณะดังกล่าวเรี ยกว่า “Percent Learning
Curve”
2.2 การเรียนรู้ของมนุษย์ (Human Learning)
มีปัจจัยจํานวนมากมายที่มีผลต่ออัตราการเรี ยนรู ้ของคนงาน สมรรถนะของคนงาน
ก็มีผล และความซับซ้อนของงานก็มีผลด้วย ซึ่งที่สาํ คัญๆ ดังต่อไปนี้
2.2.1 ความซับซ้อนของงานความซับซ้อนของงานสามารถจําแนกได้ใน 3 ทิศทาง
เพราะว่าจากมุมมองของการเรี ยนรู ้ของงานมีตวั แปรหลัก 3 ตัวที่ส่งผลถึงความซับซ้อนของงาน
ความยาวของรอบเวลา โดยปกติงานที่ยาวนานจะมีความซับซ้อนมากกว่า
เพราะว่าคนงานจะมีโอกาสที่จะลืมวิธีการทํางานในรอบก่อนหน้า ความยาวของรอบเวลาจะถูก
นับเป็ นส่ วนหนึ่งในการคํานวณของสมการเส้นการเรี ยนรู ้เนื่ องจากการเพิ่มขึ้นของเวลารวมจะเป็ น
ฟังก์ชนั่ ของความยาวของรอบเวลาด้วย
ปริ มาณของความไม่แน่นอนในการเคลื่อนไหวความไม่แน่นอนโดยทัว่ ไปจะ
วัดโดยจํานวนของการเคลื่อนไหวที่ตอ้ งใช้ความชํานาญสู ง ความไม่แน่ นอนยิ่งสู งคนงานก็จะยิ่ง
ต้องใช้เวลาในการเรี ยนรู ้สูงตามไปด้วย
จํานวนชัว่ โมงการฝึ กอบรม ในงานบางงาน คนงานต้องพัฒนาความชํานาญ
พิเศษที่สูงกว่าปกติในการใช้อุปกรณ์ร่วมในการทํางาน
2.2.2 สมรรถนะของคนงานในสถานการณ์
อายุของบุคคล
เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรี ยนรู ้การทํางานในอดีต
สุ ขภาพกายและระบบประสาทของแต่ละบุคคล
2.2.3 คนงานจะเรี ยนรู ้ อย่างไร ด้วยความซับซ้อนที่ กล่าวมา ช่ วงของอัตราการ
เรี ยนรู ้จะอยูใ่ นช่วงระหว่าง 88% - 92% ของ เส้นการเรี ยนรู ้ การคํานวณจํานวนวัดที่ใช้ในการเรี ยนรู ้
งานจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคลเนื่องมาจากวิธีการที่ใช้สอบ
2.2.4 ผลกระทบของการเรี ย นรู ้ ข องบุค คลต่อ เวลามาตรฐานซึ่ ง พัฒ นาโดยใช้
การศึกษาการทํา งาน ความเข้า ใจในเรื่ อ งการเรี ย นรู ้ ข องบุค คลมี ค วามสํา คัญ ต่ อ วิศ วกรรมซึ่ ง
25

รับผิดชอบต่อการจัดมาตรฐานการผลิตเพราะว่าคนงานที่มีการเรี ยนรู ้มานานแล้วกับคนงานใหม่ๆ


นั้นจะใช้เวลาที่ต่างกันในระดับหนึ่ง
2.2.5 การคาดการณ์ อ ัต ราการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ร ะบบการคิดเวลาล่วงหน้า (PST)
ในระบบ PST ระบบย่อย MTM – 1 มีกรรมวิธีในการคํานวณระยะเวลาในการเรี ยนรู ้เพื่อไปถึง
มาตรฐานของงาน
2.2.6 ตัดสิ นใจในเวลามาตรฐานและเวลาในการเรี ยนรู ้สาํ หรับทํางานเป็ นกลุ่ม
2.3 การประยุกต์ ใช้ เส้ นการเรียนรู้
รู ปแบบของการพัฒนาเวลา และการลดต้นทุนจะสามารถคาดคะเนได้ โดยอาศัย
หลักการเรี ยนรู ้ ในกระบวนการผลิ ตและการจัดการด้านการเงิ น เช่ น การประมาณต้นทุ น การ
ตัดสิ นใจ มาตรฐานและความแปรปรวนของประสิ ทธิภาพ รายงานภายนอก
การประเมินต้นทุนจะทําได้ก็ต่อเมื่อทราบต้นทุนรวมและการเรี ยนรู ้มีผลกระทบต่อ
การประเมินค่า สัมประสิ ทธิ์ของเส้นการเรี ยนรู ้สาํ หรับข้อมูลเก่า โดยใช้สมการ Log – Linear
LogY = Loga – b LogX
การวิเคราะห์ความถดถอยของข้อมูล Logarithm บน X และ Y โดยใช้วิธีการ Least –
square จะสามารถช่วยหาเส้น Regression ได้ซ่ ึงค่าสัมประสิ ทธิ์ความชัน เลขยกกําลัง หรื อค่าคงที่
ของการเรี ยนรู ้ สามารถหาค่าได้จากสูตร ดังต่อไปนี้

B= ∑
n (XY) - (∑ X)(∑ Y)
n ∑ (X - (∑ X) )
2 2

โดยที่ B คือ ชัว่ โมงการทํางานที่แน่นอน


n คือ จํานวนข้อมูลที่ได้จากการสังเกตที่รู้ค่าต้นทุน
X คือ Log ของการผลิตสะสม
Y คือ Log ของชัว่ โมงแรงงานสะสม
XY คือ Log ของการผลิตสะสมคูณกับชัว่ โมงแรงงานสะสม
2.4 บันไดสี่ ข้นั สู่ การเรียนรู้ (Learning)
2.4.1 ไม่รู้ หมายถึง ไม่รู้ไม่ช้ ี และไม่รู้แล้วชี้
2.4.2 รับรู ้แต่อาจไม่ได้นาํ ไปใช้งาน
2.4.3 เลียนรู ้ หมายถึงการนํามาทําเลียนแบบ
2.4.4 เรี ยนรู ้ หมายถึง การเลียนแบบและพัฒนาต่อยอด
26

4 เรี ยนรู้ : เลียนแบบ และพัฒนาต่อยอด

3 เลียนรู้ : รับมาทําเลียนแบบ

2 รับรู้ : แต่อาจไม่ได้นาํ ไปใช้

1
ไม่รู้ : ไม่รู้ไม่ช้ ี vs. ไม่รู้แล้วชี้

ภาพที่ 12 แสดงแผนผังขั้นบันไดสี่ ข้นั สู่ การเรี ยนรู ้ดดั แปลงมาจาก ดร.ประพนธ์ ผาสุ ขยืด

3. กระบวนการผลิตเครื่องประดับ
กระบวนการผลิตเครื่ องประดับจะเริ่ มต้นจากการรับ Order จากลูกค้าเพื่อทําต้นแบบ
หลังจากนั้นทําแม่พิมพ์บล็อกยาง ฉี ดเทียนตกแต่งแบบเทียน ติดต้นเทียน หล่อประณี ต แต่งตัวเรื อน
ฝัง ขัดเงา ตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งมี Flow Process Chart ดังด้านล่างนี้
27

รับ Order

การทําต้นแบบ

ขึ้นพิมพ์เงิน ขึ้นพิมพ์ Wax

ทําบล๊อกยาง ขึ้นช่อต้นเทียน

ฉี ดเทียน
การหล่อ

ติดต้นเทียน

การหล่อ

การแต่งประกอบ
การฝัง

ลักษณะงาน

การขัดชิ้นงาน
การชุบฯ

ลักษณะงาน

การตรวจสอบขั้นสุ ดท้าย

การบรรจุหีบห่อ

ภาพที่ 13 แสดงแผนผังกระบวนการผลิตเครื่ องประดับอัญมณี


28

เมื่อรับ Order แล้วจะทําการแกะขี้ผ้ งึ (Wax)หรื อขึ้นพิมพ์ ซึ่งเราไม่ได้ทาํ การจัดทําเพราะ


งานมีการจัดจ้างจากภายนอก ดังนั้นเราจึงเริ่ มต้นที่การขึ้นต้นช่อเป็ นต้นไป
3.1 การขึน้ ต้ นแบบ (Master Piece)
ขั้นแรกคือการได้รับ Check List จากแผนกออกแบบในแบบต้องลักษณะงานว่าเป็ น
งานประเภทใด ขนาดเท่าไร รู ปร่ างเป็ นอย่างไร และโลหะที่ใช้เป็ นอะไรรวมถึงจํานวนที่ตอ้ งการด้วย
เช่น แหวนเงินประดับพลอย บลู โตเปส (Blue Topez)ขนาด 54 จํานวน 30 วง เป็ นต้น จากนั้นช่าง
จะทําการขึ้นรู ปตามแบบร่ าง (Sketch)โดยใช้ข้ ีผ้ งึ ชนิ ดพิเศษที่มีความแข็งและเหนี ยวพอที่จะนํามา
แกะสลัก ฉลุ และตะไบได้โดยไม่เสี ยหาย ต้นแบบที่ออกมาต้องมีกา้ นติดไว้เพื่อใช้ในการติดต้น
เทียนในขั้น Wax Injection ขั้นตอนการขึ้นต้นแบบจัดว่าเป็ นขั้นตอนสําคัญมาก เนื่ องจากเป็ น
ขั้นตอนที่นาํ ไปสู่ ข้ นั ตอนอื่น ๆ ถ้าหากรู ปแบบผิดไปขั้นต่อไปก็จะเกิดปั ญหาแบบต่อเนื่ อง ดังนั้น
ช่างในฝ่ ายนี้จึงต้องมีความชํานาญในการแกะสลัก และความละเอียดรอบคอบสู ง เมื่อได้ตน้ แบบที่
เป็ นขี้ผ้ งึ แล้วหล่อเป็ นโลหะ โดยใช้เหล็กผสมทองเหลืองเพื่อที่จะนําไปสู่ ข้ นั ตอนการอัดแบบพิมพ์
ยาง เมื่อใช้เสร็ จแล้วจะเขียนรหัสและเก็บเข้า Stock ไว้ใช้ในโอกาสต่อไป
3.2 การอัดแบบพิมพ์ ยาง (Molding)
หลังจากได้ตน้ แบบมาแล้วจะนําไปทําแบบพิมพ์ยาง (Mold) ยางที่ใช้ในการทํา Mold
นั้นเป็ นยางพิเศษที่ใช้เพื่อการทํา Jewelry Molding สําหรับ Wax Lost Casting Process
โดยเฉพาะ จะแบ่งออกเป็ น 2 ชนิ ด White label และ Gold Label จะต่างกันคือชนิ ดแรกนั้นจะมี
ส่ วนผสมของยางธรรมชาติน้อยกว่าชนิ ดที่สอง ทําให้มีความนุ่ มและความยืดหยุ่นน้อยกว่า จะมี
การใช้แบบผสมกันคือ จะใช้ยางชนิดที่สองมาทํา Mold (Gold Label) อยูต่ รงกลาง และใช้ยางสี ดาํ
ประกบทั้งสองข้างโดยให้ความหนา จํานวนชั้น และขนาดขึ้นอยูก่ บั ชิ้นงาน ในการทํา Mold จะ
แยกเป็ นขั้นตอนใหญ่ ๆ ดังนี้
3.2.1 การเตรี ยมแบบและการพิมพ์ยาง (Preparation of Model and Mold)ในการอัด
ต้นแบบเพื่อทํา Mold ต้องแน่ใจว่า ต้นแบบที่นาํ มาต้องสะอาดและแห้งจริ ง ๆ จึงจะได้ Mold ที่มี
คุณภาพดี การทําความสะอาดต้นแบบนั้นจะต้องล้างด้วยคลื่นอัลทราโซนิก (Ultrasonic)ผ่านไปใน
สารละลายแอมโมเนีย(Ammonia)
3.2.2 การอัดแผ่นยาง (Vulcanization) ก่อนจะนําไปเข้าเครื่ องอัด เราจะนําแผ่นยาง
ที่ติดกันเป็ น ชุด ๆ ไปใส่ ในบล็อก (Block)เหล็กซึ่ งมีขนาดเท่ากับแผ่นยางคือ 2 × 2.5 นิ้ว โดย
จํานวนบล็อกของแผ่นยางที่สามารถใส่ ได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของบล็อก คือ 4 บล็อก หรื อ6 บล็อก
โดยหนึ่งบล็อกจะใช้แผ่นยาง 2 ชุด คือให้ชุดแรกวางให้ยางสี ดาํ อยูด่ า้ นล่างแล้ววาง Master Piece
ลงไปตรงกลาง แล้ว จึ งวางแผ่นยางอีกชุ ดหนึ่ งลงไปให้ยางสี เหลืองอยู่ติดกับ Master Piece
29

อุณหภูมิที่เหมาะสมที่ใช้ใน การอัดจะอยูท่ ี่ 307 F (150 องศาเซลเซี ยส) ช่วงเวลาที่เหมาะสม คือ 30 –


75 นาที ถ้าใช้เวลามากหรื อน้อยกว่านี้ mold ที่ได้จะไม่สมบูรณ์
หลังจากนั้นเราจะนําพิมพ์ยางไปกรี ดแบ่งครึ่ งนํา Master Piece ออกในขณะที่
ยังอุ่นอยู่เพื่อให้กรี ดยางได้ง่าย การกรี ดจะกรี ดแบบซิ กแซ็กเพื่อเวลานําไปฉี ดเทียน Mold จะได้
ไม่เลื่อนหลุดจากกัน จะทําให้ได้แบบเทียนที่สมบูรณ์
3.2.3 การฉี ดเทียน (Wax Injection) เมื่อได้พิมพ์ยางแล้วจะนํามาฉี ดเทียนเพื่อทํา
แบบเทียน ก่อนที่จะนําไปหล่อโลหะ โดยจะนําเทียนไปเคี่ยวให้ละลายก่อนจึงนํามากรองเพื่อกัน
เศษฝุ่ นผงและ สิ่ งแปลกปลอมออกโดยใช้กรอง จากนั้นนําเทียนเหลวที่ได้ไปใส่ เครื่ อง Vacuum
Wax Injection เป็ นเครื่ องฉี ดเทียนระบบสุ ญญากาศเพื่อป้ องกันมิให้เกิดฟองอากาศในตัวแบบเทียน
เมื่อฉีดเทียน เข้าไปแล้วทิ้งไว้สักครู่ แล้วแกะออก นําไปตรวจความเรี ยบร้อยตกแต่ง แล้วจึงนําไป
ติดต้นเทียน โดยใช้หวั แร้งจี้ให้ส่วนที่ตอ้ งการจะนําแบบเทียนไปติดหลอมก่ อนแล้วใช้ส่วนที่เป็ น
ก้านของแบบติดเข้าไป ต้นเทียนที่ใช้จะมีลกั ษณะเป็ นแท่งทรงกระบอกมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1
เซนติเมตร และสู งประมาณ 20 เซนติเมตร ตั้งอยูต่ รงกลางฐานยางซึ่ งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10
เซนติเมตร การติดจะติดให้เอียงขึ้นไปประมาณ 60 องศา เนื่ องจากเป็ นมุมที่เหมาะสมในการหล่อ
โลหะ ส่ วนจํานวนที่ติดแต่ละต้นขึ้นอยูก่ บั รู ปแบบของงาน เช่นถ้าเป็ นงานแหวนจะติดต้นละ 120
วงขึ้นไป จากนั้นนําไปชัง่ นํ้าหนักเพื่อหาจํานวนโลหะที่ตอ้ งการจะใช้ในการหล่อ แล้วนําเบ้าโลหะ
มาครอบ ฐานงานยางนั้นไว้เพื่อจะนําไปสร้างแบบปูนเพื่อทําการหล่อโลหะอีกทีหนึ่ง
3.3 การหล่อปูนและการหล่อโลหะ (Casting)
การหล่อต้องทํา 2 ครั้ง เป็ นการหล่อปูนในขั้นแรกเพื่อทําแม่พิมพ์ปูน แล้วจึงนํา
แม่พิมพ์ปูนไปทําการหล่อโลหะ การหล่อปูนเราจะใช้เครื่ องหล่อระบบสุ ญญากาศ (Embedding
Machines) หลักการทํางานคือดูดสุ ญญากาศในขณะที่ปูนและนํ้ากําลังผสมและเทของผสมลงในเบ้า
และมีระบบสั่นสะเทือนเข้าร่ วมด้วยช่วยไล่ฟองอากาศให้ออกจากปูน กระบวนการทั้งหมดเกิดขึ้น
ในสภาพไร้อากาศโดยเครื่ องดูดอากาศตลอดเวลา หากระบบบกพร่ อง เครื่ องดูดเสื่ อมประสิ ทธิ ภาพ
ลงจะทําให้เกิดอากาศในแบบปูนหล่อซึ่งอาจจะติดกับต้น
3.4 การเผาไล่ เทียน (BurnOut)
หลังจากเทปูนเรี ยบร้อยแล้วจึงนําเบ้าตั้งทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชัว่ โมงสําหรับเบ้าเล็กและ
2ชัว่ โมงสําหรับเบ้าใหญ่ แล้วนํามาเผาไล่เทียนด้วยเตาอบ (Furnace) ซึ่งมีหน้าที่ทาํ ให้ปูนในเบ้าแห้ง
ไล่เทียนออกจากปูนและอบปูนให้สุกพร้อมสําหรับงานหล่อ โดยทัว่ ๆ ไปจะอบปูนทิ้งไว้หนึ่ งคืน
ทั้งนี้จะเป็ นไปตามขนาดของเบ้าเล็กใหญ่จะใช้อุณหภูมิแตกต่างกันเสมอ
30

เมื่อทําการอบปูนและไล่เทียนเสร็ จแล้ว เราจะได้แม่พิมพ์ไปทําการหล่อโลหะต่อไป


แม่พิมพ์แต่ละแบบจะใช้ปริ มาณโลหะไม่เท่ากัน นํ้าหนักโลหะที่ใช้มาจากการคํานวณจากนํ้าหนัก
ต้นเทียนที่ชงั่ ไว้ในตอนแรก นําโลหะไปหลอมในเบ้าหลอมที่ทาํ จากวัสดุทนไฟ โลหะที่ใช้ในการ
หลอมจะเป็ นโลหะผสมจะใช้ทองเหลืองและเงิน
อุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อโลหะ คือเครื่ องหล่อโลหะ (Casting Machine) ทําหน้าที่
หลอมโลหะให้เป็ นของเหลว แล้วเทหรื อเหวี่ยงเข้ารู ของเบ้าปูน สามารถแบ่งลักษณะเครื่ องออกเป็ น
2 ประเภท คือ เครื่ องหล่อโลหะแบบเหวี่ยง (Centrifugal) และเครื่ องหล่อแบบดู ดอากาศออก
(Vacuum)
1. เครื่ องหล่อแบบเหวี่ยง เครื่ องหล่อแบบเหวี่ยงนี้ จะทํางานโดยอาศัยหลักของแรง
เหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
2. เครื่ องหล่อแบบดูดอากาศ เพิ่งนําเข้ามาใช้ปลายปี 2540 มีประสิ ทธิ ภาพบางอย่าง
ดี กว่าหล่อเหวี่ยง เช่ นมีคราบสนิ มฝังอยู่ในตัวเรื อนน้อยมาก หล่อชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ได้ การ
ทํางานง่ายเหมือนวิธีการหล่อแบบดั้งเดิม นําโลหะใส่ ในเบ้าหลอม แล้วเทลงบนพิมพ์ที่ยงั ร้อนอยู่
โดยใช้ร ะบบสุ ญ ญากาศดู ด อากาศออกจากเบ้า ปูน นั้น เพื่อ ช่ ว ยให้โ ลหะวิ่งเข้าไปแทนที่อากาศ
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ หลักการหลอมโลหะใช้คลื่นไมโครเวฟ (Micro - Wave) โดยท่อขด
Inductor เช่นเดียวกับระบบหล่อเหวี่ยง ข้อดีอีกอย่างหนึ่ งของเครื่ องนี้ คือ สามารถทําความสะอาด
เบ้าหลอมอย่างหยาบ ๆ ได้ในขณะที่หลอมเสร็ จแล้วชุด ๆ หนึ่ง และกําลังรอโลหะอีกชุดหนึ่ ง ที่เท
ลงในเบ้าหลอม
3.5 การแต่ งตัวเรือน (Filing)
งานหล่อที่ผา่ นการตรวจสอบมาแล้ว จะนํามาแต่งตัวเรื อนก่อน เป็ นการแต่งแบบ
คร่ าว ๆ เพื่อขัดเอาเหลี่ยมมุมที่เกินออกมาเล็กน้อย ริ้ วรอยที่ไม่ลึกมาก และรอยตัดก้านออกไป
3.6 การเชื่อมประกอบชิ้นงาน (Soldering Assembly)
งานฝ่ ายเชื่ อ มประกอบชิ้ น งานจะแบ่ ง ออกเป็ นงานเชื่อมเพื่อซ่ อมแซม งานเชื่อม
ประกอบชิ้นงาน และงานถักสร้อย งานที่ออกมาจากฝ่ ายขัดชิ้นงานด้วยเครื่ อง เช่น ต่างหู เข็มกลัด
ส่ วนมากจะได้รับความเสี ยหาย เช่น ขาหลุด ห่วงหลุด หรื อพบรู ที่ชิ้นงาน ก็สามารถซ่อมแซมได้ที่
ฝ่ ายนี้ งานที่ส่งมาเชื่อมประกอบก็จะมีพวก เชื่อมขาเข็มกลัด เชื่อมจี้กบั สร้อย เป็ นต้น โดยสร้อย
ที่ใช้จะมีหลายขนาด
การขึ้นสร้อย คือการนําลวดเงินที่ตดั ไว้มาดัดเป็ นวงกลมปลายเปิ ด นํามาคล้องกัน
แล้วเชื่ อมด้วยนํ้าประสาน (Borax) และไฟสําหรับเชื่อมโลหะไปเรื่ อย ๆ จนได้ความยาวที่ตอ้ งการ
เมื่อถักสร้อยและเชื่ อมขาสร้อยเสร็ จแล้ว ขั้นต่อไปคือนําสร้อยไปต้มในกรด เพื่อทําให้ผิวที่เป็ น
31

รอยไหม้จางลง โดยนําสร้อยไปต้มในสารละลาย Sulfuric เจือจาง อัตราส่ วนกรด 1 ส่ วนต่อนํ้า 10


ส่ วน เป็ นเวลาประมาณ 1 – 2 นาที แล้วนําขึ้นมาล้างนํ้า จากนั้นนําไปอบแห้ง ในส่ วนของงาน
ซ่อมก็จะมีข้นั ตอนเหมือนกันเช่นกัน จากนั้นก็ทาํ การตรวจสอบคุณภาพก่อนส่ งไปยังฝ่ ายอื่น
3.7 การประดับอัญมณี (Setting) หรือการฝังอัญมณี
3.7.1 การฝังอัญมณี ในเนื้อโลหะนั้นจะมีหลายประเภทดังนี้
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบหนามเตย
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบฝังหุม้
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบจิกไข่ปลา
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบฝังล็อก
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบยํ้าหน้าหรื อเหยียบหน้า
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบหัวเรื อ
การฝังอัญมณี บนเครื่ องประดับแบบไร้หนาม
ขั้นตอนในการฝังคือ หลังจากที่นาํ ตัวเรื อนฝังครั่งมาแล้ว ต้องมีการตรวจตัว
เรื อนส่ วนที่จะฝังว่าเรี ยบร้อยหรื อไม่ มีรูสําหรั บฝั งพลอยครบหรื อไม่ จากนั้นดูพลอยที่จะฝั งว่า
เหลี่ยมสมบูรณ์และมีรอยแตกหรื อไม่อย่างคร่ าว ๆ ในการฝังพลอย เราจะใช้ตน้ เทียนหรื อขี้ผ้ ึงเป็ น
ตัวจับพลอยวางลงไปยังตําแหน่งที่จะฝัง แล้วใช้เหล็กอกไก่หรื อเหล็กคมมีดกดไว้ ใช้คอ้ นค่อย ๆ
เคาะลงไปจนแน่ นดี เสร็ จแล้วนํา ไปถอดครั่งออกโดยลนกับไฟให้ครั่งอ่อน แกะชิ้นงานออกมา
นําไปล้างในทินเนอร์ และนํ้าผสมผงซักฟอกและนํ้าเปล่าตามลําดับเพื่อกําจัดเศษครั่ง ก่อนที่จะส่ ง
ฝ่ ายตรวจสอบคุณภาพ เพื่อตรวจความเรี ยบร้อย
3.7.2 การฝังอัญมณี ในเทียน เป็ นการฝั งแบบใหม่ ทําให้การทํา งานรวดเร็ ว และ
ผูป้ ฏิบตั ิงานไม่ตอ้ งมีความชํานาญในงานฝังก็สามารถทําได้ ขั้นตอนในการฝังเทียน
3.7.3 ทําการใช้ที่จบั พลอยเพื่อจับพลอยใส่ ในตําแหน่งของการฝัง
3.7.4 แล้วทําการกดให้แน่นเพื่อล็อคพลอยให้อยูก่ บั ที่ โดยใช้มื อ หรื อเหล็ ก ปลาย
แหลมช่วยในการทํางาน
3.7.5 ทําการตกแต่งผิวชิ้ นงานให้เรี ยบร้อย และตรวจสอบงานก่ อ นส่ ง มอบให้
แผนกถัดไป
32

3.8 การขัด (Polishing)


