You are on page 1of 121

การควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการทดลอง

โดย
นายโอรส พินิจรัตนพันธ์

วิทยานิพนธ์น้ ีเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
การควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการทดลอง

โดย
นายโอรส พินิจรัตนพันธ์

วิทยานิพนธ์น้ ีเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
THE QUALITY CONTROL OF GOLD JEWELRY CASTING PROCESS
: DESIGN OF EXPERIMENT APPROACH

By
Mr. Oros Pinitrattanapan

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree


Master of Engineering Program in Engineering Management
Department of Industrial Engineering and Management
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2013
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
6 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมตั ิให้วิทยานิพนธ์เรื่ อง “การควบคุมคุณภาพ
การหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการทดลอง” เสนอโดย นายโอรส พินิจรัตนพันธ์
เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
งานวิศวกรรม

………………………………………..
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
วันที่………. เดือน……….……… พ.ศ. ….……

อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์
6

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

……………………………………….. ประธานกรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระศักดิ์ หุ ดากร)
6

…………. / ………………../ …….……….

………………………………………… กรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร. วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์)
…………. / ………………../ ……..………

………………………………………… กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์)
…………. / ………………../ ……….…….
53405331: สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
คําสําคัญ : การหล่อเครื่ องประดับ/ วิธีการทากูชิ/การออกแบบการทดลอง
7

นายโอรส พินิจรัตนพันธ์ : การควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการ


ออกแบบการทดลอง. อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์: ผศ.ดร.นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์. 107 หน้า.
7

7 การศึ ก ษานี้ ทํา การวิ เคราะห์ แ ละปรั บปรุ ง คุ ณ ภาพงานหล่ อเครื่ องประดับทอง เพื่ อ ลด
7

ข้อบกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับทอง โดยมีวตั ถุประสงค์ คือ การศึกษาถึงปั จจัยและ


อิทธิ พลของตัวแปรที่มีผลต่อค่าผลผลิตในกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง โดยใช้วิธีการของ
ทากูชิในการสร้างสมการจําลองของปั จจัยและตัวแปร รวมถึงหาระดับปั จจัยที่เหมาะสม ที่มีผลต่อ
ประสิ ทธิภาพค่าผลผลิตในกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง
ผลของการทดลองชี้ให้เห็นว่า อุณหภูมิอบเบ้าปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้า
ปูนสําหรับการหล่อ มีผลต่องานเสี ยและงานซ่อมการหล่อเครื่ องประดับทองอย่างมีนยั สําคัญ ดังนั้น
จึงนําปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการหล่อมาทําการออกแบบการทดลองแบบทากูชิ L9 3 ระดับ 3 ปัจจัย
โดยทําการทดลอง 9 จุดการทดลองและทดลองซํ้า 3 ครั้ง เพื่อหาระดับปัจจัยที่เหมาะสมด้วยวิธี
พื้นผิวตอบสนอง ซึ่งผลที่ได้ พบว่า ระดับปั จจัยที่เหมาะสมของอุณหภูมิอบเบ้าปูนคือ 710 องศา
เซลเซียส ปั จจัยที่เหมาะสมของอุณหภูมิหลอมโลหะคือ 1160 องศาเซลเซียส และระดับปัจจัยที่
เหมาะสมของอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อคือ 580 องศาเซลเซียส

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


ลายมือชื่อนักศึกษา ……………………………… ปี การศึกษา 2556
ลายมืออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ …………………………………………..


53405331: MAJOR: ENGINEERING MANAGEMENT
KEY WORD: JEWELRY CASTING/ TAGUCHI METHOD/ EXPERIMENTAL DESIGN
OROS PINITRATTANAPAN: THE QUALITY CONTROL OF GOLD JEWELRY
CASTING PROCESS BY EXPERIMENTAL DESIGN THESIS ADVISOR: ASST.PROF.DR.
NITIPON SOPONPONGPIPAT, D.ENG. 107 PP.

The purposes of this study were to analyze the cause of defects in gold jewelry casting
process and to propose an appropriate casting condition that can eliminate these defects. Taguchi
method was conducted to study factors that affacted the yield in casting process. Moreover, the
significance level of each factors were determined. Finally the equation to explain the casting
efficiency was obtained.
It was found that flask temperature, metal melting temperature and flask casting
temperature significantly affected casting process in gold jewelry manufacturing. To find suitable
temperature of the three main factors, Taguchi technique (L9 3 levels 3 factors) was repeatedly
used for testing 3 times in 9 positions of the surface. The result was found that the most suitable
temperature of flask temperature, metal melting temperature and flask casting temperature were
710 C, 1160 C, and 580 C, respectively.

Department of Industrial Engineering and Management Graduate school, Silpakorn University


Student’s Signature ……………………………………… Academic Year 2013
Thesis Advisor’s Signature …………………………………………..


กิตติกรรมประกาศ

วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บับ นี้ สํ า เร็ จ ลุ ล่ ว งลงได้ด้ว ยดี เนื่ อ งจากได้รั บ ความกรุ ณ าและความ
อนุเคราะห์จาก ผศ.ดร.นิ ติพงศ์ โสภณพงศ์พิพฒั น์ อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ ที่ได้ให้คาํ ปรึ กษา
7

ความรู ้ ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ละแนะนํา แนวทางในการทํา วิ จ ัย ตลอดจนช่ ว ยตรวจสอบแก้ไ ข


ข้อ บกพร่ อ งของวิ ท ยานิ พ นธ์ นอกจากนี้ ผูจ้ ัด ทํา วิ ท ยานิ พ นธ์ ข อขอบพระคุ ณ คณะกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิ และ ผูแ้ ทนสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาที่ได้ให้ความกรุ ณาตรวจสอบพร้อมทั้ง
ให้คาํ แนะนํา ข้อเสนอแนะ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการทําวิทยานิพนธ์ให้สาํ เร็ จ
ขอขอบคุณบริ ษทั ผูผ้ ลิตเครื่ องประดับ ที่อนุ ญาตเอื้อเฟื้ อสถานที่และอํานวยความสะดวก
ในการทําวิจยั รวมถึงการให้ขอ้ มูลต่างๆที่เป็ นประโยชน์ ขอบคุณผูบ้ ริ หารและพนักงานทุกคนที่มี
ส่ วนร่ วมและให้การช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
สุ ดท้ายนี้ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ญาติ พี่นอ้ ง ที่ได้สนับสนุ นทุนการศึกษาและ
เป็ นกําลังใจให้เสมอมา ขอบพระคุณครู บาอาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาความรู ้ให้ทุก
แขนง และ ขอบคุณเพื่อนๆ ทุกท่านที่ได้สนับสนุ นเครื่ องมือ ตําราเรี ยน เอกสารที่จาํ เป็ น จนทําให้
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาํ เร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดี


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ………………………………………………………………………... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ……………………………………………………………….......... จ
กิตติกรรมประกาศ ……………………………………………………………………....... ฉ
สารบัญตาราง …………………………………………………………………………....... ฌ
สารบัญภาพ ……………………………………………………………………………….. ญ
บทที่
1 บทนํา …………………………………………………………………………… 1
ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา …………………………………… 1
วัตถุประสงค์การวิจยั ……………………………………………..……....... 5
กรอบแนวความคิด ………………………………………………………… 5
สมมติฐานที่ใช้ในการวิจยั …………………………….……………………. 5
ขอบเขตการวิจยั ……………………………………………………………. 6
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ …………………………………..……………. 6
นิยามคําศัพท์ ………………………………………………………………. 6
2 ทฤษฏีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ………………………………………………….. 7
โลหะวิทยาเบื้องต้นสําหรับทองคํา ……………………………………….... 7
การผลิตเครื่ องประดับแบบหล่อ …………………………………………… 10
ประเภทการหล่อ …………………………...……………………………… 15
ข้อบกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับ ……………...…………….. 17
การออกแบบการทดลอง …………………………………….…………….. 27
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง…………………………………………………………. 45
3 วิธีดาํ เนินงานวิจยั ……………………………………………………..………... 49
วิธีการศึกษาที่นาํ มาใช้ ………………………………………...…………… 51
ขั้นตอนในการศึกษา ………………………………….………………….... 51
เครื่ องมือที่นาํ มาใช้ในการเก็บข้อมูล ……...……………………….………. 63
เครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ ……………………….…………….. 63
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง …………………………………………..…….. 71


สารบัญ
บทที่ หน้า
สถานที่เก็บข้อมูล ………………………………………………………….. 71
ข้อมูลที่ใช้ในการทดลอง…………………………………..……………….. 71
วิธีการเก็บข้อมูล ………………………………………………..………….. 71
4 ผลการศึกษา……………………………………………..……………………… 72
ผลการวิเคราะห์ระบบการวัด …………………………….........…………… 72
ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการผลิต ……………………… 78
ผลการดําเนินการทดลองตามการออกแบบการทดลอง ……......….………. 80
ผลการทําการทดลองเพื่อยืนยันผล …………………………...……………. 88
5 สรุ ปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ ……………………..……………………… 91
สรุ ปผลการศึกษา …………………………………………………………… 91
ปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานวิจยั …………….…………………… 92
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจยั ครั้งต่อไป …………………………………… 92
รายการอ้างอิง ……………………………………………………………..……..………... 93
ภาคผนวก ………………………………………………………………………….……… 95
ภาคผนวก ก …………………………………..………….........…………… 96
ภาคผนวก ข ……………………………………………………..…………. 99
ภาคผนวก ค ……........................................................................….………. 101
ภาคผนวก ง …………………………………………………...…………… 105
ประวัติผวู ้ จิ ยั ……………………………………………………………………….……… 107


สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 ปริ มาณของชิ้นงานเสี ยและซ่อมเทียบกับปริ มาณผลผลิตทั้งหมด …………... 2
2 อันดับชนิดของข้อบกพร่ องที่พบมากในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน 2554 2
3 ตารางออทอกอนอล อะเรย์ L 8 (27)…………………………………………… 36
4 ตารางปั จจัยร่ วมระหว่างคอลัมน์ L 16 (215)……………………………………. 40
5 หลักการเลือกใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองให้เหมาะสม ……………... 47
6 ผลการทดลองของกระบวนการสี ขา้ วระหว่างเทคนิคดั้งเดิมกับเทคนิคทากูชิ . 48
7 ช่วงการดําเนินงานในปัจจุบนั ของปัจจัยควบคุมสําหรับการหล่อเครื่ อง
ประดับทอง…………………………………………….…………….. 55
8 แสดงปั จจัยคงที่ …………………………………………..…………………. 56
9 ระดับของตัวแปรที่ใช้�ในการทดลอง…………………………………..…….
60
10 แสดงการทดลอง Orthogonal Array L 9 (33) ตามมาตรฐานของ Taguchi
Method ………………………………………………………………. 61
11 แสดงแผนการทดลอง Orthogonal Array L 9 (33) ตามมาตรฐานของ Taguchi
Method ………………………………………………………….…… 61
12 แสดงลําดับการทดลองตามแผน Orthogonal Array L 9 (33) ............................
62
13 ANOVA ของผลการทดลอง Orthogonal Array L 9 (3 3 )…………..….………
83
14 ผลการวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการทากูชิ……………………………………………. 85
15 ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่มาจากกระบวนการหล่อเครื่ องประ
ดับทอง……......................................................................................... 89


สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
1 แผนภูมิพาเรโตแสดงข้อบกพร่ องต่างๆที่พบในชิ้นงานช่วงเดือน
มิถุนายน – กันยายน 2554 …………………………………………… 4
2 แสดงลักษณะชิ้นงานที่เป็ นตามด …………………………………………… 4
3 แสดงลักษณะของรู พรุ นเนื่องจากการหดตัวเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า ………… 17
4 แสดงลักษณะรู พรุ นเนื่องจากแก็สเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า …………………… 18
5 แสดงชิ้นงานที่น้ าํ โลหะไหลเข้าโพรงแบบไม่เต็ม …………………………… 20
6 แสดงลักษณะของผิวชิ้นงานที่หยาบ ………………………………………… 21
7 แสดงลักษณะฟองโลหะบนชิ้นงานหล่อ ……………………………………. 23
8 แสดงลักษณะคราบนํ้าบนผิวชิ้นงาน ………………………………………... 24
9 แสดงชิ้นงานหล่อเปราะ ……………………………………………………... 24
10 แสดงชิ้นงานหล่อเป็ นครี บ …………………………………………………... 25
11 แสดงชิ้นงานที่มีผวิ หยาบและดําเนื่องจากออกซิไดซ์ ………………………... 26
12 แสดงชิ้นงานหล่อที่มีสิ่งแปลกปลอมปน …………………………………….. 27
13 แนวความคิดของการเทียบเคียงค่า Z ………………………………………… 30
14 ความหมายของสัญลักษณ์ตารางออทอกอนอล อะเรย์ ………………………. 35
15 ลิเนียร์กราฟมาตรฐานของตารางออทอกอนอล อะเรย์ L8 (27) ……………….. 36
16 การเปรี ยบเทียบในการพิจารณาระดับขั้นความอิสระ ……………………….. 37
17 ลิเนียร์กราฟ L 4 (23) …………………………………………………………...
39
18 แสดงลักษณะความเบ้รูปทรงต่างๆ ………………………………………….. 43
19 แสดงลักษณะความโด่งในลักษณะต่างๆ …………………………………….. 43
20 แสดงขั้นตอนในการศึกษา …………………………………………………… 52
21 แสดงลําดับขั้นตอนของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ ……………………. 53
22 แสดงแผนผังก้างปลาแสดงสาเหตุที่คาดว่ามีผลต่อปัญหาของชิ้นงาน


เครื่ องประดับทอง …………………………………………………… 54
23 แสดงหัวเจาะอุปกรณ์ที่ใช้ในการทําพิมพ์ …………………………………… 63
24 แสดงเหล็กฝังพลอยประเภทต่างๆใช้สาํ หรับการทําพิมพ์ …………………… 64
25 แสดงแม่พิมพ์ยาง ……………………………………………………………. 64

สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
26 แสดง ก) เครื่ องอัดแม่พิมพ์ยาง ข) แผ่นประกบกรอบ ค) กรอบ (บล็อก)
อะลูมิเนียม …………………………………………………………… 65
27 แสดงเทียนสําหรับฉี ดเทียนในงานหล่อเครื่ องประดับ ………………………. 65
28 แสดงเครื่ องฉี ดเทียนระบบสุ ญญากาศ ………………………………………. 66
29 แสดงเครื่ องคว้านขนาดแหวน ตะไบเทียน และวงเวียน …………………….. 66
30 แสดงขี้ผ้ งึ ดูดจับพลอย ………………………………………………………. 66
31 แสดงอุปกรณ์วดั ขนาดพลอย ………………………………………………... 67
32 แสดงหัวแร้งหรื อปากกาเชื่อมเทียน …………………………………………. 67
33 แสดงฐานยาง ………………………………………………………………... 68
34 แสดงเครื่ องชัง่ นํ้าหนักละเอียดแม่นยําสู ง …………………………………… 68
35 แสดงกระบอกปูน …………………………………………………………… 69
36 แสดงเครื่ องผสมปูน ……………………………………………………….... 69
37 แสดงเครื่ องดูดสุ ญญากาศ …………………………………………………... 69
38 แสดงเตาอบปูน ……………………………………………………………... 70
39 แสดงเครื่ องหล่อสุ ญญากาศ …………………………………………………. 70
40 แสดงผลการประมวลผลการตรวจสอบคุณภาพงานในระยะสั้น ……………. 73
41 แสดงการประมาณค่าแบบช่วงของเปอร์เซ็นต์ค่าการตรวจซํ้า ………………. 74
42 แสดงผลการประมวลผลของระบบการตรวจสอบ …………………………... 76
43 แสดงแผนภูมิควบคุมของข้อมูลที่เก็บเพื่อวิเคราะห์ความสามารถของ
กระบวนการ …………………………………………………………. 79
44 แสดงผลการคํานวณหาขนาดของสิ่ งตัวอย่าง ……………………………….. 80
45 แสดงการแจกแจงแบบปกติของค่า Residual ………………………………… 81


46 แสดงกราฟระหว่าง ค่าความคลาดเคลื่อนกับค่าพยากรณ์ของข้อมูล ………… 82
47 แสดงการทดสอบข้อมูลเป็ นตัวแปรสุ่ มและมีความเป็ นอิสระต่อกัน ………… 82
48 แสดงผลของอิทธิพลหลัก …………………………………………………… 84
49 แสดงผลของอิทธิพลหลักของค่า S/N ratios ………………………………… 86
สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
50 แสดงกราฟเส้นโครงร่ างของค่าผลผลิตจากอิทธิพลร่ วมของทั้ง 3 ปัจจัย ........ 86
51 แสดงพื้นผิวตอบสนองของอิทธิพลร่ วมระหว่างปัจจัย ทั้ง 3 ปั จจัย …………. 87
52 แสดงปั จจัยที่บริ เวณเหมาะสมของค่าทั้ง 3 ปั จจัย …………………………… 88
53 แสดงแผนภูมิควบคุมของข้อมูลที่เก็บเพื่อวิเคราะห์ความสามารถของ
กระบวนการ ………………………………………………………… 89