3.8.1 การขัดชิ้นงานด้วยเครื่ อง (Mechanic Polishing)
หลังจากชิ้นงานผ่านการแต่งและตรวจสอบมาเรี ยบร้อยแล้ว ชิ้นงานจะถูกขัด
เพื่อลบรอยเส้นของกระดาษทรายออกโดยใช้โลหะเป็ นตัวขัด ลักษณะของเครื่ องขัดโลหะจะคล้าย
กับอ่างพลาสติกมีแกนหมุน ติดใบพัดใช้สาํ หรับกวนอยูต่ รงกลาง ด้านล่างเป็ นมอเตอร์ หมุน ซึ่ งจะ
ทําหน้าที่หมุนอย่างช้า ๆ ในการขัดชิ้นงานเราจะใช้เม็ดเซรามิคหรื อเม็ดโลหะเป็ นตัวช่วยขัด ซึ่ งจะ
ใช้อะไรนั้นขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของชิ้นงาน เช่น เม็ดเซรามิคใช้ขดั มัน หรื อขัดงานฝัง และเม็ดโลหะ
เพื่อใช้ขดั ลบรอยกระดาษทราย วิธีการคือใส่ เม็ดเซรามิคหรื อเม็ดโลหะไว้ในอ่างจนเกือบเต็มอ่าง
พร้อมทั้งใส่ น้ าํ สบู่ผสมผงขัดลงไป ในอัตราส่ วน 1 : 2 เพื่อช่วยขัดและหล่อลื่น นําชิ้นงานที่ตอ้ งขัด
ใส่ ล งในอ่ า งจากนั้น ใส่ เ ครื่ อ งทํา การขัด สี โ ดยใช้เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง ในการขัดแต่ละครั้ง
ชิ้นงานที่ผ่านการขัดจะมีผิวเรี ยบและยาวขึ้น อาจจะมีบางชิ้นที่ผิวไม่เรี ยบดี ซึ่ งเกิ ดจากเครื่ องขัด
ขัด ชิ้ น งานได้ไ ม่ ท ั่ว ถึ ง หรื อ เกิ ด จากเม็ด โลหะที่ช่วยสึ กหรอหรื อเวลาที่ใช้ในการขัดไม่เพียงพอ
ชิ้นงานที่ผ่านการขัดด้วยเครื่ อง โพลีเซอร์ วิซ (Polyservice)แล้วจะถูกนําไปหารอยตําหนิ ที่ฝ่ายการ
ตรวจคุณภาพ หาตําหนิต่าง ๆ จากนั้นก็จ่ายงานไปตามจุดต่าง ๆ เช่น ส่ งเชื่อม ส่ งฝัง ถ้าไม่ตอ้ งการ
เชื่อมหรื อฝังเมื่อตรวจเสร็ จแล้วงานจะถูกส่ งไปขัดมือต่อไป
3.8.2 การขัด ชิ้ น งานด้ว ยมื อและล้างชิ้ น งาน (Manual Polishing and Cleaning)
ขั้น ตอนสุ ด ท้า ยในฝ่ ายการผลิ ต ก่ อ นทํา การส่ งออก คือการขัดเงาด้วยมือ อุปกรณ์ที่สําคัญที่ใช้
ในตอนนี้ คื อ ผ้า ขนแกะสั ก หลาด ยาขาว ยาแดง เราจะใช้ผา้ ขนแกะตัดเป็ นแผ่นวงกลม
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 นิ้ว นํามาซ้อนกันหลาย ๆ แผ่น ให้หนา 1 นิ้ ว ติดเข้ากับแกนหมุน
มอเตอร์ ให้สันผ้าออกมา จากนั้นใช้ยาแดงหรื อยาขาวทาให้ทวั่ สันผ้าแล้วนําชิ้ นงานมาขัดให้ทวั่
เมื่อขึ้นเงาดีแล้วชิ้นงานมักจะมีคราบดํา ๆ ของยาขาวหรื อยาแดงติดอยู่ ต้องนําไปล้างด้วยระบบการ
สร้างที่ S.M.V. ใช้เป็ นเครื่ องล้างอัลตราซาวด์ (Ultrasonic CleaningMachine)
3.9 การชุ บเคลือบผิวชิ้นงาน
การชุบเคลือบผิวชิ้นงานหลายประเภทแล้วแต่ความต้องการของลูกค้า เช่น การชุบ
เงิน ชุบทอง ชุบโรเดียม และชุบกันหมอง เป็ นต้น
3.10 การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน (Inspection)
เป็ นการตรวจสอบคุณภาพก่อนการส่ งให้ลูกค้า มีการตรวจในเรื่ องของขนาด ความ
เรี ยบร้อยของชิ้นงาน ไม่มีรอยขนแมวบนผิวงาน เป็ นต้น
33

4. งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


Cynthia A. Thompson, Mary Elaine Califf and Raymond J. Mooney (1999) ศึกษาการ
เรี ยนรู ้อย่างกระตือรื อร้นโดยกระบวนการภาษาทางธรรมชาติ วจีวิภาค และการอนุมานข้อมูล พบว่า
มีความจําเป็ นต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน เป็ นหลักสําคัญในการสร้างนวัตกรรมและใช้เป็ นข้อมูลในการฝึ กอบรม
โดยผูว้ ิจยั แบ่งการเรี ยนรู ้อย่างกระตือรื อร้นเป็ น 2 ประเภทตามภาระงานหนัก โดยใช้กระบวนการ
ภาษาทางธรรมชาติ คือ วจีวิภาคและการอนุมานข้อมูลซึ่ งมีความสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั สําคัญ บรรลุ
ระดับของสมรรถนะภาระงานที่ซบั ซ้อน
Kamal Nigam and Rayid Ghani (2000) ศึกษาการวิเคราะห์ประสิ ทธิผลและความสามารถ
ของผูใ้ ห้การฝึ กอบรม พบว่า ขั้นตอนวิธีการเรี ยนรู ้ของผูใ้ ห้การฝึ กอบรมโดยใช้ขอ้ มูลของภาระงาน
สองลักษณะ คือ ข้อมูลที่บ่งบอกสัญลักษณ์ และข้อมูลที่ไม่บ่งบอกสัญลักษณ์ ทําให้ข้ นั ตอนวิธีการ
เรี ยนรู ้ของผูใ้ ห้การฝึ กอบรมมีคุณสมบัติที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งและเป็ นที่สนใจของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
มากกว่าการไม่ได้ใช้ขอ้ มูลทั้งสองอย่างมีนยั สําคัญ
อับ ดุ ล รอฮิ ม แสแอ และเจษฎาภรณ์ สุ ข วุ ่น และวาริ น ทร์ คงคํา ศัก ดิ์ (2545)ได้
ทําการศึกษาเรื่ องชุดฝึ กทักษะทางคอมพิวเตอร์ ดา้ นเทคนิ คการฝังอัญมณี โครงงานนี้ มีวตั ถุประสงค์
เพื่อสร้างชุ ดฝึ กทักษะทางคอมพิวเตอร์ ด้านเทคนิ คการฝั งอัญมณี โดยการทําการศึกษาและเก็บ
รวบรวมข้อมูลต่างๆ ได้แก่ เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานฝังอัญมณี ตัวเรื อน และเทคนิ คการ
ฝังอัญมณี แบบการฝังหนามเตย แล้วนําข้อมูลที่ได้รวบรวมมาเรี ยบเรี ยงให้เป็ นระบบ เพื่อสร้างชุด
ฝึ กอบรม ซึ่ ง ประกอบด้ว ย คู ่ม ื อ การฝึ กอบรม คู ่ม ื อ วิท ยากร คู ่ม ื อ ผู ไ้ ด้รั บ การฝึ กอบรม
สื่ อคอมพิวเตอร์ช่วยในการฝึ กอบรม และแบบฝึ กหัดในการฝึ กปฏิบตั ิของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม แล้ว
นําชุดฝึ กนี้ ไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง 20 คน ซึ่ งเป็ นพนักงานในบริ ษทั อาร์ ติเฟ็ กซ์ จํากัด ผลที่ได้
จากการทดลองแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ผลสัมฤทธิ์ ทางการฝึ กอบรมทางภาคทฤษฎี มีค่ามัชฌิมเลข
คณิ ตเท่ากับร้อยละ 79 โดยมีค่ามัชฌิมเลขคณิ ตของคะแนนการฝึ กอบรม เท่ากับร้อยละ 36.75 และมี
ความก้า วหน้า เพิ่ม ขึ้ น โดยมี ค่า มัช ฌิ ม เลขคณิ ต เท่ากับร้อยละ 42.25 โดยมีค่าความเชื่อมัน่ ร้อยละ
96.76 สําหรับผลสัมฤทธิ์ทางการฝึ กอบรมภาคปฏิบตั ิมีค่ามัชฌิมเลขคณิ ตเท่ากับร้อยละ 63.07 ซึ่งผล
การศึกษาดังกล่าว สรุ ปได้วา่ ชุดฝึ กทักษะทางคอมพิวเตอร์ดา้ นเทคนิคการฝังอัญมณี มีประสิ ทธิ ภาพ
ดีทาํ ให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบมีความสามารถเพิม่ ขึ้นทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบตั ิ
เขมสิ นี รุ กขจิ นดา (2548) การศึกษาผลกระบวนการเรี ย นรู ้ง านในการกํา หนดเวลา
มาตรฐานในขั้นตอนการเย็บเสื้ อผ้า (The study of learning effect on determining standard time in
sewing operation) งานวิจยั นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ จัดทําแนวทางในการนําปั จจัยเรื่ อง ผลกระทบการ
เรี ยนรู ้งานของพนักงาน (Learning Effect) เข้ามาใช้ในการปรับค่าเวลามาตรฐานของกระบวนการ
34

เย็บในอุตสาหกรรมเครื่ องนุ่งห่ ม ให้มีค่าเวลาที่ใกล้เคียงกับค่าที่เกิดขึ้นจากการทํางานจริ งมากที่สุด


ขอบเขตของการวิจยั 1. ศึกษาอัตราการเรี ยนรู ้งานของพนักงานตามลัก ษณะการจัด กลุ่มงานตาม
ความยากง่ายของงาน จะพิจารณาเฉพาะงานที่อยู่ในกระบวนการเย็บของแผนกเย็บเท่านั้น โดย
อาศัยข้อมูลจากโรงงานตัวอย่าง 1 โรงงาน 2. ทําการศึกษาและเก็บข้อมูลจากกระบวนการเย็บ ใน
ผลิตภัณฑ์หลักของโรงงานตัวอย่าง 1-3 กระบวนการ 3. การศึกษานี้จะเป็ นการจัดทําแนวทางในการ
เก็ บ ข้อ มู ล และการนํา มาประยุ ก ต์ใ ช้ในเบื้องต้น ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมใน
กระบวนการอื่น ๆ ของโรงงานซึ่ งจะต้องใช้ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลต่อไป 4. ความถนัดของ
พนักงานและความสามารถในการเรี ยนรู ้แต่ละคนมีค่าใกล้เคียงกันมีผลน้อยมากต่ออัตราการเรี ยนรู ้
งาน ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจยั คือ 1. สามารถกําหนดค่าตัว เลขเป้ าหมายในการทํา งานให้
พนักงานได้ใกล้เคียงกับสภาพการทํางานจริ งมากที่สุด สร้างความพึงพอใจทั้งผูบ้ ริ หารและพนักงาน
2. ช่วยให้ผูบ้ ริ ห ารมี ค วามมัน่ ใจในการตัด สิ น ใจในการวางแผนกํา ลัง การผลิต 3. สามารถระบุ/
กําหนดส่ งงานกับลูกค้าได้รวดเร็ วแม่นยํา และ 4. ผูบ้ ริ หารสามารถคาดการณ์ตน้ ทุนการผลิตที่จะ
เกิดขึ้นได้ ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด
สาโรช โศภีรักข์ (2549) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนิสิตปริ ญญาโทที่เรี ยนรู ้ดว้ ย
การนําตนเองในวิชาเทคนิ ค และกระบวนการฝึ กอบรม โดยงานวิจ ยั มี ว ตั ถุประสงค์เ พื่อ ศึ ก ษา
ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนิ สิ ต ปริ ญ ญาโทที่ เ รี ย นวิช าเทคนิ ค และกระบวนการฝึ กอบรม โดย
ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยการนําตนเอง เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนิ สิตปริ ญญาโทที่มีทกั ษะ
การเรี ยนรู ้ดว้ ยการนําตนเองต่างกัน และเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนิ สิตปริ ญญาโทที่
มีบุคลิกภาพแตกต่าง กลุ่มทดลองงานวิจยั คือ นิสิตปริ ญญาโทสาขาเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 56
คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั คือแผนการสอนที่ให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยการนําตนเองวิชาเทคนิ คและ
กระบวนการฝึ กอบรม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน แบบวัดบุคลิกภาพ และแบบประเมิน
ทักษะการเรี ยนรู ้ดว้ ยการนําตนเอง วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้t - test ผลการวิจยั พบว่า 1. ภายหลังจาก
เรี ยนโดยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยการนําตนเอง นิ สิตปริ ญญาโทที่ มี ท กั ษะเรี ย นรู ้ ด ้ว ยการนํา ตนเอง
แตกต่างกัน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ภายหลัง
จากเรี ยนโดยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดว้ ยการนําตนเอง นิสิตปริ ญญาโทที่มีบุคลิกภาพแตกต่างกันมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนไม่แตกต่างกัน
Shilpa Arora and Sachin Agarwal (2007) ศึกษาการเรี ยนรู ้อย่างกระตือรื อร้นใน
กระบวนการภาษาทางธรรมชาติ (NLP=Natural Language Processing) โดยวิธีทบทวนวรรณกรรม
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แล้วนํามาอภิปรายพบว่า การนํา กระบวนการภาษาทางธรรมชาติมาใช้มี ก ลไก
หลากหลายได้แก่ SVM(Support Vector Machines)ใช้ในการฝึ กฝน, EM(Evaluation Measures)ใช้
35

เครื่ องมือที่เรี ยกว่า ENUA(Expected Number of User Actions)ซึ่ งบ่งบอกความพยายามในการ


ทํางานของมนุษย์ และกลไกCRF(Conditional Random Fields)ใช้ในการเรี ยงลําดับข้อมูล กลไกการ
เรี ยนรู ้เหล่านี้มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สําคัญกับการเรี ยนรู ้อย่างกระตือรื อร้น เป้ าหมายหลักของการ
เรี ยนรู ้อย่างกระตือรื อร้น คือ ผูใ้ ช้ทฤษฎีพยายามสร้างนวัตกรรมการเรี ยนรู ้รูปแบบใหม่
T.Lobanova-Shunin and Y. Shunin (2007) ทําการศึกษารู ปแบบของเส้นโค้งการเรี ยนรู ้
เพื่อพัฒนาสมรรถนะของผูช้ าํ นาญทางการศึก ษาของชาวยุโ รป ได้แ ก่ ประเทศอัง กฤษ โดยใช้
เครื่ องมือชนิดแบบทดสอบที่เรี ยกว่า TOEIC test จํานวน 200 ข้อ มีกลุ่มตัวอย่างที่ถูกทําการทดลอง
จํานวน 29 คน พบว่าเส้นโค้งการเรี ยนรู ้มีอิทธิ พลต่อระดับความสําเร็ จผูเ้ รี ยนรู ้ซ่ ึ งนําไปสู่ เป้ าหมาย
ของความสําเร็ จนั้นๆ มีวงจรรู ปแบบของการเรี ยนรู ้เฉพาะที่เรี ยกว่า Cognitive map ประกอบด้วย
Knowledge + Skills + Experience + Attitudes = Competence รู ปแบบนี้ มีเป้ าหมายพัฒนาระดับ
สติปัญญาและสมรรถนะการติดต่อสื่ อสารผ่านทางรู ปแบบการมีวินยั ของผูเ้ รี ยนรู ้
จิ ร พงษ์ โลพิ ศ (2552) การจัด การเรี ย นรู ้ ว ิ ช างานระบบควบคุ ม เครื ่ อ งยนต์ด ้ว ย
อิเล็กทรอนิกส์ตามหลักสู ตรฐานสมรรถนะ การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงทดลองมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
สร้าง หาคุณภาพ และ ประสิ ทธิ ภาพของ แผนการจัดการเรี ยนรู ้วิชางานระบบควบคุมเครื่ องยนต์
ด้วยอิเล็กทรอนิ กส์ตามหลักสู ตรฐาน สมรรถนะ และ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การจัดการศึกษาตาม
หลักสู ตรฐานสมรรถนะ กับหลักสู ตร ประกาศนี ยบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ฐานเนื้ อหา) ในรายวิชางาน
ระบบควบคุมเครื่ องยนต์ดว้ ยอิเล็กทรอนิ กส์ รหัสวิชา 3103-2101 ประชากรในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่
นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ในวิทยาลัยเทคนิ ค ชุมพร จํานวน 34 คน และ วิทยาลัยเทคนิ คระนอง
จํานวน 32 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ประกอบด้วยแผนการจัดการเรี ยนรู ้วิชางานระบบควบคุม
เครื่ องยนต์ดว้ ยอิเล็กทรอนิ กส์ตามหลักสู ตร ฐานสมรรถนะ จํานวน 6 หน่ วยการเรี ยนรู ้ ใช้เวลาใน
การศึกษา 90 ชัว่ โมง และ แบบสอบถามความ คิดเห็ นจากผูเ้ ชี่ ยวชาญ ด้านหลักสู ตร ด้านเนื้ อหา
ด้านรู ปแบบใบความรู ้ และ ด้า นประเมิ น ผล เกี่ ย วกับ คุ ณ ภาพของแผนการจัด การเรี ย นรู ้ และ
แบบทดสอบเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การจัดการเรี ยนรู ้ ภาคทฤษฎี ชนิ ด 4 ตัวเลือก จํานวน 60 ข้อ
และแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิจาํ นวน 3 แบบทดสอบ สถิติที่ ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจยั พบว่า 1. คุณภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้วิชางาน
ระบบควบคุมเครื่ องยนต์ดว้ ยอิเล็กทรอนิ กส์ตาม หลักสู ตรฐานสมรรถนะ ด้านการประเมินผล มี
คุณภาพอยูใ่ นระดับ คุณภาพดี (x = 4.34) ด้านเนื้ อหา มีคุณภาพอยูใ่ นระดับ คุณภาพดี (x = 4.32)
ด้านการสร้างหลักสู ตรมีคุณภาพอยูใ่ นระดับ คุณภาพดี (x = 4.28) ด้านรู ปแบบใบความรู ้ มีคุณภาพ
อยูใ่ นระดับ คุณภาพดี (x = 4.16) 2. ประสิ ทธิ ภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้น ใช้
ทดลองในวิ ท ยาลัย เทคนิ ค ชุ ม พร และวิ ท ยาลัย เทคนิ ค ระนอง มี ค่ า เท่ า กับ 84.98/89.08 และ
36

84.23/89.96 ตามลําดับ ซึ่งผลข้อมูล ที่ได้มีค่าที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ต้ งั ไว้ในเกณฑ์ 80/80 ดังนั้น


แผนการจัดการเรี ยนรู ้วิชางานระบบ ควบคุมเครื่ อ งยนต์ด ้ว ยอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต ามหลัก สู ต รฐาน
สมรรถนะที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นใช้ในการจัดการ เรี ยนการสอนได้ดี 3. ผลจากการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนของนักศึกษากลุ่มทดลอง (ผูเ้ รี ยนฐานสมรรถนะ) กับ กลุ่มควบคุม (ผูเ้ รี ยนฐานเนื้ อหา)
โดยการทดสอบค่าที (t-test ) พบว่า ใน วิทยาลัยเทคนิคชุมพรภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ มีค่าความ
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 ส่ วนในวิทยาลัยเทคนิคระนอง พบว่า ภาคทฤษฎี
มีค่าไม่แตกต่างกัน ส่ วนภาคปฏิบตั ิ มีค่า ความแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
บทที่ 3

วิธีดําเนินงานวิจัย

การศึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ค รั้ งนี้ มุ่ ง เน้น การศึ ก ษาด้า นการจัดการความรู ้ ที่มีอยูใ่ นสถาน
ประกอบการโดยการสร้างรู ปแบบการเรี ยนรู ้ จากช่างที่เป็ นต้นแบบและคู่มือการฝึ กทักษะพื้นฐาน
ช่ างงานหล่อเครื่ องประดับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเรี ยนรู ้ และทักษะในกระบวนการหล่อ
เครื่ องประดับสําหรับช่างงานหล่อในโรงงานตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1. วิธีการศึกษาที่นาํ มาใช้
2. ขั้นตอนในการศึกษาและการดําเนินงาน
3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
4. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา
6. สถานที่เก็บข้อมูล
7. การสร้างแบบฟอร์มที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
8. การวิเคราะห์ขอ้ มูล

1. วิธีการศึกษาทีน่ ํามาใช้
ชุ ด รู ป แบบการเรี ย นรู ้ ที่ ส ร้ า งขึ้ น จะนํา มาใช้ก ับ ช่ า งงานหล่อเครื่ องประดับ ซึ่งในชุด
รู ปแบบการเรี ยนรู ้ประกอบด้วย คู่มือการฝึ กอบรม คู่มือผูไ้ ด้รับการฝึ กอบรม คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม
สร้างจากข้อมูลด้านความรู ้ ทักษะ ความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ
ของโรงงานตัวอย่าง และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องโดยการศึกษาจะเป็ นการศึกษาวิจยั เชิ งทดลองเพื่อใช้
พัฒนาความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ

2. ขั้นตอนในการศึกษาและการดําเนินงาน
การศึ ก ษาโครงงานในครั้ งนี้ มุ่ ง เน้น การศึ ก ษาด้า นการจัดการความรู ้ที่มีอยู่ในสถาน
ประกอบการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเรี ยนรู ้ และทักษะในกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
สําหรับช่างงานหล่อเครื่ องประดับซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้

37
38

2.1 ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องได้แก่ ทฤษฎีการจัดการความรู ้ และทฤษฎีเส้นการเรี ยนรู ้


2.2 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของโรงงานตัวอย่างโดยศึกษาสถานภาพของโรงงานตัวอย่าง
ดังต่อไปนี้
2.2.1 สร้างแบบฟอร์มเก็บข้อมูลสภาพทัว่ ไป และกระบวนการผลิต
2.2.2 สร้างแบบฟอร์มเก็บข้อมูลกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
2.2.3 เข้าเยีย่ มชมกระบวนการผลิตพร้อมเก็บข้อมูลและถ่ายภาพ
2.3 ศึกษาองค์ความรู ้ ข องช่ า งงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ (ช่างต้นแบบ)
ดังต่อไปนี้
2.3.1 ศึกษาความรู ้ และทักษะ ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ
สร้างแบบฟอร์มที่ใช้เก็บข้อมูลความรู ้ และทักษะในการทํางาน
เก็บข้อมูลความรู ้ และทัก ษะโดยการศึ ก ษาข้อ มูล การรู ้ จ ักเครื่ องมือ การ
เลือกใช้เครื่ องมือ และวิธีการใช้เครื่ องมือ จดบันทึกส่ วนที่นอกเหนือจากขอบเขตลงในสมุดบันทึก
2.3.2 ศึกษาความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ
สร้างแบบฟอร์มที่ใช้เก็บข้อมูลความสามารถในการทํางาน
เก็บข้อมูลความสามารถจากการศึกษาปริ มาณการผลิต และข้อมูลคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์จากแผนกตรวจสอบคุณภาพ จดบันทึกส่ วนที่นอกเหนือจากขอบเขตลงในสมุดบันทึก
2.4 การวิเคราะห์องค์ความรู ้ ของช่ า งงานหล่ อเครื่ อ งประดับที่ มี ความสามารถ (ช่ าง
ต้นแบบ) ดังต่อไปนี้
2.4.1 การวิเคราะห์เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานหล่อเครื่ องประดับ
2.4.2 การวิเคราะห์กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
2.4.3 การวิเคราะห์ลกั ษณะของตัวเรื อนจากงานหล่อ
โดยการปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญ ศึกษาจากสถานประกอบการในอุตสาหกรรมที่
เกี่ยวข้องพร้อมทั้งแก้ไขส่ วนที่บกพร่ อง
2.5 นําผลการวิ เ คราะห์ องค์ความรู ้ ม าทําการสร้ า งมาตรฐานเพื่อ ใช้ประเมินช่างหล่อ
เครื่ องประดับ
2.6 ประเมินช่างหล่อเครื่ องประดับจากองค์ความรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มี
ความสามารถ (ช่างต้นแบบ) ดังต่อไปนี้
2.6.1 ทําการสร้างแบบประเมิน
2.6.2 ทําการประเมินความรู ้ ทักษะ และความสามารถ
2.6.3 จัดลําดับปัญหาที่สาํ คัญที่มีผลต่อคุณภาพงาน
39

2.7 การจัดสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ซ่ ึงประกอบไปด้วย


2.7.1 คู่มือการฝึ กอบรม
2.7.2 คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม
2.7.3 คู่มือผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
2.8 ประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ โดยช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถและ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
2.9 การฝึ กอบรมโดยใช้ชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้มีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
2.9.1 เตรี ยมการฝึ กอบรม
ชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้
บุคคลากร
สถานที่ฝึกอบรม
เครื่ องมือ และอุปกรณ์ในการฝึ กอบรม
2.9.2 การอบรมและถ่ายทอดรู ปแบบการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาทักษะและองค์ความรู ้
2.10 การประเมินผลการเรี ยนรู ้ โดยใช้ใบงานจากชุดฝึ กอบรม โดยแบ่งออกเป็ น 2กลุ่ม
ประกอบด้วย
1. การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎีของช่างหล่อเครื่ องประดับ
2. การเรี ยนรู ้ภาคปฏิบตั ิของช่างหล่อเครื่ องประดับ
2.11 การประเมินการฝึ กอบรมโดยแบ่งเป็ นคุณภาพของการฝึ กอบรม คุณภาพสื่ อช่วย
ฝึ กอบรม และคุณภาพของเอกสารประกอบ
จากผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
จากช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ หรื อ ผูเ้ ชี่ยวชาญ
2.12 สรุ ปผลการศึกษาการพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ

3. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษา
การศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ผวู ้ ิจยั ได้ออกแบบและสร้างเครื่ องมือเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อให้
การเก็บข้อมูลเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ เครื่ องมือเหล่านั้นประกอบด้วย
3.1 แบบฟอร์ มเก็บข้ อมูลสภาพทัว่ ไป และกระบวนการผลิต
เป็ นการเก็บข้อมูลสภาพทัว่ ไปของโรงงาน เพือ่ ให้ทราบถึงขั้นตอนกระบวนการผลิต
ทั้งหมด เครื่ องจักรเครื่ องมือที่ใช้ในการผลิต รวมไปถึงการควบคุมและการตรวจสอบคุณภาพ
40

3.2 แบบฟอร์ มเก็บข้ อมูลกระบวนการหล่อเครื่องประดับ


เป็ นการเก็บข้อมูลของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ เพื่อให้ทราบถึ งขั้นตอน
กระบวนการหล่อเครื่ องประดับอย่างละเอียด และให้ทราบถึงปั ญหาที่แท้จริ งของกระบวนการหล่อ
เครื่ องประดับ
3.3 แบบฟอร์ มเก็บข้ อมูลความรู้ ทักษะ และความสามารถของช่ างงานหล่ อเครื่องประดับ
และช่ างงานหล่ อเครื่องประดับทีม่ ีความสามารถ
เป็ นการเก็บข้อมูลทักษะการทํางานของช่างงานหล่อเครื่ องประดับและช่างงานหล่อ
เครื่ องประดับที่มีความสามารถเพื่อให้ทราบถึงทักษะ ขีดความสามารถ ปั จจัยที่มีผลต่อการเรี ยนรู ้
พื้นฐานองค์ความรู ้ที่ใช้ในการทํางาน
3.4 ชุ ดรู ปแบบการเรียนรู้
ประกอบด้วยคู่มือการฝึ กอบรม และคู่มือผูใ้ ห้ก ารฝึ กอบรมและคู่ มื อ ผู ไ้ ด้รั บ การ
ฝึ กอบรม เพื่อใช้ในพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ และเพิ่มขีดความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
โดยมีข้ นั ตอนการสร้างดังนี้
3.4.1 ศึกษารู ปแบบการฝึ กอบรมของวิทยานิพนธ์ และโรงงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.4.2 นําข้อมูลที่ได้มาสร้างรู ปแบบการเรี ยนรู ้ประกอบไปด้วย
คู่มือการฝึ กอบรม
คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม
คู่มือผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
3.4.3 ประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ เพื่อที่จะพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู้ ให้มีความ
เหมาะสมกับสถานประกอบการมากที่สุด
3.5 เส้ นการเรี ยนรู้ เป็ นเส้ นที่ใช้ แสดงผลการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการเรี ยนรู้ โดย
กําหนดแกนตั้งกราฟเป็ นคะแนนและแกนนอนกราฟเป็ นจํานวนครั้งการฝึ กอบรม โดยมีข้ นั ตอนใน
การสร้างเส้นดังนี้
1. รวมคะแนนจากการทําใบงานทั้งก่อนและหลัง
2. แยกกลุ่มตามปั จจัยต่าง ๆ
3. ทําการวาดกราฟตามกลุ่มต่างๆ
4. หาสมการเส้นการเรี ยนรู ้น้ นั
41

4. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
4.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
4.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ช่างงานหล่อเครื่ องประดับของโรงงานตัวอย่าง
A จํากัด เฉพาะแผนกช่างงานหล่อเครื่ องประดับ

5. ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการศึกษา
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
5.1 ข้ อมูลปฐมภูมิ
5.1.1 ข้อมูลสภาพโดยรวมของโรงงานตัวอย่างAจํากัด
5.1.2 ข้อมูลความรู ้ ทกั ษะ และความสามารถของช่ างงานหล่ อเครื่ องประดับที่มี
ความสามารถของโรงงานตัวอย่างAจํากัด
5.1.3 ข้อมูลความรู ้ ท ัก ษะ และความสามารถของช่ า งงานหล่ อ เครื่ อ งประดับ
ของโรงงานตัวอย่างAจํากัด
5.2 ข้ อมูลทุติยภูมิ
5.2.1 ข้อมูลทฤษฏีการจัดการความรู ้ (Knowledge Management : KM)
5.2.2 ข้อมูลทฤษฎีเส้นการเรี ยนรู ้ (Learning Curve)
5.2.3 ข้อมูลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

6. สถานทีเ่ ก็บข้ อมูล


สถานที่เก็บข้อมูลในวิจยั นี้ คือ โรงงานตัวอย่างA จํากัด กรณี ศึกษา

7. การสร้ างแบบฟอร์ มทีใ่ ช้ ในการเก็บข้ อมูล


เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาโครงงานในครั้งนี้ ซ่ ึ งประกอบด้วย คือ แบบฟอร์ มเก็บข้อมูล
สภาพทัว่ ไป แบบฟอร์มเก็บข้อมูลกระบวนการผลิ ต แบบฟอร์ ม เก็ บ ข้ อ มู ล กระบวนการหล่อ
เครื่ องประดับ แบบฟอร์ ม เก็ บ ข้อ มู ล ทักษะการทํางานของช่ างหล่อเครื่ องประดับและช่างหล่อ
เครื่ องประดับที่มีความสามารถซึ่งขั้นตอนในการสร้างเครื่ องมือต่างๆ นั้น มีข้ นั ตอนดังนี้
7.1 แบบฟอร์ มเก็บข้อมูลสภาพทัว่ ไปและกระบวนการผลิตซึ่ งสามารถบอกกระบวนการ
ผลิต เครื่ องมือเครื่ องจักร และการควบคุณภาพของการผลิตเครื่ องประดับ
7.1.1 จุ ด ประสงค์เ พื่อ ให้ท ราบถึ ง ขั้น ตอนกระบวนการผลิตทั้งหมด เครื่ องจักร
เครื่ องมือที่ใช้ในการผลิต รวมไปถึงการควบคุมและการตรวจสอบคุณภาพ
42

7.1.2 ขั้นตอนการจัดสร้างแบบฟอร์ม
1. ศึกษากระบวนการผลิต
2. ออกแบบแบบฟอร์มเก็บข้อมูล
3. พบอาจารย์ที่ปรึ กษาและผูจ้ ดั การโรงงานเพื่อขอคําแนะนําเกี่ยวกับการออก
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลสภาพทัว่ ไป และกระบวนการผลิต
4. ตรวจสอบแบบฟอร์มเก็บข้อมูล
5. นําแบบฟอร์ มบันทึกการตรวจสอบที่ได้ไปทดลองเก็บข้อมูลและปรับปรุ ง
แก้ไข
7.1.3 นําแบบฟอร์มเก็บข้อมูลบันทึกการตรวจสอบไปทําการบันทึกข้อมูล
7.2 แบบฟอร์ ม เก็บ ข้อ มูล กระบวนการหล่ อ เครื่ อ งประดับ ซึ่ งสามารถบอกขั้นตอน
กระบวนหล่อเครื่ องประดับ เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับ
7.2.1 จุดประสงค์เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนกระบวนการหล่อเครื่ องประดับอย่างละเอียด
และให้ทราบถึงปั ญหาที่แท้จริ งของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
7.2.2 ขั้นตอนการจัดสร้างแบบฟอร์มในการรวบรวมเก็บข้อมูล
1. ศึ ก ษาข้อ มู ล ที่ เ ก็ บ ได้จ ากแบบฟอร์ ม เก็ บ ข้อ มู ล สภาพทัว่ ไป และ
กระบวนการผลิต
2. ออกแบบฟอร์มเก็บรวบรวมข้อมูล
3. พบอาจารย์ที่ปรึ กษาและผูจ้ ดั การโรงงานเพื่อขอคําแนะนําเกี่ ยวกับการ
ออกแบบฟอร์มเก็บข้อมูลกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
4. ตรวจสอบแบบฟอร์มเก็บรวบรวมข้อมูล
5. นําแบบฟอร์มเก็บรวบรวมข้อมูลไปทดลองบันทึกข้อมูลและปรับปรุ งแก้ไข
7.2.3 นําแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลไปทําการบันทึกเก็บรวบรวมข้อมูล
7.3 แบบฟอร์ มเก็บข้อมูลความรู ้ ทักษะ ความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
และช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ(ช่ างต้นแบบ)ซึ่ งสามารถบอกระดับของทักษะ
ความสามารถ และพื้นฐานความรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
7.3.1 จุดประสงค์เพื่อให้ทราบถึงทักษะ ขีดความสามารถ และพื้นฐานองค์ความรู ้ที่
ใช้ในการทํางาน
7.3.2 ขั้นตอนการจัดสร้างแบบฟอร์มในการรวบรวมเก็บข้อมูลประกอบด้วย
1. ศึกษาข้อมูลที่เก็บได้จากแบบฟอร์มเก็บข้อมูลกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
43

2. ศึกษาข้อมูลจากใบงานฝึ กทักษะพื้นฐานช่ างงานหล่อของโรงงานอื่นใน


อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับ
3. ออกแบบฟอร์มบันทึกเก็บรวบรวมข้อมูล
4. พบอาจารย์ที่ปรึ กษาและผูจ้ ดั การโรงงานเพื่อขอคําแนะนําเกี่ยวกับการออก
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลทักษะการทํางานของช่างงานหล่อเครื่ องประดับ และช่างงานหล่อเครื่ องประดับ
ที่มีความสามารถ
5. ตรวจสอบแบบฟอร์มเก็บรวบรวมข้อมูล
6. นํา แบบฟอร์ มเก็บรวบรวมข้อมูลไปทดลองบัน ทึ กข้อมู ลและปรั บปรุ ง
แก้ไข
7.3.3 นําแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลไปทําการบันทึกเก็บรวบรวมข้อมูล

8. การวิเคราะห์ ข้อมูล
จะทําการแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็ น 4 ส่ วนคือ
8.1การวิเคราะห์แบบฟอร์มเก็บข้อมูลโดยมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
8.1.1 รวบรวมข้อมูลจากแบบฟอร์มบันทึกเก็บข้อมูลได้แก่
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลสภาพทัว่ ไป และกระบวนการผลิต
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
8.1.2 ทําการศึกษาข้อมูลจากแบบฟอร์มทั้งหมดโดยละเอียด ประกอบด้วย
ขั้นตอนในการทํางาน
เครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับ
ลักษณะของชิ้นงานก่อนที่จะทําการหล่อเครื่ องประดับ
การตรวจสอบ และการควบคุมคุณภาพ
8.1.3 สรุ ปผลการวิเคราะห์ แล้วจัดทําเป็ นมาตรฐานกระบวนการผลิตเช่นทํา เป็ นผัง
การไหล (Flow Chart)
8.2 การวิเคราะห์ความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มี
ความสามารถ(ช่างต้นแบบ) โดยมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
8.2.1 รวบรวมข้อมูลโดยศึกษาจาก
เครื่ องมือที่ใช้และการเลือกใช้เครื่ องมือในกระบวนการหาเครื่ องประดับ
กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
การตรวจสอบคุณภาพ
44

8.2.2 นําข้อมูลที่ได้มาสร้างมาตรฐาน
8.3 การวิเคราะห์ความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่างงานหล่อเครื่ องประดับโดยมี
ขั้นตอนดังต่อไปนี้
8.3.1 สร้างแบบทดสอบโดยใช้มาตรฐานจากช่างงานหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ
8.3.2 กําหนดเกณฑ์การให้คะแนน
การแปลผลใช้เกณฑ์กาํ หนดระดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากคําถามแบบมาตราส่ วน
ประมาณค่ า 4 ระดับ กํา หนดเกณฑ์ก ารแปลความหมายค่ า เฉลี่ ย ตามแนวทางของ บุญชม
ศรี สะอาด (2535 : 100) ดังนี้
ระดับคุณภาพ ระดับคะแนน
ดีมาก 3.51-4.00
ดี 2.51-3.50
ปานกลาง 1.51-2.50
น้อย 1.00-1.50
8.3.3 ให้ช่างงานหล่อเครื่ องประดับทําแบบทดสอบ
8.3.4 นําคะแนนที่ได้มาหาปั ญหาที่มีผลต่อคุณภาพงาน หรื อมีความบกพร่ องในงาน
ด้านต่างๆ
8.3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย
8.4 การวิเคราะห์เส้นการเรี ยนรู ้ของช่างงานหล่อเครื่ องประดับโดยมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
8.4.1 สร้างใบงานภาคทฤษฎี และปฏิบตั ิ
8.4.2 กําหนดเกณฑ์การให้คะแนน
8.4.3 นําผลที่ได้จากการทําใบงานมาจัดกลุ่ม
8.4.4 ทําการหาเส้นการเรี ยนรู ้ของแต่ละกลุ่ม
8.4.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความถดถอยของข้อมูล Logarithm บน X และ Y ใช้
วิธีการ Least – square เพื่อหาเส้นRegression
บทที่ 4

ผลการศึกษา

บทนี้จะกล่าวถึงผลการดําเนินการศึกษาด้านการจัดการความรู ้ที่มีอยูใ่ นสถานประกอบการ


ด้วยทฤษฏี การจัดการความรู ้ และทฤษฏี เส้นการเรี ยนรู ้ โดยการศึ กษาองค์ความรู ้ ของช่ างหล่อ
เครื่ องประดับ การสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ เพื่อพัฒนาความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่าง
หล่อเครื่ องประดับ ซึ่งประกอบด้วยผลการดําเนินงานดังต่อไปนี้
1. ผลการศึกษาความสามารถในการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับ
2. ผลการออกแบบและพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับ
3. ผลการหาความสามารถก่อนและหลังการพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้
4. ผลการหาเส้นการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับในโรงงานตัวอย่าง

1. ผลการศึกษาความสามารถในการเรียนรู้ ของช่ างหล่อเครื่องประดับ


1.1 ผลการศึกษาและการวิเคราะห์องค์ความรู ้ช่างหล่อเครื่ องประดับที่มีความสามารถ
(ช่างต้นแบบ)
1.1.1 การศึกษาเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานหล่อเครื่ องประดับ
จากการศึ ก ษาเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ใ นงานหล่ อ เครื่ อ งประดับ จะ
ประกอบด้วยเครื่ องตีปูน, เครื่ องดูดอากาศ, เตาอบปูน, เครื่ องหล่อดูดสุ ญญากาศ และเครื่ องฉี ดล้าง
ปู น เครื่ อ งมื อ ทั้ง หมดใช้สํา หรั บ ในงานหล่ อ เครื่ อ งประดับ เพื่ อ ประเมิ น ความรู ้ , ทัก ษะ และ
ความสามารถช่างหล่อเครื่ องประดับจากภาคผนวก ข
1.1.2 การวิเคราะห์กระบวนการงานหล่อเครื่ องประดับ
จากการศึกษากระบวนการหล่อเครื่ องประดับ จะประกอบด้วยขั้นตอนการ
คํานวณนํ้าหนักโลหะการหล่อแบบปูน การอบปูน การหล่อโลหะ และการล้างปูน ของงานหล่อ
เครื่ อ งประดับ ที่ ใ ช้สาํ หรั บ ในการสร้ า งชุ ด รู ปแบบการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ เพื่อประเมิน
ความรู ้ ทักษะ และความสามารถของช่างหล่อเครื่ องประดับจากภาคผนวก ค
1.1.3 การวิเคราะห์การตรวจสอบคุณภาพ
จากการศึกษาการตรวจสอบคุณภาพจะประกอบไปด้วย ปั ญหาของชิ้นงาน
รู ปของชิ้นงานที่เป็ นปั ญหา ลักษณะของชิ้นงาน สาเหตุของปั ญหา และแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
45
46

ซึ่ งทั้งหมดใช้สาํ หรับในการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ เพื่อประเมินความรู ้


ทักษะ และความสามารถในการตรวจสอบ วิเ คราะห์ ง านหล่ อเครื่ องประดับที่ บกพร่ องได้จาก
ภาคผนวก ง
1.2 ผลการประเมินช่างหล่อเครื่ องประดับ
1.2.1 ผลการประเมินช่างหล่อเครื่ องประดับก่อนการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้
1.2.1.1 จากการนําแบบทดสอบไปทําการทดสอบช่างหล่อเครื่ องประดับก่อน
การสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ในโรงงานตัวอย่าง
โดยการแบ่งเนื้ อหาออกเป็ น 4 ด้าน ประกอบด้วย เครื่ องมือและ
อุป กรณ์ ที่ ใ ช้ใ นงานหล่ อ เครื่ อ งประดับ วิธี ก ารใช้เ ครื่ อ งมื อ กระบวนการหล่ อ เครื่ อ งประดับ
การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อสามารถแสดงผลเป็ นคะแนนภาคทฤษฎีรวมทุกคนที่ได้ และคิดเป็ น
ร้อยละต่อคะแนนเต็มดังต่อไปนี้

ตารางที่ 3 แสดงคะแนนภาคทฤษฎีของทุกคนแยกเนื้อหาในแต่ละด้าน

เนื้อหาแต่ละด้าน
ผูท้ าํ แบบ วัตถุดิบและอุปกรณ์ วิธีการใช้ กระบวนการ การตรวจสอบ
รวม
ทด ที่ใช้ในงานหล่อ เครื่ องมือ หล่อ คุณภาพงาน
(100
สอบ เครื่ องประดับ เครื่ องประดับ หล่อ
คะแนน)
n=6 (10 คะแนน) (7.5 คะแนน) (27.5 คะแนน) (55 คะแนน)

1 7.5 2.5 20 12.5 42.5


2 2.5 5 17.5 25 50
3 5 5 15 22.5 47.5
4 5 5 12.5 10 32.5
5 7.5 2.5 15 15 40
6 5 5 10 15 35
47

คะแนนภาคทฤษฎีของทุกคนแยกเนือ้ หาแต่ ละด้ าน

ภาพที่ 14 แสดงแผนภูมิแท่งคะแนนสรุ ปภาคทฤษฎีของทุกคนแยกเนื้อหาแต่ละด้าน

จากภาพที่ 14 พบว่า ช่ างหล่ อ เครื่ อ งประดับ ที่ ทาํ การทดสอบได้


คะแนนภาคทฤษฎีรวมสู งสุ ด คือ 50 , 47.5, 42.5, 40, 35 และ 32.5 คะแนน ตามลําดับ ซึ่งผูท้ าํ การ
ทดสอบแต่ละคนได้คะแนนน้อยกว่าเกณฑ์ที่กาํ หนด (เกณฑ์ผา่ นต้องได้คะแนนมากกว่า 90 คะแนน
ขึ้นไป) ดังนั้น ผูท้ าํ การทดสอบจึงต้องทําการปรับปรุ งในด้านทฤษฎี โดยการทําคู่มือฝึ กอบรมต่อไป
จากการทํา การทดสอบช่ า งหล่ อ เครื่ อ งประดับ ก่ อ นการสร้ า งชุ ด
รู ปแบบการเรี ยนรู ้ภาคปฏิบตั ิสามารถสรุ ปคะแนนรวมทุกคนได้ดงั ตารางด้านล่างนี้
1.2.1.2 จากการนําใบงานไปทําการทดสอบช่างหล่อเครื่ องประดับภาคปฏิบตั ิ
ก่อนการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ในโรงงานตัวอย่างAจํากัด

ตารางที่ 4 แสดงคะแนนภาคปฏิบตั ิของทุกคนแยกเป็ นแต่ละด้าน


คะแนนที่ได้
เนื้อหาแต่ละด้าน เต็ม
ลําดับ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6
ตรวจสอบและวิเคราะห์
1 12 6 5 6 6 8 5
ชิ้นงาน
2 ทําเบ้าปูนและปูนหล่อ 8 6 5 4 5 6 6

3 คํานวณนํ้าหนักโลหะ 4 3 3 3 3 4 3
4 หลอมและหล่อโลหะ 12 8 7 7 7 6 7
รวม 36 23 20 20 21 24 21
48

ภาพที่ 15 แสดงแผนภูมิแท่งคะแนนสรุ ปภาคปฏิบตั ิของทุกคนแยกเป็ นด้าน

จากภาพที่ 15 พบว่าคะแนนรวมภาคปฏิบตั ิของช่างหล่อเครื่ องประดับ


แต่ละคนได้คะแนนมากที่สุด คือ 24, 23, 21, 21, 20, 20 ตามลําดับ ซึ่ งผูท้ าํ การทดสอบแต่ละคนได้
คะแนนน้อยกว่าเกณฑ์ที่กาํ หนด (เกณฑ์ผา่ นต้องได้คะแนนมากกว่า 33คะแนนขึ้นไป) ดังนั้น ผูท้ าํ
การทดสอบจึงต้องทําการปรับปรุ งในด้านภาคปฏิบตั ิ โดยการทําคู่มือฝึ กอบรมต่อไปซึ่ ง สามารถดู
รายละเอียดคะแนนภาคปฏิบตั ิของช่างหล่อเครื่ องประดับได้จากภาคผนวก จ
จากการประเมินช่างหล่อเครื่ องประดับทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ มี
ความเห็นว่าควรทําการปรับปรุ งและพัฒนาในด้าน กระบวนการหล่อเครื่ องประดับและการตรวจสอบ
คุณภาพงานหล่อ โดยการสร้างชุดคู่มือการฝึ กอบรมที่ประกอบไปด้วยเนื้ อหาด้านกระบวนการหล่อ
เครื่ องประดับ และการตรวจสอบคุณภาพงานหล่อให้แก่ช่างหล่อเครื่ องประดับ เพื่อที่จะเพิ่มขีด
ความสามารถให้กบั ช่างหล่อเครื่ องประดับ
1.2.2 ผลการหาสาเหตุของปั ญหา
จากผลการประเมินช่างหล่อเครื่ องประดับจะเห็นว่าขาดความรู ้ ทักษะ และความสามารถในเรื่ องกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ และ
เรื่ องการตรวจสอบคุณภาพงานหล่อดังนั้นจึงนําจุดบกพร่ องมาหาสาเหตุของปัญหาด้วยผังก้างปลา ดังต่อไปนี้

1. การขาดความรู้ที่ถกู ต้อง 3. เข้าใจไม่ตรงกัน


ไม่มีแหล่งค้นหาความรู้ ไม่มีสื่อการสอน
มีการเรี ยนรู้ที่ชา้ ไม่ยอมรับมาตรฐาน
อายุการทํางานน้อย
ขาดการฝึ กอบรม
ขาดผูใ้ ห้ความรู้
ปัญหาการหล่ อเครื่องประดับ
และการตรวจสอบ
ไม่มีมาตรฐานขั้นตอนที่ถกู ต้อง คุณภาพ
ไม่มีบนั ทึกคุณภาพ
งานหล่อ

2. วิธีการทํางาน

ภาพที่ 16 แสดงผังก้างปลาของปั ญหากระบวนการหล่อเครื่ องประดับและการตรวจสอบ

49
50

จากแผนผัง ก้า งปลาที่ บ อกสาเหตุของการเกิดปั ญหานั้น และหาแนวทางใน


การแก้ไขปั ญหาได้ดงั ต่อไปนี้

ตารางที่ 5 แสดงปั ญหา สาเหตุ และแนวทางในการแก้ไขปั ญหา

ปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไข


1.ขาดความรู ้ที่ถูกต้อง 1.1 ขาดการฝึ กอบรม 1.1จัดให้มีการฝึ กอบรมแก่พนักงาน
1.2 ไม่มีแหล่งค้นหาความรู ้1.2 จัดทําชุดคูม่ ือ หรื อเอกสารเพื่อเป็ น
1.3 ขาดผูใ้ ห้ความรู ้ แหล่งความรู ้ให้แก่พนักงาน
1.4 อายุการทํางานน้อย 1.3 จัดทําคู่มือฝึ กอบรม และผู ้
1.5 มีการเรี ยนรู ้ที่ชา้ ฝึ กอบรม
1.4 มีการฝึ กทักษะ
1.5 มีการแยกกลุ่มในการฝึ กอบรม
2. วิธีการทํางาน 2.1 ไม่มีมาตรฐานขั้นตอนที่ 2.1 จัดทํามาตรฐานในการทํางาน
ถูกต้อง
2.2 ไม่มีบนั ทึกคุณภาพงาน 2.2 บันทึกผลคุณภาพงานหล่อแต่ละ
หล่อ ครั้ ง เพื่ อ หาแนวทางการแก้ไ ขและ
ป้ องกัน
3. เข้าใจไม่ตรงกัน 3.1 ไม่มีสื่อการสอน 3.1 จัดทําสื่ อ และคู่มือการเรี ยน การ
3.2 ไม่ยอมรับมาตรฐาน สอน
3.2 มีการปรับทัศนคติให้กบั พนักงาน
โดยการอบรม

จากตารางที่ 5 แนวทางแก้ไขเนื่ องจากช่ างหล่อเครื่ องประดับยัง ขาดความรู ้


ขาดประการณ์ และทัศนคติที่ดีเ กี่ ย วกับ มาตรฐานกระบวนการหล่อ เครื่ องประดับ การตรวจสอบ
คุณภาพงานหล่อ และแนวทางการแก้ไข/ป้ องกันข้อบกพร่ องจากงานหล่อเครื่ องประดับดังนั้นจึง
ต้อ งมี ก ารจัด อบรมเกี่ ย วกับ มาตรฐานกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ มาตรฐานการตรวจสอบ
คุณภาพงานหล่อ และแนวทางการแก้ไข/ป้ องกันข้อบกพร่ องจากงานหล่อ เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดี
และให้เกิดความตระหนักและเห็นความสําคัญของการทํางานที่มีมาตรฐานซึ่ งทําเป็ นชุดฝึ กอบรม
ประกอบด้วยเนื้อหาหลักดังต่อไปนี้
51

1. ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับโลหะ


2. ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ
3. ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับการติดทางเดินนํ้าโลหะ
4. การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก
5. การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน
6. การหล่อโลหะ
7. การล้างปูน
8. การตรวจสอบนํ้าหนัก , ปั ญหาและวิธีแก้ไขในการหล่อ

2. ผลการศึกษาการออกแบบและพัฒนารู ปแบบการเรียนรู้ของช่ างหล่อเครื่องประดับ


2.1 ผลการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้
2.1.1 คู่มือการฝึ กอบรม
เป็ นเอกสารที่ใช้แนะนําหลักสู ตร ชุดฝึ กอบรมการจัด การเรี ยนรู ้ ง านหล่ อ
เครื่ องประดับ สําหรับอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับซึ่งภายในชุดฝึ กอบรมประกอบไปด้วย
พื้ น ฐานของผู เ้ ข้า รั บ การฝึ กอบรมวัต ถุ ป ระสงค์ข องการฝึ กอบรมรายการเครื่ องมือที่ใช้ในการ
ฝึ กอบรมแผนการจัดแบ่งเนื้ อหาการฝึ กอบรมระยะเวลา หมายกําหนดการสถานที่ฝึกอบรมวิธีการ
ดําเนินการฝึ กอบรมและข้อเสนอแนะในการนําหลักสู ตรไปใช้
2.1.2 คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม
เป็ นเอกสารที่จดั ทําเพื่อช่วยผูฝ้ ึ กอบรม และวิทยากรฝึ กอบรมได้ทราบถึงเรื่ อง
ที่ใช้ในการฝึ กอบรม ระยะเวลาที่ใช้ในการฝึ กอบรม เพื่อให้การดําเนิ นการฝึ กอบรมเป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
2.1.3 คู่มือผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
เป็ นเอกสารที่ ใ ช้ใ นการประกอบการฝึ กอบรมของผูเ้ ข้า รั บ การฝึ กอบรม
ภายในชุดฝึ กอบรมประกอบไปด้วย
1.ใบความรู ้ ที่ให้ผอู ้ บรมทําการศึกษาด้านงานหล่อเครื่ องประดับ ซึ่งมีดงั นี้
1.1 ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับโลหะ
1.2 ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ
1.3 ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับการติดทางเดินนํ้าโลหะ
1.4 การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก
1.5 การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน
52

1.6 การหล่อโลหะ
1.7 การล้างปูน
1.8 การตรวจสอบนํ้าหนัก ปั ญหาและวิธีแก้ไขในการหล่อ
2. ใบงาน ซึ่ งให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบรม ได้ลองทําก่อนการเรี ยนรู ้ และหลังการ
เรี ยนรู ้ เพื่อนํามาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพการเรี ยนรู ้ของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
2.1.4 สื่ อการสอน
1. สื่ อการนําเสนอ Power Point
เป็ นสื่ อที่ มีภาพ และคําบรรยาย โดยมี ผูบ้ รรยายประกอบการนํา เสนอ
เพื่อให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจ ตรงกัน ในเรื่ องของ วิธีใช้เครื่ องมือ กระบวนการ
หล่ อ เครื่ อ งประดับ รวมไปถึ ง ลัก ษณะปั ญ หาของชิ้ น งาน และแนวทางการแก้ไ ขและป้ องกัน
ข้อบกพร่ องจากชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับ
2. สื่ อวีดีทศั น์
เป็ นสื่ อที่มีภาพ และคําบรรยายพร้ อมเสี ยง ช่ วยในการฝึ กอบรมสํา หรั บ
ผูส้ อนหรื อวิทยากร เพื่อให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจ ตรงกัน ในเรื่ องของ วิธีใช้
เครื่ องมือ กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ รวมไปถึง ลักษณะปั ญหาของชิ้นงาน และแนวทางการ
แก้ไขและป้ องกันข้อบกพร่ องจากชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับ
2.2 ผลการประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้
เป็ นแบบสอบถามแสดงความคิดเห็ นของช่ างหล่อเครื่ องประดับ (ต้นแบบ) และ
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านงานหล่อเครื่ องประดับรวมทั้งหมด 6 คนโดยแสดงผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นดัง
ตารางที่ 6

ตารางที่ 6 แสดงผลการประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้

ลักษณะคําถามในการประเมิน คะแนนเฉลีย่ ค่ าระดับ


1. คุณภาพของการฝึ กอบรม
1.1ความครอบคลุม และเหมาะสมของเนื้อหา 3.29 ดี
1.2 ปริ มาณของเนื้อหา 3.29 ดี
1.3การอธิบายเนื้อหาจากง่ายไปยาก 3.14 ดี
1.4 นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย 2.86 ดี
1.5 เวลาในการฝึ กอบรม 3 ดี
1.6 การใช้อุปกรณ์ช่วยสอน 3.43 ดี
53

ตารางที่ 6 แสดงผลการประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้(ต่อ)


ลักษณะคําถามในการประเมิน คะแนนเฉลีย่ ค่ าระดับ
2. คุณภาพของสื่ อช่ วยฝึ กอบรม
2.1 สื่ อการสอน Power point
2.1.1 ตัวอักษร
ขนาด 3.86 ดีมาก
ความสมดุล 3.57 ดีมาก
ความชัดเจน 3.14 ดี
2.1.2 รู ปภาพ
ขนาด 3.29 ดี
ความสมดุล 3.43 ดี
ความชัดเจน 3.29 ดี
2.2 สื่ อการสอน วีดีทศั น์
2.2.1 ตัวอักษร
ขนาด 3.43 ดี
ความสมดุล 3.43 ดี
ความชัดเจน 3.14 ดี
2.2.2 ภาพเคลื่อนไหว
ขนาด 3 ดี
ความสมดุล 3.29 ดี
ความชัดเจน 3.14 ดี
2.2.3 เสี ยงของวีดีทศั น์ 3.43 ดี
2.2.4 การดึงดูดความสนใจ 3.43 ดี
2.2.5 นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย 3.29 ดี
3. คุณภาพของเอกสารประกอบ
3.1 เนื้อหามีความชัดเจนและเข้าใจง่าย 3.58 ดีมาก
3.2 ตัวอย่างที่แสดงในเอกสาร 3 ดี
3.3 ความสอดคล้องของเอกสารประกอบและสื่ อ 3.14 ดี
3.4 การเรี ยงลําดับเนื้อหา 3.29 ดี
54