1

บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา


อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับของประเทศไทย ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ วมาก
เนื่ อ งจากประเทศไทยมี แ หล่ ง วัต ถุ ดิ บ ที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ทํา ให้อุ ต สาหกรรมอัญ มณี แ ละ
เครื่ องประดับกลายเป็ นอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิ จของประเทศไทยมากขึ้น
เนื่องจากเป็ นอุตสาหกรรมที่นาํ เงินตราต่างประเทศเป็ นอันดับที่ 9 เข้าสู่ประเทศไทยได้เป็ นจํานวนปี
ละไม่ต่าํ กว่าแสนล้าน อีกทั้งยังเป็ นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการจ้างงานจํานวนมาก เนื่ องจากการ
ผลิ ตในอุตสาหกรรมนี้ ตอ้ งใช้ความประณี ตที่ มีความละเอี ย ดอ่อนของมนุ ษย์ ซึ่ งเครื่ องจักรไม่
สามารถทดแทนได้ แ ละเป็ นอุ ต สาหกรรมที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง ปั จ จุ บ ัน การแข่ ง ขั น
อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับไทยต้องเผชิ ญกับอุ ปสรรคทางการค้าและการแข่งขันที่
รุ นแรงมากขึ้น ทั้งในด้านราคาและคุณภาพ โดยเฉพาะประเทศจีนและอินเดีย แต่เนื่ องจากโรงงาน
ผูผ้ ลิตเครื่ องประดับเงิ นและทองส่ วนใหญ่ในประเทศเป็ นผูป้ ระกอบขนาดกลางและขนาดย่อม
(SMEs) ลักษณะการดําเนินงานใช้แรงงานเป็ นส่ วนใหญ่ กระบวนการผลิตต่างๆ ยังอาศัยเทคนิ ค
ทางด้า นความชํา นาญของผูป้ ฏิ บ ัติง านมาก ทํา ให้โรงงานเครื่ องประดับ ส่ ว นใหญ่ ย งั ขาด
ประสิ ทธิ ภาพในกระบวนการผลิต จึงก่อให้เกิดของเสี ยจํานวนมากที่ไม่สามารถควบคุมได้ และ
เป็ นสาเหตุสาํ คัญที่ลดทอนความสามารถของการแข่งขันทางธุรกิจ เนื่ องจากมีตน้ ทุนในการผลิตที่
สูง ดังนั้น ทําให้ผปู ้ ระกอบการหลายรายมุ่งเน้นไปที่การลดปริ มาณของเสี ยเนื่องจากการผลิต
ผูท้ าํ การวิจยั ได้ตระหนักถึงความสําคัญที่กล่าวมาข้างต้น จึงทําการวิจยั กรณี ศึกษาใน
โรงงานเครื่ องประดับที่กระบวนการหล่อ ซึ่ งนับว่าเป็ นกระบวนการที่สาํ คัญอย่างมากในการผลิต
เครื่ องประดับ เนื่องจากเป็ นกระบวนการขึ้นรู ปโลหะเพื่อให้เป็ นตัวเรื อนสิ นค้า เป็ นกระบวนการที่
เพิ่มค่าให้แก่วตั ถุดิบเป็ นอย่างมาก แต่เป็ นกระบวนการที่เสี ยค่าใช้จ่ายมากในการดําเนิ นการมาก
เช่นกัน และเป็ นกระบวนการที่ส่งผลให้เกิดของเสี ยในกระบวนการผลิตอย่างเห็นได้ชดั
กระบวนการหล่อของงานวิจยั ฉบับนี้ จะมุ่งประเด็นไปที่การหล่อสุ ญญากาศแบบขี้ผ้ ึงหาย
(Lost-Wax Vacuum Casting) ซึ่งมีหลายขั้นตอน โดยเริ่ มจากการผสมปูนเพื่อทําการหล่อเบ้าปูน
ปลาสเตอร์ , นําต้นเทียนมาสวมกับกระบอกปูนแล้วพันด้วยแผ่นพลาสติกรอบกระบอกปูน, นําต้น
เทียนสวมเข้ากับกระบอกเหล็กแล้ววางในเครื่ องสุ ญญากาศ, เทปูนปลาสเตอร์ ลงในกระบอกปูน
เพื่อหล่อปูนแล้วทําการดูดอากาศออกจากเบ้าปูน, พักเบ้าปูนทิ้งไว้ระยะหนึ่ง เพื่อให้ปูนจับตัวกัน,
อบไล่เทียน เพื่อกําจัดขี้ผ้ ึงออกจากเบ้าปูน ให้เป็ นโพรงแบบ, อบเบ้าปูนโดยอุ่นเตาอบ(Preheat),

1
2

หลอมโลหะที่เป็ นวัสดุที่จะใช้เป็ นตัวงานหล่อ, นําเบ้าปูนที่ผา่ นการอบ Preheat แล้วมาเข้าเครื่ อง


สุ ญญากาศ เพื่อดูดอากาศออกและเทนํ้าโลหะเข้าสู่ โพรงแบบในเบ้าปูน, พักเบ้าปูนทิ้งไว้ระยะหนึ่ ง
เพื่อรอให้น้ าํ โลหะแข็งตัว, ล้างปูนเพื่อที่จะนําต้นงานออกจากเบ้าปูนโดยการจุ่มนํ้าและฉี ดนํ้า
แรงดันสู ง, นําชิ้นงานจุ่มกรดเพื่อทําความสะอาดผิวชิ้นงาน และตัดช่อเพื่อแยกชิ้นงานออกจากต้น
โลหะ
จากข้อมูลปริ มาณการผลิตตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2554 ถึงพฤษภาคม 2555 พบว่า มีปริ มาณ
การผลิต 252,864 ชิ้น โดยในจํานวนชิ้นงานทั้งหมดนี้ จะมีชิ้นงานที่เสี ยและชิ้นงานที่ตอ้ งนํากลับไป
ซ่อม 103,100 ชิ้น ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 40.77 ของปริ มาณการผลิตทั้งหมด (ดังตารางที่ 1) และจาก
รายงานปริ มาณชิ้นงานที่เสี ยและชิ้นงานที่ตอ้ งนํากลับไปซ่ อม พบว่า เกิดจากจุดบกพร่ องหลาย
ลักษณะ เช่น ตามด ผืน่ หล่อไม่เต็ม ชิ้นงานเสี ยทรง เป็ นต้น เมื่อแยกปั ญหาแต่ละประเภทออกมา
พบว่า ปั ญหาที่เกิดจากตามดมีสัดส่ วนที่สูงที่สุดคือร้อยละ 27.18 ของปริ มาณชิ้นงานที่เสี ยและส่ ง
ซ่อมทั้งหมด (ดังตารางที่ 2)

ตารางที่ 1 ปริ มาณของชิ้นงานเสี ยและซ่อมเทียบกับปริ มาณผลผลิตทั้งหมด


เดือน ปริ มาณที่ผลิตทั้งหมด จํานวนชิ้นงานที่ตอ้ งซ่อม เปอร์เซ็นต์
(ชิ้น) หรื อหล่อใหม่ (ชิ้น)
มิถุนายน 2554 14,160 5,345 37.75%
กรกฎาคม 2554 21,818 9,543 43.74%
สิ งหาคม 2554 25,222 12,347 48.95%
กันยายน 2554 26,369 12,467 47.28%
ตุลาคม 2554 28,654 12,966 45.25%
พฤศจิกายน 2554 29,898 12,794 42.79%
ธันวาคม 2554 26,459 11,562 43.70%
มกราคม 2555 14,688 5,219 35.53%
กุมภาพันธ์ 2555 15,743 5,032 31.96%
มีนาคม 2555 18,436 5,729 31.08%
เมษายน 2555 15,312 5,109 33.37%
พฤษภาคม 2555 16,105 4,987 30.97%
รวม 252,864 103,100 40.77%

2
ตารางที่ 2 อันดับชนิดของข้อบกพร่ องที่พบมากในช่วงเดือนมิถุนายน 2554 – พฤษภาคม 2555
ชนิด จํานวนข้อบกพร่ องของชิ้นงานแต่ละเดือน (ชิ้น)
ข้อบกพร่ อง 6/54 7/54 8/54 9/54 10/54 11/54 12/54 01/55 02/55 03/55 04/55 05/55 รวม
ตามด 1,456 2,324 3,317 3,694 3,645 3,396 3,189 1,521 1,347 1,571 1,477 1,367 28,304
ตัวเรื อนผุ 1,167 1,780 2,522 2,889 3,179 3,037 2,921 1,244 1,254 1,350 1,270 1,283 23,896
ขัดไม่
1,112 2,037 2,577 2,311 2,479 2,677 2,259 1,005 1,065 1,248 1,053 991 20,814
เกลี้ยง
ผืน่ 884 1472 2,237 2,073 2,021 2,048 1,740 844 823 882 768 824 16,616
ตัวเรื อน
439 715 783 685 913 809 628 313 299 333 243 265 6,425
เป็ นรอย
ตอกตรา 126 518 401 482 381 327 401 172 156 169 161 127 3,421
ตัวเรื อน
78 313 316 177 163 234 246 67 51 76 62 71 1,854
เป็ นคลื่น
รอย
กระดาษ 48 242 141 84 114 156 138 42 27 58 53 32 1,135
ทราย
อื่นๆ 35 142 53 72 71 110 40 11 10 42 22 27 635
รวม 5,345 9,543 12,347 12,467 12,966 12,794 11,562 5,219 5,032 5,729 5,109 4,987 103,100

3
14

แผนภูมิพาเรโตแสดงข้อบกพร่ องต่างๆที่พบในชิ้นงาน

อื่นๆ
เป็ นรอย
ขัดไม่เกลี้ยง
ตัวเรื อนผุ
ตามด

ตอกตรา
ผืน่

ภาพที่ 1 แผนภูมิพาเรโตแสดงข้อบกพร่ องต่างๆที่พบในชิ้นงานช่วงเดือนมิถุนายน 2554 –


พฤษภาคม 2555

ภาพที่ 2 แสดงลักษณะชิ้นงานที่เป็ นตามด

ลักษณะตามด (ดังภาพที่ 2) มีลกั ษณะเป็ นรู และลึก มีเป็ นบางจุด แต่ไม่กระจายทัว่ ชิ้นงาน
ซึ่งชิ้นงานที่ปรากฏลักษณะดังกล่าวจะต้องนํามาทําการแก้ไขงานใหม่ (Rework) โดยการนําไปขัด
ผิวใหม่, ตีผวิ เพื่อปิ ดรู พรุ น หรื อชุบเพื่อปิ ดรอยพรุ น
เมื่อได้ทาํ การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาการเกิดตามดในเครื่ องประดับทองโดยการระดม
สมองของผูท้ ี่รับผิดชอบในกระบวนการผลิตนี้ พบว่า การควบคุมระดับอุณหภูมิอบเบ้าปูนอุณหภูมิ
หลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ

1
52

1.2 วัตถุประสงค์ การวิจัย


1.2.1 เพื่อศึ กษาการตรวจสอบคุณภาพและเกณฑ์ในการยอมรั บของชิ้ นงานในการหล่อ
เครื่ องประดับทอง
1.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จัย ต่ า ง ๆ ที่ มี ผ ลต่ อ รู ปทรง ลัก ษณะผิ ว ของชิ้ น งานในการหล่ อ
เครื่ องประดับทอง
1.2.3 เพื่อศึกษาระดับปั จจัยที่เหมาะสม ในการหล่อชิ้นงานเครื่ องประดับให้ได้รูปทรงและ 1 1

ผิวชิ้นงานตามที่ได้ออกแบบไว้ เพื่อลดข้อบกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับ

1.3 กรอบแนวความคิด
ตัวแปรอิสระ กระบวนการวิจัย ตัวแปรตาม

- อุณหภูมิอบเป้ าปูน - ทฤษฎีสถิติเชิงวิศวกรรม -ค่าในแต่ละปัจจัยที่


- อุณหภูมิหล่อโลหะ - ทฤษฎีวิเคราะห์ระบบ เหมาะสมต่อ
- อุณหภูมิเป้ าปูนสําหรับ การวัด กระบวนการหล่อ
การหล่อ - ทฤษฎีวิเคราะห์ เครื่ องประดับทอง
ความสามารถ - เปอร์เซ็นต์ของเสี ยและ
กระบวนการ ชิ้นงานที่บกพร่ องจาก
- ทฤษฎีการออกแบบการ กระบวนการหล่อ
ทดลอง เครื่ องประดับ

1.4 สมมติฐานทีใ่ ช้ ในการวิจยั


การปรับเปลี่ยนระดับปั จจัย อุณหภูมิอบเบ้าปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูน
สําหรับการหล่อ จะมีอิทธิ พลต่อจํานวนชิ้นงานที่เป็ นตามดและข้อบกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อน
เครื่ องประดับมากน้อยแตกต่างกัน และเมื่อชิ้นงานมีขอ้ บกพร่ อง จึงทําให้ตอ้ งนํามาทําการแก้ไขงาน
ใหม่ (Rework) หรื อต้องนํากลับมาหล่อใหม่อีกครั้ง (Casting) ซึ่ งหากมีการศึกษาและควบคุมปั จจัย
อุ ณ หภู มิ อ บเบ้า ปู น อุ ณ หภู มิ ห ลอมโลหะ และอุ ณ หภู มิ เ บ้า ปู น สํา หรั บ การหล่ อ ให้ อ ยู่ใ นจุ ด ที่
เหมาะสมก็จะทําให้จาํ นวนชิ้นงานที่มีขอ้ บกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับน้อยลงด้วย

2
36

1.5 ขอบเขตการวิจัย
1.5.1 ทําการศึกษาและวิเคราะห์เฉพาะกระบวนการหล่อของชิ้นงานเครื่ องประดับ ซึ่ งเป็ น
ชิ้นงานแหวนรหัส R-10021 ตัวเรื อนทํามาจากทองสี ขาว 18 กะรัตผสมแพลเลเดียม (18 K
Palladium White Gold)
1.5.2 เลือกทําการศึกษาปั จจัยเฉพาะอุณหภูมิอบปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้า
ปูนสําหรับการหล่อของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง
1.5.3 การออกแบบการทดลองด้วยวิธีการทากูชิในการศึกษาควบคุมคุณภาพเครื่ องประดับ
ทอง

1.6 ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ


1.6.1 สามารถอธิบายปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทองได้
1.6.2 เป็ นการปรับปรุ งกระบวนการหล่อให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
1.6.3 เป็ นการลดของเสี ยและงานส่ งซ่อมเนื่องจากกระบวนการหล่อ

1.7 นิยามคําศัพท์
การหล่ อเครื่องประดับ (Jewelry Casting) หมายถึง กระบวนการหล่อเครื่ องประดับด้วยการ
หล่อแบบประณี ต จะได้ชิ้นงานที่มีรายละเอียดดีกว่าแบบหล่อชนิ ดอื่นๆ มีขนาดเที่ยงตรงและมีการ
ตบแต่งน้อย
กระบวนการหล่ อประณีต (Investing Casting) หมายถึง กระบวนการหล่อโลหะแบบหนึ่ง
ซึ่งเริ่ มจากการทําต้นแบบ ซึ่งมีรูปร่ างเหมือนชิ้นงานจากขี้ผ้ งึ (Wax) หลังจากนั้นจะนําต้นแบบขี้ผ้ งึ
นี้ไปจุ่มในสลิปของวัสดุทนไฟเพื่อให้วสั ดุทนไฟเกาะโดยรอบขี้ผ้ งึ จากนั้นจะนําไปให้ความร้อน
เพื่อไล่ข้ ีผ้ งึ ออกไป ทําให้เกิดเป็ นแม่พิมพ์ ซึ่งมีโพรงภายใน ซึ่งจะใช้ในการเทนํ้าโลหะขึ้นไปได้ มี
ความหมายเหมือนกับหล่อแบบขี้ผ้ งึ หาย (Lost Wax Casting)
ทอง 18 K (Gold 18 Karat) หมายถึง เครื่ องประดับที่ใช้ทองเป็ นวัสดุหลักในการหล่อตัว
เรื อน ซึ่ งตามข้อกําหนดสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม ได้กาํ หนดให้ใช้ทองเป็ นวัสดุหลักโดยที่
ทองมีความบริ สุทธิ์ไม่ต่าํ กว่า 75.0 เปอร์เซ็นต์

3
7

บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

ในการศึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ น้ ี จัด ทํา ขึ้ น เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ กระบวนการหล่ อ
ผลิตภัณฑ์เครื่ องประดับทองที่เหมาะสม กรณี ศึกษาโรงงานเครื่ องประดับ และเพื่อแก้ไขปั ญหาเรื่ อง
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ลดของเสี ยและงานซ่ อมจากการผลิต โดยผูว้ ิจยั ได้ทาํ การรวบรวมเอกสาร
แนวความคิ ด และงานวิ จ ัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ วิ ท ยานิ พ นธ์ โดยเนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วของจะแยกตามส่ ว น
ดังต่อไปนี้
1.โลหะวิทยาเบื้องต้นสําหรับทองคํา
2. การผลิตเครื่ องประดับแบบหล่อ
3. ประเภทการหล่อ
4. ข้อบกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับ
5. การออกแบบการทดลอง (DOE: Design of Experiment)
6. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

2.1 โลหะวิทยาเบือ้ งต้ นสํ าหรับทองคํา


2.1.1 คุณสมบัติของทองคํา (Properties of gold) (สมาคมทองคําแห่งประเทศไทย)
ทองคํา เรี ยกโดยย่อว่า “ทอง” เป็ นธาตุลาํ ดับที่ 79 มีสัญลักษณ์ Au ทองคําเป็ นโลหะ
แข็งสี เหลือง เกิดเป็ นธาตุอิสระในธรรมชาติ ไม่ว่องไวต่อปฏิกิริยาและทนทานต่อการขึ้นสนิ มได้
ดีเลิศ ทองคํามีจุดหลอมเหลวที่ 1064 องศาเซลเซี ยส จุดเดือดที่ 2701 องศาเซลเซส มีความ
ถ่วงจําเพาะ 19.3 และมีน้ าํ หนักอะตอม 196.67 ลักษณะที่พบเป็ นเกล็ด เม็ดกลม แบน หรื อรู ปร่ าง
คล้ายกิ่งไม้ รู ปผลึกแบบลูกเต๋ า(Cube) หรื อ ออคตะฮีดรอน (Octahedron) หรื อ โดเดกะฮีดรอน
(Dodecahedron)
คุ ณ สมบัติ สํา คัญ ของทองคํา อี ก ประการหนึ่ ง คื อ ทองคํา เป็ นโลหะที่ อ่ อ นและ
เหนียว ทองคําหนัก 1 ออนซ์ สามารถทําให้เป็ นเส้นได้ยาวถึง 50 ไมล์ และสามารถตีแผ่ทองคํา
ให้เป็ นแผ่นบางขนาด 0.00005 นิ้วได้ (หรื ออาจบุเป็ นแผ่นจนมีความหนาน้อยกว่า 0.0001 มิลลิเมตร
ได้) นอกจากนี้ ทองคํายังเป็ นโลหะที่ไม่ละลายในกรดชนิดใดเลย แต่สามารถละลายได้อย่าง
ช้าๆ ในสารละลายผสมระหว่างกรดดินประสิ วและกรดเกลือ

7
8

จุดเด่นสําคัญของทองคําอยูท่ ี่สี กล่าวคือ ทองคํามีสีเหลืองสว่างสดใส และมีความสุ ก


ปลัง่ (Brightness) มีประกายมันวาวสะดุดตา นอกจากนี้ ยงั ไม่เป็ นสนิ มแม้จมดินจมโคลน มีความ
แข็งเหนียว เนื้อแน่น ไม่สกปรก ไม่หมอง ไม่เป็ นคราบไคลง่ายเหมือนวัตถุชนิดอื่นๆ
คุณสมบัติเหล่านี้ ประกอบกับลักษณะภายนอกที่เป็ นประกายจึงทําให้เป็ นที่หมายปองของ
มนุ ษย์มาเป็ นเวลานาน โดยนํามาตีมูลค่าสําหรับการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศและใช้เป็ น
วัตถุดิบที่สาํ คัญสําหรับวงการเครื่ องประดับ
ทองคําได้รับความนิยมอย่างสูงสุ ดในวงการเครื่ องประดับ เพราะเป็ นโลหะมีค่าชนิ ดเดียว
ที่มีคุณสมบัติพ้ืนฐาน 4 ประการซึ่งทําให้ทองคําโดดเด่นและเป็ นที่ตอ้ งการเหนื อบรรดาโลหะมีค่า
ทุกชนิดในโลก คือ
1. ความงดงามมันวาว (Lustre) สี สันที่สวยงามตามธรรมชาติผสานกับความมัน
วาวก่อให้เกิดความงามอันเป็ นอมตะ ทองคําสามารถเปลี่ยนเฉดสี ทองโดยการนําทองคําไปผสม
กับโลหะมีค่าอื่น ๆ ช่วยเพิ่มความงดงามให้แก่ทองคําได้อีกทางหนึ่ง
2. ความคงทน (Durable) ทองคําไม่ข้ ึนสนิ ม ไม่หมอง และไม่ผุกร่ อน แม้ว่า
กาลเวลาจะผ่านไปนานเท่าไรก็ตาม
3. ความหายาก (Rarity) ทองคําเป็ นแร่ ที่หายาก กว่าจะได้ทองคํามาหนึ่ ง
ออนซ์ ต้องถลุงก้อนแร่ ที่มีทองคําอยูเ่ ป็ นจํานวนหลายตัน และต้องขุดเหมืองลึกลงไปหลายสิ บ
เมตรจึงทําให้มีค่าใช้จ่ายที่สูง เป็ นสาเหตุให้ทองคํามีราคาแพงตามต้นทุนในการผลิต
4. การนํากลับไปใช้ประโยชน์ (Reuseable) ทองคําเหมาะสมที่สุดต่อการนํามาทํา
เป็ นเครื่ องประดับ เพราะมีความเหนียวและอ่อนนิ่ ม สามารถนํามาทําขึ้นรู ปได้ง่าย อีกทั้งยัง
สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้โดยการทําให้บริ สุทธิ์ (Purified) ด้วยการหลอมได้อีกนับครั้งไม่ถว้ น
2.1.2 คุณประโยชน์ของทองคํา (สมาคมทองคําแห่งประเทศไทย)
2.1.2.1 วงการอุตสาหกรรมเครื่ องประดับอัญมณี ทองคําได้ครอบครองความเป็ น
หนึ่ งในฐานะโลหะที่ใช้ทาํ เป็ นเครื่ องประดับ ที่ได้รับความนิ ยมมากที่สุด จากอดีตถึงปั จจุบนั
เครื่ องประดับอัญมณี ทองคําได้มีส่วนทําเป็ นฐานเรื อนรองรับอัญมณี มาโดยตลอด จากรู ปแบบขั้น
พื้นฐานของงานทองที่ง่ายที่สุด ไปสู่ เทคนิคการทําทองด้วยเทคโนโลยีช้ นั สู ง
2.1.2.2 ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจการคลัง ทองคํามีประโยชน์ในฐานะเป็ นโลหะ
สื่ อกลางแห่ ง การแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ทองคํา ถูก สํา รองไว้เ ป็ นทุ น สํารองเงิ น ตราระหว่าง
ประเทศ เพราะทองคํามีมูลค่าในตัวเอง ผิดกับเงินตราสกุลต่างๆ อาจเพิ่มหรื อลดได้ ทองคําถูกใช้
เป็ นเครื่ องมือในการเก็งกําไรของตลาดการค้า นอกจากนี้ ยงั ได้มีการจัดทําเป็ นเหรี ยญกษาปณ์
9

ทองคํา หรื อแสตมป์ ทองคํา หรื อธนบัตรทองคํา ซึ่งถูกผลิตโดยรัฐบาล หรื อหน่วยงานเอกชน ใน


วาระโอกาสพิเศษต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิดกระแสค่านิยมการเก็บสะสมเป็ นที่ระลึกอีกด้วย
2.1.2.3 ทองคําในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ ทองคําถูกนํามาให้ในวงการ
อิเล็คทรอนิ กส์และการสื่ อสารโทรคมนาคม อาทิเช่น สวิตซ์โทรศัพท์ที่ใช้เป็ นแผงตัด เพื่อให้
กระแสไฟฟ้ าเดิ น ได้ส ะดวก การใช้ล วดทองคํา ขนาดจิ๋ ว เชื่ อ มต่ อ วัส ดุ ก่ ึ งตัว นํา และทรายซิ
สเตอร์ การใช้ล วดทัง สเตนและโมลิ บ ดี นัม เคลื อ บทองคํา ใช้ใ นอุ ต สาหกรรมหลอด
สุ ญญากาศ การเคลือบผิวเสาอากาศด้วยทองคําเพื่อการสื่ อสารระยะไกล การใช้ตาข่ายทองคําเพื่อ
ป้ องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในระบบการสื่ อสารการบินพาณิ ชย์ การใช้อลูมิเนี ยม
เคลือบทองในเครื่ องถ่ายเอกสารเพื่อทําหน้าที่สะท้อนรังสี อินฟราเรดได้อย่างดีเลิศ การใช้โลหะ
ทองคําเจือเงิน และนิ กเกิลประกบผิวทองเหลืองสําหรับใช้ในปลัก๊ ปุ่ มสวิตซ์ใช้งานหนัก หรื อ
สปริ งเลื่อนในลูกปิ ดเลือกเปลี่ยนช่องทีวี แผงวงจรต่างๆ ก็มีทองคําเป็ นตัวนําไฟฟ้ าเพื่อให้ทาํ งาน
ได้ตลอดอายุงานเนื่องจากทองคําอยูต่ วั และไม่เกิดฟิ ล์มออกไซด์ที่ผวิ
2.1.2.4 ประโยชน์ในการคมนาคมและการสื่ อสารโทรคมนาคม ทองคํามี
คุณสมบัติการสะท้อนรังสี อินฟราเรดได้ดี ทองคําจึงถูกนํามาใช้กบั ดาวเทียม ชุ ดอวกาศ และยาน
อวกาศ เพื่อป้ องกันการแผ่รังสี ของดวงอาทิตย์ที่มากเกินไป กระจกด้านหน้าของเครื่ องบิน
คองคอร์ ด จะมีแผ่นฟิ ล์มทองคําติดไว้ป้องกันรังสี จากดวงอาทิตย์ และป้ องกันการจับตัวเป็ น
นํ้าแข็งหรื อการทําให้เกิดฝ้ าหมอกมัวกระจกด้านนอกของเครื่ องเป็ นที่มีสีน้ าํ ตาลหรื อบรอนซ์จาง
ๆ และมองจากด้านในจะเป็ นสี น้ าํ เงินจาง ๆ ก็มีช้ นั ฟิ ล์มทองคําติดไว้ เพื่อป้ องกันความกล้าของ
แสงแดดและความร้อนจากดวงอาทิตย์ ใบจักรกังหันในเครื่ องบินไอพ่น ถ้าไม่มีส่วนผสมของ
ทองคําที่ จะประสานกับโรเตอร์ ย่อมจะแตกแยกได้ง่าย ชิ้ นส่ วนประกอบสําคัญของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ก็มีทองคําเป็ นส่ วนประกอบอยูด่ ว้ ย อาคารสํานักงานใหญ่ ๆ ของธนาคารกลางใน
แคนนาดา ในนครโตรอนโต้ ก็ติดแผ่นฟิ ล์มทองคําด้วยทอง 24 K มี น้ าํ หนักรวมถึ ง
77.7 กิโลกรัม เพื่อลดความร้อนและปรับอุณหภูมิในอาคารให้พอเหมาะและเพิ่มความสวยของ
อาคารอีกด้วย
2.1.2.5 ประโยชน์ในวงการแพทย์และทันตกรรม ความเชื่อเกี่ยวกับการรักษา
โรคด้ว ยทองคํา มี มาแต่ ค รั้ งเก่ า ก่ อ น คนโบราณเชื่ อว่า เมื่ อ นําทองคํา ผสมกับยาจะเป็ นยา
อายุวฒั นะ ช่วยให้มีชีวิตยืนยาว หมอแผนโบราณยังคงสั่ง “ยามเม็ดทอง” ให้กินโรคหลายอย่าง
รวมทั้งโรคเสื่ อมสมรรถภาพทางเพศและการเป็ นหมัน ในโลกยุคปั จจุบนั การแพทย์สมัยใหม่ก็มี
การทดลองให้ทองคําเพื่อการบําบัดรักษาโรคภัย ทองคําถูกนํามาใช้ในการต่อสู ้กบั โรคมะเร็ งใน
รายหนัก ๆ แพทย์จะฉี ดสารละลายของทองคํากัมมันตรังสี แต่ปริ มาณทองที่ใช้ในการแพทย์รวม
10

แล้วยังเล็กน้อยและไม่มีความสําคัญอะไร ซํ้าราคายังแพงอีกต่างหาก การใช้ทองคําในการแผ่


รังสี การสอดทองใส่ ในกล้ามเนื้ อเพื่อให้มีกาํ ลังต่อสู ้กบั ความเจ็บป่ วย การใช้ทองคําเป็ นอีก
ปัจจัยหนึ่งในการแยกวิเคราะห์ปอดและตับ ในด้านทันตกรรม ทองคําถูกนํามาใช้โดยวิธีการบ่ม
แข็งทองคํา ไม่เป็ นพิษต่อร่ างกาย และมีจุดหลอมตัวปานกลาง ทองคําจึงเหมาะสมในการถูก
นํามาใช้ในการอุดฟัน ครอบฟัน ทําฟันปลอม การจัดฟันและการดัดฟัน

2.2 การผลิตเครื่องประดับแบบหล่ อ (เอกสิ ทธิ์ นิสารัตน์, 2549: 8)


2.2.1 กระบวนการผลิตเครื่ องประดับแบบหล่อ
กระบวนการผลิตเครื่ องประดับแบบหล่อ มีกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน มีความแตกต่าง
ทั้งลําดับในการทําแต่ละขั้นตอนตามแต่ละรู ปแบบของผลิตภัณฑ์ แต่กระบวนการผลิตหลักๆนั้นมี
รายละเอียด ดังนี้
2.2.1.1 การออกแบบ (Design)
ฝ่ ายการตลาดจะรับออเดอร์จากลูกค้า แล้วแจ้งรายละเอียดที่ลูกค้าต้องการแก่แผนก
ออกแบบ การออกแบบจะเป็ นการวาดภาพชิ้นงานซึ่ งยังไม่ได้พิจารณาความเป็ นไปได้ในการผลิต
จริ ง เมื่ออกแบบเสร็ จจะส่ งแบบให้ฝ่ายการตลาดพิจารณาว่าใช้ได้หรื อไม่ ถ้าใช้ได้ ฝ่ ายการตลาดจะ
ส่ งแบบให้ลูกค้าดู ถ้าลูกค้าพอใจ แผนกออกแบบจะส่ งให้แผนกทําแม่พิมพ์นาํ ไปพิจารณาทําเป็ น
ข้อมูลรายละเอียดของการผลิต ถ้ามีรายละเอียดบางอย่างที่ไม่อาจผลิตได้จริ ง จะมีการแก้ไขแบบ
เพื่อให้มีความเป็ นไปได้ที่จะผลิตจริ ง
2.2.1.2 การทําแม่พิมพ์เงิน (Model Marking)
เพื่อใช้เป็ นต้นแบบของผลิตภัณฑ์ที่จะผลิต กรรมวิธีการขึ้นรู ปแม่พิมพ์จะทําด้วย
มือ โดยใช้โลหะเงินแท่งซึ่ งจะแยกทําชิ้ นส่ วนประกอบย่อยก่อน แล้วนํามาประกอบเป็ นตัวเรื อน
ของเครื่ องประดับโดยวิธีการเชื่อมนํ้าประสาน แบบแม่พิมพ์ที่ได้น้ ี เปรี ยบเสมือนกระสวนของงาน
หล่อทัว่ ไป ซึ่งทําขึ้นเพื่อใช้เป็ นแบบของการทําแบบหล่อ มีข้ นั ตอนการทํา ดังต่อไปนี้
2.2.1.2.1 พิจารณาแบบตัวอย่าง ซึ่ งอาจมาจากภาพถ่าย หรื อเครื่ องประดับ
จริ ง หรื อออกแบบเอง
2.2.1.2.2 หลอมแท่งเงินในเบ้าดินเล็กๆ โดยใช้น้ าํ มันเบนซิ นเป็ นเชื้อเพลิง
และใช้ไฟขาตั้งเป็ นเครื่ องมือเป่ าแบบหลอมแท่งเงิน หลังจากนั้นเทนํ้าโลหะใส่ รางเหล็กแล้วนําไป
รี ดให้มีความหนาตามขนาดที่จะนําไปทําชิ้นส่ วนประกอบย่อย โดยใช้เครื่ องรี ดไฟฟ้ า
11