จากตารางที่ 6 พบว่า
คุณภาพของการฝึ กอบรม นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ ย ตํ่า สุ ด จะเท่ากับ 2.86 เป็ นเรื่ อง
นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่ายส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.43 เป็ นเรื่ องการใช้อุปกรณ์ช่วย
สอน โดยรวมคุณภาพของการฝึ กอบรมอยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ
3.14เป็ นเรื่ องของความชัดเจนตัวอักษรสื่ อการสอน Power pointส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะ
เท่ากับ 3.86เป็ นเรื่ องของขนาดของตัวอักษรสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point โดยรวมคุณภาพของสื่ อ
ช่วยฝึ กอบรมอยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์ นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ ย ตํ่า สุ ด จะเท่ากับ 3 เป็ นเรื่ องขนาด
ภาพเคลื่อนไหวของสื่ อวีดีทศั น์ ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.43 เป็ นเรื่ องขนาดและ
ความสมดุ ลตัวอักษรของสื่ อการสอนวีดีทศั น์เสี ยงของวีดีทศั น์และการดึงดูดความสนใจ โดยรวม
ของคุณภาพของสื่ อการสอนวีดีทศั น์อยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุ ณภาพของเอกสารประกอบนํ้า หนัก คะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ 3.00 เป็ นเรื่ อง
ตัวอย่างที่แสดงในเอกสาร ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.58เป็ นเรื่ องเนื้ อหามีความ
ชัดเจนและเข้าใจง่าย โดยรวมของคุณภาพของเอกสารประกอบอยูใ่ นเกณฑ์ดี
สรุ ปว่าผลการประเมินชุ ดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ ที่เหมาะสมที่สุดคือสื่ อช่ วยฝึ กอบรม
Power Point
3. ผลการศึกษาการหาความสามารถก่อนและหลังการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของช่ างหล่อเครื่องประดับในโรงงานตัวอย่ างAจํากัด
จากการให้ช่างหล่อเครื่ องประดับทําใบงานก่อนการอบรม และหลังการอบรมสามารถทําการประเมินได้ผลดังตารางที่ 7 ต่อไปนี้

ตารางที่ 7 แสดงผลการประเมินการเรี ยนรู ้ช่างหล่อเครื่ องประดับแต่ละคน

คนที่ ก่ อนอบรม หลังอบรมครั้งที่ 1 หลังอบรม ครั้งที่ 2


ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
(เต็ม 100 คะแนน) (เต็ม 36 คะแนน) (เต็ม 100 คะแนน) (เต็ม 36 คะแนน) (เต็ม 100 คะแนน) (เต็ม 36 คะแนน)
1 42.5 23 50 25 62.5 28
2 50 20 60 23 67.5 25
3 47.5 20 57.5 23 62.5 26
4 32.5 21 50 24 60 27
5 40 24 52.5 26 62.5 28
6 35 21 45 23 55 25
เฉลีย่ 41.25 21 52.5 24 61.67 26.5

55
56

ภาพที่ 17 แสดงกราฟผลการประเมินการเรี ยนรู ้ช่างหล่อเครื่ องประดับแต่ละคน

จากตารางที่ 7 และภาพที่ 17 พบว่า คะแนนจากการทํา ใบงานของช่ า งหล่ อ


เครื่ องประดับ หลังการฝึ กอบรมมีค่ามากขึ้น ดังนั้นจึงได้มีการนําข้อมูลในส่ วนนี้ มาสร้างเส้นการ
เรี ยนรู ้ ซึ่งจะแยกตามภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิที่มีผลต่อการเรี ยนรู ้ของช่างหล่อเครื่ องประดับ

4. ผลการหาเส้ นการเรียนรู้ของช่ างหล่อเครื่องประดับในโรงงานตัวอย่ างAจํากัด


4.1 เส้ นการเรียนรู้ของช่ างหล่ อเครื่องประดับ
จากตารางที่ 7 และภาพที่ 17 สามารถแสดงเป็ นเส้นการเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎีของช่าง
หล่อเครื่ องประดับได้ดงั นี้

ภาพที่ 18 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คะแนนภาคทฤษฎีกบั จํานวนครั้งที่อบรม


57

จากภาพที่ 18 พบว่าการพล๊อตกราฟระหว่างคะแนนภาคทฤษฎีกบั จํานวนครั้งของ


การฝึ กอบรม สามารถดูได้จากเส้นแนวโน้มเป็ นเส้นโค้งที่เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่ งได้สมการการเรี ยนรู ้
ภาคทฤษฎีของช่างหล่อเครื่ องประดับ คือY = 16.22 ln(x)+ 41.93และจํานวนครั้งที่ตอ้ งทําการอบรม
ของภาคทฤษฎี เพื่อให้ช่างหล่อเครื่ องประดับผ่านเกณฑ์ที่โรงงานตัวอย่าง A จํากัด กําหนดเท่ากับ20
ครั้ง(คะแนนที่ผา่ นเกณฑ์ที่กาํ หนด คือ 90 คะแนนขึ้นไป)
จากตารางที่ 7 และภาพที่ 17 สามารถแสดงเป็ นเส้นการเรี ยนรู ้ภาคปฏิบตั ิของช่าง
หล่อเครื่ องประดับได้ดงั นี้

ภาพที่ 19 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คะแนนภาคปฏิบตั ิกบั จํานวนครั้งที่อบรม

จากภาพที่ 19 พบว่า การพล๊อตกราฟระหว่างคะแนนภาคปฏิบตั ิกบั จํานวนครั้งของ


การฝึ กอบรม สามารถดูได้จากเส้นแนวโน้มเป็ นเส้นโค้งที่เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่ งได้สมการการเรี ยนรู ้
ภาคปฏิบตั ิของช่างหล่อเครื่ องประดับ คือ Y = 4.745ln(x)+ 20.99 และจํานวนครั้งที่ตอ้ งทําการ
อบรมของภาคปฏิบตั ิ เพื่อให้ช่างหล่อเครื่ องประดับผ่านเกณฑ์ที่โรงงานตัวอย่าง A จํากัดกําหนด
เท่ากับ 12 ครั้ง(คะแนนที่ผา่ นเกณฑ์ที่กาํ หนด คือ 33 คะแนนขึ้นไป)
4.2 ผลการประเมินโครงการฝึ กอบรม
4.2.1 ผลที่ได้จากการประเมินโครงการฝึ กอบรมของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
58

เป็ นแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมต่อโครงการ


ฝึ กอบรม โดยแสดงผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 แสดงผลการประเมินโครงการฝึ กอบรม

ลักษณะคําถามในการประเมิน คะแนนเฉลีย่ ค่ าระดับ


1. คุณภาพของการฝึ กอบรม
1.1 ความครอบคลุม และเหมาะสมของเนื้อหา 3.43 ดี
1.2 ปริ มาณของเนื้อหา 3.57 ดีมาก
1.3 การอธิบายเนื้อหาจากง่ายไปยาก 3.14 ดี
1.4 นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย 3.14 ดี
1.5 เวลาในการฝึ กอบรม 3.00 ดี
1.6 การใช้อุปกรณ์ช่วยสอน 3.57 ดีมาก
1.7 ความชัดเจนเสี ยงของผูบ้ รรยาย 3.00 ดี
1.8 บุคลิกท่าทางของผูบ้ รรยาย 3.57 ดีมาก
1.9 การดึงดูดความสนใจ 3.00 ดี
2. คุณภาพของสื่ อช่ วยฝึ กอบรม
2.1 สื่ อการสอน Power point
2.1.1 ตัวอักษร
- ขนาด 3.71 ดีมาก
- ความสมดุล 3.57 ดีมาก
- ความชัดเจน 3.57 ดีมาก
2.1.2 รู ปภาพ
- ขนาด 3.29 ดี
- ความสมดุล 3.43 ดี
- ความชัดเจน 3.29 ดี
2.2 สื่ อการสอน วีดีทศั น์
2.2.1 ตัวอักษร
- ขนาด 3.43 ดี
- ความสมดุล 3.57 ดีมาก
- ความชัดเจน 3.29 ดี
59

ตารางที่ 8 แสดงผลการประเมินโครงการฝึ กอบรม (ต่อ)


ลักษณะคําถามในการประเมิน คะแนนเฉลีย่ ค่ าระดับ
2.2.2 ภาพเคลื่อนไหว
- ขนาด 3.14 ดี
- ความสมดุล 3.57 ดีมาก
- ความชัดเจน 3.14 ดี
2.2.3 เสี ยงของวีดีทศั น์ 3.43 ดี
2.2.4 การดึงดูดความสนใจ 3.43 ดี
2.2.5 นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย 3.57 ดีมาก
3. คุณภาพของเอกสารประกอบ
3.1 เนื้อหามีความชัดเจนและเข้าใจง่าย 3.71 ดีมาก
3.2 ตัวอย่างที่แสดงในเอกสาร 3.14 ดี
3.3 ความสอดคล้องของเอกสารประกอบและสื่ อ 3.29 ดี
3.4 การเรี ยงลําดับเนื้อหา 3.14 ดี

ภาพที่ 20 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง คุณภาพของการฝึ กอบรม


60

จากภาพที่ 20 พบว่าคุณภาพของการฝึ กอบรม นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะ


เท่ากับ 3.00 เป็ นเรื่ องเวลาในการฝึ กอบรมความชัดเจนเสี ยงของผูบ้ รรยาย และการดึงดูดความสนใจ
ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.57 เป็ นเรื่ องปริ มาณของเนื้อหา การใช้อุปกรณ์ช่วยสอน
และบุคลิกท่าทางของผูบ้ รรยายโดยรวมของคุณภาพของการฝึ กอปรมอยูใ่ นเกณฑ์ดี

ภาพที่ 21 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง สื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point

จากภาพที่ 21 พบว่าคุณภาพของสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point นํ้าหนัก


คะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ 3.29 เป็ นเรื่ องขนาดและความชัดเจนของรู ปภาพ ส่ วนนํ้าหนักคะแนน
เฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.71เป็ นเรื่ องขนาดตัวอักษร โดยรวมของคุณภาพของสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power
point อยูใ่ นเกณฑ์ดี
61

ภาพที่ 22 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง สื่ อสื่ อวีดีทศั น์

จากภาพที่ 22 พบว่าคุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์ นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ ย ตํ่า สุ ด จะ


เท่ากับ 3.14 เป็ นเรื่ องขนาดและความชัดเจนของภาพเคลื่อนไหว ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะ
เท่ากับ 3.57 เป็ นเรื่ องนําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย โดยรวมของคุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์อยูใ่ นเกณฑ์ดี

ภาพที่ 23 แสดงผลการประเมินโครงการอบรม เรื่ อง คุณภาพของเอกสารประกอบ


62

จากภาพที่ 23 พบว่าคุณภาพของเอกสารประกอบนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ด
จะเท่ ากับ 3.14 เป็ นเรื่ องของตัวอย่างที่ แสดงในเอกสารและการเรี ยงลําดับเนื้ อหา ส่ วนนํ้าหนัก
คะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.71เป็ นเรื่ องเนื้ อหามีความชัดเจนและเข้าใจง่ายโดยรวมของคุณภาพ
ของเอกสารประกอบอยูใ่ นเกณฑ์ดี
บทที่ 5

สรุ ปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ

จากการดําเนิ นการศึกษาความรู ้ ทักษะ และความสามารถช่ า งหล่อเครื่ องประดับใน


โรงงานตัวอย่าง พร้อมทั้งสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้เพื่อเพิ่มความรู ้ ทักษะ และความสามารถของ
ช่างหล่อเครื่ องประดับสามารถสรุ ปผลการศึกษาได้ดงั นี้
1. สรุ ปผลการศึกษา
2. ปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานวิจยั
3. ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจยั ครั้งต่อไป

1. สรุปผลการศึกษา
1.1 ผลการศึกษาความสามารถในการเรียนรู้ของช่ างหล่อเครื่องประดับ
1.1.1 การศึกษาเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานหล่อเครื่ องประดับจะประกอบด้วย
ฐานยาง, กระบอกปูน, เครื่ องตีปูน, เครื่ องดูดอากาศ, เตาอบปูน, เครื่ องหล่อดูดสุ ญญากาศ, คีมคีบ
กระบอกปูน และเครื่ องฉี ดล้า งปูน เครื่ อ งมื อ ทั้ง หมดใช้สํา หรั บ ในงานหล่อเครื่ องประดับ เพื่อ
ประเมินความรู ้, ทักษะ และความสามารถช่างหล่อเครื่ องประดับ
1.1.2 ผลจากการวิเคราะห์ กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ โดยศึกษากระบวนการ
หล่อเครื่ องประดับจะประกอบด้วยขั้นตอนการคํานวณนํ้าหนักโลหะ การหล่อแบบปูน การอบปูน
การหล่อโลหะ และการล้างปูน ของงานหล่อเครื่ องประดับ ที่ใช้สาํ หรับในการสร้างชุดรู ปแบบการ
เรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
1.1.3 ผลจากการประเมิ น ช่ า งหล่อ เครื่ อ งประดับ คือ ผลการประเมิ น ช่ างหล่ อ
เครื่ องประดับก่ อนการสร้ า งชุ ด รู ปแบบการเรี ย นรู ้ โดยแบ่ ง เนื้ อหาออกเป็ น 2 ส่ ว น คื อ เนื้ อหา
ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ ซึ่ งพบว่าช่ างหล่อเครื่ องประดับควรทํา การปรั บ ปรุ ง และพัฒ นาทั้ง
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิในเรื่ องในด้าน กระบวนการหล่อเครื่ องประดั บ และการตรวจสอบ
คุณภาพงานหล่อเมื่อวิเคราะห์สาเหตุโดยผังก้างปลาและหาแนวทางแก้ไขโดยการสร้างชุดคู่มือการ
ฝึ กอบรม

63
64

1.2 ผลการออกแบบและพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ของช่ างหล่อเครื่องประดับ


1.2.1 ผลจากการสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ ได้แก่ คู่มือการฝึ กอบรม คู่มือผูเ้ ข้ารับ
การฝึ กอบรมคู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรมสื่ อการสอน สื่ อการนําเสนอ Power Pointสื่ อวีดีทศั น์ และใบ
งานการฝึ กภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทั้งหมดรวมเรี ยกว่า ชุดรู ปแบบการ
เรี ยนรู ้
1.2.2 ผลจากการประเมินชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้จากช่างหล่อเครื่ องประดับ (ต้นแบบ)
และผูเ้ ชี่ยวชาญงานหล่อเครื่ องประดับ
คุณภาพของการฝึ กอบรม นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ ย ตํ่า สุ ด จะเท่ากับ 2.86 เป็ นเรื่ อง
นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.43 เป็ นเรื่ องการใช้อุปกรณ์
ช่วยสอน โดยรวมคุณภาพของการฝึ กอบรมอยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ
3.14 เป็ นเรื่ องของความชัดเจนตัวอักษรสื่ อการสอน Power pointส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะ
เท่ากับ 3.86 เป็ นเรื่ องของขนาดของตัวอักษรสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point โดยรวมคุณภาพของสื่ อ
ช่วยฝึ กอบรมอยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์ นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ ย ตํ่า สุ ด จะเท่ากับ 3 เป็ นเรื่ องขนาด
ภาพเคลื่อนไหวของสื่ อวีดีทศั น์ ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.43 เป็ นเรื่ องขนาดและ
สมดุลตัวอักษรของสื่ อการสอน วีดีทศั น์ เสี ยงของวีดีทศั น์และการดึงดูดความสนใจ โดยรวมของ
คุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์อยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุ ณ ภาพของเอกสารประกอบนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ 3.00 เป็ นเรื่ อง
ตัวอย่างที่แสดงในเอกสาร ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.58 เป็ นเรื่ องเนื้ อหามีความ
ชัดเจนและเข้าใจง่าย โดยรวมของคุณภาพของเอกสารประกอบอยูใ่ นเกณฑ์ดี
1.3 ผลการหาความสามารถก่อนและหลังการพัฒ นารู ป แบบการเรียนรู้ พร้ อมกับ การหา
เส้ นการเรียนรู้ ของช่ างหล่ อเครื่องประดับในโรงงานตัวอย่ าง A จํากัด
1.3.1 ผลจากการประเมินผลการเรี ยนรู ้
1. คะแนนภาคทฤษฎี กั บ จํา นวนครั้งของการฝึ กอบรม สามารถดู ไ ด้ จ าก
เส้นแนวโน้มเป็ นเส้นโค้งที่เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่ งได้สมการการเรี ยนรู ้ ภ าคทฤษฎี ข องช่ า งหล่ อ
เครื่ องประดับ คือ Y = 16.22 ln(x)+ 41.93 และจํานวนครั้งที่ตอ้ งทําการอบรมของภาคทฤษฎี เพื่อให้
ช่างหล่อเครื่ องประดับผ่านเกณฑ์ที่โรงงานตัวอย่าง A จํากัดกําหนดเท่ากับ 20 ครั้ง
2. คะแนนภาคปฏิ บ ั ติ ก ั บ จํา นวนครั้งของการฝึ กอบรม สามารถดู ไ ด้จ าก
เส้ น แนวโน้ม เป็ นเส้ น โค้งที่เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่ งได้สมการการเรี ยนรู ้ ภ าคปฏิ บ ั ติ ข องช่ า งหล่ อ
65

เครื่ องประดับ คือ Y = 4.745 ln(x)+ 20.99 และจํานวนครั้งที่ตอ้ งทําการอบรมของภาคปฏิบตั ิ เพื่อให้


ช่างหล่อเครื่ องประดับผ่านเกณฑ์ที่โรงงานตัวอย่าง A จํากัดกําหนดเท่ากับ 12 ครั้ง
1.3.2 ผลจากการประเมินโครงการฝึ กอบรมของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
คุณภาพของการฝึ กอบรม นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ 3.00 เป็ นเรื่ อง
เวลาในการฝึ กอบรมความชัดเจนเสี ยงของผูบ้ รรยาย และการดึงดูดความสนใจ ส่ วนนํ้าหนักคะแนน
เฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.57 เป็ นเรื่ องปริ มาณของเนื้ อหา การใช้อุปกรณ์ช่วยสอนและบุคลิกท่าทาง
ของผูบ้ รรยาย โดยรวมของคุณภาพของการฝึ กอบรมอยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะ
เท่ากับ 3.29 เป็ นเรื่ องขนาดและความชัดเจนของรู ปภาพ ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ
3.71 เป็ นเรื่ องขนาดตัวอักษร โดยรวมของคุณภาพของสื่ อช่วยฝึ กอบรม Power point อยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์ นํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ 3.14 เป็ นเรื่ อง
ขนาดและความชัดเจนของภาพเคลื่อนไหว ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะเท่ากับ 3.57 เป็ นเรื่ อง
นําเสนอชัดเจนเข้าใจง่าย โดยรวมของคุณภาพของสื่ อวีดีทศั น์อยูใ่ นเกณฑ์ดี
คุณภาพของเอกสารประกอบนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุ ดจะเท่ากับ 3.14 เป็ น
เรื่ องของตัวอย่างที่แสดงในเอกสารและการเรี ยงลําดับเนื้ อหา ส่ วนนํ้าหนักคะแนนเฉลี่ยสู งสุ ดจะ
เท่ากับ 3.71 เป็ นเรื่ องเนื้ อหามีความชัดเจนและเข้าใจง่าย โดยรวมของคุณภาพของเอกสารประกอบ
อยูใ่ นเกณฑ์ดี

2. ปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานวิจัย
2.1 การสร้างชุดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ จะเป็ นชุดฝึ กอบรมที่ผเู ้ ข้า รั บการฝึ กอบรมสามารถ
เรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง แต่ผเู ้ รี ยนไม่ให้ความสนใจอยากจะไปเรี ยนต่ อนอกเวลาหลังจากฝึ กอบรมทํา
ให้เกิดความเข้าใจในงานหล่อเครื่ องประดับได้ล่าช้า
2.2 ระยะเวลาที่ใช้ในการอบรมมีอย่างจํากัด ทําให้สามารถรถจัดอบรมและประเมิ น ผล
การเรี ยนรู ้จากการทําใบงานทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมได้นอ้ ยครั้ง
2.3 ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมและผูเ้ ชี่ยวชาญ ไม่ได้แสดงความคิดเห็ นต่อโครงการภายหลัง
จากการฝึ กอบรม ซึ่งผูว้ ิจยั ต้องทําการติดต่อสอบถามเป็ นระยะๆ
66

3. ข้ อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่ อไป
3.1 ควรมีการปรั บปรุ งชุ ดรู ปแบบการเรี ยนรู ้น้ ี ให้มีการปฏิบตั ิมากยิง่ ขึ้น ทั้งด้านทฤษฎี
และปฏิบตั ิ
3.2 ระยะเวลาที่ ใ ช้ ใ นการฝึ กอบรมควรจัด ให้ มี ค วามเหมาะสมกับ ระดับ ความรู ้
ความสามารถของผูร้ ับการอบรมเพราะอาจจะทําให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กอบรมรู ้สึกเบื่อหน่าย
3.3 สถานที่ ที่จดั ในการฝึ กอบรมควรมี ความเหมาะสมหรื อพอเหมาะกับผูเ้ ข้ารั บการ
ฝึ กอบรม
67

รายการอ้างอิง

ภาษาไทย
เขมสิ นี รุ กขจินดา. (2548). “การศึกษาผลกระทบการเรี ยนรู ้งานในการกําหนดเวลามาตรฐานใน
ขั้นตอนการเย็บเสื้ อผ้า.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตรปริ ญ ญาวิศ วกรรมศาสตร์ ม หาบัณ ฑิ ต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทร์ เพ็ญ เชื้ อพานิ ช. (2531). “การวิเคราะห์และสังเคราะห์.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชา
มัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิรพงษ์ โลพิศ. (2552). “การจัดการเรี ยนรู ้วิชางานระบบควบคุมเครื่ องยนต์ดว้ ยอิเล็กทรอนิ กส์ตาม
หลักสูตรฐานสมรรถนะ.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาครุ ศาสตร์ เครื่ องกล คณะ
ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
บริ ษทั ภักดี แฟคทอรี่ จํากัด. (2549). กระบวนการผลิตเครื่องประดับเบือ้ งต้ น. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์
วงตะวัน จํากัด.
บุญชม ศรี สะอาด. (2535). การวิจัยเบือ้ งต้ น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : สุ วีริยาสาส์น.
บริ ษทั ซีแฟค จํากัด. (2549). Jewellery Finishing Process Step By Step. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์
วงตะวัน จํากัด.
ประพนธ์ ผาสุ ขยืด. (2555). การจัดการความรู้ และการสร้ างองค์ กรแห่ งการเรี ยนรู้ (Knowledge
Management & Learning Organization). เข้าถึงเมื่อ 24 กรกฎาคม. เข้าถึงได้จาก
http://prapon-sharing.blogspot.com online.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุ งเทพฯ: นานมีบุค๊ ส์.
สถาบัน ส่ ง เสริ ม การจัด การความรู ้ เพื่อสังคม(สคส.). (2550). การจัดการความรู้ สําหรับผู้บริหาร.
เข้าถึงเมื่อ 24 กรกฎาคม. เข้าถึงได้จาก http://www.kmi.or.th.
สาโรช โศภีรักข์. (2549). “ศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนิ สิตปริ ญญาโทที่เ รี ย นรู ้ ด ้ว ยการนํา
ตนเองในวิ ช าเทคนิ ค และกระบวนการฝึ กอบรม.” วิทยานิ พนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อภินนั ท์ เวทยกนุกลู . (2543). " เทคนิ คการออกแบบการฝึ กอบรม." เอกสารประกอบการฝึ กอบรม
สถาบันพัฒนาผูบ้ ริ หารการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ คุรุสภาลาดพร้าว.
68

อับดุลรอฮิม แสแอ, เจษฎาภรณ์ สุ ขวุน่ และวาริ นทร์ คงคําศักดิ์. (2545). "รายงานโครงงานศึกษา


เรื่ องชุ ด ฝึ กทัก ษะทางคอมพิว เตอร์ ดา้ นเทคนิ คการฝังอัญมณี ." ปริ ญญานิพนธ์บณ
ั ฑิต
สาขาวิ ช าครุ ศ าสตร์ เครื่ องกล คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี.

ภาษาอังกฤษ
Shilpa, Arora and Sachin Agarwal (2007). “Literature Review.” Active Learning for Natural
Language Processing : 1-28.
T, Lobanova-Shunin and Y. Shunin (2007). “Computer Modelling and New Technologies.”
Learning Curve Model For Professional Competences Development 11,2 :39-48.
Thompson, Cynthia A. Mary Elaine Califf and Raymond J. Mooney (1999). “Active Learning for
Natural Language Parsing and Information Extraction.” in proceedings of the
Sixteenth International Machine Learning Conference, 406-414. Bled : Slovenia.
Nigam, Kamal and Rayid Ghani (2000). Analyzing the Effectiveness and Applicability of Co-
training. Accessed June 25. Available from www.kamalnigam.com/papers/cotrain-CI.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
กระบวนการผลิตเครื่องประดับ
71

แผนผังแสดงการไหลของกระบวนการผลิตเครื่องประดับ
1.ออกแบบ

2.ตรวจสอบการออกแบบ

ถูกต้องเหมาะสม ไม่
ใช่/ไม่

ใช่

3.พิจารณาเลือกใช้ วสั ดุ
ทําแม่ พมิ พ์

ไม่ ทําแม่พิมพ์ดว้ ยโลหะ


ใช่/ไม่

ใช่

4.ทําพิมพ์ โลหะ

5. ตรวจสอบแม่ พมิ พ์ โลหะ

แม่พิมพ์ใช้งานได้ใช่/ ไม่
ไม่?

A B
72

A B

6.ทําพิมพ์ ยาง

7.ตรวจสอบพิมพ์ ยาง

พิมพ์ยางสมบูรณ์ ไม่
ใช่หรื อไม่?

12.ทําแม่ พมิ พ์ ด้วนWAX ใช่


8.อัด WAX

13.ตรวจสอบแม่ พมิ พ์ WAX


9.ตรวจสอบการอัด WAX

ไม่
กระสวนขี้ผ้ งึ สมบูรณ์
ใช่/ไม่?

ใช่

10. แต่ ง WAX

11.ตรวจสอบกระสวนขีผ้ งึ้
หลอมกลับมาใช้ ใหม่

ไม่
กระสวนใช้งานได้
ใช่/ไม่?
ไม่
แม่พิมพ์ใช้งานได้ ใช่
ใช่หรื อไม่? ใช่

C
73

C
D

14.ขึน้ ช่ อ

15.ตรวจสอบต้ นช่ อ

ไม่
สมบูรณ์ใช่/ไม่

ใช่

16.หล่ อปูน
ใช่
ไม่
17.ตรวจสอบการหล่ อปูน ล้างต้นช่อ
ได้ใช่/ไม่

ไม่
หล่อปูนสมบูรณ์ใช่/ ล้างต้นช่อ
ไม่

ใช่

18.อบเบ้ าปูน

19.ตรวจสอบการอบเบ้ าปูน

ไม่
เบ้าปูนไม่แตกร้าวใช่/ ทําลายแบบปูน
ไม่?