2.2.1.2.3 ขึ้นรู ปชิ้นงานย่อยให้มีสัดส่ วน และรู ปร่ างตามแบบที่ตอ้ งการ


แล้วตกแต่งโดยใช้เลื่อยมือและตะไบละเอียด ขั้นตอนนี้ จะมีการสู ญเสี ยเนื้ อเงินบ้าง ซึ่ งได้มีการ
คํานวณขนาดเผือ่ เอาไว้แล้ว
2.2.1.2.4 ประกอบชิ้นส่ วนย่อยเข้าด้วยกันโดยวิธีการเชื่อมนํ้าประสาน
แล้วตกแต่งอย่างละเอียดด้วยสว่านและกระดาษทราย วิธีการประกอบชิ้นส่ วนย่อยเข้าเป็ นตัวเรื อน
เครื่ องประดับ จะนําชิ้นส่ วนย่อยไปติดบนก้อนดินนํ้ามันให้อยูใ่ นตําแหน่ งที่ตรงกับลักษณะรู ปร่ าง
ของตัวเรื อน แล้วใช้ปูนปลาสเตอร์ หล่อทับ เมื่อแกะก้อนดินนํ้ามันออกแล้ว ปูนปลาสเตอร์ จะเป็ น
ตัวช่วยประคองชิ้นส่ วนของตัวเรื อนเข้าด้วยกัน วัสดุที่ใช้ในการเชื่อมประสานจะเป็ นชนิ ดเดียวกัน
กับวัสดุที่ใช้ทาํ แม่พิมพ์ ในการทําแม่พิมพ์มกั จะเผื่อขนาดสําหรั บการหดตัวจากการหล่อให้ใหญ่
กว่าขนาดชิ้นงานจริ งที่ตอ้ งการไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์
2.2.1.3 การทําแม่พิมพ์ยาง (Rubber Mold Marking)
เป็ นกรรมวิธีการทําแบบหล่อสําหรับการฉีดหุ่ นขี้ผ้ งึ วัตถุดิบที่ใช้ได้แก่ยางดิบ ซึ่งมี
2 แบบ คือ ยางนอกและยางใน โดยยางนอกจะใช้ในการเตรี ยมบล็อกยางบริ เวณผิวชั้นนอก ยาง
นอกเป็ นยางที่มีคุณภาพตํ่ากว่ายางใน ซึ่ งมีคุณสมบัติของการทนความร้อนและแรงดันที่สูงกว่า จึง
ใช้สาํ หรับอัดภายในบล็อกยาง ขั้นตอนการทําแบบแม่พิมพ์ยางมีดงั นี้
2.2.1.3.1 การเตรี ยมบล็อกยาง โดยนําแผ่นยางนอกมาตัดให้มีขนาดเท่ากับ
บล็อกยาง แล้ววางยางนอกรองด้านล่างของบล็อก 1 – 2 ชั้น จากนั้นวางแม่พิมพ์เงินลงในบล็อก อัด
ยางในที่ตดั เป็ นชิ้ นเล็กๆปิ ดทับแม่พิมพ์ให้แน่ นและมีโพรงช่องว่างน้อยที่สุด แล้วปิ ดทับด้านบน
ด้วยแผ่นยางนอกอีกครั้ง
2.2.1.3.2 การอัด บล็อ กยาง นํา บล็อ กยางไปอัด ด้ว ยเตาอัด ยางโดยตั้ง
อุณหภูมิประมาณ 60 – 140 องศาเซลเซี ยส ระยะเวลาที่ใช้ข้ ึนกับขนาดของบล็อกพิมพ์ยาง เช่ น
บล็อกขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ใช้เวลาประมาณ 30 , 50 และ60 นาที ตามลําดับ
2.2.1.3.3 การผ่า ยาง ทํา ได้โ ดยยึด บล็อ กยางด้ว ยปากกาจับ แบบหนี บ
จากนั้นใช้มีดผ่าตัดกรี ดบล็อกยางเพื่อเอาแบบพิมพ์เงินออกมา ขั้นตอนนี้ ตอ้ งอาศัยฝี มือและความ
ชํานาญอย่างมาก เนื่ องจากในการลงมีดกรี ดยางแต่ละครั้ งจะมีผลต่อความสนิ ทของรอยประกบ
ระหว่างบล็อกพิมพ์ยางชั้นบนและชั้นล่าง อีกทั้งต้องกรี ดยางภายในบล็อก ซึ่ งประกอบไปด้วยส่ วน
ของไส้แบบ และระบบจ่ายนํ้าโลหะ
2.2.1.4 การฉี ดเทียน (Wax Injection)
ขั้นแรกต้องเตรี ยมขี้ผ้ งึ ก่อน โดยหลอมละลายขี้ผ้ ึงในหม้อฉี ดเทียนและปรับความ
ดันลมและอุณหภูมิที่เหมาะสม ใช้แผ่นเหล็กหนา ผิวเรี ยบ ประกบทั้งด้านบนและด้านล่างของแบบ
12

พิมพ์ยาง เพื่อให้แรงกดกระจายสมํ่าเสมอทัว่ ทั้งแบบพิมพ์ยาง ในการฉี ดเทียนให้กดตรงส่ วนที่ทาํ ไว้


ให้ข้ ีผ้ งึ เหลวไหลผ่านเข้ากับหัวฉี ดของหม้อ เสร็ จแล้ววางทิ้งไว้ให้แข็งตัว บางครั้งบริ เวณหัวฉี ดจะมี
การอุดตันของขี้ผ้ งึ ที่เกิดการแข็งตัว ก่อนการฉี ดครั้งต่อไปจึงต้องใช้ไฟลนตรงบริ เวณหัวฉี ดให้ร้อน
จนขี้ผ้ ึงส่ วนที่แข็งตัวเกิดการหลอมเหลวเสี ยก่อนจึงค่อยฉี ด ไม่เช่นนั้นแล้วจะทําให้เกิดปั ญหาการ
ฉีดไม่เต็มแบบ เนื่องจากการอุดตันขวางทางเดินของขี้ผ้ งึ ที่แข็งตัว นอกจากนี้จะมีการใช้แปรงชุบนํ้า
พอหมาดๆแปรงบริ เวณซอกมุมของแบบ เพื่อให้เศษขี้ผ้ ึงที่ติดอยู่ภายในแบบออกให้หมด การฉี ด
ขี้ผ้ ึงครั้งต่อไปจึงจะได้ลวดลายที่สมบูรณ์ ก่อนการฉี ดครั้งต่อไปจะต้องมีการลงแป้ งแล้วใช้ปืนลม
เป่ าลมลงบนแบบที่ลงแป้ งแล้ว เพื่อไม่ให้แป้ งติดแบบมากเกินไป และยังช่วยให้แบบแห้งอีกด้วย
2.2.1.4.1 การซ่ อมแบบฉี ดที่ไม่สมบูรณ์ คือ การฉี ดไม่เต็มแบบ ถ้าแบบ
ขี้ ผ้ ึง ไม่ ส มบู ร ณ์ เ พี ย งเล็ก น้อ ย ส่ ว นที่ สํา คัญ ไม่ ข าดหายไปหรื อ มี ข้ ี ผ้ ึง ส่ ว นเกิ น ติ ด ออกมามาก
เนื่ องจากการกดแบบยางไม่แน่ น จะต้องซ่ อมโดยการใช้น้ าํ ตาเทียนเติมเต็มส่ วนที่ขาดหายไป ใน
กรณี ที่มีข้ ีผ้ ึงส่ วนเกิ นที่บริ เวณขอบแบบเทียนหรื อมีข้ ีผ้ ึงส่ วนเกิ นมาปิ ดรายละเอียดของแบบ เช่ น
ร่ องจิกไข่ปลา ก็จะใช้มีดแต่งที่มีปลายแหลมลนไฟจากตะเกียงแอลกอฮอล์ทาํ การตกแต่งแบบและ
ขูดผิวแบบขี้ผ้ งึ ให้เรี ยบก่อนนําไปติดต้นเทียน
2.2.1.4.2 การติดต้นเทียนหรื อติดช่ อ จะต้องทําก้านต้นเทียนขึ้นมาก่ อน
โดยหลอมขี้ผ้ งึ เทลงในแบบก้านเทียนซึ่งทําจากโลหะอลูมิเนี ยม รอจนขี้ผ้ งึ เย็นตัวจึงแกะออกมาจาก
แบบ ซึ่งก้านต้นเทียนจะมีรูปร่ างเป็ นทรงกระบอกเกลี้ยง ยาวประมาณ 6 นิ้ว จากนั้นจึงทําการติดต้น
เทียนโดยใช้เหล็กติดต้นลนไฟจากตะเกียงแอลกอฮอล์นาํ มาแตะปลายก้านแบบขี้ผ้ ึงจนขี้ผ้ ึงหลอม
จึงนําไปติดก้านต้นเทียน โดยให้แบบขี้ผ้ ึงเอียงทํามุมกับก้านต้นเทียนประมาณ 45 องศา จํานวน
แบบขี้ผ้ งึ ที่จะติดบนต้นเทียนจะขึ้นอยูก่ บั ชนิดของเครื่ องประดับ
2.2.1.5 การหล่อตัวเรื อน (Casting)
เป็ นกรรมวิธีการขึ้นรู ปตัวเรื อนของเครื่ องประดับโดยอาศัยวิธีการหล่อแบบต่างๆ
ร่ วมกัน ได้แก่ การหล่อแบบขี้ผ้ งึ หาย การหล่อแบบปูนปลาสเตอร์ และการหล่อแบบเหวี่ยง วัตถุดิบ
ที่ใช้ ได้แก่ ทอง เงิน ทองเหลือง ทองแดง ปูนปลาสเตอร์ และสารช่ วยเพิ่มคุณภาพงานหล่อ เช่น
สังกะสี แผ่น เป็ นต้น การหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
2.2.1.5.1 การหล่ อ เบ้า ปู น ปลาสเตอร์ ผสมปู น ปลาสเตอร์ กับ นํ้าใน
อัตราส่ วนที่ เหมาะสมในเครื่ องผสมปูนสุ ญญากาศ โดยนําต้นเทียนสวมเข้ากับเบ้าวางในเครื่ อง
สุ ญญากาศ จากนั้นเทปูนปลาสเตอร์ลงในเบ้าเพื่อหล่อปูนทับพร้อมกับดูดอากาศไปด้วย
13

2.2.1.5.2 การนึ่ งเทียน เพื่อกําจัดขี้ผ้ ึงออกจากเบ้าปูน โดยตั้งอุณหภูมิของ


เตานึ่ งประมาณ 150-250 องศาเซลเซี ยส ประมาณ 2 ชัว่ โมง ขี้ผ้ ึงจะหลอมละลายไหลออกมา และ
สามารถนํากลับไปใช้ใหม่ได้ โดยนําไปล้าง ต้ม แล้วกรองให้สะอาด
2.2.1.5.3 การอบเบ้า ปู น โดยอุ่ น เตาอบที่ อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 300 องศา
เซลเซี ยส ประมาณ 1 ชั่วโมง เพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้นทีละ 100 องศาเซลเซี ยสทุก 1 ชั่วโมงจนถึง
อุณหภูมิประมาณ 720 องศาเซลเซี ยส รักษาระดับอุณหภูมิไว้ที่ 720 องศาเซลเซี ยสนานประมาณ 6
ชั่ว โมง แล้วลดอุ ณหภู มิของเตาอบลงมาอยู่ที่ระดับพอเหมาะกับประเภท ชนิ ด และขนาดของ
ชิ้นงานที่ตอ้ งการเป็ นเวลานานประมาณ 1 ชัว่ โมง
2.2.1.5.4 การหลอมโลหะ ให้ทาํ ขณะที่ลดอุณหภูมิของเตาอบลงมาจน
เกือบได้ที่แล้ว โดยหลอมวัสดุที่จะใช้หล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับในเบ้าหลอมที่อยู่ในเครื่ องหล่อ
โดยวิธีการเป่ าด้วยแก๊สออกซิเจน
2.2.1.5.5 การหล่อแบบสุ ญญากาศ เมื่อหลอมโลหะหลอมเหลวแล้วระบบ
สุ ญญากาศจะดูดนํ้าโลหะเข้าสู่ โพรงแบบในกระบอกปูน จากนั้นจะทําการหล่อเป็ นเวลาประมาณ 5
นาที เมื่อทําการหล่อเสร็ จแล้วนํากระบอกปูนออกจากเครื่ องหล่อ มาผ่านกระบวนการทําให้เบ้าปูน
ให้เย็นตัว
2.2.1.5.6 การแกะแบบปูนปลาสเตอร์ เพื่อนําต้นงานออกจากเบ้าปูน โดย
วิธีการฉี ดนํ้าแรงดันสู งเข้าทําลายปูนปลาสเตอร์ พร้อมกับทําความสะอาดชิ้นงานไปด้วย
2.2.1.5.7 การทําความสะอาดผิว ชิ้ น งาน ใช้วิธีการแช่ น้ ํากรดที่ มีความ
เข้มข้น 35 เปอร์เซ็นต์ นาน 15 นาที ตัวเรื อนเครื่ องประดับที่ได้จากกรรมวิธีการหล่อข้างต้นจะอยูใ่ น
รู ปของต้นงานหล่อที่มีตวั เรื อนเครื่ องประดับวางซ้อนเรี ยงเป็ นชั้นๆในลักษณะเช่นเดียวกับต้นเทียน
การหล่ อ ตัว เรื อนเครื่ องประดับถื อ เป็ นหัว ใจที่ สํา คัญที่ สุด ในการผลิ ต
เครื่ องประดับ เพราะเมื่อหล่อเป็ นตัวเรื อนแล้ว หากชิ้นงานที่ได้มีความบกพร่ องมากก็จาํ เป็ นต้อง
หล่อใหม่ ซึ่ งจะเกิ ดความสู ญเสี ยหลายทาง ไม่ว่าจะเป็ นการสู ญเสี ยเนื้ อเทียนของหุ่ นขี้ผ้ ึงอันใหม่
การสู ญเสี ยวัสดุสาํ หรับการหล่อ เสี ยเวลาและพลังงานค่อนข้างมาก ตลอดระยะเวลาไม่ต่าํ กว่า 10
ชั่ว โมง ดัง นั้น ผูค้ วบคุ มงานหล่ อจึ ง ควรเป็ นช่ างที่ ชาํ นาญงานและเป็ นผูท้ ี่ ช่างสัง เกต สามารถ
ปรั บแต่งสภาวะของการหล่อได้อย่างเหมาะสม เนื่ องจากคุณภาพของงานหล่ออาจขึ้นกับปั จจัย
หลายอย่าง
2.2.1.6 การแต่งชิ้นงาน (Filling)
14

เป็ นกรรมวิธีที่ทาํ ให้ตวั เรื อนมีขนาดรู ปร่ างและนํ้าหนักตรงตามความต้องการ และ


อาจมีการประกอบชิ้นส่ วนบางอย่างเข้ากับตัวเรื อนด้วยวิธีการเชื่อมนํ้าประสาน วัตถุดิบที่ใช้ได้แก่
กระดาษทราย ลวดเงิน นํ้าประสานทอง เงิน ทองเหลือง สารส้ม และลูกเจียรกากเพชร
ขั้นตอนการตกแต่งตัวเรื อนอาจแตกต่างกันตามชนิ ดของเครื่ องประดับ อย่างไรก็
ตามจะต้องควบคุมนํ้าหนักของตัวเรื อนให้อยูใ่ นเกณฑ์ที่ตอ้ งการ ปกติมกั ยอมให้มีการสู ญเสี ยวัสดุ
ของตัวเรื อนจากงานแต่งได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กาํ หนด โดยอยูใ่ นรู ปร้อยละของนํ้าหนักตัวเรื อน เช่น 1.5
เปอร์เซ็นต์ เป็ นต้น
2.2.1.6.1 การโม่ เป็ นการขัดผิวงานอย่างหนึ่ ง โดยอาจใช้ตวั ขัดเป็ นเหล็ก
หรื อเซรามิกส์ การโม่แบ่งเป็ น การโม่ดว้ ยแมกเนติก (Magnetic) การโม่ลูกเหล็ก และการโม่ดว้ ย
การเจียรไน (Grinding)
2.2.1.6.2 การฝั งพลอย เป็ นกรรมวิธีก ารประกอบอัญมณี และรั ตนชาติ
ต่างๆเข้ากับตัวเรื อนของเครื่ องประดับ ซึ่ งโดยทัว่ ไปแล้วงานฝังอาจเป็ น 4 ประเภทตามลักษณะงาน
ได้แก่ งานหนามเตย งานจิกไข่ปลา งานกระเปาะหุม้ และงานล็อค
2.2.1.6.3 การขัดเงาเป็ นกรรมวิธีการตกแต่งงานอย่างละเอียด เพื่อเพิ่ม
ความเรี ยบ ความมันเงา และความสวยงามของผิวตัวเรื อนเครื่ องประดับ วัสดุที่ใช้ได้แก่ ลูกผ้า ลูก
แปรง ยาดิ น ยาขาว ยาแดง สําลี ผ้าดิ บ และแปรงทองเหลือง เครื่ องมือที่ใช้ ได้แก่ มอเตอร์ และ
สว่านมือ
2.2.1.7 การตรวจสอบคุณภาพ (Inspection)
การตรวจสอบคุณภาพของชิ้นงาน แบ่งเป็ น
1. การตรวจสอบคุณภาพในระหว่างการผลิต เป็ นการตรวจสอบภายหลัง
การผลิ ต ที่ ผ่า นขั้น ตอนการผลิ ต หนึ่ ง ๆ ซึ่ ง หากมี ข อ้ บกพร่ อ งในระดับ ที่ ส ามารถนํา ชิ้ น งานไป
ซ่อมแซมได้ ก็จะเข้าสู่ ระบบการซ่อมแซม แต่ถา้ หากมีขอ้ บกพร่ องในระดับที่ไม่สามารถนําชิ้นงาน
ไปซ่อมแซมได้ จะต้องผลิตชิ้นงานชิ้นใหม่
2. การตรวจสอบคุณภาพขั้นสุ ดท้าย เป็ นการตรวจสอบชิ้นงานขั้นสุ ดท้าย
ภายหลังการผลิตที่ผา่ นกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน
2.2.1.8 การบรรจุภณ ั ฑ์ (Packing)
ภายหลังที่ได้ชิ้นงานสําเร็ จรู ปที่ผา่ นขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพขั้นสุ ดท้ายแล้ว
จะมี การนําชิ้ นงานมาบรรจุ ใส่ ถุงขนาดเล็กแยกเป็ นชิ้ นๆ และมี การบรรจุ ใส่ ถุงขนาดใหญ่ ตาม
จํานวนที่ลูกค้ากําหนดรายละเอียดไว้ในใบออเดอร์ เพื่อเตรี ยมส่ งให้ลูกค้าต่อไป
15