ใช่

E
74

20.การหล่ อตัวเรือน โลหะ

21.ล้ างทําความสะอาดต้ นช่ อ

22.ตรวจสอบการล้ างทําความสะอาดสะอาด

กําจัดเศษปูน
หมดใช่/ไม่

ใช่ ใช่

23.ตัดช่ อ ไม่
ต้นช่อ REFINE
ใช่/ไม่
24. แยกตัวเรือน/ต้ นช่ อและเศษผง

ไม่
ตัวเรื อนใช่/ไม่ 25.แยกต้ นช่ อและเศษผง

ใช่

26.ตรวจสอบตัวเรือน

ไม่
ตัวเรื อนหล่อสมบูรณ์
ใช่/ไม่

ใช่

27.งานแต่ ง

G H I
75

G H I

28. ตรวจสอบชิ้นงานแต่ ง ใช่

29.
ไม่
งานแต่งผ่าน พิจารณา ซ่อมได้
ใช่/ไม่ งานเพือ่ ใช่/ไม่
ซ่ อม
ใช่

ไม่
30. พิจารณาขั้นตอนการผลิตว่ าจําเป็ นต้ องโม่ Magnetic
ใช่ หรือไม่

ต้องโม่ Magnetic
ใช่ ใช่/ไม่

33. งานขัด

31. โม่ Magnetic ไม่

34.ตรวจสอบชิ้นงานขัด

32.ตรวจสอบโม่ Magnetic
ไม่ 35.
งานขัดผ่าน ซ่อมได้
พิจารณา
ใช่/ไม่ ใช่/ไม่
งานเพือ่
ไม่
ซ่ อม
ต้องโม่ Magnetic ใช่ ไม่
ใช่/ไม่

ใช่
J
K L M
76

J K L M

36. พิจารณาขั้นตอนการผลิตว่ า
จําเป็ นต้ องโม่ Grinding หรือ ขัด

ไม่
โม่ Grindingใช่/ไม่?

ใช่

37.โม่ Grinding

38.พิจารณาขั้นตอนต่ อจาก
งานโม่ 41.งานฝังเพชร/พลอยหิน

42.ตรวจสอบงานฝังเพชร/พลอย/
หิน

ต้องขัดเงา ใช่ ใช่


ใช่/ไม่ ไม่ 45.
งานฝังผ่าน ซ่อมได้
พิจาร
ใช่/ไม่ ใช่/ไม่
ณางาน
ไม่
เพือ่

39. โม่ ลูกเหล็ก ใช่


สต็อก 46.แกะเพชร/
43.ขัดเงา พลอย/หิน

40.ตรวจสอบ
งานโม่ ลูกเหล็ก
44.ตรวจสอบงานขัดเงา

N O P Q R
77

N O P Q R

ไม่ ใช่

ไม่
ชิ้นงานขัดเงา 47.พิจารณา ซ่อมได้
งานโม่เงา งานเพือ่ ใช่/ไม่
ผ่าน ใช่/ไม่?
ผ่าน ใช่/ไม่?

ไม่

ใช่ ใช่
สต็อก 48.แกะเพชร/พลอย/หิน

49.ล้ างด้ วย Ultrasonic

50.ตรวจสอบงานล้ างด้ วย Ultrasonic

51. Pack

52.ตรวจสอบงาน Pack

ไม่

งาน Pack ผ่านใช่/ไม่?

ใช่

53.ส่ งมอบลูกค้ า
78

กระบวนการผลิตเครื่องประดับ
1. การผลิต เครื่ อ งประดับ เริ่ ม ต้น ด้ว ยการออกแบบชิ ้ น งานว่าเป็ นงานประเภทใด
ขนาดเท่าไร และโลหะที่ใช้เป็ นอะไรรวมถึงจํานวนที่ตอ้ งการด้วย
2. หลังจากนั้นทําการตรวจสอบแบบว่าถูกต้องเหมาะสมหรื อไม่ ถ้าไม่ถูกต้องเหมาะสม
ก็นาํ กลับไปออกแบบใหม่
3. จากนั้นพิจารณาเลื อกวัสดุ ที่ใช้ทาํ แม่พิมพ์ ซึ่ งมี 2 ประเภท คือ ทําด้วยโลหะ และ
ไม่ทาํ ด้วยโลหะ
3.1 ถ้าทําแม่พิมพ์ดว้ ยโลหะเมื่อทําเสร็ จก็ทาํ การตรวจสอบแม่พิมพ์โลหะ ต่อจากนั้น
ทําพิมพ์ยาง แล้วตรวจสอบพิมพ์ยาง เมื่อพิมพ์ยางสมบูรณ์จึงเริ่ มทําการอัดเทียนขี้ผ้ งึ (WAX) แล้ว
ตรวจสอบการอัดเทียนขี้ผ้ ึง (WAX) หลังจากนั้นทําการแต่งเทียนขี้ผ้ ึง (WAX) และสุ ดท้ายทําการ
ตรวจสอบกระสวนขี้ผ้ งึ
3.2 ส่ ว นแม่ พิ ม พ์ที่ ไ ม่ ท าํ ด้ว ยโลหะจะเริ่ ม ต้น ด้ว ยการทํา แม่ พิ ม พ์ด้ว ยเที ย นขี้ ผ้ ึ ง
(WAX) แล้วทําการตรวจสอบแม่พิมพ์เทียนขี้ผ้ งึ (WAX) สุ ดท้ายตรวจสอบแม่พิมพ์ว่าใช้งานได้
หรื อไม่
4. เมื่อทําแม่พิมพ์เสร็ จแล้วก็ทาํ การขึ้นช่อ แล้วทําการตรวจสอบต้นช่อ
5. นําไปหล่อเบ้าปูนหลังจากนั้นทําการตรวจสอบการหล่อเบ้าปูน แล้วทําการอบเบ้าปูน
พร้อมกับการตรวจสอบการอบเบ้าปูน
6. ทําการหล่อตัวเรื อน แล้วล้างทําความสะอาดต้นช่ อ พร้อมกับตรวจสอบการล้างทํา
ความสะอาดต้นช่อเพื่อทําการกําจัดเศษปูนที่เหลืออยู่
7. เมื่อล้างเสร็ จแล้วจึงนําไปตัดช่อ หลังจากนั้นแยกตัวเรื อน ต้นช่อ และเศษผงออกจาก
กัน แล้วทําการตรวจสอบตัวเรื อนว่าสมบูรณ์หรื อไม่
8. หลังจากนั้นส่ งต่อไปที่แผนกแต่งตัวเรื อนให้ทาํ การแต่งชิ้นงานแล้วทําการตรวจสอบ
ชิ้ น งานเพื่อดูว่า งานแต่ง มีคุณ ภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานหรื อไม่ เพื่อพิจารณางานซ่ อม แล้วทําการ
พิจารณาขั้นตอนการผลิตว่าจําเป็ นต้องโม่แบบแม่เหล็กหรื อแรงดึงดูด หรื อไม่ถา้ ต้องทําการโม่ตอ้ ง
ตรวจสอบผลการโม่ แ ละถ้า ตรวจสอบไม่ ผ่า นต้องทําการโม่ใหม่ เมื่อผ่านแล้วทําการพิจารณาว่า
จํา เป็ นต้อ งโม่ แ บบขัด ด้ว ยหิ น ถ้า ต้อ งโม่ แ บบขัด ด้วยหิ นต้องพิจาณาขั้นตอนต่อจากงานโม่ แล้ว
พิจารณาต่อว่าต้องทําการขัดเงาหรื อไม่ หรื อต้องทําการโม่ลูกเหล็ก พร้อมตรวจสอบ ถ้าไม่ตอ้ งโม่
แบบแม่ เ หล็ก หรื อ แรงดึ ง ดู ด ก็ ท าํ การขัด ได้เ ลย พร้ อ มตรวจสอบชิ้ น งานขัด หากไม่ ผ่า นการ
ตรวจสอบก็นาํ กลับไปซ่อม หรื อถ้าซ่อมไม่ได้กน็ าํ กลับไปหล่อตัวเรื อนใหม่
79

9. นําไปฝังเพชร หรื อพลอยหิ น แล้วทําการตรวจสอบงานฝังนั้น ถ้าไม่ผา่ นก็นาํ กลับไป


ซ่อม หากซ่อมไม่ได้ตอ้ งนําไปแกะเพชร หรื อพลอยหิ นออกก่อนแล้วทําการหล่อตัวเรื อนใหม่
10. นําไปขัดเงาพร้อมกับการตรวจสอบการขัดเงาถ้าไม่ผา่ นก็นาํ กลับไปซ่อม หลังจากนั้น
งานที่ผา่ นการโม่ และขัด ต้องล้างด้วย Ultrasonic พร้อมการตรวจงานล้างด้วย Ultrasonic
11. บรรจุภณั ฑ์ พร้อมกับการตรวจสอบการบรรจุภ ณ ั ฑ์ห ากไม่ ผ่านก็นาํ กลับไปแก้ไข
ถ้าหากผ่านก็ส่งมอบสิ นค้าให้กบั ลูกค้า
ภาคผนวก ข
การวิเคราะห์ เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการหล่อเครื่องประดับ
81

ตารางที่ 9 การวิเคราะห์เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับ

รูปภาพ ชื่อ หน้ าที่ / คุณสมบัติ ข้ อควรระวังและการดูแลรักษา


เครื่ องตีปูน ตีปูนเพื่อให้ส่วนผสมของ อย่าตีปูนนานเกินไปจะทําให้
ปูนเป็ นเนื้อเดียวกัน ปูนมีความข้นมาก ส่ งผลต่อ
คุณภาพผิวงานหล่อ

เครื่ องดูดอากาศ ดูดอากาศออกจากปูน อย่าดูดนานเกิน 1 นาที จะทําให้


จนปูนมีลกั ษณะคล้าย ปูนเกิดการเซตตัว ซึ่ งส่ งผลต่อ
นํ้าเดือด คุณภาพงานหล่อ

เตาอบปูน ทําการไล่เทียนออกจาก ควรให้อุณหภูมิในการอบตาม


เบ้าปูนและอบเป้ าปูน คําแนะนําอย่างเคร่ งครัด
ให้แกร่ งในการรองรับ
การหล่อเครื่ องประดับ

เครื่ องหล่อดูด เครื่ องที่ทาํ ให้โลหะเกิด ใช้อุณหภูมิหลอมโลหะตาม


สุ ญญากาศ การหลอมเหลวแล้วทํา ชนิดโลหะที่บริ ษทั กําหนด
การหล่อลงในกระบอก
ปูน

เครื่ องฉี ดล้าง ทําความสะอาดเศษ ใช้ตามคู่มือแนะนําของบริ ษทั


ปูน คราบปูนงานหล่อโลหะ เท่านั้น
ภาคผนวก ค
การวิเคราะห์ กระบวนการหล่อเครื่องประดับ
83

ตารางที่ 10 การวิเคราะห์กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ

ขั้นตอนที่ รูป เครื่องมือ วิธีการ


1. การ เครื่ องชัง่ นําฐานยางมาชัง่ หานํ้าหนักโดยใช้ตาชัง่
คํานวณหาค่า นํ้าหนัก ซึ่ งตาชัง่ ที่ใช้น้ นั อาจจะเป็ นระบบสากล
นํ้าหนักของ (เข็มนาฬิกา)หรื อระบบตัวเลข
ฐานยาง (DIGITAL)

2. การ เครื่ องชัง่ ฐานยางที่ชง่ั ได้จากข้อ 1 ไปติดต้นขี้ผ้ งึ


คํานวณหาค่า นํ้าหนัก และติดพุม่ แบบขี้ผ้ งึ เสร็ จแล้วนํามาชัง่ หา
นํ้าหนักของ นํ้าหนักทั้งหมดแล้วนําค่าที่ได้มาลบ
โลหะที่ใช้หล่อ นํ้าหนักของฐานยาง

3. การผสมปูน ตาชัง่ ชัง่ นํ้าหนักปูนที่ตอ้ งการเตรี ยมไว้


และเทปูน นํ้าหนัก

4. เทนํ้าลงใน ถ้วยตวง ตวงนํ้า (ปกติอุณหภูมิของนํ้าควรเป็ น 70


ปูน F / 21 C - 75 F / 24 C)
หมายเหตุ : ต้องใช้ดว้ ยนํ้าสะอาดเสมอ
- ใช้เวลา 9 -10 นาทีนบั ตั้งแต่น้ าํ และปูน
ได้ผสมกันจนถึงปูนเริ่ มแข็งตัว
5. การผสมปูน เครื่ องผสม เปิ ดเครื่ องผสมปูน 2 - 3 นาทีเริ่ มจากเบาๆ
ปูน ก่อนค่อยไปเร็ ว

6. การดูดปูน เครื่ องดูด นํากระบอกปูนเข้าเครื่ องดูดปูนประมาณ


ปูน 2 นาที
84

ตารางที่ 10 การวิเคราะห์กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)


ขั้นตอนที่ รูป เครื่องมือ วิธีการ
7. ให้ปูนเซตตัว กระบอก วางทิ้งไว้อย่างน้อย 1 -2 ชัว่ โมง ให้ปูน
ปูน เซตตัว

8. ถอดกรวย มีด ถอดกรวยและฐานยางออก และปาดปูน


และฐานยาง ส่ วนเกินด้านบนกระบอกออกด้วยมีดบาง ๆ
ออก

9. ตั้งเบ้าปูนทิ้ง เบ้าปูน ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น เพื่อรอเข้าเตาอบ


ไว้ให้เย็น

10.อบเบ้าปูน เตาอบเบ้า วางกระบอกปูนให้มีระยะห่างจากขดลวด


ปูน ประมาณ 2 เซนติเมตรทิ้งระยะระหว่าง
กระบอก 1 – 5 เซนติเมตรและวางให้สูง
กว่าพื้นเตาวางควํา่ กระบอกปูนลงให้รูเท
อยูด่ า้ นล่างเพื่อให้เทียนไหลออกได้ง่าย
โดยอบให้อุณหภูมิตามเกณฑ์ที่บริ ษทั
กําหนด
11.การหล่อ เครื่ องหล่อ ทําการหลอมโลหะด้วยอุณหภูมิที่บริ ษทั
โลหะ สุ ญญากาศ กําหนดตามชนิดของโลหะ

12. การล้างปูน เครื่ องฉี ด ทําการเคาะเอาปูนออกจากเบ้าปูนออก


ล้างปูน เพื่อให้เหลือแต่ชิ้นงานหล่อ จากนั้นใช้
แรงดันฉี ดทําความสะอาดคราบปูนออก
จากชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับ
ภาคผนวก ง
การวิเคราะห์ การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อเครื่องประดับ
86

ตารางที่ 11 การวิเคราะห์การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อเครื่ องประดับ

ปัญหา รู ป สาเหตุ แนวทางการแก้ไข


1. ชิ้นงานที่น้ าํ นํ้าโลหะมีอุณหภูมิต่าํ เพิ่มอุณหภูมิน้ าํ โลหะ
โลหะไหลเข้า เกินไป
โพรงแบบไม่เต็ม อุณหภูมิเบ้าตํ่าเกินไป เพิ่มอุณหภูมิเบ้า
มีความเป็ นสุ ญญากาศ ตรวจหารอยรั่วของเครื่ องหล่อ
ไม่พอในขณะหล่อ สุ ญญากาศ
2.ผิวชิ้นงานที่ เบ้าร้อนเกินไป ลดอุณหภูมิเบ้า
หยาบ นํ้าโลหะร้อนเกินไป ลดอุณหภูมิการหล่อ
ใช้อตั ราส่ วนผสมปูน ผสมอัตราส่ วนปูนและนํ้าตามที่
หล่อกับนํ้าไม่ ผูผ้ ลิตระบุไว้
เหมาะสม
3. ฟองโลหะบน ปูนหล่อไม่รวมเป็ น ทําตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตปูน
ชิ้นงานหล่อ เนื้อเดียวกัน หล่อ
เกิดข้อผิดพลาด
เนื่องจากการทํางาน ตรวจสอบข้อต่อและผนึกของ
ของปั๊มสุ ญญากาศ ปั๊ม

4. ชิ้นงานหล่อ ใช้อตั ราส่ วนผสมปูน ใช้อตั ราส่ วนของนํ้าและผงปูน


เป็ นครี บ หล่อกับนํ้าไม่ หล่อตามที่ผผู ้ ลิตแนะนํา
เหมาะสม ทิ้งเบ้าปูนไว้อย่างน้อย 1 ชัว่ โมง
เกิดรอยแตกในโพง หลังจากเทปูนหล่อเข้าสู่ เบ้าแล้ว
เบ้าปูนได้รับความร้อน ทําตามคําแนะนําอบเบ้าปูนโดย
เร็ วเกินไป ทําตามวัฏจักรการอบเบ้าปูน
5. ชิ้นงานหล่อ ใช้โลหะอัลลอยที่ไม่ ใช้โลหะอัลลอยที่มีคุณภาพ
เปราะ เหมาะสม
อุณหภูมิของนํ้าโลหะ เพิ่มอุณหภูมิหล่อ
ตํ่าเกินไป
ใช้ปริ มาณโลหะเก่าใน ใช้โลหะเก่าในการหล่อไม่เกิน
การหล่อมากเกินไป 50%
ภาคผนวก จ
แบบทดสอบก่อนการสร้ างชุดรู ปแบบการเรียนรู้
88

แบบทดสอบก่อนเรียน
โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการหลักสู ตร
“การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ”
จงวงกลมในข้ อทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ด(เต็ม 100 คะแนน)
1.ชิ้นงานที่มีความบางมากต้องตั้งอุณหภูมิอย่างไร (2.5 คะแนน)
ก.ตั้งอุณหภูมิหล่อสู งกว่างานหนา เพื่อให้น้ าํ โลหะไหลเข้าไปเต็มโพลง
ข.ตั้งอุณหภูมิหล่อสู งกว่างานหนา เพื่อป้ องกันการเกิดโพรงอากาศ
ค.ตั้งอุณหภูมิหล่อตํ่ากว่างานหนา เพื่อป้ องกันการเกิดโพรงอากาศ
ง.ตั้งอุณหภูมิหล่อตํ่ากว่างานหนา เพื่อให้น้ าํ โลหะไหลเข้าไปเต็มโพลง
2. ถ้าทิ้งกระบอกหล่อที่เทปูนหล่อแล้ว ไว้ในอากาศนานกว่า 24 ชัว่ โมง จะต้องทําอย่างไร(2.5
คะแนน)
ก.ใช้ผา้ ชุบนํ้ามันคลุมไว้กนั ปูนแตก
ข.ใช้ผา้ ชุบนํ้ามันคลุมไว้ไม่ให้น้ าํ ระเหยออกจากปูนหล่อนจนหมด
ค.ใช้สเปรย์ฉีดนํ้าพรมไว้ตลอด
ง.ฉี ดสเปรย์เคลือบผิวไว้
3.กระบอกหล่อ (Flask) โดยทัว่ ไปทําจากโลหะชนิดใด(2.5 คะแนน)
ก.เหล็ก ข.อลูมิเนียม ค.ทองเหลือง ง. สังกะสี
4.เวลาที่ใช้ในการนํากระบอกปูนเข้าเครื่ องดูดปูนเพื่อดูดอากาศออกจากกระบอกปูน(2.5 คะแนน)
ก. 2 นาที ข. 3 นาที ค. 4 นาทีง.5 นาที
5.การติดทางเดินนํ้าควรติดอย่างไร(2.5 คะแนน)
ก.ติดตรงส่ วนที่บางสุ ด ข.ติดตรงส่ วนที่หนาสุ ด
ค.ติดตางส่ วนที่หนากลาง ๆ ง.ติดตรงส่ วนที่เรี ยบด้านหน้า
6.การผสมปูนควรทําอย่างไร(2.5 คะแนน)
ก.ใส่ น้ าํ ก่อนแล้วค่อยใส่ ปูน ข.ใส่ ปูนก่อนแล้วค่อยใส่ น้ าํ
ค.ใส่ ปูนกับนํ้าพร้อม ๆ กัน ง.ถูกทุกข้อ
7.ถ้าต้องการผสมโลหะเงิน 95 % นํ้าหนัก 880 gต้องใช้เงิน 100 % และทองแดงเท่าไร(2.5 คะแนน)
ก. เงิน 100 % = 836 g ทองแดง = 44 g
ข. เงิน 100 % = 841 g ทองแดง = 39 g
ค. เงิน 100 % = 832 g ทองแดง = 48 g
ง. เงิน 100 % = 848 g ทองแดง = 32 g
89

8.ข้อใด คือสัญลักษณ์ของเงิน(2.5 คะแนน)


ก. Au ข. Ag ค.Ptง. Pd
9. ควรปรับตั้งอุณหภูมิของเตาอบ ในการอบเบ้าปูนเครื่ องประดับเงินให้แกร่ ง ให้เครื่ องทํางาน
อุณหภูมิที่ประมาณเท่าใด(2.5 คะแนน)
ก. 200-300 องศาเซลเซียส ข.400-500 องศาเซลเซียส
ค.500-600 องศาเซลเซียส ง.700-750 องศาเซลเซียส
10. ทางเดินนํ้าโลหะที่มีขนาดเล็กหรื อแคบจะมีผลอย่างไร(2.5 คะแนน)
ก.ทําให้โลหะส่ วนที่พงุ่ เข้าไปก่อนเริ่ มแข็งตัวและกันไม่ให้น้ าํ โลหะที่เหลือไหลเข้าไปได้
ข.ทําให้น้ าํ โลหะเข้าไปในโพรงได้ดีและไม่ไหลกลับออกมา
ค.ทําให้โลหะที่หล่อมีรูพรุ น
ง.ทําให้น้ าํ โลหะมีอุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็ ว
11.ชิ้นงานเทียนต้องห่างจากผนังกระบอกหล่อน้อยที่สุดเท่าไร(หล่อดูดสุ ญญากาศ)(2.5 คะแนน)
ก.ติดผนังกระบอกหล่อ ข.ไม่นอ้ ยกว่า ¼ นิ้ว
ค.ไม่นอ้ ยกว่า ½ นิ้ว ง.ไม่นอ้ ยกว่า 1 นิ้ว
12.ทองคํามีตวั ย่อว่าอะไร(2.5 คะแนน)
ก. Au ข. Ag ค. Pt ง. Pd
13.จุดหลอมเหลวของโลหะเงินคืออุณหภูมิเท่าไร (2.5 คะแนน)
ก. 956 องศาเซลเซียล ข. 961 องศาเซลเซียล
ค. 965 องศาเซลเซียล ง. 970 องศาเซลเซียล
14. จุดหลอมเหลวของโลหะทองคําคืออุณหภูมิเท่าไร(2.5 คะแนน)
ก. 1056 องศาเซลเซียล ข. 1064 องศาเซลเซียล
ค. 1068 องศาเซลเซียล ง. 1074 องศาเซลเซียล
15.ในการผสมนํ้าลงในปูน 100 กรัม จะต้องใส่ น้ าํ ผสมปูนกี่มิลลิลิตร(2.5 คะแนน)
ก. 30ข. 34 ค. 38 ง.42
16.การผสมปูน และเทปูนลงกระบอกปูนควรใช้เวลาเท่าไร (2.5 คะแนน)
ก.ไม่ให้เกิน 8 นาที ข.ไม่ให้เกิน 10 นาที
ค.ไม่ให้เกิน 12 นาที ง. 15 นาที
17. การอบเบ้าปูนมีอุณหภูมิที่ใช้ในการเปาไล่เทียนควรใช้อุณหภูมิอยูท่ ี่ประมาณ(2.5 คะแนน)
ก.ประมาณ 100 – 120 c ข.ประมาณ 150 - 180 c
ค.ประมาณ 200 - 280 c ง.ประมาณ 325 - 350 c
90

18. ค่าความถ่วงจําเพาะของเงิน 95 % มีค่าเท่ากับเท่าไร (2.5 คะแนน)


ก. 9.5 ข.10.0 ค.10.5 ง. 11.0
19. ปั ญหาที่เกิดรู พรุ น หรื อตามดที่บริ เวณผิวชิ้นงานหล่อเกิดจากสาเหตุใด (2.5 คะแนน)
ก.อุณหภูมิเทสู งเกินไป ข. ผสมปูนไม่ถูกต้อง
ค.ความดันในการหล่อโลหะ ง.ถูกทุกข้อ
20. ปั ญหาชิ้นงานหล่อมีผวิ งานที่หยาบเกิดจากสาเหตุใด (2.5 คะแนน)
ก. อุณหภูมิเทสู งเกินไป ข. ผสมปูนไม่ถูกต้อง
ค.ความดันในการหล่อโลหะ ง.ถูกทุกข้อ
21. จากชิ้นงานที่กาํ หนดให้ แสดงชิ้นงานที่น้ าํ โลหะไหลเข้าโพรงแบบไม่เต็ม(10 คะแนน)
ก.สาเหตุของการเกิดข้อบกพร่ อง
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
ข. การแก้ไข
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
22. จากชิ้นงานที่กาํ หนดให้ แสดงลักษณะของผิวชิ้นงานที่หยาบ(10 คะแนน)

ก.สาเหตุของการเกิดข้อบกพร่ อง
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
ข. การแก้ไข
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
91

23. จากชิ้นงานที่กาํ หนดให้ แสดงลักษณะฟองโลหะบนชิ้นงานหล่อ(10 คะแนน)


ก.สาเหตุของการเกิดข้อบกพร่ อง
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
ข. การแก้ไข
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
24. จากชิ้นงานที่กาํ หนดให้ แสดงชิ้นงานหล่อเป็ นครี บ(10 คะแนน)
ก.สาเหตุของการเกิดข้อบกพร่ อง
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
ข. การแก้ไข
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
25. จากชิ้นงานที่กาํ หนดให้ แสดงชิ้นงานหล่อเปราะ(10 คะแนน)
ก.สาเหตุของการเกิดข้อบกพร่ อง
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
ข. การแก้ไข
………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………
ภาคผนวก ฉ
เฉลยแบบทดสอบก่อนการสร้ างชุ ดรูปแบบการเรียนรู้
93

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
1.เฉลยข้อสอบปรนัย (คะแนนข้อละ 2.5 คะแนน)

ข้ อ เฉลย ประเภทเนือ้ หา หมายเหตุ


1 ก 3
2 ค 3
3 ก 1
4 ก 3
5 ข 3
6 ก 3 ประเภทเนื้อหา
7 ก 2 1 คือ วัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานหล่อ
8 ข 1 เครื่ องประดับ
9 ง 3 2 คือ วิธีการใช้เครื่ องมือและการคํานวณ
10 ก 3 3 คือ กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
11 ข 2 4 คือ การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อ
12 ก 1
13 ข 3
14 ข 3
15 ค 2
16 ข 3
17 ข 3
18 ค 1
19 ก 4
20 ข 4
94

2.เฉลยข้อสอบอัตนัย (คะแนนข้อละ 10 คะแนน)