2.3 ประเภทการหล่ อ (เอกสิ ทธิ์ นิสารัตน์, 2549: 21)


2.3.1 การหล่อเหวี่ยง
การหล่อโดยใช้แรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลาง เป็ นกรรมวิธีหล่อโลหะที่มีลกั ษณะพิเศษจําเพาะ
คือ จะบรรจุโลหะเหลวเข้าสู่ โพรงแบบในขณะที่หมุนอยูร่ อบแกน และปล่อยให้ชิ้นงานแข็งตัว
ในระหว่างที่โพรงแบบยังคงหมุนอยูเ่ ช่นเดิม แรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางที่เกิดขึ้นเนื่ องจากการหมุน
ของโพรงแบบจะทําให้โลหะเหลวอัดตัวแน่นเข้ากับผนังโพรงแบบ จึงทําให้เกิดรู ปร่ างของชิ้นงาน
คล้อยตามผิวของผนังโพรงแบบโดยตลอดด้วย นอกจากนั้นยังทําให้เกิ ดระบบการป้ อนเติมที่
แตกต่างกันจากขบวนการหล่อกรรมวิธีอื่นๆ แรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะคล้าย
กับ แรงไฮโดรสเตติก ( Hydrostatic Force) ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ข้ ึน 2 ทาง คือ
1. ในขณะเทจะเห็นว่าแรงเหวี่ยงนี้ สามารถสลัดโลหะเหลวให้กระจายแผ่ออกไป
สัมผัสกับผิวของผนังโพรง ลักษณะเช่ นนี้ จะทําให้สามารถหล่อชิ้ นงานรู ปทรงกระบอกกลวง
ภายในได้เลย รวมทั้งรู ปทรงแหวนอื่นๆ ด้วย
2. แรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลาง จะทําให้เกิดความดันสู งยิ่งขึ้นภายในชิ้นงานขณะที่
โลหะเหลวกําลังจะแข็งตัว ลักษณะเช่นนี้ หากทิศทางการแข็งตัวเริ่ มต้นจากผนังโพรงแบบมุ่งเข้าสู่
จุดศูนย์กลางของแกนหมุนแล้ว ย่อมจะช่วยให้เกิดลักษณะการป้ อนเติมที่ดีข้ ึน และยังสามารถทํา
ให้สิ่งมลทินต่างๆ แยกตัวออกจากเนื้ อโลหะและแรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางยังสามารถขับไล่แก๊สให้
ออกจากโมเลกุลของโลหะเหลวอีกด้วย
2.3.1.1 การควบคุมคุณภาพชิ้นงานหล่อโดยใช้แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
การหล่อเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางนั้นมีองค์ประกอบที่สําคัญหลายประการ เกี่ ยวข้อง
กับการควบคุมคุณภาพของชิ้นงาน เช่น ความเร็ วในการหมุนโพรงแบบ อุณหภูมิเทหล่อ อัตรา
การเท อุณหภูมิของโพรงโลหะ
1. ความเร็ วในการหมุน การเลือกความเร็ วในการหมุนโพรงแบบนั้นเป็ น
เรื่ องสําคัญที่สุดของกระบวนการ ในขบวนการหล่อเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางแท้จริ งนั้น รู ภายในของ
ชิ้นงานจะถูกรั้งเอาไว้ดว้ ยแรงดึงดูดของโลก แต่แรงเหวี่ยงจะช่วยให้ชิ้นงานหลุดพ้นจากการฉี กร้าว
ตามแนวความยาวเนื่องจากแรงดึงดูดอย่างมากมายตามแนววงแหวนที่เกิดขึ้นจากแรงดึงดูดของโลก
สําหรั บในขบวนการหล่อกึ่ งเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางและขบวนการหล่อความดันเหวี่ยงนั้น จะต้อง
พิจารณาตามค่าความดันในการป้ อนเติม ความเร็ วในการหมุนโพรงแบบจะมีอิทธิ พลเหนื อเม็ด
โครงสร้างของโลหะงาน ถ้าความเร็ วในการหมุนโพรงแบบเพิ่มขึ้น ก็ยงิ่ จะทําให้ชิ้นงานที่ได้มีผลึก
แข็งเม็ดละเอียดยิ่งขึ้นตามไปด้วย ถึงแม้นว่าโพรงแบบที่หมุนเร็ ว ๆ นั้น จะทําให้โลหะเหลวเกิ ด
16

การอลวนมากขึ้นก็ตาม แต่ก็ยงั จะดีกว่าการหมุนรอบตํ่าๆ ทั้งนี้ การหมุนรอบจัดจะทําให้ชิ้นงานไม่


เกิดการฉี กร้าวซึ่งย่อมจะให้คุณประโยชน์มีค่ามากกว่า
2. อุณหภูมิเท จะเกี่ยวข้องโดยตรงกับรู ปแบบการแข็งตัวของโลหะ การ
เทหล่อเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางโลหะอุณหภูมิต่าํ ย่อมจะทําให้ผลึกเม็ดเล็กละเอียด เป็ นชนิ ดเม็ดหลาย
เหลี่ยมมุ มเท่ า (Equiaxed) ในขณะที่ อุณหภูมิเทสู งก็ทาํ ให้ได้เม็ดโครงสร้ างเป็ นผลึ กรู ปแท่ ง
(Columnar) อย่างไรก็ตามในทางจะต้องใช้อุณหภูมิเทสู งพอที่จะให้ความมัน่ ใจได้ว่า โลหะเหลวจะ
สามารถไหลแผ่กระจายโดยไม่เกิดความบกพร่ องเรื่ องผิวย่น เหตุน้ ี จึงทําให้ไม่สามารถที่หลีกเลี่ยง
ต่อการก่อรู ปผลึกแข็งหยาบ และยังเสี่ ยงต่อการฉีกร้าวเนื่องจากอุณหภูมิละลายสูงยิง่ ยวดมากเกินไป
3. อัตราการเทมีหลักการง่าย ๆ อยู่ว่าจะต้องเทโลหะให้เสร็ จสิ้ นก่อนที่
มันจะเกิดการแข็งตัวพอกนูนหรื อไม่ไหลตัวแผ่กระจาย ถึงแม้ในบางครั้งจะต้องใช้อตั ราการเทสู ง
จนเกิดการอลวนและฟุ้ งกระเซ็นก็ตามในทางปฏิบตั ิควรจะใช้อตั ราการเทที่ต่าํ เนื่องจากจะทําให้เกิด
ประโยชน์ในการสร้างทิศทางการแข็งตัวของชิ้นงานกับผิวนอกของชิ้นงาน (ติดผนังโพรงแบบ) ซึ่ง
จะช่วยลดการเสี่ ยงต่อเรื่ องการฉี กร้าวขณะร้อนของชิ้นงานหล่อได้
4. อุ ณ หภู มิ ข องโพรงแบบการหล่ อ เหวี่ ย งด้ว ยโพรงแบบโลหะถาวร
ย่อมจะทําให้ได้เม็ดผลึกของโลหะเล็กละเอียดมากกว่าการเทหล่อในโพรงแบบทราย ซึ่ งอุณหภูมิ
ของโพรงแบบจะมีอิทธิ พลเป็ นอันดับรองในเรื่ องที่กล่าวนี้ อุณหภูมิของโพรงแบบจะเกี่ ยวข้อง
โดยตรงในเรื่ องการขยายตัวของโลหะเสี ยมากกว่า การอุ่นโพรงแบบโลหะให้ร้อนไว้ก่อนการหล่อ
เหวี่ยงนั้นจะช่วยไล่ความชิ้นออกให้หมด และช่วยลดการเสี่ ยงต่อการฉี กร้าวขณะร้อนของชิ้นงาน
ในขบวนการหล่อเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแท้จริ ง
2.3.2 การหล่อสุ ญญากาศ
เครื่ องหล่อสุ ญญากาศ (Vacuum assisted casting machine) มีระบบการหลอมด้วยอินดัก
ชัน ทําให้โลหะหลอมเหลวและหล่อลงในกระบอก โดยมีระบบสุ ญญากาศช่วยดูดนํ้าโลหะเข้าสู่
กระบอกปูน แต่เครื่ องรุ่ นนี้ ไม่สามารถเพิ่มแรงดัน (Over pressure) อัดส่ งนํ้าโลหะได้เหมือนกับ
เครื่ องหล่อด้วยระบบสุ ญญากาศแรงดัน (Vacuum pressure casting machine) ที่มีระบบอัดแรงดัน
ในห้องหลอมและมีระบบดูดสุ ญญากาศในห้องหล่อด้านล่าง ซึ่ งทําให้เนื้ องานแน่ นขึ้น เครื่ องรุ่ นนี้
เป็ นที่นิยมเนื่ องจากมีความทันสมัยและสมบูรณ์มากที่สุดในการหล่อเครื่ องประดับโลหะทองและ
เงิ น นอกจากนี้ ในเครื่ องยังมี ร ะบบการวัด อุ ณ หภู มิ ด้ว ยเทอร์ โ มคับเปิ ลที่ จุ่ ม อยู่ใ นนํ้า โลหะ ซึ่ ง
สามารถวัดอุณหู มิได้เที่ยงตรงแม่นยํากว่า อย่างไรก็ตามระบบการวัดอุณหภูมิแบบนี้ สามารถวัด
อุณหภูมิได้สูงเพียง 1400 – 1500 องศาเซลเซี ยสเท่านั้น ขณะที่ระบบวัดอุณหภูมิดว้ ยแสงในเครื่ อง
หล่อเหวี่ยง สามารถวัดอุณหภูมิได้ถึง 2500 องศาเซลเซียส แต่การวัดใช้ระบบการยิงด้วยแสง ทําให้
17

ได้ค่า ที่ ไม่ แ ม่ น ยํา นัก ควรใช้ห ลัก การหาช่ ว งการหลอมเหลว เช่ น วัด หากราฟแสดงการเย็น ตัว
(Cooling curve)
สําหรับในกรณี ที่ตอ้ งการหล่อชิ้นงานจํานวนมาก จะทําต้นขนาดใหญ่ ช่วยทําให้มีกระบอก
ขนาดใหญ่น้ ัน ได้มีคนเคยประดิ ษฐ์เครื่ องจักรที่ หล่อชิ้ นงานที่ ติดในกระบอกขนาดใหญ่ออกมา
พบว่า ผลที่ได้ไม่ดีนกั เพราะการหล่อชิ้นงานต้นใหญ่หรื อติดชิ้นงานจํานวนมาก เพราะทําให้ความ
ดัน และอุณหภูมิในแต่ละจุดไม่เท่ากัน และคุณภาพงานหล่อที่ได้ไม่ดี คือ ส่ วนยอดกับส่ วนปลายมี
คุณภาพไม่เท่ากัน ดังนั้น จึงควรใช้ตน้ ขนาดเล็ก และจํานวนหลายต้นแทนต้นที่มีขนาดใหญ่ และติด
ชิ้นงานจํานวนมาก

2.4 ข้ อบกพร่ องในงานหล่ อตัวเรือนเครื่องประดับ (เอกสิ ทธิ์ นิสารัตน์, 2549 : 28)


2.4.1 รู พรุ นเนื่องจากการหดตัวของโลหะ (Shrinkage Porosities)
ข้อบกพร่ องเนื่องจากการหดตัวของนํ้าโลหะนั้น เป็ นข้อบกพร่ องซึ่งพบได้บ่อยในชิ้นงาน
ที่มีการเปลี่ยนพื้นที่หน้าตัดอย่างกะทันหัน, มีเหลี่ยมมุมมากมาย และมีพ้นื ที่ผวิ มาก โดยข้อบกพร่ อง
ชนิดนี้มีลกั ษณะเป็ นรู เหลี่ยม มักจะมีโครงสร้างเดนดริ ติกอยูภ่ ายในเกิดขึ้น เนื่องจากการแข็งตัวไม่
พร้อมกันของนํ้าโลหะในชิ้นงานหล่อ

ภาพที่ 3 แสดงลักษณะของรู พรุ นเนื่องจากการหดตัวเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า

สาเหตุของการเกิดรู พรุ นเนื่องจากการหดตัวของโลหะ


2.4.1.1 การติดทางนํ้าโลหะที่ไม่ถูกต้อง
การแก้ไข ติดทางนํ้าโลหะเข้ากับส่ วนที่มีปริ มาตรมากที่สุดในชิ้นงานซึ่ งเป็ นพื้นที่
ที่แข็งตัวช้าที่สุด เพื่อให้มีน้ าํ โลหะเพียงพอกับการหดตัวของโลหะขณะที่แข็งตัว และควรใช้ทางนํ้า
โลหะแบบหน้าตัดกลม
2.4.1.2 ใช้ขนาดทางนํ้าโลหะที่ไม่เหมาะสม
18

การแก้ไข เพิ่มทางนํ้าโลหะหรื อใช้ทางเดินนํ้าโลหะที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน ทางเดินนํ้า


โลหะนั้นถูกออกแบบมา เพื่อป้ อนนํ้าโลหะเข้าสู่ โพรงแบบ ถ้าทางนํ้าโลหะมีขนาดเล็กเกินไปจะ
ส่ งผลให้มีการแข็งตัวของนํ้าโลหะก่อนที่ชิ้นงานจะได้รับนํ้าโลหะที่พอเพียงในการหล่อ
2.4.1.3 อุณหภูมิเบ้าสู งเกินไป
การแก้ไข ลดอุณหภูมิเบ้าให้ต่าํ ลง ถ้าอุณหภูมิเบ้าสู งเกินไปจะทําให้เกิดรู พรุ น
เนื่องจากการหดตัวของโลหะสู งขึ้น โดยที่อุณหภูมิเบ้าควรจะตํ่าสุ ดเท่าที่จะเป็ นไปได้ตราบเท่าที่จะ
สามารถเติมนํ้าโลหะเข้าสู่ โพรงแบบได้สมบูรณ์ ควรให้ชิ้นงานที่มีปริ มาตรและนํ้าหนักเท่ากันอยู่
บนต้นเทียนเดียวกัน แต่ถา้ จําเป็ นต้องติดชิ้นงานที่มีขนาดและนํ้าหนักต่างกัน ควรให้ชิ้นงานที่มี
ปริ มาตรมากที่สุดอยูใ่ กล้กบั ทางเข้ารู เท และให้ชิ้นงานที่มีปริ มาตรน้อยกว่าอยูใ่ กล้ดา้ นบนของต้น
เทียน
2.4.1.4 ชิ้นงานหล่ออยูใ่ กล้กบั รู เทมากเกินไป
การแก้ไข เว้นระยะห่างอย่างน้อย1นิ้วระหว่างปากรู เทกับแถวแรกของชิ้นงานหล่อ
ปากรู เทนั้นจะสัมผัสกับอากาศและเย็นตัวอย่างรวดเร็ ว การเย็นตัวนี้ จะส่ งผลกับชิ้นงานหล่อที่อยู่
แถวแรกอย่างเห็นได้ชดั ดังนั้น ถ้าแถวแรกของชิ้นงานหล่ออยูใ่ กล้กบั ปากรู เทมากเกินไปจะทําให้
นํ้าโลหะบริ เวณทางนํ้าโลหะที่ติดกับชิ้ นงานแข็งตัวและทําให้เกิดรู พรุ น เนื่ องจากการหดตัวของ
โลหะ
2.4.2 รู พรุ นเนื่องจากแก็ส (Gas Porosities)
ข้อบกพร่ องเนื่ องจากแก็สนี้ มีลกั ษณะคล้ายรู เข็ม (Pin Hole) บนพื้นผิวของงานหล่อ
ลักษณะของข้อบกพร่ องชนิ ดนี้ จะต่างจากรู พรุ นเนื่ องจากการหดตัวคือ มีลกั ษณะเป็ นรู พรุ นที่มี
รู ปร่ างกลมและเรี ยบ บางครั้งรู พรุ นเนื่ องจากแก็สนี้ จะเกิ ดขึ้นอย่างหนาแน่ นบริ เวณใต้ผิวของ
ชิ้นงานหล่อซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า แต่จะปรากฏขึ้นต่อเมื่อผ่านกระบวนการขัดแล้ว
ข้อบกพร่ องชนิดนี้เกิดขึ้นเนื่ องจากสองสาเหตุหลัก คือ การเกิดปฏิกิริยาของปูนหล่อ และสิ่ งเจือปน
เนื่องมาจากการนําโลหะกลับมาใช้ใหม่

ภาพที่ 4 แสดงลักษณะรู พรุ นเนื่องจากแก็สเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า

สาเหตุของการเกิดรู พรุ นเนื่องจากแก็ส


19

2.4.2.1 ให้ความร้อนแก่โลหะมากเกินไป
การแก้ไข ลดอุณหภูมิของโลหะระว่างการหล่อ ถ้าโลหะถูกให้ความร้อนมาก
เกินไปและเทลงในแม่พิมพ์ซ่ ึงร้อนเกินไป ซึ่งหมายความว่าจําเป็ นต้องใช้เวลานานขึ้นในการแข็งตัว
และทําให้ผวิ ชิ้นงานสัมผัสกับปูนหล่อนานขึ้น การเกิดเหตุการณ์เช่นนี้จะเพิม่ ความเสี่ ยงของการเกิด
แก็สจากปูนหล่อ การลดอุณหภูมิของโลหะจะทําให้สามารถลดเวลาที่น้ าํ โลหะสัมผัสกับปูนหล่อได้
2.4.2.2 อากาศภายในเตาไม่ถ่ายเท
การแก้ไข เพิ่มการถ่ายเทและการระบายอากาศในเตาอบ ตรวจสอบเตาอบเพื่อให้
แน่ใจว่ามีอากาศไหลเข้าและระบายออกอย่างพอเพียง อาจจะเจาะรู ที่ประตูเตาอบ 2-3 รู เพื่อให้
แน่ใจว่ามีช่องระบายอากาศเพื่อไห้มีการไหลของอากาศอย่างพอเพียง ถ้าสังเกตเห็นรอยวงสี เหลือง
บนปูนหล่อหลังจากทําการหลอมเรี ยบร้อยแล้ว, ได้กลิ่นคล้ายไข่เน่ าเมื่อนําเบ้าหล่อไปจุ่มนํ้า
หลังจากที่อบเสร็ จแล้ว หรื อปูนหล่อมีสีดาํ หลังจากที่หล่อเรี ยบร้อยแล้ว สิ่ งเหล่านี้ เป็ นบ่งบอกว่าได้
เกิดปฏิกิริยาของแก็สกํามะถันในเตาอบ การปรับปรุ งการไหลเวียนของอากาศและการเพิ่มเวลาอบ
จะช่วยกําจัดปั ญหาเหล่านี้
2.4.2.3 เวลาอบปูนหล่อไม่พอเพียง
การแก้ไข เพิ่มเวลาในการอบปูนที่อุณหภูมิสูงสุ ดในการอบ อะตอมคาร์ บอนที่
เหลือจากเทียนอาจจะทําปฏิกิริยากับโลหะในขณะไหลสู่ แม่พิมพ์และทําให้เกิดแก็สขึ้น แก็สเหล่านี้
จะถูกดักไว้ภายใต้พ้นื ผิวของโลหะที่แข็งตัวแล้วทําให้เกิดรู พรุ นเนื่องจากแก็สขึ้น
2.4.2.4 เบ้าร้อนเกินไป
การแก้ไข ลดอุณหภูมิเบ้าลง การเพิ่มอุณหภูมิในบรรยากาศตํ่าภายในเตาอบเป็ น
สาเหตุก่อให้เกิดแคลเซียมซัลเฟตภายในปูนหล่อเนื่องมาจากการสลายตัวของผิวปูนหล่อ และปล่อย
ซัลเฟอร์ ออกมา เมื่อนํ้าโลหะถูกหล่อภายในแม่พิมพ์จะเกิดซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ข้ ึน และถูกดูดซึ ม
โดยโลหะในขณะที่ยงั เหลวอยูก่ ่อให้เกิดรู พรุ น เนื่องจากแก็สซัลเฟอร์ การลดอุณหภูมิเบ้าจะทําให้
โลหะเย็นตัวเร็ วขึ้นจึงทําให้ผวิ ของชิ้นงานกลายเป็ นของแข็งและไม่สามารถดูดซับแก็สได้
2.4.2.5 ใช้เศษโลหะจากงานหล่อเก่ามาหลอมใหม่บ่อยเกินไป
การแก้ไข ทําความสะอาดโลหะก่อนนํามาหลอมใหม่ หรื อใช้เศษโลหะจากการ
หล่อเก่าไม่เกิน 50% การใช้เศษโลหะหล่อเก่านั้นมีโอกาสทําให้สิ่งแปลกปลอมต่างๆ เข้าสู่ น้ าํ โลหะ
ได้ส่ิ งแปลกปลอมเหล่านี้ทาํ ให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีซ่ ึงมีแก็สเป็ นสารผลิตภัณฑ์ และนําไปสู่ รูพรุ น
เนื่องจากแก็สในงานหล่อเครื่ องประดับ
2.4.2.6 มีออกซิเจนมากเกินไปในเปลวไฟหลอมโลหะ
20

การแก้ไข ใช้เปลวไฟขนาดเล็กลงในการหลอมโลหะ การปรับระดับออกซิ เจนที่


ไม่ เหมาะสมนั้น อาจจะเกิ ด จากความไม่ ชาํ นาญของช่ างหล่ อเครื่ องประดับ จึ ง ทําให้เกิ ด รู พรุ น
เนื่ องจากแก็สขึ้นระดับออกซิ เจนที่สูงเกินไปจะทําให้เกิดปฏิกิริยาออกซิ ไดซ์ของโลหะ ดังนั้น จึง
จํา เป็ นที่ ต ้อ งปรั บ ออกซิ เ จนในเปลวไฟให้อ ยู่ใ นระดับ ปานกลางเพื่ อ ป้ องกัน การเกิ น ปฏิ กิ ริ ย า
ออกซิไดซ์
2.4.3 นํ้าโลหะไหลเข้าโพรงแบบไม่สมบูรณ์

ภาพที่ 5 แสดงชิ้นงานที่น้ าํ โลหะไหลเข้าโพรงแบบไม่เต็ม

ข้อบกพร่ องเนื่ องจากนํ้าโลหะไม่สามารถไหลเข้าโพรงแบบได้สมบูรณ์ จะเกิ ดขึ้นใน


กระบวนการหล่อ สาเหตุของการเกิดข้อบกพร่ องเนื่องจากนํ้าโลหะไหลเข้าโพรงแบบไม่สมบูรณ์
2.4.3.1 นํ้าโลหะมีอุณหภูมิต่าํ เกินไป
การแก้ไข เพิ่มอุณหภูมิน้ าํ โลหะ ถ้านํ้าโลหะมีอุณหภูมิที่ต่าํ เกินไปจะมีความเหลว
ไม่เพียงพอต่อการไหลเข้าสู่ โพรงแบบ นํ้าโลหะจะเย็นตัวและแข็งตัวก่อนที่จะสามารถไหลเข้าสู่
โพรงแบบได้เต็ม
2.4.3.2 อุณหภูมิเบ้าตํ่าเกินไป
การแก้ไข เพิ่มอุณหภูมิเบ้า เบ้าปูนหล่อมักจะมีอุณหภูมิต่าํ กว่าโลหะเสมอ อย่างไร
ก็ตามถ้าอุณหภูมิของเบ้าตํ่าเกินไปจะส่ งผลให้น้ าํ โลหะเย็นตัวอย่างรวดเร็ ว เนื่ องจากเกิดการถ่ายเท
ความร้อนจากนํ้าโลหะสู่ เบ้าซึ่งทําให้น้ าํ โลหะแข็งตัวก่อนที่จะไหลเต็มโพรงแบบ
2.4.3.3 มีความเป็ นสุ ญญากาศไม่พอในขณะหล่อ
การแก้ไข ตรวจหารอยรั่วของเครื่ องหล่อสุ ญญากาศ ในการหล่อแบบสุ ญญากาศ
นั้น โลหะจะไหลเข้าสู่ โพรงแบบ เนื่ องจากสภาวะสุ ญญากาศภายในโพรงแบบนั้น ถ้ามีรอยรั่วใดๆ
เกิดขึ้นจะส่ งผลให้สภาวะสุ ญญากาศตํ่าลง
2.4.3.4 ใช้ความเร็ วที่ไม่เหมาะสมในขั้นตอนหล่อเหวี่ยง
21

การแก้ไข ปรับระดับความเร็ วจนกระทัง่ นํ้าโลหะสามารถไหลเข้าสู่ โพรงแบบได้


สมบูรณ์ในการหล่อเหวี่ยงนั้นนํ้าโลหะจะไหลเข้าสู่ โพรงแบบด้วยแรงหนี ศูนย์กลางที่เกิดขึ้นจาก
การเหวี่ยง ถ้าความเร็ วในการเหวี่ยงไม่เพียงพอจะทําให้โลหะเกิ ดการแข็งตัวก่อนที่จะไหลเข้าสู่
โพรงแบบได้สมบูรณ์
2.4.3.5 ใช้ทางนํ้าโลหะที่ไม่เหมาะสม
การแก้ไข ปรับปรุ งทางนํ้าโลหะ ทางเดินนํ้าโลหะที่ดีเป็ นปั จจัยสําคัญที่ทาํ ให้น้ าํ
โลหะไหลเข้าสู่ โพรงแบบได้รวดเร็ วและง่ายดายซึ่งส่ งผลให้เกิดชิ้นงานหล่อที่สมบูรณ์ ขนาดทางนํ้า
โลหะควรเหมาะสมกับขนาดของชิ้นงานที่ตอ้ งการหล่อ ทางนํ้าโลหะที่มีหน้าตัดรู ปทรงกลมและผิว
เรี ยบเป็ นทางเดินนํ้าโลหะที่มีประสิ ทธิ ภาพดีที่สุด เนื่ องจากนํ้าโลหะสามารถไหลได้อย่างเป็ น
ระเบียบและไม่เกิดการกระเด็นของนํ้าโลหะภายในโพรงแบบ ในการหล่อชิ้นงานที่มีความซับซ้อน
อาจจะเพิ่มทางนํ้าโลหะหรื อเพิ่มขนาดของทางนํ้าโลหะเพื่อประสิ ทธิภาพในการหล่อ
2.4.3.6 การอบเบ้าหล่อที่ไม่สมบูรณ์
การแก้ไข เพิ่มเวลาในการอบปูนที่อุณหภูมิสูงสุ ดในการอบ การอบเบ้าปูนที่ไม่
สมบูรณ์จะทําให้โพรงแบบเกิดการอุดตันซึ่งทําให้น้ าํ โลหะไม่สามารถไหลเข้าสู่ โพรงแบบได้
2.4.4 ผิวของชิ้นงานหยาบ

ภาพที่ 6 แสดงลักษณะของผิวชิ้นงานที่หยาบ

สาเหตุของการเกิดผิวของชิ้นงานหยาบมีดงั นี้
2.4.4.1 ผิวของชิ้นงานต้นแบบหยาบ
การแก้ไข สร้างชิ้นงานต้นแบบและแม่พิมพ์ข้ ึนใหม่ ชิ้นงานที่ได้จากการหล่อนั้น
ไม่มีทางที่จะดี ไปกว่าชิ้นงานต้นแบบ ดังนั้นจึงควรให้ความสนใจในทุกรายระเอียดของชิ้นงาน
ต้นแบบแม้ว่าจะใช้เวลาอย่างมากในการสร้างชิ้ นงานต้นแบบก็ตาม การชุบชิ้นงานต้นแบบด้วย
โรเดียมสามารถป้ องกันการหมองระหว่างการอบแม่พิมพ์ยางได้
22

2.4.4.2 ผิวชิ้นงานเทียนหยาบ
การแก้ไข ลดผงแป้ งที่ใช้ระหว่างขั้นตอนการฉี ดเทียน การมีผงแป้ งติดที่แม่พิมพ์
ยางมากเกินไปนั้นจะทําให้ชิ้นงานเทียนที่ได้มีผวิ หยาบซึ่งจะส่ งผลโดยตรงต่อชิ้นงานหล่อ
2.4.4.3 เบ้าร้อนเกินไป
การแก้ไข ลดอุณหภูมิเบ้า ถ้าอุณหภูมิที่ใช้อบเบ้าหล่อสู งเกินกว่า 760 องศา
เซลเซี ยสจะทําให้ปูนหล่อเริ่ มแตกตัว ดังนั้นนํ้าโลหะจึงสามารถแทรกซึ มไปตามรู ที่ผิวของผนัง
โพรงแบบได้
2.4.4.4 นํ้าโลหะร้อนเกินไป
การแก้ไข ลดอุณหภูมิการหล่อ ถ้าอุณหภูมิของโลหะสู งเกินไปจะส่ งผลทําให้เกิด
แก็สซัลเฟอร์ ซึ่งแก็สเหล่านี้ จะถูกดักอยูภ่ ายใต้ผวิ โลหะเมื่อขัดชิ้นงานแล้วจะเห็นเป็ นลักษณะคล้าย
ผิวหยาบ
2.4.4.5 ทางนํ้าโลหะที่ไม่เหมาะสม
การแก้ไข ปรับระบบทางนํ้าโลหะ หลีกเลี่ยงการใช้ทางนํ้าซึ่งทําให้การไหลของนํ้า
โลหะไม่ราบเรี ยบและทางนํ้าที่มีความโค้งมาก การไหลแบบปั่ นป่ วนนั้นจะทําให้เกิดการกัดกร่ อน
ของโพรงแบบ ซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาํ ให้งานหล่อที่ได้มีผวิ หยาบ ควรให้ความใส่ ใจต่อการติดทาง
นํ้าโลหะกับชิ้นงาน
2.4.4.6 ใช้เวลาในการละลายเทียนออกจากโพรงแบบนานเกินไป
การแก้ไข ใช้เวลาในการละลายเทียนไม่เกิน 1 ชัว่ โมง จุดประสงค์ง่ายๆ ของการ
ละลายเทียนโดยใช้ไอนํ้า คือ เพื่อกําจัดเทียนซึ่งอยูใ่ นเบ้าปูนเพื่อให้เกิดโพรงแบบหล่อ แต่ถา้ ใช้เวลา
ในการละลายเทียนมากเกินไปจะส่ งผลเสี ยต่อปูนหล่อ เนื่องจากเกิดการสึ กกร่ อน
2.4.4.7 เบ้าปูนไม่ได้ถูกทิ้งให้แข็งตัวนานพอก่อนที่จะอบ
การแก้ไข วางเบ้าปูนทิ้งไวอย่างน้อย 1 ชัว่ โมงก่อนทําการละลายเทียนออกจาก
โพรงแบบ ถ้าขั้นตอนละลายเทียนออกจากแม่พิมพ์เร็ วเกินไปจะทําให้ผิวงานหล่อเกิดการกัดกร่ อน
ได้
2.4.4.8 ใช้อตั ราส่ วนผสมปูนหล่อกับนํ้าไม่เหมาะสม
การแก้ไข ผสมอัตราส่ วนปูนและนํ้าตามที่ผผู ้ ลิตระบุไว้ สาเหตุหลักของการเกิด
ผิวชิ้นงานหยาบ คือ อัตราส่ วนผสมที่มีปริ มาณนํ้ามากเกินไป
2.4.4.9 เบ้าปูนได้รับความร้อนเร็ วเกินไป
การแก้ไข อบเบ้าปูนโดยทําตามวัฏจักรการอบเบ้าปูน ถ้าให้ความร้อนแก่เบ้าปูน
เร็ วเกินไป จะทําให้มีเทียนหลงเหลือในโพรงแบบซึ่ งจะทําให้เกิดการกัดกร่ อนที่ผวิ ของโพรงแบบ
23

จึงทําโพรงแบบมีผิวขรุ ขระ เทียนที่ใช้ทาํ ส่ วนลําต้นของต้นเทียนควรจะมีอุณหภูมิหลอมเหลวตํ่า


กว่าเทียนที่ใช้ทาํ ชิ้นงาน เพื่อป้ องกันการเดือดของเทียนซึ่งถูกทําเป็ นชิ้นงานหล่อ
2.4.5 ปุ่ มหรื อฟองโลหะบนชิ้นงานหล่อ (Bubble หรื อ Nodules)