ข้ อ ข้ อบกพร่ อง สาเหตุของการเกิดข้ อบกพร่ อง การแก้ไข


21 ชิ้นงานที่น้ าํ นํ้าโลหะมีอุณหภูมิต่าํ เกินไป เพิ่มอุณหภูมิน้ าํ โลหะ
โลหะไหลเข้า อุณหภูมิเบ้าตํ่าเกินไป เพิ่มอุณหภูมิเบ้า
โพรงแบบไม่ มีความเป็ นสุ ญญากาศไม่พอในขณะ ตรวจหารอยรั่วของเครื่ องหล่อ
เต็ม หล่อ สุ ญญากาศ
22 ผิวชิ้นงานที่ เบ้าร้อนเกินไป ลดอุณหภูมิเบ้า
หยาบ นํ้าโลหะร้อนเกินไป ลดอุณหภูมิการหล่อ
ใช้อตั ราส่ วนผสมปูนหล่อกับนํ้าไม่ ผสมอัตราส่ วนปูนและนํ้าตามที่
เหมาะสม ผูผ้ ลิตระบุไว้
23 ฟองโลหะบน ปูนหล่อไม่รวมเป็ นเนื้อเดียวกัน ทําตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตปูน
ชิ้นงานหล่อ หล่อ
เกิดข้อผิดพลาดเนื่องจากการทํางาน ตรวจสอบข้อต่อและผนึกของ
ของปั๊ มสุ ญญากาศ ปั๊ม
24 ชิ้นงานหล่อเป็ น ใช้อตั ราส่ วนผสมปูนหล่อกับนํ้าไม่ ใช้อตั ราส่ วนของนํ้าและผงปูน
ครี บ เหมาะสม หล่อตามที่ผผู ้ ลิตแนะนํา
เกิดรอยแตกในโพง ทิ้งเบ้าปูนไว้อย่างน้อย 1 ชัว่ โมง
หลังจากเทปูนหล่อเข้าสู่ เบ้าแล้ว
เบ้าปูนได้รับความร้อนเร็ วเกินไป ทําตามคําแนะนําอบเบ้าปูนโดย
ทําตามวัฏจักรการอบเบ้าปูน
25 ชิ้นงานหล่อ ใช้โลหะอัลลอยที่ไม่เหมาะสม ใช้โลหะอัลลอยที่มีคุณภาพ
เปราะ อุณหภูมิของนํ้าโลหะตํ่าเกินไป เพิ่มอุณหภูมิหล่อ
ใช้ปริ มาณโลหะเก่าในการหล่อมาก ใช้โลหะเก่าในการหล่อไม่เกิน
เกินไป 50%
95

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบก่ อนเรียน (Pre-test)

จํานวนข้ อสอบ
เนือ้ หา

อัตนัย
ปรนัย
1.วัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานหล่อเครื่ องประดับ 4 0
2. วิธีการใช้เครื่ องมือและการคํานวณ 3 0
3. กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ 11 0
4. การตรวจสอบคุณภาพงานหล่อ 2 5
รวม 20 5

หมายเหตุ : ข้อสอบปรนัย 20 ข้อ


ข้อสอบอัตนัย 5 ข้อ
ภาคผนวก ช
คู่มือการฝึ กอบรม
97

โครงการฝึ กการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสู ตร
การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ
1. ชื่อเรื่องฝึ กอบรม
1.1 การพัฒนากระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
1.2 การพัฒนาการตรวจสอบและแนวทางการแก้ไขคุณภาพงานหล่อเครื่ องประดับ

2. พืน้ ฐานของผู้เข้ าการฝึ กอบรม


เป็ นพนักงานช่างหล่อเครื่ องประดับของโรงงานตัวอย่างAจํากัด

3. วัตถุประสงค์ ของการฝึ กอบรม


3.1 มีความรู ้ เข้าใจหลักการหล่อเครื่ องประดับต่าง ๆ
3.2 สามารถปฏิบตั ิงานหล่อเครื่ องประดับตามกระบวนการ และการใช้เครื่ องมือต่าง ๆ
ในการหล่อเครื่ องประดับได้อย่างประณี ตและสวยงาม

4. รายการเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการฝึ กอบรม


4.1 คู่มือการฝึ กอบรม
4.2 คู่มือผูใ้ ห้การฝึ กอบรม
4.3 คู่มือผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
4.4 ใบงานในการฝึ กภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ

5. แผนการจัดแบ่ งเนือ้ หาการฝึ กอบรม


5.1 ภาคทฤษฎีงานหล่อเครื่ องประดับ
ระยะเวลาที่ใช้ 16ชัว่ โมง
รายละเอียดเนื้อหาหลักสู ตร
1. บทนํา
2. แบบทดสอบก่อนเรี ยน
3. เอกสารการฝึ กอบรมเรื่ อง “งานหล่อเครื่ องประดับ”
4. แบบทดสอบหลังฝึ กอบรม
98

5.2 ภาคปฏิบตั ิงานหล่อเครื่ องประดับ


ระยะเวลาที่ใช้ 24 ชัว่ โมง
รายละเอียดเนื้อหาหลักสู ตร
1. บทนํา
2. ใบงานทดสอบการฝึ กภาคปฏิบตั ิก่อนฝึ กอบรม
3. ใบความรู ้และใบงานการฝึ กภาคปฏิบตั ิ
4. ประเมินผลการฝึ กภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิหลังการฝึ กอบรม
รวมระยะเวลา 40ชัว่ โมง

6. ระยะเวลา กําหนดการและสถานทีฝ่ ึ กอบรม


6.1 ภาคทฤษฎีงานหล่อเครื่ องประดับ
วันที่ 1
สถานที่ ห้องประชุมของบริ ษทั เวลา08.00 - 17.00น.
08.00- 08.10 ลงทะเบียนเข้ารับการฝึ กอบรม
08.10 - 08.25 บทนํา
08.25- 09.25 ทําแบบทดสอบก่อนเรี ยน
09.25 - 10.20 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ
10.20 -10.30 พัก
10.30 - 12.00 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)
12.00 - 13.00 พักกลางวัน
13.00 – 15.10 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)
15.10 - 15.20 พัก
15.20- 17.00 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)
วันที่ 2
สถานที่ ห้องประชุมของบริ ษทั เวลา08.00 - 17.00 น.
08.00 - 08.10 ลงทะเบียนเข้ารับการฝึ กอบรม
08.10 - 10.20 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)
10.20 - 10.30 พัก
10.30 - 12.00 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)
12.00 - 13.00 พักกลางวัน
99

13.00 – 15.10 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)


15.10 - 15.20 พัก
15.20- 16.00 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ (ต่อ)
16.00- 17.00 แบบทดสอบหลังฝึ กอบรม
6.2 ภาคปฏิบตั ิงานหล่อเครื่ องประดับ
วันที่ 1
สถานที่ ณ ห้องงานหล่อ ของบริ ษทั เวลา08.00 - 17.00 น.
08.00 - 08.10 ลงทะเบียนเข้ารับการฝึ กอบรม
08.10 - 08.25 บทนํา
08.25 -12.00 ทําใบงานก่อนการฝึ กอบรมภาคปฏิบตั ิ
12.00 - 13.00 พักกลางวัน
13.00 - 17.00 อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง งานหล่อเครื่ องประดับ
การตรวจสอบและวิเคราะห์ชิ้นงาน
การทําเบ้าปูน และ ทําการปูนหล่อ
การคํานวณนํ้าหนักโลหะ
การหลอมและหล่อโลหะด้วยเครื่ องหล่อสุ ญญากาศ
วันที่ 2
สถานที่ ณ ห้องงานหล่อ ของบริ ษทั เวลา08.00 - 17.00 น.
08.00 - 08.10 ลงทะเบียนเข้ารับการฝึ กอบรม
08.10 - 12.00 ทําใบงานเรื่ อง การตรวจสอบและวิเคราะห์ชิ้นงาน
12.00 - 13.00 พักกลางวัน
13.00 - 17.00 ทําใบงานเรื่ อง การทําเบ้าปูน และ ทําการปูนหล่อ
วันที่ 3
สถานที่ ณ ห้องงานหล่อ ของบริ ษทั เวลา08.00 - 17.00 น.
08.00 - 08.10 ลงทะเบียนเข้ารับการฝึ กอบรม
08.10 - 10.20 ทําใบงานเรื่ อง การคํานวณนํ้าหนักโลหะ
10.20 – 10.30 พัก
10.30 – 12.00 ทําการตรวจสอบเบ้าปูน เพือ่ เตรี ยมงานหล่อ
12.00 - 13.00 พักกลางวัน
100

13.00 - 16.00 ทําใบงานเรื่ อง การหลอมและหล่อโลหะด้วยเครื่ อง


หล่อสุ ญญากาศ
16.00 - 17.00 สรุ ปประเมินผลการฝึ กภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิหลัง
การฝึ กอบรม

7. วิธีการดําเนินการฝึ กอบรม
7.1 ทําใบงานก่อนการฝึ กอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ
7.2 ทําการฝึ กอบรมโดยบรรยายประกอบการใช้สื่อ Power Point และวิดีทศั น์
7.3 ทําใบงานหลังการฝึ กอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ

8. ข้ อเสนอแนะในการนําหลักสู ตรไปใช้
เพื่อให้การนําหลักสู ตรการฝึ กอบรมเรื่ องดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามจุดมุ่งหมาย
ตามหลักสู ตรจึงขอเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการนําหลักสูตรไปใช้ดงั นี้
8.1 แนวความคิดเกี่ยวกับหลักสู ตร
หลักสู ตรการฝึ กอบรมเรื่ องดังกล่าวที่ได้จดั ทําขึ้นมานี้สามารถนําไปใช้ในการอบรม
และพัฒนารู ปแบบการเรี ยนรู ้ในสถานประกอบการประเภทเครื่ องประดับและอัญมณี อื่นๆได้ หรื อ
สําหรับบุคคลที่มีความสนใจในเรื่ องนี้
8.2 การจัดสถานที่ในการฝึ กอบรม
สถานที่ ที่ ใ ช้ สาํ หรั บ การฝึ กอบรมควรเป็ นห้องทัว่ ไปที่มีพ้ืนที่ และอุปกรณ์ที่
เอื้ออํานวยต่อการเรี ยนรู ้ เช่น กระดานไวท์บอร์ด โปรเจคเตอร์ เครื่ องเขียน เป็ นต้น และห้องที่ใช้ใน
การฝึ กปฏิบตั ิงานหล่อเครื่ องประดับ
ภาคผนวก ซ
คู่มือผู้ให้ การฝึ กอบรม
102

คู่มอื ผู้ให้ การฝึ กอบรม

1. เครื่องอํานวยประโยชน์ ในการสอน
1.1 ห้องประชุมพร้อมเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานหล่อเครื่ องประดับ
1.2 กระดานดํากระดานไวท์บอร์ด พร้อมอุปกรณ์
1.3 เครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะ,Projector
2. วิธีการสอน
2.1 บรรยายประกอบการใช้สื่อPower Pointและวิดีทศั น์
2.2 ทําใบงานก่อนการอบรม
2.3 ทําการฝึ กอบรม
2.4 ทําใบงานหลังการอบรม
2.5 ถามตอบในห้องเรี ยน
3. สื่ อการสอน
3.1 หนังสื อคู่มือการฝึ กอบรม
3.2 สื่ อ Power Point
3.3 สื่ อวิดีทศั น์
3.4 ชิ้นงานจริ ง
103

4. แผนการสอน
คู่มอื การฝึ กอบรมหน่ วยที่ 1 : ภาคทฤษฎีงานหล่อเครื่ องประดับ
อบรมครั้งที่ 1 เวลา 08.00 – 17.00 น. (จํานวน 16 ชัว่ โมง)
เนือ้ หาหลักสู ตร วัตถุประสงค์
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ การใช้เครื่ องมือ 1. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมสามารถรู้, เลือกใช้ และใช้
อุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับการ งานเครื่ องมือ อุปกรณ์ ในการใช้งานหล่อเครื่ องประดับได้
ตรวจสอบคุณภาพและแนวทางการแก้ไขงาน อย่างเหมาะสม
หล่อเครื่ องประดับ 2. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมมีทกั ษะ และความสามารถ
ในกระบวนการหล่อเครื่ องประดับได้อย่างถูกวิธี
3. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมตระหนักถึงความสําคัญใน
กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
เวลา หัวข้ อเรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการ
(นาที) ฝึ กอบรม
15 บทนํา เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมตระหนักถึง บรรยาย
การหล่อเครื่ องประดับ ความสําคัญในกระบวนการหล่อ ประกอบการ
เครื่ องประดับ ใช้สื่อ Power
Point
ใบงานก่อนการฝึ กอบรม เพื่อให้สามารถมองเห็นภาพรวมของเนื้อหา บรรยาย
60 ภาคทฤษฎี และรู้ความสามารถของตนเองก่อนการ ประกอบ
ฝึ กอบรม การสาธิต

765 ฝึ กอบรม งานหล่อเครื่ องประดับ เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมสามารถรู้จกั บรรยาย


ทฤษฎี กระบวนการหล่อเครื่ องประดับและ ประกอบการ
1.ความรู้ทวั่ ไปเกีย่ วกับงานหลอมหล่อ เลือกใช้เครื่ องมือได้อย่างถูกต้อง ใช้สื่อ Power
พัฒนาการของงานหลอมหล่อ Point
เครื่ องประดับ และวิดีทศั น์
การหล่อเครื่ องประดับแบบแทนที่
เทียน
ขั้นตอนโดยรวมของกระบวนผลิต
เครื่ องประดับ
โลหะที่ใช้ทาํ ตัวเรื อนเครื่ องประดับ
104

เวลา หัวข้ อเรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการ


(นาที) ฝึ กอบรม
สรุ ปคุณสมบัติที่สาํ คัญของโลหะที่ใช้
ทําเครื่ องประดับ
2.เครื่องมือ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในงานหล่อ
ชนิด และชื่อเรี ยก
คุณสมบัติ และการใช้งาน
การดูแลรักษา
3.การติดทางเดินนํา้ โลหะ
ขนาดของทางเดินนํ้าที่เหมาะสมกับ
ชิ้นงานแต่ละประเภท แต่ละแบบ
การเลือกจุดที่จะติดทางเดินนํ้าโลหะ
4.การติดต้ นเทียนและคํานวณนํา้ หนัก
ทฤษฎี
ศึกษารู้แบบการติดต้นเทียน
วิธีการติดต้นเทียน

การติดต้นเทียน บรรยาย
การคํานวณนํ้าหนักเทียน ประกอบการ
ข้อควรระวังในการทํางาน ใช้สื่อ Power
5) การหล่อเบ้ าปูน Point
ทฤษฎี และวีดิทศั น์
การเตรี ยมเครื่ องจักร และวัสดุ –
อุปกรณ์
การคํานวณปริ มาณปูน และนํ้า
การผสมปูน และนํ้า
การตีปูน และการดูดอากาศ
การเทปูน
การเตรี ยมเครื่ องจักร – และวัสดุ –
อุปกรณ์
การตั้งอุณหภูมิ เวลา และการปรับ
105

เวลา หัวข้ อเรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการ


(นาที) ฝึ กอบรม

อุณหภูมิแต่ละช่วงของเครื่ องอบปูน
การวางเบ้าปูน
การรักษาความปลอดภัยในการทํางาน
6.การหลอม และ หล่อโลหะ
ทฤษฎี
การเตรี ยมเครื่ องจักร และวัสดุ –
อุปกรณ์
การดูหน้าผิวโลหะเวลาหลอม

60 ทําแบบทดสอบหลังฝึ กอบรม แบบทดสอบ


หลังการ
ฝึ กอบรม

คู่มอื การฝึ กอบรมหน่ วยที่ 2 :ภาคปฏิบตั ิงานหล่อเครื่ องประดับ


อบรมครั้งที่1 เวลา 08.00– 17.00 น. (จํานวน 24 ชัว่ โมง)
เนือ้ หาหลักสู ตร วัตถุประสงค์
ศึกษาเชิงปฏิบตั ิการเกี่ยวกับการใช้เครื่ องมือ 1. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมรู้เกณฑ์มาตรฐานการหล่อ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อเครื่ องประดับการ เครื่ องประดับ
ตรวจสอบคุณภาพและแนวทางการแก้ไขงาน 2. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมสามารถตรวจสอบ และ
หล่อเครื่ องประดับ วิเคราะห์คุณภาพของชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับได้อย่าง
ถูกต้อง
3. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมตระหนักถึงความสําคัญใน
การกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ

เวลา วิธีการ
หัวข้ อเรื่อง วัตถุประสงค์
(นาที) ฝึ กอบรม
15 บทนํา เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมตระหนักถึง บรรยาย
การหล่อเครื่ องประดับเชิง ความสําคัญในการหล่อเครื่ องประดับ ประกอบการ
ปฏิบตั ิการ ใช้สื่อ Power
Point
106

เวลา วิธีการ
หัวข้ อเรื่อง วัตถุประสงค์
(นาที) ฝึ กอบรม
215 ใบงานภาคปฏิบตั ิก่อนการ ทดสอบความเข้าใจในงานหล่อ ใบงาน
ฝึ กอบรม เครื่ องประดับเชิงปฏิบตั ิการก่อนการ ทดสอบก่อน
ฝึ กอบรม การอบรม

240 อบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง งานหล่อ เพื่อทําการอบรมให้ผอู้ บรมมีความรู้เชิง ใบความรู้


เครื่ องประดับ ปฏิบตั ิการในงานหล่อเครื่ องประดับ และการ
สาธิตงานจริ ง
230 ใบงานเรื่ อง การตรวจสอบและ เพื่อทดสอบผูอ้ บรมด้านการวิเคราะห์ ใบงานที่ 1
วิเคราะห์ชิ้นงาน ชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับ

240 ใบงานเรื่ อง การทําเบ้าปูน และ ทํา เพื่อทดสอบผูอ้ บรมด้านการทําปูนหล่อใน ใบงานที่ 2


การปูนหล่อ งานหล่อเครื่ องประดับ

70 ใบงานเรื่ อง การคํานวณนํ้าหนัก เพื่อทดสอบผูอ้ บรมด้านการคํานวณนํ้าหนัก ใบงานที่ 3


โลหะ โลหะในงานหล่อเครื่ องประดับ

240 ใบงานเรื่ อง การหลอมและหล่อ เพื่อทดสอบผูอ้ บรมด้านการหลอมและหล่อ ใบงานที่ 4


โลหะด้วยเครื่ องหล่อสุ ญญากาศ งานเครื่ องประดับ

60 สรุ ปประเมินผลการฝึ กภาคทฤษฎี เพื่อสรุ ปผลงานให้กบั ผูอ้ บรมได้รับทราบ ใบ


และภาคปฏิบตั ิหลังการฝึ กอบรม ประเมินผล
ภาคผนวก ฌ
คู่มือผู้เข้ ารับการฝึ กอบรม
108

คู่มอื ผู้เข้ ารับการฝึ กอบรม


โครงการฝึ กการอบรมเชิงปฏิบตั ิการหลักสูตร
“การจัดการเรี ยนรู้งานหล่อเครื่ องประดับ”
109

สารบัญ

เรื่ อง
ใบความรู ้ที่ 1 ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับโลหะ
ใบความรู ้ที่ 2 ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ
ใบความรู ้ที่ 3ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับการติดทางเดินนํ้าโลหะ
ใบความรู ้ที่ 4 การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก
ใบความรู ้ที่ 5 การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน
ใบความรู ้ที่ 6 การหล่อโลหะ
ใบความรู ้ที่ 7 การล้างปูน
ใบความรู ้ที่ 8 การตรวจสอบนํ้าหนัก , ปั ญหาและวิธีแก้ไขในการหล่อ
ใบงานที่ 1การตรวจสอบและวิเคราะห์ชิ้นงาน
ใบงานที่ 2การทําเบ้าปูน และ ทําการปูนหล่อ
ใบงานที่ 3การคํานวณนํ้าหนักโลหะ
ใบงานที่ 4การหลอมและหล่อโลหะด้วยเครื่ องหล่อสุ ญญากาศ
110

ใบความรู้ที่ 1
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับโลหะ
โลหะที่ใช้ทาํ ตัวเรื อนเครื่ องประดับ
เงิน (Silver)

เงิน (Silver) เงินเป็ นโลหะทรานซิชนั สี ขาวเงินมีสมบัติการนําความร้อนและไฟฟ้ าได้ดีมากใน


ธรรมชาติ อาจรวมอยู่ในแร่ อื่นๆหรื ออยูอ่ ิสระเงินใช้ประโยชน์ในการทําเหรี ยญเครื่ องประดับภาชนะ
บนโต๊ะอาหารและอุตสาหกรรมการถ่ายรู ปโลหะเงินจัดเป็ นโลหะที่มีค่าและมีความขาวมากที่สุด
เนื่ องจากเนื้อเงินแท้100 % จะมีความอ่อนนุ่มมากสามารถอ่อนปวกเปี ยกได้ในอุณหภูมิหอ้ งเลยทีเดียว
และง่ายต่อการโดนทําลายดังนั้นในการทําเครื่ องประดับจึงจําเป็ นต้องมีการผสมด้วยวัสดุอย่างอื่น
เช่นอัลลอยด์, ทองแดงฯลฯเพื่อให้สามารถขึ้นรู ปและมีความแข็งขึ้นซึ่ งจะทําให้เราสามารถนํามาทํา
เป็ นเครื่ องประดับได้โดยส่ วนใหญ่อีก 7.5 % ที่เหลือมักจะใช้ทองแดงมาผสมแต่อาจจะมีบางแห่ งที่
ใช้วสั ดุอย่างอื่นมาผสมแทนแต่ที่ใช้กนั มานมนานจะเป็ นทองแดงเนื่ องจากราคาไม่แพงมากและหา
ได้ง่ายมีอยูม่ ากมายดังนั้นนักออกแบบส่ วนมากจะเลือกใช้ทองแดงมาผสมกับเงิน 100 % ที่เรี ยกกัน
ว่าเงินสเตอร์ริง (Stering Silver)
การทดสอบโลหะเงินด้วยกรดไนตริ ก
เงินสเตอร์ริงจะกลายเป็ นสี ครี มมัว
นิกเกิลซิลเวอร์จะกลายป็ นสี เขียว
คอยน์ซิลเวอร์จะกลายเป็ นสี ดาํ
จุดหลอมเหลว 961.78 องศาเซลเซียส
ลักษณะของโลหะทีน่ ํามาทําตัวเรือนเครื่องประดับ
ความมันวาว
โลหะที่ จ ะนํา มาทํา ตัว เรื อ นเครื่ อ งประดับ ควรจะมี ค วามมัน วาวสู ง สามารถสัง เกตได้
หลังจากผ/านขั้นตอนการขัดชิ้นงานผิวของโลหะสามารถสะท้อนแสงจนเห็นเงาได้โลหะเงินจะมี
ความมันวาวสู งเนื่ องจากมีความแข็งตํ่าสามารถเกิดรอยขูดขีดได้ง่ายจึงง่ายต่อการขัดด้วยทองคําก็
เช่นเดียวกันส่ วนแพลทินมั ถ้าจะให้ได้ผวิ ที่มนั วาวเท่ากับโลหะเงินได้น้ นั ต้องใช้เวลาในการขัดนาน
เนื่ องจากแพลทิ นัมมี ความแข็งแรงมากทองแดงและทองเหลืองเมื่อทําปฏิกิริยากับออกซิ เจนใน
อากาศจะทําให้ผวิ ชิ้นงานหมองเร็ วมากดังนั้นก่อนการชุบผิวชิ้นงานมักจะชุบนํ้ายากันหมองก่อน
111

ใบความรู้ที่ 1(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับโลหะ
ความอ่ อนตัว
หมายถึงสามารถดัดงอโค้งได้ง่ายจนกระทัง่ การรี ดเป็ นแผ่นทําเกลียวดึงลวดและสามารถ
ขึ้นรู ปโดยที่เนื้ อโลหะไม่แตกหรื อร้าวทองคําบริ สุทธิ์ มีคุณสมบัติในการรี ดแผ่นบางมากที่สุดและ
สามารถดึ งลวดได้ยาวโลหะเงิ นก็เช่ นกันแต่มีคุณสมบัติน้อยกว่าทองคําบริ สุทธิ์ เงิ นสเตอร์ ลิงมี
คุ ณ สมบัติ ใ นการดัด แปลงรู ป ทรงน้อยกว่า เงิ น บริ สุท ธิ์ แต่ มีค วามแข็ง แรงมากกว่ า ทองแดงก็ มี
คุณสมบัติในการดัดงอขึ้นรู ปได้ดีเหมือนกันหากมีการใช้ในงานขึ้นรู ปจะมีความยากกว่าโลหะเงิน
เพราะทองแดงมีความแข็งมากกว่า
การนําความร้ อน
โลหะที่นํามาทําตัวเรื อนเครื่ องประดับควรนําความร้ อนได้ดีและรวดเร็ วเช่ นโลหะเงิ น
สามารถนําความร้อนได้ดีและเร็ วทองแดงจะสามารถนําความร้อนได้ดีตอ้ งให้ความร้อนอย่างทัว่ ถึง
ทั้งชิ้นงานการบัดกรี จุดเล็กๆจะทําได้ไม่ค่อยดีแพลทินมั จะนําความร้อนได้ไม่ดีนกั แต่ทาํ ได้ดีในการ
บัดกรี เป็ นจุดหากตัวเรื อนสําเร็ จที่ทาํ การฝังพลอยแล้วก็ไม่ตอ้ งเอาพลอยออกสามารถบัดกรี ได้เลย
ทองแดงไม่สามารถนํามาหล่องานได้เนื่องจากมีผวิ หน้าที่แข็ง
ปฏิกริ ิยาทางเคมี
โลหะทุกชนิ ดจะมีส่วนผสมของธาตุต่างๆเมื่อทําปฏิกิริยากับออกซิ เจนในอากาศจะทําให้
งานหมองหรื อเกิดสนิมได้สามารถทําความสะอาดชิ้นงานได้โดยการล้างในสารละลายทองคําจะไม่
ทําปฏิกิริยาเคมีในอากาศปกติไม่หมองและไม่เป็ นสนิ มสามารถละลายด้วยกรดกัดทองโลหะเงิน
และทองแดงจะดําเมื่ออยูร่ ่ วมกับกํามะถันหรื อของมันและเกิดสนิ มเร็ วเมื่อโดนความร้อนสามารถ
ทําความสะอาดด้วยกรดกํามะถันเจือจางแพลทินมั เป็ นโลหะที่เกิดสนิ มได้ยากแต่เมื่อใช้นานไปจะ
หมองและดําสามารถทําความสะอาดได้ดว้ ยสารละลายโพแทสเซียมซัลไฟต์ที่มีความร้อนพอประมาณ
การนําไฟฟ้า
โลหะทุกชนิ ดจะสามารถนําไฟฟ้ าได้ดีโดยเฉพาะโลหะเงิ นสามารถนําไฟฟ้ าได้ดีที่สุด
ปั จจุบนั ได้นาํ หลักการนี้ไปใช้ในการเคลือบผิวเครื่ องประดับที่ทาํ จากโลหะไม่มีค่าให้มีค่ามาก
112

ใบความรู้ที่ 1(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับโลหะ

ทองคํา (Gold)

คุณสมบัตขิ องทองคํา
ทองคํา เรี ยกโดยย่อว่า “ทอง” เป็ นธาตุลาํ ดับที่ 79 มีสัญลักษณ์ Au ทองคําเป็ นโลหะแข็ง
สี เหลื อง เกิ ดเป็ นธาตุอิสระในธรรมชาติ ไม่ ว่องไวต่ อปฏิ กิริยาและทนทานต่ อการขึ้นสนิ มได้ดี
เลิศ ทองคํามีจุดหลอมเหลวที่ 1064 องศาเซลเซี ยส จุดเดือดที่ 2701 องศาเซลเซี ยส มีความ
ถ่วงจําเพาะ 19.3 และมีน้ าํ หนักอะตอม 196.67 ลักษณะที่พบเป็ นเกล็ด เม็ดกลม แบน หรื อรู ปร่ าง
คล้ายกิ่งไม้ รู ปผลึกแบบลูกเต๋ า(Cube) หรื อ ออคตะฮีดรอน (Octahedron) หรื อ โดเดกะฮีดรอน
(Dodecahedron)
113

ใบความรู้ที่ 2
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ

เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการหล่อหล่อเครื่องประดับ


ลําดับ ภาพ ชื่อและชนิด
1. เครื่องตีปูน
ส่ วนประกอบของเครื่องตีปูน
คันโยกสปรีตทําหน้าที่ควบคุมความเร็ วของ
มอเตอร์ให้ชา้ หรื อเร็ วตามความต้องการซึ่ งมีอยู่ 3
ระดับสวิตซ์
เปิ ด - ปิ ดเป็ นปุ่ มเปิ ดและปิ ดเครื่ องผสมปูนซึ่ งมี
เครื่ องหมายดังนี้
คือเปิ ดเครื่ องเครื่ องทํางานไฟที่สวิตซ์จะติด
o คือปิ ดเครื่ องเครื่ องจะไม่ทาํ งานไฟที่สวิตซ์จะดับ
คันยกใช้ยกถังตีปูนขึ้น – ลง
ที่ใส่ ตวั ตีปูนเป็ นที่ใส่ ที่ปั่นปูนเพื่อปั่นส่ วนผสม
ระหว่างปูนกับนํ้าให้เข้ากัน
ขายึดถังปูนเป็ นที่วางถังตีปูนกับเครื่ องผสมปูน
2. เครื่องดูดอากาศ
ส่ วนประกอบของเครื่องดูดอากาศ
สวิตซ์เปิ ด - ปิ ดเป็ นที่เปิ ดเครื่ องให้เริ่ มทํางานและ
ปิ ดเครื่ องเมื่อใช้เสร็ จเรี ยบร้อย
เกจวัดแรงดูดอากาศเป็ นตัวบอกแรงดูดอากาศใน
ถัง
ฝาคอบกั้นไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาในเครื่ อง
วาล์ วเปิ ดอากาศเป็ นตัวเปิ ดให้อากาศเข้ามาในถัง
สุ ญญากาศเมื่อดูดอากาศเสร็ จเรี ยบร้อย
ชุดสั่ นสะเทือนช่วยให้ปูนไหลเข้าไปในซอกต่างๆ
ของแบบเทียน
ถังใส่ เบ้ าปูนเป็ นที่วางเบ้าปูนหรื อถังยางเพื่อที่จะ
ดูดอากาศ
ปั๊มดูดอากาศเป็ นตัวปั๊มที่อยูภ่ ายในเครื่ องทําหน้าที่
การดูดอากาศออกจากถัง
114

ใบความรู้ที่ 2(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ

3. เครื่องผสมปูนอัตโนมัติ
ส่ วนประกอบของเครื่องผสมปูนอัตโนมัติ
สวิตซ์ ควบคุมการทํางานเป็ นที่เปิ ด - ปิ ดเครื่ อง
และควบคุมการดูดอากาศร่ วมทั้งเวลาในการตีปูน
ถังใส่ ปูนและนํา้ เป็ นถังที่นาํ นํ้าและปูนเทใส่ แล้ว
เครื่ องจะทําการตีและดูดอากาศอัตโนมัติ
วาล์ วเปิ ดปูนเป็ นตัวเปิ ดให้ปูนไหลลงในเบ้าที่วาง
ไว้ดา้ นล่าง
ถังดูดอากาศเป็ นถังที่จะดูดอากาศออกจากเบ้าปูน
เมื่อเทปูนลงเบ้าแล้ว
ถังสํ าหรับล้ างปูนเป็ นที่สาํ หรับล้างปูนออกจาก
เครื่ อง
4. เตาอบปูน
ส่ วนประกอบของเตาอบปูน
ชุดตั้งโปรแกรมเตาเป็ นตัวตั้งอุณหภูมิภายในเตา
โดยมีจอแสดงอุณหภูมิเป็ นตัวเลขดังนี้
ตัวเลขสี แดง = เป็ นอุณหภูมิภายในเตาจะ
เปลี่ยนแปลงตามตัวเลขสี เหลือง
ตัวเลขสี เหลือง = เป็ นอุณหภูมิที่ต้ งั ไว้และเตากําลัง
ทํางานอยูใ่ นขณะนั้น
สวิตซ์ เปิ ด-ปิ ดเป็ นตัวเปิ ดปิ ดเครื่ องทํางานและตั้ง
โปรแกรมการทํางานของเตา
ถาดนํา้ เป็ นที่ใส่ น้ าํ สําหรับรองรับเทียนที่ละลาย
เหลือจากการเผาจะรองอยูข่ า้ งล่างเตาตรงกับรู
ระบายเทียน
มือจับเปิ ด – ตัวล็อคฝาเตาเป็ นมือจับในการเปิ ด -
ปิ ดฝาเตาร่ วมทั้งตัวล็อคเพื่อไม่ให้อากาศร้อน
ภายในเตารั่วไหล
115

ใบความรู้ที่ 2(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ

5. เครื่องหล่ อเหวีย่ งหนีศูนย์กลาง


ส่ วนประกอบของเครื่ องหลอเหวีย่ งหนีศูนย์กลาง
สวิตซ์เปิ ด – ปิ ดเป็ นตัวเปิ ด – ปิ ดการทํางานของ
เครื่ อง
สวิตซ์ เริ่ม - หยุดทํางานเป็ นตัวสวิตซ์ที่ติดกับตัว
เหวีย่ งมีไว้ควบคุมการทํางานโดยเมื่อปิ ดฝาฝาจะทับ
สวิตซ์ทาํ ให้เริ่ มทํางานและเมื่อเปิ ดฝาออกสวิตซ์กจ็ ะ
ทําให้เครื่ องหยุดการทํางาน
ฝาเปิ ด – ปิ ดเป็ นฝาที่เปิ ด – ปิ ดสวิตซ์ทาํ งานและ
ป้ องกันโลหะกระเด็นออกนอกเครื่ องมีมือสําหรับ
จับติดอยู่
ตัวตั้งสายพานเป็ นตัวตั้งสายพานระหว่างมอเตอร์กบั
ชุดเหวีย่ งภายในเครื่ อง
มอเตอร์ เป็ นตัวเหวีย่ งให้ชุดขับภายในเครื่ องทํางาน
ชุดเหวีย่ งเป็ นแขนเหวีย่ งนํ้าโลหะให้เข้าไปใน
กระบอกปูนอยูภ่ ายในเครื่ อง
ถังเหวีย่ งเป็ นตัวกันไม่ให้เศษโลหะที่ใช้ในการ
เหวีย่ งกระเด็นออกมาภายนอกตัวเครื่ องได้
116

ใบความรู้ที่ 2(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ

6. เครื่ องหล่อดูดสุ ญญากาศ


ส่ วนประกอบของเครื่ องหล่อดูดสุ ญญากาศ
สวิตซ์เปิ ด – ปิ ดเป็ นตัวเปิ ด – ปิ ดเครื่ อง
สุ ญญากาศ
เกจวัดแรงดูดเป็ นตัววัดการดูดสุ ญญากาศ
ออกจากเครื่ องโดยมีหน่วยวัดบอก 2 หน่วย
0-76 CM / HG (เซนติเมตร / เฮกโตกรัม)
0-30 IN / HG (นิ้ว / เฮกโตกรัม )
ตัวตั้งโปรแกรมเป็ นแผงหน้าจอระบบสัมผัสใช้
ในการควบคุมการทํางานต่างๆของเครื่ องเช่น
อุณหภูมิเวลาฯ
- CASTING : การหล่อโลหะด้วยระบบ
สุ ญญากาศ
- RELEASE : การปล่อยอากาศเข้าระบบ
- INVESTMENT : ดูดอากาศออกจากแบบปูน
หล่อ
ชุดปั๊มอากาศดูดอากาศออกจากระบบ
ชุดหลอมโลหะเป็ นที่ใส่ โลหะสําหรับทําการ
หลอมอยูด่ า้ นบนเครื่ องโดยมีฝาปิ ดชุดหล่อ
ระบบสุ ญญากาศดูดอากาศออกจากแบบปูน
และเทนํ้าโลหะเข้าไปแทนที่ภายในกระบอก
ช่ องมองเป็ นช่องที่ไว้สาํ หรับมองการปล่อย
โลหะลงสูบเบาใช้ สังเกตผิวโลหะที่เทลงเบ้า
ก่อนนําเบ้าออกจากเครื่ อง
117

ใบความรู้ที่ 2(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเครื่ องจักรที่ใช้ในงานหลอมหล่อโลหะ

เครื่องฉีดล้ างปูน
7. ส่ วนประกอบของเครื่องฉีดล้ างปูน
สวิตซ์ เปิ ด – ปิ ดเป็ นตัวเปิ ด – ปิ ดปั๊มนํ้าเข้ามาใช้ใน
เครื่ อง
หัวฉีดนํา้ เป็ นตัวรับนํ้าจากปั๊มนํ้ามาฉี ดที่ชิ้นงานอยู่
ภายในตรงกลางเครื่ อง
โคมไฟเป็ นตัวส่ องสว่างให้เห็นชิ้นงานที่นาํ มาล้างอยู่
ภายในเครื่ อง
ฝาเปิ ดเปิ ดใส่ ตน้ ช่อที่จะล้างโดยเป็ นกระจกสามารถ
มองเห็นงาน
ช่ องสอดมือเป็ นช่องทางสอดมือเข้าภายในสําหรับ
จับชิ้นงานเวลาล้างปูนออก
ถังดักปูนเป็ นที่ดกั เศษปูนเพื่อไม่ให้เกิดการอุดตัน
ของท่อนํ้าและเศษโลหะหรื อโลหะที่หลุดออกจาก
ต้นช่อโดยไม่ต้ งั ใจ
ปั๊มนํา้ ปั๊มดูดนํ้าจากท่อนํ้าภายนอกเข้ามาภายใน
เครื่ อง rมักอยูภ่ ายในเครื่ องด้านล่างโดยมีประตูบาน
พับปิ ดอยู่
สวิตซ์ ขาเหยียบสวิตซ์ที่ใช้ เท้าเป็ นตัวควบคุมการ
ไหลของนํ้าโดยการออกแรงเหยียบให้เครื่ องทํางาน
และทอนเท้าออกเมื่อต้องการหยุดเครื่ อง
118

ใบความรู้ที่ 3
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย ความรู ้ทว่ั ไปเกี่ยวกับการติดทางเดินนํ้าโลหะ

การติดทางเดินนํา้ โลหะ
ทางเดินนํ้าโลหะ (Spruuing) คือเส้นทางหรื อแนวทางเดินของนํ้าโลหะเข้าสู่ โพรงแบบใน
แม่พิมพ์ปูนหล่อเพื่อลดการหมุนเวียนของนํ้าโลหะที่เข้าสู่ โพรงแบบและเป็ นเส้นทางออกของขี้ผ้ งึ ที่
หลอมละลายจากโพรงแบบ
การติดทางเดินนํ้าโลหะที่ถกู ต้องเหมาะสมกับรู ปแบบของชิ้นงานมีความสําคัญทําให้ได้
แบบหล่อที่มีคุณภาพดีดงั นั้นลักษณะที่ดีของทางเดินนํ้าโลหะมีดงั นี้
1. ควรมีขนาดใหญ่พอที่น้ าํ โลหะจะไหลผ่านไปยังส่ วนต่างๆในโพรงแบบได้อย่างทัว่ ถึง
และนํ้าโลหะนั้นจะเกิดการแข็งตัวโดยสมบูรณ์เพราะถ้ามีขนาดเล็กเกินไปจะทําให้น้ าํ โลหะที่ไหล
เข้าไปก่อนเริ่ มแข็งตัวและปิ ดทางไม่ให้น้ าํ โลหะที่ไหลตามเข้ามาไหลเข้าสู่ โพรงแบบได้สะดวกจะ
ทําให้เกิดความเสี ยหายต่อการหล่อได้
2. จะต้องไม่มีเหลี่ยมมุมหรื อบริ เวณที่จะก่อให้เกิดการหมุนวนของนํ้าโลหะได้เพราะการ
หมุนวนของนํ้าโลหะอาจทําให้เกิ ดแก๊สซึ่ งแทรกเข้าไปในนํ้าโลหะและทําความเสี ยหายแกะเนื้ อ
โลหะเมื่อแข็งตัว
3. จะต้องไม่มีขอบหรื อเหลี่ยมมุมที่อาจหลุดหรื อแตกเมื่อถูกแรงกระแทกของนํ้าโลหะ
เพราะจะกลายเป็ นเศษผงและหลุดเข้าไปในโพรงแบบทําให้เกิดรู พรุ นในเนื้อโลหะ
4. ทางเดินนํ้าโลหะที่ติดกับก้านแบบควรมีมุมมนโค้งเล็กน้อยเพื่อให้น้ าํ โลหะไหลเข้าไป
ในโพรงแบบได้อย่างสะดวก
5. ทางเดินนํ้าโลหะควรมีความสั้นที่สุดโดยเฉพาะตรงส่ วนที่ติดกับตัวแบบขี้ผ้ งึ ควรมีความ
ยาว1/4 - 3/4 นิ้ว
กฎพืน้ , ฐานในการติดทางเดินนํา้ โลหะ
1. ติดก้านทางเดินนํ้าโลหะในส่ วนที่หนาที่สุดของชิ้นงาน
2. ขนาดของก้านทางเดินนํ้าโลหะต้องหนากว่าตําแหน่งที่ติดเพียงเล็กน้อย
3. ถ้าชิ้นงานมีบางส่ วนที่เล็กละเอียดและบางมากต้องติดทางเดินนํ้าโลหะเพิ่มเพื่อช่วยให้
นํ้าโลหะไหลเข้าสู่ โพรงแบบได้ทวั่ ถึงมากขึ้น
4. ควรมีการเสริ มขนาดและปริ มาณของทางนํ้าโลหะให้เหมาะสมกับขนาดและรู ปแบบ
ของชิ้นงาน
119

5. ทางเดิ นนํ้าโลหะควรเป็ นส่ วนเดียวกับแม่พิมพ์ที่ใช้ในการหล่อเสมอและควรติดอย่าง


แน่นหนากับตัวแม่แบบเสมอ
6. การติดทางเดินนํ้าโลหะควรติดในส่ วนที่สามารถขจัดออกได้ง่ายที่สุดและไม่ก่อให้เกิด
ความต่อชิ้นงานหล่อ
120

ใบความรู้ที่ 4
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก

การติดต้ นเทียน
การติดต้นเทียน (ต้นช่อ) คือการทําตัวแบบเทียนหรื อแม่พิมพ์เทียน (wax Pattern) มา
รวมกันให้เป็ นกลุ่มอย่างมีระเบียบเพื่อสามารถหล่อชิ้ นงานได้ครั้งละจํานวนมากก่ อนการติดต้น
เทียนจะต้องหล่อแท่งลําต้นก่อนเพื่อใช้เป็ นที่ยืดของแบบเทียนที่ฉีดออกมาขนาดและความสู งควร
เป็ นไปตามมาตรฐานคือต้นเทียนจะต้องตํากว่ากระบอกเหล็กประมาณ 1นิ้ว
เครื่องมืออุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการติดต้ นเทียน
1.ฐานยาง (Spure Base) เป็ นฐานสําหรับใช้ตดั หรื อประกอบต้นแบบเทียนมีขนาดที่จะสวม
เข้ากับกระบอกหล่อได้อย่างพอดี

2.กระบอกหล่อ (Flask) เป็ นกระบอกที่ทาํ จากโลหะเช่นเหล็กหรื อแตนเลศกระบอกหล่อจะ


เป็ นกรอบกําหนดความกว้างและความสูงของกลุ่มต้นเทียนโดยส่ วนสู งของต้นเทียนจะมี
ระยะห่ า งจากขอบด้า นบนของกระบอกหล่อไม่นอ้ ยกว่า ½ นิ้วและตัว แบบขี้ ผึ้ งต้ อ งมี
ระยะห่ างจากผนังกระบอกหล่อไม่นอ้ ยกว่า¼ นิ้ว

3.หัวแร้ งไฟฟ้าและอุปกรณ์ ควบคุมอุณหภูมิเช่นเครื่ องมือสําหรับละลายขี้ผ้ งึ ให้ร้อนและติด


ตัวแบบขี้ผ้ งึ ซึ่ งต้องใช้อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้สูงเกินไปเพราะขี้ผ้ ึงมีอุณหภูมิหลอม
ละลายตํ่า
121

ใบความรู้ที่ 4(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก
การติดต้ นขีผ้ งึ้ (หรือต้ นเทียน) มีข้ันตอนทีส่ ํ าคัญคือ
1. นําฐานยางมาชัง่ นํ้าหนักและจดบันทึกไว้เพื่อใช้ในการคํานวณต่อไป

2.นําหัวแร้งคนเทียนในรู ตรงกลางฐานยางให้ละลายและนําต้นเทียนที่เตรี ยมไว้เอาปลาย


ด้านใดด้านหนึ่ งของต้นเทียนเสี ยบลงที่รูตรงกลางฐานยาง แล้วใช้หัว แร้ ง เชื่ อ มลงไปให้
ติดกันจนแน่น

3.นําแบบขี้ผ้ งึ ที่แต่งเรี ยบร้อยแล้วใช้หวั แร้งจี้ตรงปลายก้านแบบขี้ผ้ งึ ให้ละลายและนํามาติด


ที่ตน้ ขี้ผ้ งึ โดยติดให้สูงโดยห่างจากฐานยางประมาณ 20 ม.ม. หรื อประมาณ½นิ้ว
โดยการติดมี 3 แบบ คือ 1. แบบเรี ยงฝักข้าวโพด 2. แบบเกลียว 3. แบบสับหว่างกัน
หมายเหตุ: แบบที่ติดควรทํามุมเอียง 45 องศา

4. ติดแบบที่ตนเทียนโดยรอบโดยจัดช่องว่างระหว่างแบบขี้ผ้ งึ ให้ห่างกันประมาณ 1 ม.ม.


122

ใบความรู้ที่ 4 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก

5. ติดแบบขี้ผ้ งึ ที่ตน้ เทียนจนกระทั้งถึงที่ปลายของต้นขี้ผ้ งึ ให้แบบตัวสุ ดท้ายห่างจากขอบ


บนของปากกระบอกปูนประมาณ½ - 1 นิ้วเป็ นการเสร็ จสิ้ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการติดต้น
หมายเหตุ : การติดต้นขี้ผ้ งึ ไม่ควรติดให้ชิดกันจนเกินไปควรจัดระยะห่ างของช่ องว่า งอย่างน้อ ย
ไม่ต่าํ กว่า1 ม.ม. และแบบที่ติดควรห่ างจากขอบกระบอกด้านในประมาณ 2 ม.ม. และด้านบนควร
ห่ างจากปากกระบอกประมาณ ½ - 1 นิ้ว

การคํานวณหาค่ านํา้ หนักของโลหะทีใ่ ช้ หล่อ (เชิงปฏิบตั )ิ


ในการคํานวณหาค่านํ้าหนักของโลหะที่จะใช้หล่อนั้นในที่น้ ีจะกล่าวถึงโลหะ 4 ชนิดคือ
ทองเหลือง, ทองแดง, เงินและทองคําซึ่งมีวิธีการคํานวณดังนี้คือ
1. นําฐานยางมาชัง่ หานํ้าหนักโดยใช้ตาชัง่ ซึ่ งตาชัง่ ที่ใช้น้ ันอาจจะเป็ นระบบสากล (เข็ม
นาฬิกา)หรื อระบบตัวเลข (DIGITAL) ก็ได้

2. นําฐานยางที่ชงั่ ได้จากข้อ 1 ไปติดต้นขี้ผ้ งึ และติดพุ่มแบบขี้ ผ้ ึ ง เสร็ จ แล้ว นํา มาชั่ ง หา


นํ้าหนักทั้งหมดแล้วนําค่าที่ได้มาลบนํ้าหนักของฐานบยาง (จากการชัง่ ครั้งแรก) จะได้ ค่ า นํ้ า ห นั ก
ของต้นขี้ผ้ งึ

.
123

ใบความรู้ที่ 4 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การติดต้นเทียนและคํานวณนํ้าหนัก

3. นําค่าที่ได้จากข้อ 2 มาเปรี ยบเทียบกับตัวแปรที่กาํ หนดไว้ดงั นี้


ได้ นํา้ หนักโลหะของ
ค่าที่ได้น้อยกว่ า 50 (G) คูณด้วย 11ทองเหลือง, ทองแดง, เงิน
และค่าที่ได้มากกว่ า50 (G) คูณด้วย 10.5ทองเหลือง, ทองแดง, เงิน
หมายเหตุ : จากทองเหลือง, ทองแดง, เงินจะใช้ค่าของนํ้าหนักโลหะที่คาํ นวณได้เหมือนกันส่ วน
ทองคําจะไม่เหมือนกับโลหะ 3 ชนิ ดแรกสาเหตุเนื่ องมาจากการใช้ค่าของตัวแปรที่นาํ มาคํานวณ
นั้นเอง
การคํานวณนํา้ หนักของโลหะและอุณหภูมิทใี่ ช้ ในการหล่อ
ตัวอย่าง ต้องการหล่อทอง 8K ซึ่งชัง่ นํ้าหนักต้นเทียนได้นาํ หนัก 10 กรัมจงหานํ้าหนักทอง 8K ที่ใช้
ในการหล่อ
คํานวณค่ า สูตร = น.น. (WAX) × ความจําเพาะ
= 10 × 10.5
= 105 กรัม
124

ใบความรู้ที่ 5
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน
การหล่ อเบ้ าปูน
การหล่อเบ้าปูนขั้นตอนนี้ เป็ นขั้นตอนการผสมปูนปาสเตอร์ และการเทหุ ้มผิวต้นเทียนซึ่ ง
เป็ นขั้น ตอนที่ สํา คัญที่ ตอ้ งใช้ความระมัดระวังเป็ นอย่างมากเพราะถ้าเตรี ยมการไม่ ถูกต้องอาจ
ก่อให้เกิดความเสี ยหายได้ดงั นั้นจะต้องเลือกใช้ปูนที่มีคุณภาพใช้น้ าํ กลัน่ ที่มีอุณหภูมิตามกําหนด
ส่ วนผสมของปูนปาสเตอร์กบั นํ้าที่ถูกต้องและมีการควบคุมเวลาในระหว่างการผสมดังนี้
ใช้เวลาในการเทนํ้าผสมลงในปูนให้แล้วเสร็ จใน 1 นาที
3 นาทีต่อมาใช้ในการคนปูนด้วยเครื่ องผสมปูนหรื อใช้เครื่ องตีไข่โดยเริ่ มจากความเร็ ว
รอบช้าไปหาความเร็ วรอบสูงและลดความเร็ วลงเมื่อใกล้ครบ 3 นาที
2 นาทีต่อมานําปูนผสมนํ้ามาเข้าเครื่ องดูดอากาศออก
1 นาทีต่อมาเทปูนลงในกระบอกต้นเทียน
3 นาทีสุดท้ายนํากระบอกเทียนที่เทปูนไว้จนเต็มเข้าเครื่ องดูดอากาศออกอีกครั้งเพื่อให้ปูน
ที่อยูใ่ นการบอกไม่มีอากาศแทรกอยูภ่ ายใน
รวมเวลาทั้งหมดแล้วเสร็ จภายใน 10 นาที
ปูนที่ตีจะต้องแข็งตัวสมบูรณ์ภายใน 2 นาทีหลังจากผสมและเทแล้วเสร็ จ
การคํานวณปูนหล่ อและส่ วนผสมของนํา้
(HEAVY CASTING) (REGULAR CASTING)
สําหรับหล่อชิ้นงานหนัก สําหรับหล่อชิ้นงานทัว่ ไป
38/100 38/100 หรื อ 40/100
นํ้า 38 มล. (CC.) ต่อปูน 100 กรัม นํ้า 38 มล. หรื อ 40 มล. (CC.) ต่อปูน 100 กรัม
วิธีการคํานวณแบบง่ ายๆ
นํากระบอกแตนเลศไว้บนตาชัง่ เทปูนแห้งใส่ ให้เต็มยกกระบอกออกแล้วนําปูนในกระบอก
เทออก
นําปูนไปชัง่ เพือ่ หานํ้าหนักที่แท้จริ งเมื่อได้แล้วนําไปคูณ 1.2 เท่าก็จะได้หนักปูนที่ตอ้ งการ
นํ้าหนักปูน x 0.38 =ปริ มาณนํ้าที่ตอ้ งการ
นํ้าหนักปูน x 0.40 = ปริ มาณนํ้าที่ตอ้ งการ
125

ใบความรู้ที่ 5(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน

วิธีผสมปูนและเทปูนลงในกระบอกปูน
1. ก่อนการผสมปูนและเทปูนลงในกระบอกปูนต้องนําต้นเทียนมาล้างด้วยนํ้ายาล้างจาน
และล้างด้วยทําสะอาดซํ้า ๆ หลายครั้ง เพื่อให้ชิ้นงานสะอาด และเป่ าลมให้แห้ง

2. นํากระบอกปูนมาครอบเทียนและติดกรวยพันด้วยเทปกาว

3.ชัง่ นํ้าหนักปูนที่ตอ้ งการเตรี ยมไว้


126

ใบความรู้ที่ 5(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน

4.ตวงนํ้า (ปกติอุณหภูมิของนํ้าควรเป็ น 70 F / 21 C - 75 F / 24 C)


หมายเหตุ : ต้องใช้ดว้ ยนํ้าสะอาดเสมอ

5. ใช้เวลา 9 -10 นาทีนบั ตั้งแต่น้ าํ และปูนได้ผสมกันจนถึงปูนเริ่ มแข็งตัว


6. เอานํ้าเทใส่อ่างในเครื่ องผสม
7. นําปูนที่ชง่ั ไว้เทใส่ น้ าํ ในอ่างเครื่ องผสม (ควรจะเทปูนใส่ ลงนํ้าเสมอ)
8. คนส่ วนผสมด้วยไม้พายพลาสติกประมาณ 30 นาที
9. เปิ ดเครื่ องผสมปูน 2 - 3 นาทีเริ่ มจากเบาๆก่อนค่อยไปเร็ ว

10. นําอ่างผสมเข้าเครื่ องดูดปูน( VACUUM ) ใช้เวลา 30 - 60 วินาที


11. เทปูนที่ดูดอากาศออกครั้งแรกลงในกระบอกปูนสวนถึงปากกระบอก (ซึ่งปากกระบอก
พันด้วยเทปกาว เพื่อป้ องกันปูนล้นออกมาเวลาดูดปูน)
127

ใบความรู้ที่ 5(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน

12.นํากระบอกปูนเข้าเครื่ องดูดปูนอีกครั้งใช้เวลา 2 นาที

หมายเหตุ : ในขณะดูดอากาศออกจะต้องให้มีการสั่นสะเทือนตลอดเวลาด้วยเพื่อให้อากาศที่แทรก
ตัวอยู่ลึกๆถูกกระตุน้ ให้ลอยขึ้นมาที่ผิวหน้าของส่ วนผสมและถูกดูดออกไปในที่สุดส่ วนการลัด
หรื อข้ามขั้นตอนอาจทําให้เกิดความเสี ยหายต่องานหล่อได้เช่นการดูดฟองอากาศออกน้อยเกินไป
เป็ นต้น
13. นํากระบอกปูนออกจากเครื่ องดูดปูนและเทปูนที่เหลือในอ่างใส่ กระบอกให้เต็มแล้ว
วางทิ้งไว้อย่างน้อย 1 -2 ชัว่ โมง