ภาพที่ 7 แสดงลักษณะฟองโลหะบนชิ้นงานหล่อ

สาเหตุของการเกิดปุ่ มหรื อฟองบนชิ้นงานหล่อมีดงั นี้


2.4.5.1 ปูนหล่อไม่รวมเป็ นเนื้ อเดียวกันการแก้ไข ทําตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตปูน
หล่อ สาเหตุของการเกิดฟองโลหะมีหลายสาเหตุ
2.4.5.2 ปูนหล่อหนาเกินไป ถ้าปูนหล่อหนาเกินไปจะทําให้อากาศภายในปูนหล่อ
ไม่สามารถเล็ดลอดออกมาได้ จึงเป็ นสิ่ งสําคัญมากที่จะต้องผสมนํ้าและปูนหล่อในอัตราส่ วนที่
เหมาะสม
2.4.5.3 ปูนหล่อเริ่ มแข็งตัวขณะที่ทาํ การดูดอากาศออกจากปูนหล่อทําให้
ฟองอากาศ ไม่สามารถเล็ดลอดออกมาได้
2.4.5.4 เกิดข้อผิดพลาดเนื่องจากการทํางานของปั๊มสุ ญญากาศ
การแก้ไข ตรวจสอบข้อต่อและผนึ กของปั๊ ม ถ้าปั๊ มสุ ญญากาศทํางานผิดพลาดหรื อ
เกิดรอยรั่วจะทําให้ประสิ ทธิภาพในการดูดอากาศตํ่าลง
2.4.5.5 เคลื่อนย้ายเบ้าปูนขณะทําการอบ
การแก้ไข เมื่อเริ่ มทําการอบเบ้าปูนแล้ว ห้ามทําการเคลื่อนย้ายใดๆ จนกว่าจะเสร็ จ
กระบวนการอบ
2.4.6 คราบนํ้า
คราบนํ้าเป็ นรอยที่เกิดจากความผิดปรกติของปูนหล่อ มีลกั ษณะเป็ นรอยยาวจากก้นจนถึง
ปากเบ้าปูน ซึ่งคราบนํ้านี้จะปรากฏอย่างชัดเจนในชิ้นงานที่เป็ นแผ่นเรี ยบ
24

ภาพที่ 8 แสดงลักษณะคราบนํ้าบนผิวชิ้นงาน

สาเหตุการเกิดคราบนํ้าที่ผวิ ชิ้นงาน
2.4.6.1 ไม่ทาํ ตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตในขั้นตอนผสมปูน
การแก้ไข ทําตามขั้นตอนการผสมปูนซึ่ งผูผ้ ลิตแนะนํา ถ้าไม่ใช้เวลาในการผสม
ปูนที่กาํ หนดจะทําให้เกิดการแยกชั้นของปูนหล่อซึ่งเป็ นสาเหตุทาํ ให้เกิดคราบนํ้า
2.4.6.2 ผสมนํ้ามากเกินไป
การแก้ไข ใช้อตั ราส่ วนของนํ้าและผงปูนหล่อตามที่ผผู ้ ลิตแนะนํา
2.4.7 ชิ้นงานเปราะ

ภาพที่ 9 แสดงชิ้นงานหล่อเปราะ

สาเหตุการเกิดข้อบกพร่ องเนื่องจากชิ้นงานเปราะแตกหักง่าย
2.4.7.1 ใช้โลหะอัลลอยที่ไม่เหมาะสม
การแก้ไข ใช้โลหะอัลลอยที่มีคุณภาพ โลหะคุณภาพตํ่าจะมีออกไซด์และซัลไฟด์
ผสมอยู่ ซึ่งทําให้ชิ้นงานที่หล่อได้มีความเปราะแตกหักง่าย
2.4.7.2 อุณหภูมิของนํ้าโลหะตํ่าเกินไป
การแก้ไข เพิ่มอุณหภูมิหล่อ ถ้านํ้าโลหะซึ่งเทเข้าสู่ โพรงแบบมีอุณหภูมิต่าํ เกินไป
นํ้าโลหะ จะเกิดการเย็นตัวอย่างรวดเร็ วทําให้เกิดโครงสร้างผลึกเล็กๆ ซึ่ งมีความแข็งแรงตํ่า จึงทํา
ให้ชิ้นงานหล่อที่แตกหักได้ง่าย
25

2.4.7.3 อุณหภูมิเบ้าตํ่าเกินไป
การแก้ไข เพิ่มอุณหภูมิเบ้า ถ้านํ้าโลหะถูกเทเข้าไปในเบ้าปูนที่มีอุณหภูมิต่าํ จะเกิด
การถ่ายเทความร้อนจากโลหะสู่ เบ้าปูนทําให้โลหะเย็นตัวอย่างรวดเร็ ว ซึ่ งก่อให้เกิดผลึกเล็กๆ ใน
ชิ้นงานหล่อที่แข็งตัว โครงสร้างโลหะชนิดนี้มีความเปราะบางสูง จึงทําให้แตกร้าวได้ง่าย
2.4.7.4 มีอะตอมคาร์บอนอยูใ่ นส่ วนที่บางของโพรงแบบ
การแก้ไข เพิ่มเวลาในการอบปูนที่อุณหภูมิสูงสุ ดในการอบ อะตอมคาร์ บอนที่อยู่
ในส่ วนที่บางของโพรงแบบจะทําให้เกิดการสลายตัวของปูนหล่อที่อุณหภูมิต่าํ กว่า 750 องศา
เซลเซี ยสการที่มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในชิ้นงานส่ วนที่บางจะทําให้ความแข็งแรงของชิ้นงานบริ เวณ
นั้นตํ่า จึงแตกหักได้ง่าย
2.4.7.5 ใช้ปริ มาณโลหะเก่าในการหล่อมากเกินไป
การแก้ไข ใช้โลหะเก่าในการหล่อไม่เกิน50% หรื อใช้โลหะที่สะอาดในการหล่อ
การนําเศษโลหะหล่อเก่ามาหลอมใหม่อาจทําให้เกิดออกไซด์ของทองแดงในการหลอม
2.4.8 ชิ้นงานหล่อเป็ นครี บ

ภาพที่ 10 แสดงชิ้นงานหล่อเป็ นครี บ

สาเหตุการเกิดข้อบกพร่ องเนื่องจากชิ้นงานหล่อเป็ นครี บ


2.4.8.1 ใช้อตั ราส่ วนผสมปูนหล่อกับนํ้าไม่เหมาะสม
การแก้ไข ใช้อตั ราส่ วนของนํ้าและผงปูนหล่อตามที่ผผู ้ ลิตแนะนํา
2.4.8.2 เริ่ มอบเบ้าปูนเร็ วเกินไป
การแก้ไข ทิ้งเบ้าปูนไว้อย่างน้อย 1 ชัว่ โมงหลังจากเทปูนหล่อเข้าสู่ เบ้าแล้ว ถ้าเริ่ ม
อบเบ้าปูนเร็ วเกินไปนํ้าที่ยงั อยูใ่ นเบ้าปูนเดือดแลกายเป็ นไอดง ซึ่ งจะทําให้เกิดรอยแตกในโพรง
แบบเบ้าปูนที่มีขนาดใหญ่จาํ เป็ นต้องใช้เวลาการเซตตัวและอบนานกว่า
2.4.8.3 เบ้าปูแห้งสนิทก่อนที่จะทําการอบ
26

การแก้ไข อย่าปล่อยให้เบ้าปูนแห้งเกินไป ถ้าเบ้าปูนแห้งเกินไปก่อนที่จะทําการ


อบอาจทําให้เกิดการแตกร้าวที่ผวิ ของโพรงแบบได้
2.4.8.4 ใช้ผงปูนหล่อที่หมดอายุหรื อจัดเก็บไม่ถูกต้อง
การแก้ไข ตรวจสอบวันหมดอายุหรื อบริ เวณที่ใช้เก็บผงปูนหล่อ ผงปูนหล่อจะมี
อายุประมาณ 5-6 เดือน ควรตรวจสอบวันหมดอายุและบริ เวณที่ใช้เก็บผงปูนกล่องอย่างสมํ่าเสมอ
โดยเก็บไว้ในบริ เวณที่แห้ง, เย็น และควรปิ ดถุงปูนหล่อทุกครั้งเมื่อไม่ได้ใช้
2.4.8.5 เบ้าปูนได้รับความร้อนเร็ วเกินไป
การแก้ไข ทําตามคําแนะนําอบเบ้าปูนโดยทําตามวัฎจักรการอบเบ้าปูน ถ้าให้ความ
ร้อนแก่เบ้าปูนเร็ วเกินไป นํ้าที่ยงั อยูใ่ นเนื้ อปูนหล่อจะเดือดกลายเป็ นไอซึ่ งทําให้ผวิ ของโพรงแบบ
หยาบและเกิดรอยแตกได้
2.4.9 ผิวของชิ้นงานมีลกั ษณะหยาบและดําเนื่องจากออกซิไดซ์

ภาพที่ 11 แสดงชิ้นงานที่มีผวิ หยาบและดําเนื่องจากออกซิไดซ์

สาเหตุการเกิดข้อบกพร่ องเนื่องจากผิวหยาบและมีรอยเปื้ อนสี ดาํ


2.4.9.1 อุณหภูมิที่ใช้อบสู งเกินไป
การแก้ไข อุณหภูมิอบไม่ควรเกิน 730 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิของเตาอบสูง
เกินไปจะไปทําลายการจับตัวกันของยิปซัม่ และก่อให้เกิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์หรื อไทรออกไซด์ ซึ่ง
จะทําให้เกิดรอยเปื้ อนสี ดาํ บนชิ้นงานหล่อ
2.4.9.2 การใช้ออกซิไดซิ่งฟลักซ์
การแก้ไข ใช้น้ าํ ประสานทองหรื อบอแรกซ์ฟลักซ์เท่านั้น การใช้ออกซิ ไดซิ่ ง
ฟลักซ์ จะทําให้ผวิ ของชิ้นงานเปลี่ยนสี หรื อมีรอยเปรอะเปื้ อน
2.4.9.3 ความร้อนมากเกินไป
การแก้ไข ทําความสะอาดโลหะที่จะทําการหลอมและใช้อุณหภูมิหลอมที่ถูกต้อง
ถ้าให้ความร้อนแก่โลหะมากเกินไป จะทําให้เกิดผิวหยาบสี ดาํ บริ เวณที่ชิ้นงานมีความหนามาก
27

2.4.10 สิ่ งแปลกปลอมในงานหล่อ

ภาพที่ 12 แสดงชิ้นงานหล่อที่มีสิ่งแปลกปลอมปน

สาเหตุการเกิดข้อบกพร่ องเนื่องจากสิ่ งแปลกปลอม


2.4.10.1 ทางนํ้าโลหะมีเหลี่ยมมุมและลักษณะโค้งเกินไป
การแก้ไข แก้ไขทางนํ้าโลหะให้มีมุมต่างๆ มีลกั ษณะกลมมนและมีความโค้งที่
เหมาะสม ถ้ามีเหลี่ยมมุมต่างๆ ในทางนํ้าโลหะจะเสี่ ยงต่อการที่ปูนหล่อแตกหักในขณะที่น้ าํ โลหะ
ไหลเข้าโพรงแบบ เศษปูนหล่อที่แตกหักจะลอยอยูท่ ี่ผวิ ของนํ้าโลหะ เมื่อโลหะแข็งตัวแล้วจะเกิดรู ที่
ผิวเนื่องจากเศษปูนหล่อนี้
2.4.10.2 เตาหลอมเก่าและไม่มีประสิ ทธิภาพ
การแก้ไข เปลี่ยนเตาหลอม เตาหลอมที่นิยมใช้ในการหลอมโลหะจะมีแกรไฟต์มา
เกี่ยวข้องด้วย ถ้าผงแกรไฟต์เข้าไปอยูใ่ นนํ้าโลหะจะส่ งผลต่อผิวของชิ้นงานหล่อ สามารถสังเกตได้
โดยพิจารณาตะกอนสี ดาํ ที่ทางนํ้าโลหะหลัก
2.4.10.3 เกิดออกไซด์ในเตาหลอม
การแก้ไข ทําความสะอาดหรื อเปลี่ยนเตาหลอม โดยออกไซด์ที่เกิดขึ้นนี้ อาจเกิด
จากกากโลหะหรื อสิ่ งแปลกปลอมอื่นๆ
2.4.10.4 มีส่ิ งแปลกปลอมหรื ออกไซด์ในโลหะ
การแก้ไข ทําความสะอาดโลหะก่อนนํามาหลอม

2.5 การออกแบบการทดลอง
2.5.1 วิเคราะห์ระบบการวัด
กิติศกั ดิ์ พลอยพานิ ชเจริ ญ (2546: 119) ได้กล่าวไว้ว่า ในการศึกษาความสามารถของ
กระบวนการวัดแบบอาศัยข้อมูลนับนี้ จะเป็ นการประเมินโดยการเปรี ยบเที ยบชิ้ นงานที่ทาํ การ
28

ตรวจสอบกับพิกดั ของข้อกําหนดเฉพาะ ซึ่ งจะทําให้สามารถประเมินผลของข้อมูลออกมาเป็ นที่


ยอมรั บ หรื อ ปฏิ เ สธ และผ่า นหรื อ ไม่ ผ่า น จึ ง ไม่ ส ามารถประเมิ น ผลได้ว่ า คุ ณ ภาพของงานที่
ตรวจสอบได้น้ นั ดีหรื อไม่ดีอย่างไร
2.5.1.1 การประมวลผลระบบการตรวจสอบในระยะสั้น
ดําเนินการประเมินผลด้วยดัชนีต่างๆ ดังนี้
% รี พีททะบิลิต้ ีของพนักงานตรวจสอบ = จํานวนครั้งที่ผลการตรวจสอบเหมือนกัน (1)
จํานวนชิ้นงานตรวจสอบ

จํานวนครั้งที่ผลการตรวจสอบ
% ความไม่ไบอัสของพนักงานตรวจสอบ = เหมือนกันและถูกต้อง (2)
จํานวนชิ้นงานตรวจสอบ

จํานวนครั้งที่ผลการ
% ประสิ ทธิผลด้านรี พีททะบิลิต้ ีของการตรวจสอบ = ตรวจสอบเหมือนกัน (3)
จํานวนชิ้นงานตรวจสอบ

จํานวนครั้งที่พนักงานตรวจสอบทุกคน
% ประสิ ทธิผลด้านไบอัสของการตรวจสอบ = ตรวจสอบได้ถูกต้องเหมือนกัน (4)
จํานวนชิ้นงานตรวจสอบ

2.5.1.2 การวิเคราะห์ผลของระบบการตรวจสอบ
แนวความคิดของการทดสอบสมมติ ฐานจากตารางไขว้จะพิจารณาจากผลการ
ตรวจสอบที่ให้ผลเหมือนกันของพนักงานทั้งสองคนโดยอาศัย Cohen’s Kappa หรื อสัมประสิ ทธิ์
ของ Kappa และ Kendall’s โดย
Kappa = P 0 – P e (5)
1-Pe
เมื่อ P 0 = ผลรวมของค่าสัดส่ วนของค่าสังเกตในแนวทแยงมุม
P e = ผลรวมของค่าสัดส่ วนคาดหมายในแนวทแยงมุม
ในการวิเคราะห์ผลการตรวจสอบนี้ อาจจะทําการวิเคราะห์ถึงความสามารถของ
พนักงานตรวจสอบแต่ละคนได้ โดยการพิจารณาถึ งความมี ประสิ ทธิ ผลของพนักงานแต่ละคน
29

(operator effectiveness index (O E )) ดัชนี การตรวจสอบที่ปฏิเสธผิดพลาด(false alarm index (I FA ))


และดัชนีการตรวจสอบที่ยอมรับผิดพลาด (index of a miss (I MISS )) โดยนิยามว่า

OE = จํานวนครั้งที่บ่งได้อย่างถูกต้อง (6)
โอกาสทั้งหมด (opportunity) ที่ถูกต้อง

I FA = จํานวนครั้งที่ปฏิเสธผิดพลาด (7)
โอกาสทั้งหมด (opportunity) ที่ปฏิเสธผิดพลาด

I MISS = จํานวนครั้งที่ยอมรับผิดพลาด (8)


โอกาสทั้งหมด (opportunity) ที่ยอมรับผิดพลาด
นอกจากดัชนีท้ งั สามแล้ว ยังอาจพิจารณาถึงดัชนีไบอัส (Bias Index : I B ) ได้ โดยที่
ค่าไบอัส หมายถึง ค่าวัดแนวโน้มที่พนักงานตรวจสอบจะกําหนดผลิตภัณฑ์ทดสอบเป็ นดีหรื อไม่ดี
โดยดัชนีดงั กล่าวจะเป็ นฟังก์ชนั ของ I MISS และ I FA คือ