14.ถอดกรวยและฐานยางออก และปาดปูนส่ วนเกินด้านบนกระบอกออกด้วยมีดบาง ๆ


128

ใบความรู้ที่ 5
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน

15. ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น เพื่อรอเข้าเตาอบ

การอบเบ้ าปูน
หรื อการอบเผาแม่พิมพ์ปูนหล่อเป็ นขั้นตอนการเตรี ยมแม่พิมพ์สาํ หรับการหล่อโลหะดังนี้
เพื่อกําจัดตัวแบบเทียน (ขี้ผ้ งึ ) และส่ วนของเทียน(ขี้ผ้ งึ ) ทั้งหมดออกจากแม่พิมพ์ปนู หล่อ
ทําให้ภายในเกิดเป็ นโพรงแบบพร้อมทางเดินนํ้าโลหะ
เพื่อเตรี ยมอุณหภูมิของกระบอกหล่อให้เหมาะสมกับอุณหภูมิในการหล่อโลหะทั้งนี้มิให้
เกิดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิในขณะทําการหล่อโลหะ
กระบวนการอบเบ้ าปูนมี 2 ขั้นตอนคือ
ขั้นตอนที่ 1 การนึ่งเทียน
เป็ นการอุ่นให้ความร้อนกับกระบอกปูนใช้ระยะเวลาประมาณ2 ชัว่ โมงเพื่อให้เทียนหรื อ
ขี้ผ้ งึ ที่อยูภ่ ายในละลายออกมาก่อนนําไปเข้าเตาอบเผา
ขั้นตอนที่ 2 การอบเผาแม่พิมพ์ปูนหล่อ
เป็ นการเอาเทียนที่เหลืออยูห่ รื อตกค้างภายในโพรงแบบให้ ไหมและระเหยออกกลายเป็ น
ควันจนหมดสิ้ นและทําให้ปนู สุ กมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้นไม่แตกหักง่าย
วิธีการวางกระบอกปูนในเตาอบ
1. วางกระบอกปูน ให้มี ร ะยะห่ า งจากขดลวดประมาณ 2 เซนติเมตรทิ้งระยะระหว่าง
กระบอก 1 – 5 เซนติเมตรและวางให้สูงกว่าพื้นเตาวางควํ่ากระบอกปูนลงให้รูเทอยูด่ า้ นล่างเพื่อให้
เทียนไหลออกได้ง่าย
2. หากจะวางซ้อนกระบอกปูนชั้นต่อไปจะต้องวางสลับสับหว่างเพื่อให้เทียนไหลออกได้
ง่ายและให้ออกซิเจนเข้าไปช่วยในการเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์
129

ใบความรู้ที่ 5 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน
สู ตรการอบเบ้ าปูน
ชัว่ โมงที่ 0 – 1 อุณหภูมิที่ 35 ขึ้น 150 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 1 – 2.5 อุณหภูมิคงที่ที่ 150 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 2.5 – 3.5 อุณหภูมิที่ 150 ขึ้น 370 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 3.5 – 5 อุณหภูมิคงที่ที่ 370 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 5 – 6 อุณหภูมิที่ 370 ขึ้น 560 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 6 – 7 อุณหภูมิคงที่ที่ 560 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 7 – 8 อุณหภูมิที่ 560 ขึ้น 750 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 8 – 12 อุณหภูมิคงที่ที่ 750 องศาเซลเซียส
ชัว่ โมงที่ 12 – 12.5 อุณหภูมิลดลงมาที่อุณหภูมิหล่อ
การอบปูนมีข้นั ตอนการปฏิบัติทสี่ ํ าคัญคือ
1. เปิ ดประตูของเตาอบนํากระบอกปูน (ที่ผา่ นการนึ่งมาแล้ว) ใส่ ในเตาอบวางควํ่าให้รูของ
ปากกระบอกปูนอยูด่ า้ นล่างซึ่งถ้าหากเตามีขนาดใหญ่อาจจะใส่ กระบอกปูนได้จาํ นวนมากขึ้นด้วย

2. เมื่อปิ ดประตูของเตาอบแล้วเปิ ดสวิตซ์ให้เครื่ องทํางานปรับตั้งอุณหภูมิที่ประมาณ 600 –


800องศาเซลเซียส
130

ใบความรู้ที่ 5 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อเบ้าปูนและอบเบ้าปูน

3. จากนั้นปรับตั้งเวลาที่สวิตซ์ต้ งั เวลาของเครื่ อง
131

ใบความรู้ที่ 6
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อโลหะ
การหล่ อโลหะ
การหลอม – หล่อโลหะคือขั้นตอนการทําให้โลหะละลายจนหลอมเหลวและเข้าไปแทนที่
ช่องว่างภายในโพรงแบบของกระบอกปูนปั จจุบนั มีกรรมวิธีที่มีประสิ ทธิภาพสูงและใช้
อย่างแพร่ หลาย
ในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่ องประดับคือ
1. การหล่อโลหะแบบเหวี่ยงหนีปูนศูนย์กลาง
เหมาะสําหรับงานหล่อเครื่ องประดับแบบ

2. การหล่อโลหะแบบสุ ญญากาศ
เหมาะสําหรับงานหล่อเครื่ องประดับที่เป็ นชิ้นงานขนาดใหญ่ไม่มีลวดลายซับซ้อนมากนัก

การคํานวณนํา้ หนักโลหะสํ าหรับงานหล่อ


เทคนิคการคํานวณเพื่อแปลงนํ้าหนักต้นเทียนเป็ นนํ้าหนักโลหะ
การคํานวณหาค่านํ้าหนักของโลหะที่ใช้ในการหล่อเป็ นขั้นตอนที่สาํ คัญมากขั้นตอนหนึ่ ง
เพราะโลหะที่นาํ มาใช้ในการหล่อเป็ นโลหะมีค่าได้ แก่ทองคําทองคําขาวโลหะเงินซึ่งถือเป็ นต้นทุน
การผลิตดังนั้นการประมาณการหรื อการคํานวณที่ถูกต้องแม่นยําจะเป็ นการลดความสู ญเสี ยของ
โลหะมีค่าเหล่านั้นและจะส่ งผลถึงต้นทุนการผลิตโดยรวมด้วยหลักการคํานวณโลหะที่ให้ในการ
หล่อจะใช้หลักของความถ่วงจําเพาะ (ถพ.) เป็ นสําคัญ
132

ใบความรู้ที่ 6 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อโลหะ
ตารางแสดงค่าความถ่ วงจําเพาะของโลหะต่ างชนิด
ชนิดโลหะ ประเภท ความถ่ วงจําเพาะ
เงิน 92.5 % (925) 10.5
เหล็ก - 8.0

ขั้นตอนการคํานวณค่ านํา้ หนักของโลหะ


1. ชัง่ นํ้าหนักฐานยางก่อนติดต้นเทียนและบันทึกไว้
2. ติดต้นเทียนและติดแบบเทียนให้แล้วเสร็ จ
3. ชัง่ นํ้าหนักต้นเทียนที่ติดแบบเทียนแล้วพร้อมฐานยางและนําค่าที่ได้ลบด้วยนํ้าหนักของ
ฐานยาง( ข้อ 1) จะได้ค่านํ้าหนักของต้นเทียนที่ติดแบบเทียนแล้ว
4.คํานวณนํ้าหนักของโลหะที่ตอ้ งการใช้ซ่ ึงต้องเผือ่ นํ้าโลหะสําหรับต้นช่อเป็ นจํานวน 20%
ทุกครั้งซึ่งกําหนดเป็ นสู ตรในการคํานวณดังนี้
นํ้าหนักของโลหะที่ใช้หล่อ = (ถพ.ของโลหะ × นน.ของต้นเทียน) + (ถพ.ของโลหะ × นน.
ของต้นเทียน × 2 )
100
ตัวอย่ าง
จงหานํ้าหนักของโลหะที่ตอ้ งการใช้ในการหล่อตัวเรื อนทองคํา 18 K โดยมีขอ้ มูลที่
เกี่ยวข้องดังนี้
1. นํ้าหนักของฐานยาง 25 กรัม
2. นําหนักของฐานยางพร้อมต้นเทียน 30 กรัม
3. ความถ่วงจําเพาะของทองคํา 18K 15.5
วิธีคาํ นวณ
นํ้าหนักของต้นเทียน = นํ้าหนักของฐานยางพร้อมต้นเทียน – นํ้าหนักของฐานยาง
= 30 – 25 กรัม
นํ้าหนักของโลหะที่ใช้หล่อ = (ถพ.ของโลหะ x นน.ของต้นเทียน)+ (ถพ. ของโลหะ x นน.
ของต้นเทียน x20)
100
(ทองคํา 18 K) = ( 15.5 x 5) + (15.5 x 5 x20 )
100
= ( 77.5 ) + ( 15.5 )
= 93 กรัม
133

ใบความรู้ที่ 6 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อโลหะ

การหล่อโลหะมีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิที่สาํ คัญคือ


1. นําเม็ดหรื อเศษโลหะที่จะใช้หล่อที่มีลกั ษณะเป็ นชิ้นเล็กๆใส่ ลงไปในภายในตัวเครื่ องเหวีย่ ง

2. ให้ความร้อนโลหะจนหลอมละลายและควรใช้ผงบอแรกซ์เพื่อช่วยขจัดคราบสิ่ งสกปรกที่
ติดมากับโลหะออกไปติดอยูบ่ ริ เวณของขอบเบ้าหลอมจะเห็นว่าโลหะละลายจนเป็ นนํ้าใส
หรื อภาษาช่างเรี ยกว่า “หน้าทองเปิ ด”

3. นํากระบอกปูนออกจากเตาอบแล้วนํามาวางลงไปในเครื่ องเหวีย่ งทันทีโดยวางให้ปาก


กระบอกปูนด้านที่มีรู ไปทางด้านรู ของเบ้าหลอมโลหะ

หมายเหตุ : ขณะที่นาํ กระบอกปูนมาวางเรายังต้องเผาให้ความร้อนกับโลหะภายในเบ้าหลอมให้


หลอมละลายอยูต่ ลอดเวลา
134

ใบความรู้ที่ 6 (ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การหล่อโลหะ

4. ปิ ดฝาเครื่ องเหวี่ยง จากนั้นฝาเครื่ องจะเป็ นตัวกดสวิตซ์ให้เครื่ องทํางานเอง โดยใช้เวลา


ประมาณ 2 นาที จึงจะปิ ดเครื่ องได้

รู ป การกดปิ ดฝาเพือ่ ให้เครื่ องทํางาน


5. จากนั้นนํากระบอกปูนออกจากเครื่ องเหวี่ยงแล้วตั้งทิ้งไว้ประมาณ 20 – 30 นาที
135

ใบความรู้ที่ 7
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การล้างปูน
การล้ างปูน
ภายหลังจากการหล่อเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วนํากระบอกปูนออกจากเครื่ องหล่อตั้งทิ้งไว้ให้
โลหะแข็งตัวและเย็นตัวก่อนเพราะถ้านําไปฉีดล้างเร็ วเกินไปจะทําให้ชิ้นงานแตกร้าวได้
ถ้าเป็ นทองคําขาวควรตั้งทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที
ถ้าเป็ นทองคําหรื อโลหะเงินควรตั้งทิ้งไว้จนโลหะที่มีสีแดงจากการหลอมกลายเป็ นสี ดาํ
จากนั้นจึงนํากระบอกปูนไปล้างปูนออกด้วยการใช้น้ าํ ฉี ดให้ปูนหล่อแบบแตกออกจากกระบอกจน
หมดจะได้ชิ้นงานโลหะที่มีลกั ษณะเหมือนต้นแบบขี้ผ้ ึงซึ่ งชิ้ นงานโลหะที่ได้น้ ันจะมีสีน้ าํ ตาลดํา
(เพราะความร้อนจากการหล่อโลหะ) จึงต้องนําไปล้างทําความสะอาดจากผัง ชิ้ น งานอี ก ครั้ งหนึ่ ง
ด้วยกรดชนิดต่าง ๆ
การล้ างชิ้นงานด้ วยกรดชนิดต่ าง ๆ

การแช่ชิ้นงานด้วยนํ้ากรดกํามะถัน.
1. การล้างชิ้นงานด้วยกรดกํามะถันผสมกับดินประสิ วจะเป็ นการล้างเพื่อกัดผิวโลหะของชิ้นงาน
ซึ่ งมีอตั ราส่ วนในการผสม คือ

กรดกํามะถัน 1 ส่ วน + ดินประสิ ว 2 ส่ วน + นํ้า 10 ส่ วน

2.การล้างชิ้นงานด้วยกรดโดรมิคผสมกับนํ้าจะเป็ นการล้างชิ้นงานครั้งสุ ดท้ายเพื่อช่วยให้ชิ้นงาน


สะอาด ผิวเป็ นเงามันวาวสวยงาม ซึ่งมีอตั ราส่ วนในการผสม คือ
กรดโดรมิค 1 กรัม + นํ้า 100 CC.

หมายเหตุ : เมื่อแช่น้ าํ กรดเรี ยบร้อยแล้วนําไปล้างให้สะอาดและนําไปเผาให้ความร้อนเพื่อที่จะ


นําไปต้มสารส้มให้คราบสิ่ งสกปรกหลุดออกไป และนําไปเป่ าลมให้แห้ง
136

ใบความรู้ที่ 7(ต่ อ)
หลักสู ตรการจัดการเรี ยนรู ้งานหล่อเครื่ องประดับ
ชื่อหน่ วย การล้างปูน

การเผาให้ความร้อน การนําไปต้มสารส้ม การเป่ าลม


ข้อควรจําการผสมกรดกับนํ้าจะต้องเทกรดลงในนํ้าเสมอและมีผา้ ปิ ดปาก – จมูกป้ องกันไอกรดที่
เกิดขึ้นขณะปฏิบตั ิงาน
137

ใบความรู้ที่ 8
วิชางานหลอมหล่อเครื่ องประดับอัญมณี
ชื่อหน่ วย การตรวจสอบนํ้าหนัก,ปั ญหาและวิธีแก้ไขในการหล่อ
การตรวจสอบนํา้ หนักและการเก็บรักษาโลหะ
หลังจากการแต่งตัวเรื อนเสร็ จสิ้ นให้บนั ทึกจํานวนและนํ้าหนักของชิ้นงานที่ตกแต่งเสร็ จ
เรี ยบร้อยแล้วรวมทั้งเศษโลหะที่เหลือและเศษของผงโลหะที่เกิดจากการตะไบเลื่อยหรื อขัดเพื่อนํา
คํานวณเปรี ยบเทียบกับจํานวนและนํ้าหนักของชิ้นงานที่รับมาครั้งแรกและเพื่อคํานวณเปอร์เซ็น
ของเงินหรื อทองที่สูญเสี ยไปในขั้นตอนการหล่อเครื่ องประดับ
ขั้นตอนการตรวจสอบนํา้ หนักและเก็บรักษาโลหะ
1. เก็บเศษโลหะที่ตกในเครื่ องหล่อและที่คา้ งอยูใ่ นเบ้า
2. นําเศษโลหะซึ่งรวมกับชิ้นงานมาคํานวณนํ้าหนักที่สูญเสี ยไปในกระบวนการหล่อ
ปัญหาและวิธีการแก้ ไขในการหล่ อตัวเรือน
ปัญหา สาเหตุของปัญหา วิธีแก้ไข
รู อุณหภูมิเทสูงเกินไป ลดอุณหภูมิเทลงให้เหมาะสม
ทางเดือยไม่เหมาะสม ทางเดือยต้องเหมาะสม
แบบหล่อไม่แข็งแรง ควบคุมเวลาในขั้นตอนผสมปูน
ต้นเทียนมีความคม ออกแบบต้นเทียนให้เหมาะสม
เวลาในการดูดอากาศน้อยไป เวลาในการดูดอากาศต้องเหมาะสม
หยาบ อุณหภูมิเบ้าสูงเกินไป ลดอุณหภูมิเบ้าลงให้เหมาะสม
ผสมปูนไม่ถกู ต้องทําให้ปูนหล่อเหลวมาก ผสมปูนให้เหมาะสมและเสร็ จภายในเวลาที่กาํ หนด
เกินไป
แตก อุณหภูมิเบ้ากับอุณหภูมิหล่อสูงเกินไป
ควบคุมอุณหภูมิเบ้าและอุณหภูมิหล่อให้เหมาะสม
หัก เกิดจากการเคลื่อนย้ายช่อ ขณะเคลื่อนย้ายช่อ ต้องมีความระมัดระวัง
หล่อไม่เต็ม อุณหภูมิเบ้าตํ่าเกินไป เพิ่มอุณหภูมิเบ้าให้เหมาะสม
อุณหภูมิเทตํ่าเกินไป เพิ่มอุณหภูมิเทให้พอเหมาะ ให้น้ าํ โลหะไหลจนเต็ม
ชิ้นงาน
หล่อไม่เต็ม ทางเดือยไม่เหมาะสม ทางเดือยต้องเหมาะสมไม่เล็กไม่ยาวจนเกินไป
การขึ้นช่อรวมกันหลายแบบ(หนาบางไม่ ในการขึ้นช่อควรให้ชิ้นงานขนาดเดียวกันอยูใ่ นช่อ
เท่ากัน) เดียวกัน
กระเปาะ อุณหภูมิหล่อตํ่าเกินไป ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมกับขนาดของชิ้นงาน
แหว่ง
138

ใบงานที่ 1

เรื่อง การตรวจสอบและวิเคราะห์ ชิ้นงาน


ใบงานที่ 1 ชื่องาน การตรวจสอบและวิเคราะห์ ชิ้นงานชิ้นงาน
คําสั่ งจงตรวจสอบและวิเคราะห์ขอ้ บกพร่ องของชิ้นงาน (ดังภาพ)เพื่อใช้ในการทํางานในขั้นตอนต่อไป

รายละเอียดชิ้นงาน : เงิน 95 %
กรรมวิธีการผลิต : หล่อด้วยเครื่ องสุ ญญากาศ
อุณหภูมิหลอม : 1000 องศาเซลเซี ยส
อุณหภูมิปูน : 680 องศาเซลเซี ยส
การติดทางเดินนํ้าโลหะ : ทางนํ้าที่ติดมีจาํ นวน 2 ทาง โดยติดจากด้านข้างของจี้ มีทางเชื่อมที่ใกล้ลอ๊ ค
ปัญหาที่ตรวจพบ คือ ..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
สาเหตุ คือ ..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
รายการวัสดุ เครื่องมือ – อุปกรณ์ ข้ อควรระวัง
1. ตัวเรื อน (ที่มีจุดบกพร่ อง) 1. ใบบันทึกการวิเคราะห์สาเหตุ -
139

ใบงานที่ 2

ใบงานที่ 2 ชื่องาน การทําเบ้ าปูน และ ทําการปูนหล่อ


ผสมปูน เทปูน อบเบ้ าปูน
คําสั่ งจงผสมปูน และเทปูน จํานวน 1 เบ้า พร้อมทั้งตั้งอุณหภูมิในการอบเบ้าปูน

รายการวัสดุ เครื่องมือ – อุปกรณ์ ข้ อควรระวัง


1. ปูน 1. ตาชัง่ ปูน 1. ชัง่ นํ้าหนักปูนและนํ้าให้ถกู
2. นํ้า 2. เหยือกตวงนํ้า 2. ระวังเครื่ องตีปูน
3. เทปกาว 3. เครื่ องตีปูน 3. ระวังเตาอบปูน
4. เครื่ องดูดอากาศ
5. เครื่ องอบปูน
6. คีมจับเบ้า
7. เบ้าปูน
8. กระบอกปูน
9. พายเกลี่ยปูน
140

ใบงานที่ 3

ใบงานที่ 3 ชื่องาน การคํานวณนํา้ หนักโลหะ


คํานวณนํา้ หนักโลหะในงานหล่อ พร้ อมทั้งจัดเตรียมโลหะ
คําสั่ งจงคํานวณนํ้าหนักโลหะ พร้อมทั้งเตรี ยมโลหะสําหรับหล่อ (ต้องการหล่อเงิน 95 %)

รายการวัสดุ เครื่องมือ – อุปกรณ์ ข้ อควรระวัง


1. โลหะที่ใช้หล่อ(เงิน) 1. เครื่ องชัง่ ดิจิตอล 1. ควรบวกนํ้าหนักโลหะที่จะ
2. ทองแดง หล่อเพิ่มปริ มาณตามสูตรโลหะที่
ใช้
141

ใบงานที่4

ใบงานที่ 4 ชื่องาน การหลอมและหล่ อโลหะด้ วยเครื่องหล่ อสุ ญญากาศ


หลอมและหล่ อโลหะโดยเครื่องหล่อสุ ญญากาศ ฉีดล้างปูน และตัดต้ นช่ อ
คําสั่ งจงหลอมและหล่อโลหะโดยใช้เครื่ องหล่อสุ ญญากาศพร้อมทั้งฉี ดล้างปูน และตัดต้นช่อ

รายการวัสดุ เครื่องมือ – อุปกรณ์ ข้ อควรระวัง


1. โลหะที่ตอ้ งการหล่อ(เงิน) 1. เครื่ องหล่อสุ ญญากาศ
2. ผ้าปิ ดจมูก 2. คีมจับเบ้า
3. หน้ากาก
4. ถุงมือผ้า
5. แปรงทําความสะอาด
6. ทวิสเซอร์
7. แท่งคาร์ บอน
ภาคผนวก ญ
ประเมินผลภาคปฏิบตั ิ
143

แบบประเมินผลใบงาน
การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ
เรื่อง การตรวจสอบและวิเคราะห์ ชิ้นงาน
ชื่องาน ๑. การตรวจสอบและวิเคราะห์ ชิ้นงาน

ชื่อ..................................................................................................

คะแนน
รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1. การตรวจสอบหาจุดบกพร่ องของชิ้นงาน เกณฑ์ การประเมิน
- บอกจุดที่บกพร่ องได้ถกู ต้อง 4หมายถึงอธิบายได้อย่าง
- บอกลักษณะจุดที่บกพร่ องได้อย่างชัดเจน ถูกต้องและแม่นยํา
2. การวิเคราะห์สาเหตุขอ้ บกพร่ องที่พบ ครบถ้วน
- ระบุสาเหตุขอ้ บกพร่ องได้ถกู ต้อง 3 หมายถึงอธิบายได้อย่าง
- อธิบายหลักการ/ทฤษฎีจากข้อบกพร่ องได้อย่างถูกต้อง ถูกต้องแต่ไม่
3. แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครบถ้วน
- อธิบายแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง 2 หมายถึงอธิบายได้ แต่ ไม่
ตรง จุด
1 หมายถึงไม่สามารถ
อธิบายได้ เลย
บันทึกพฤติกรรมการฝึ ก
ได้ คะแนน ปฏิบตั ิ

รวมคะแนน
144

แบบประเมินผลใบงาน
การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ
เรื่อง การทําเบ้ าปูนและอบปูน
ชื่องาน ๒. การทําเบ้ าปูน และการทําปูนหล่อ

ชื่อ..................................................................................................

คะแนน
รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1. ใช้เครื่ องมือในการผสมปูนถูกต้อง เกณฑ์ การประเมิน
- ตวงส่ วนผสมปูนและนํ้าตรงตามกําหนด 4หมายถึงผลงานดีสมบูรณ์
-พันเทปกาวได้ถูกต้อง สวยงามได้ขนาด
-ใช้เครื่ องดูดอากาศได้ถกู ต้อง ตามแบบที่กาํ หนด
-ปาดปูนได้ถกู ต้อง 3หมายถึงผลงานดี แต่ตอ้ ง
2. ใช้เครื่ องมือในการอบปูนถูกต้อง ปรับปรุ งเล็กน้อย
- ตั้งอุณหภูมิในการอบเบ้าตรงตามกําหนด 2 หมายถึงผลงานพอใช้
-เรี ยงเบ้าปูนตรงตามรู ปแบบ มีขอ้ บกพร่ อง
ที่ตอ้ งรี บปรับปรุ ง
1 หมายถึงผลงานมีขอ้ บกพร่ อง
ไม่ได้ตามแบบที่
กําหนด
ได้ คะแนน บันทึกพฤติกรรมการฝึ กปฏิบตั ิ

รวมคะแนน
145

แบบประเมินผลใบงาน
การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ
เรื่อง การคํานวณนํา้ หนักโลหะ
ชื่องาน ๓. การคํานวณนํา้ หนักโลหะ และ การทําปูนหล่อแบบเตรียม

ชื่อ..................................................................................................

คะแนน
รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1. ใช้เครื่ องมือในการคํานวณนํ้าหนักโลหะได้ถูกต้อง เกณฑ์ การประเมิน
- คํานวณนํ้าหนักโลหะตรงตามกําหนด 4หมายถึงผลงานดีสมบูรณ์
-คํานวณนํ้าหนักเม็ดเงินและทองแดงตามอัตราส่ วนได้ สวยงามได้ขนาด
ถูกต้อง ตามแบบที่กาํ หนด
-คิดหาเปอร์ เซ็นต์การใช้โลหะได้ถกู ต้อง 3หมายถึงผลงานดี แต่ตอ้ ง
ปรับปรุ งเล็กน้อย
2 หมายถึงผลงานพอใช้
มีขอ้ บกพร่ อง
ที่ตอ้ งรี บปรับปรุ ง
1 หมายถึงผลงานมี
ข้อบกพร่ อง
ไม่ได้ตามแบบที่
กําหนด
ได้ คะแนน บันทึกพฤติกรรมการฝึ ก

รวมคะแนน ปฏิบตั ิ
146

แบบประเมินผลใบงาน
การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ
เรื่อง การหล่อโลหะ และฉีดล้างเบ้ าปูน
ชื่องาน ๔. การหลอมหล่ อโลหะโดยใช้ เครื่องสุ ญญากาศ ฉีดล้ างปูน และตัดต้ นช่ อ

ชื่อ..................................................................................................

คะแนน
รายการประเมิน หมายเหตุ
4 3 2 1
1. ใช้เครื่ องมือในการหล่อสุ ญญากาศถูกต้อง เกณฑ์ การประเมิน
-เปิ ดเครื่ องหล่อได้ถกู ต้อง 4หมายถึงผลงานดีสมบูรณ์
-ตั้งระบบการหล่อตรงตามกําหนด สวยงามได้ขนาด
-การคีบเบ้าที่ถกู ต้อง ตามแบบที่กาํ หนด
2. การแช่เบ้าลงนํ้าและฉี ดล้างปูนที่ถกู ต้อง 3หมายถึงผลงานดี แต่ตอ้ ง
3. การทําความสะอาดและตัดต้นช่อได้ถูกต้อง ปรับปรุ งเล็กน้อย
2 หมายถึงผลงานพอใช้
มีขอ้ บกพร่ อง
ที่ตอ้ งรี บปรับปรุ ง
1 หมายถึงผลงานมีขอ้ บกพร่ อง
ไม่ได้ตามแบบที่
กําหนด
ได้ คะแนน บันทึกพฤติกรรมการฝึ กปฏิบตั ิ

รวมคะแนน
147

แบบประเมินผลแบบทดสอบก่ อนเรียน / หลังเรียน


การจัดการเรียนรู้งานหล่อเครื่องประดับ
ชื่อ..................................................................................
คะแนน
รายการประเมิน หมายเหตุ
เต็ม ได้
ใบงานที่ ๑ การตรวจสอบชิ้นงาน 12 เกณฑ์ การประเมิน
ใบงานที่ ๒ การทําเบ้าปูน และ ทําการปูนหล่อ 8 ช่วงคะแนน ระดับ
ใบงานที่ ๓ การคํานวณนํ้าหนักโลหะ 4 คะแนน
ใบงานที่ ๔ การหล่อโลหะ และฉี ดล้างเบ้าปูน 12 33 - 36 4
29 - 32 3.5
25–283
21–242.5
18–202
15–171.5
12–141
๐ –11๐

รวมคะแนน 36
ผลการเรี ยน
148

ประวัติผู้วจิ ัย

ชื่อ นายอานนท์ กั้นเกษ


ที่อยู่ เลขที่ 52/173หมู่ 13ตําบลไร่ ขิง
อําเภอสามพรานจังหวัดนครปฐมรหัสไปรษณี ย ์ 73200
E-mail:karnon18@gmail.com
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2531 สําเร็ จการศึกษาปริ ญญาวิศวกรรมอุตสาหาร (เครื่ องมือกล)
คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วิทยาเขตเทเวศน์
พ.ศ.2553 ศึกษาต่อระดับปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประวัติการทํางาน
พ.ศ.2551-ปั จจุบนั ตําแหน่งผูจ้ ดั การฝ่ ายความปลอดภัย
บริ ษทั อะโกรพลาส จํากัด
จังหวัดสมุทรสาคร

You might also like