B FA
IB = (9)
B MISS

AIAG (2002, p.132) แนะนําการใช้เกณฑ์ตดั สิ นใจสําหรับ O E , I FA , I MISS


2.5.2 การวัดความสามารถของกระบวนการ (กิติศกั ดิ์ พลอยพานิชเจริ ญ, 2546: 2)
ความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) หมายถึง ความสมํ่าเสมอ (Uniformity)
ของกระบวนการ ในงานวิศวกรรมการตัดสิ นใจเกี่ยวกับประชากรมักจะคํานึ งถึง ค่าความเบี่ยงเบน
ของประชากรในช่วงที่ยอมให้เกิด เพราะถ้าความเบี่ยงเบนอยูน่ อกขอบเขตที่ยอมให้เกิดก็จาํ เป็ นต้อง
มีการปฏิบตั ิการแก้ไขทันที
2.5.2.1 การประเมินความสามารถสําหรับข้อมูลแบบนับ
ในการประเมินดัชนี ความสามารถของกระบวนการของข้อมูลแบบนับนี้ จะอาศัย
แนวความคิดเดียวกับการประเมินความสามารถของกระบวนการสําหรับข้อมูลแบบวัด คือให้ทาํ
การประเมินความผันแปรของกระบวนการเปรี ยบเทียบความคลาดเคลื่อนอนุ โลมของข้อกําหนด
เฉพาะเพื่อทําการกําหนดสัดส่ วนของผลิตภัณฑ์บกพร่ องจากกระบวนการที่ ศึกษา แต่เนื่ องจาก
ข้อมูลแบบนับเป็ นข้อมูลที่ไม่มีคุณสมบัติอธิ บายความผันแปร จึงมีความจําเป็ นต้องกําหนดข้อมูล
30

นับให้อยูใ่ นรู ปของจํานวนผลิตภัณฑ์บกพร่ อง เพื่อการเทียบเคียงให้อยูใ่ นรู ปของเสกลของการแจก


แจงแบบปกติมาตรฐาน (Z)

สัดส่ วนผลิตภัณฑ์บกพร่ อง
0.135 %

ภาพที่ 13 แนวความคิดของการเทียบเคียงค่า Z

ดังนั้น ในการประเมิ นความสามารถของกระบวนการสําหรั บข้อมูลแบบนับนี้


จะต้องเริ่ มต้นจากการหาค่า p ก่อนเสมอ
โดยที่ p = จํานวนผลิตภัณฑ์บกพร่ องโดยรวม ( ∑ np ) (10)
จํานวนตรวจสอบโดยรวม ( ∑ n )
ดัง นั้น ในการประเมิ น ค่ า p จะต้อ งประเมิ น จาก ข้อ มู ล โดยรวม ค่ า ดัช นี ที่
ประเมิ น จากค่ า p จึ ง ถื อ เป็ นดัช นี ค วามสามารถของกระบวนการแบบระยะยาวเสมอโดย
ความสามารถด้านศักยภาพของกระบวนการอาจจะประเมินได้ในรู ปอัตราส่ วนความสามารถ (P R )
หรื อดัชนีความสามารถ (P p ) สําหรับความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการจะประเมินได้ใน
รู ปดัชนีความสามารถ (P pk ) โดยมีนิยามเช่นเดียวกับกรณี ขอ้ มูลแบบวัด คือ
1
P p Bench = Z Bench (11)
3
โดยที่ Z Bench จะได้จากกรณี กาํ หนดให้สดั ส่ วนผลิตภัณฑ์บกพร่ องมีคา่ เท่ากันทั้งสองด้าน

P R Bench = 1 (12)
P p Bench

1
P pkR Bench = Z Bench (13)
3
โดยที่ Z Bench ได้จากการกําหนดให้สัดส่ วนผลิตภัณฑ์บกพร่ องอยูท่ ี่ดา้ นใดด้าน
หนึ่งของค่ากลางเพียงก้านเดียว
31

2.5.3 การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment)


ปารเมศ ชุ ติมา (2545: 5) ได้กล่าวไว้ว่า การออกแบบการทดลองเป็ นการออกแบบ เพื่อ
ควบคุมการทดลอง ดําเนิ นการทดลอง และเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ผลการทดลองจากปั จจัยต่างๆ ที่
ได้ ทั้งนี้ เพื่อต้องการหาข้อสรุ ปที่มีเหตุผลสนับสนุนกับปั ญหาที่ทาํ การทดลอง โดยผลการทดลองที่
ได้จะเป็ นประโยชน์ทางการพัฒนาในส่ วนต่างๆ ของปั ญหาที่ทาํ การทดลอง เช่น ทางด้านวิศวกรรม
ก็ตอ้ งใช้ผลการทดลองที่ ได้ไปควบคุ มตัวแปรและปั จจัยต่างๆ ที่ มีผลต่อค่าหรื อ ผลลัพธ์ ที่
ทําการศึกษา เพื่อพัฒนาระบบหรื อส่ วนที่เกี่ยวข้องให้มีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด โดยสามารถแบ่ง
ปั จจัยได้เป็ น
1. ปั จจัยที่ควบคุมได้ (Controllable Factors) หมายถึง ปั จจัยที่สามารถกําหนดค่า
ของปั จจัยที่ได้ในการผลิต
2. ปั จจัยที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Factors) หมายถึง ปั จจัยที่ไม่สามารถ
กําหนดค่าได้ในการผลิต
สิ่ งที่จาํ เป็ นจะต้องนํามาใช้ในการทดลอง การวิเคราะห์การทดลอง และการสรุ ปผลการ
ทดลองนั้น คือ การใช้วิธีเชิงสถิติเข้ามาช่วย ซึ่ งเครื่ องมือตัวนี้ เองจะมีส่วนสําคัญอย่างมากที่จะช่วย
แสดงให้เห็นถึงผลการวิเคราะห์ ผลการทดลอง เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจของผูท้ าํ การทดลองว่าควร
จะปรับเปลี่ยนค่าที่เกี่ยวข้องกับการทดลองอย่างไร
แนวทางในการออกแบบการทดลอง มีข้นั ตอนในการดําเนินการดังต่อไปนี้
1. ทําความเข้าใจถึงปั ญหา ในขั้นตอนนี้ ตอ้ งพยายามพัฒนาแนวความคิดเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์เกี่ยวกับการทดลอง และต้องหาข้อมูลจากบุคคลหรื อหน่ วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ถ้อย
แถลงของปั ญหาที่มีความชัดเจนจะมีผลอย่างมากต่อความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์และคําตอบ
สุ ดท้ายของปั ญหานั้นๆ ด้วยเหตุน้ ีเองการออกแบบการทดลองทุกครั้งควรจะมีการทํางานเป็ นทีม
2. เลือกปั จจัย ระดับ และขอบเขต ผูท้ ดลองต้องเลือกปั จจัยที่จะนํามาเปลี่ยนแปลง
ระหว่างทําการทดลอง กําหนดขอบเขตที่ปัจจัยเหล่านี้จะเปลี่ยนแปลงและกําหนดระดับ ที่จะเกิดขึ้น
ในการทดลอง จะต้องพิจารณาด้วยว่าจะควบคุมปั จจัยเหล่านี้ ณ จุดที่กาํ หนดให้อย่างไร และจะ
วัดผลตอบได้อย่างไร ดังนั้นในกรณี เช่นนี้ ผทู ้ ดลองจะต้องมีความรู ้เกี่ยวกับกระบวนการอย่างมาก
ซึ่ ง ความรู ้ น้ ี อาจได้ม าจากประสบการณ์ และความรู ้ จ ากทางทฤษฎี มี ความจํา เป็ นที่ เ ราจะต้อ ง
ตรวจสอบดูว่า ปั จจัยที่กาํ หนดขึ้นมาทั้งหมดนี้ มีความสําคัญหรื อไม่ และเมื่อวัตถุประสงค์ของการ
ทดลองคือการกรองปั จจัย (Screening) เราควรจะกําหนดให้ระดับต่างๆที่ใชในการทดลองมีจาํ นวน
น้อยๆ การเลือกขอบเขตของการทดลองก็มีความสําคัญเช่นกัน ในการทดลองเพื่อกรองปั จจัยเรา
ควรจะเลือกขอบเขตให้มีความกว้างมากๆ หมายถึงว่า ขอบเขตที่ปัจจัยแต่ละตัวจะเปลี่ยนแปลงได้
32

ควรมีค่ากว้างๆและเมื่อเราได้เรี ยนรู ้เพิ่มขึ้นว่าตัวแปรใดๆ มีความสําคัญ และระดับใดที่ทาํ ให้เกิดผล


ลัพธ์ที่ดีที่สุด เราอาจจะลดขอบเขตลงมาให้แคบลงได้
3. เลือกตัวแปรผลตอบ ในการเลือกตัวแปรผลตอบ ผูท้ ดลองควรจะแน่ ใจว่าตัว
แปรนี้ จะให้ขอ้ มู ลเกี่ ย วกับกระบวนการที่ ก าํ ลังศึ ก ษาอยู่ บ่ อยครั้ งที่ ค่าเฉลี่ ย หรื อส่ ว นเบี่ ย งเบน
มาตรฐาน (หรื อทั้งคู่) ของกระบวนการจะเป็ นตัวแปรผลตอบ เป็ นไปได้ว่าในการทดลองหนึ่ ง
อาจจะมีผลต่อหลายตัว และมีความจําเป็ นอย่างมากที่เราจะต้องกําหนดให้ได้ว่า อะไรคือตัวแปรผล
ตอบ และจะวัดผลตัวแปรเหล่านี้ได้อย่างไร ก่อนที่จะเริ่ มดําเนินการทดลองจริ ง
4. เลือกการออกแบบการทดลอง ถ้ากิ จกรรมการวางแผนก่อนการทดลองทําได้
อย่างถูกต้อง ขั้นตอนนี้ จะเป็ นขั้นตอนที่ง่ายมาก การเลือกการออกแบบเกี่ยวข้องกับการพิจารณา
ขนาดของตัวอย่าง การเลือกลําดับที่เหมาะสมของการทดลองที่จะใช้ในการเก็บข้อมูล และการ
ตัดสิ นใจว่า ควรจะใช้วิธีบล็อกหรื อใช้การแรนดอมไมเซชันอย่างใดอย่างหนึ่ งหรื อไม่ ในการเลือก
การออกแบบ เราจําเป็ นจะต้องคํานึ งถึงวัตถุประสงค์ของการทดลองอยู่ตลอดเวลา ในการทดลอง
ทางวิศวกรรมศาสตร์ ส่วนมาก เราจะทราบตั้งแต่เริ่ มต้นแล้วว่าปั จจัยบางตัวจะมีผลต่อผลตอบที่
เกิ ด ขึ้ น ดังนั้น เราจะหาว่า ปั จ จัย ตัว ใดที่ ทาํ ให้เกิ ด ความแตกต่ าง และประมาณขนาดของความ
แตกต่างที่เกิดขึ้น
5. ทําการทดลอง เมื่อทําการทดลองเราจะต้องติดตามดูกระบวนการทํางานอย่าง
ระมัดระวัง เพื่อให้แน่ ใจว่าการดําเนิ นการทุกอย่างเป็ นไปตามแผน ถ้ามีอะไรผิดพลาดที่เกิ ดขึ้น
เกี่ ยวกับวิธีการทดลองในขั้นตอนนี้ จะทําให้การทดลองที่ทาํ นั้นใช้ไม่ได้ ดังนั้น การวางแผนใน
ตอนแรกจะมีความสําคัญอย่างมากต่อความสําเร็ จที่จะเกิดขึ้น
6. วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงสถิติ เราควรจะนําเอาวิธีการทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล เพื่อว่าผลลัพธ์และข้อสรุ ปที่เกิดขึ้นจะเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการทดลอง ถ้าการทดลอง
ได้ถูกออกแบบไว้เป็ นอย่างดี และถ้าเราทําการทดลองตามที่ได้ออกแบบไว้ วิธีการทางสถิติที่จะ
นํามาใช้น้ นั จะเป็ นวิธีการที่ไม่ซบั ซ้อน ข้อได้เปรี ยบของวิธีการทางสถิติก็คือ ทําให้ผทู ้ ี่มีอาํ นาจใน
การตัดสิ นใจมีเครื่ องมือช่วยที่มีประสิ ทธิ ภาพ และถ้าเรานําเอาวิธีการทางสถติมาผนวกกับความรู ้
ทางวิศวกรรมความรู ้ เกี่ ยวกับกระบวนการ และสามัญสํานึ ก จะทําให้ขอ้ สรุ ปที่ ได้ออกมานั้นมี
เหตุผลสนับสนุนและมีความน่าเชื่อถือ
7. สรุ ปและข้อเสนอแนะ เมื่อเราได้วิเคราะห์ขอ้ มูลเรี ยบร้อยแล้ว ผูท้ ดลองจะต้อง
หาข้อสรุ ปในทางปฏิบตั ิและแนะนําแนวทางของกิ จกรรมที่จะเกิ ดขึ้น ในขั้นตอนนี้ เราจะนําเอา
วิ ธี ก ารทางกราฟเข้า มาช่ ว ย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ เราต้อ งการนํา เสอนผลงานนี้ ให้ ผูอ้ ื่ น ฟั ง
33

นอกจากนี้ แล้วการทําการทดลองเพื่อยืนยันผล (Confirmation Testing) ควรจะทําขึ้น เพื่อที่จะ


ตรวจสอบความถูกต้องของข้อสรุ ปที่เกิดขึ้นอีกด้วย
2.5.3.1 การทดสอบสมมติฐาน
กิตติศกั ดิ์ พลอยพานิ ชเจริ ญ (2539: 159) ได้กล่าวไว้ว่า สมมติฐานทางสถิติ คือ
ประโยคหรื อข้อความที่เกี่ยวกับพารามิเตอร์ของการแจกแจงความน่าจะเป็ น อาจจะเป็ นจริ งหรื อเท็จ
ก็ได้ โดยจะเกี่ยวข้องกับกลุ่มประชากรหนึ่งกลุ่มหรื อมากกว่าหนึ่งกลุ่มก็ได้
สมมติฐาน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. สมมติฐานหลัก (Null Hypotheses) หมายถึง สมมติฐานที่ไม่มีความ
แตกต่างกัน แทนด้วยสัญลักษณ์ H 0
2. สมมติฐานรอง (Alternative Hypotheses) หมายถึง สมมติฐานที่มีความ
แตกต่างกัน แทนด้วยสัญลักษณ์ H 1
การทดสอบสมมติฐานแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว
โดย กําหนดให้ H 0 : μ = μ 0 โดยที่ H 1 : μ > μ 0 หรื อ
H 0 : μ = μ 0 โดยที่ H 1 : μ < μ 0
2. การทดสอบสมมติฐานแบบสองทาง
โดยกําหนดให้ H 0 : μ = μ 0 โดยที่ H 1 : μ ≠ μ 0
ในการทดสอบสมมติฐานจะเกิดลักษณะยอมรับหรื อปฏิเสธสมติฐาน ถ้าหาก H 0
ถูกปฏิเสธ ทั้งที่ H 0 ถูกต้อง จะเกิดความผิดพลาดประเภทที่ 1 เกิดขึ้น แต่ถา้ H 0 ไม่ถูกปฏิเสธ ทั้งที่
H 0 ไม่ถูกต้อง จะเกิดความผิดพลาดประเภทที่ 2 เกิดขึ้น
α = P ( Type I error) = P (reject H 0 when H 0 is true)
β = P ( Type П error) = P (fail to reject H 0 when H 0 is false)
2.5.3.2 การออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรี ยล
ปารเมศ ชุติมา (2545: 217) ได้กล่าวไว้ว่า การออกแบบการทดลองเชิ งแฟกทอ
เรี ยลใช้ในการออกแบบการทดลอง และมีประโยชน์อย่างมากในกรณี ที่ปัจจัยในการทดลองมากกว่า
2 ปั จจัยขึ้นไป โดยจะพิจารณาถึงผลที่เกิดจากการรวมกันของระดับ (Level) ของปั จจัยที่เป็ นไปได้
ในการทดลองทั้งหมด
โดยการศึกษาจะศึกษาเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อตัวแปรตามหรื อผลตอบ(response)
ตัวเดียวกัน เพื่อนํามาวิเคราะห์ความแปรปรวน ซึ่ งสามารถแสดงให้เห็นได้ในแผนภูมิ 4 ลักษณะ
( ในกรณี แสดงถึงการวิเคราะห์แบบ 2 ปั จจัย)
34

2.5.4 วิธีการทากูชิ (Taguchi Method)


แนวความคิ ดของการออกแบบแผนการทดลองแบบอื่ น ที่ น อกเหนื อจากการออกแบบ
แผนการทดลองแบบแฟคทอเรี ยลสมบูรณ์ (Full Factorial Design) และการออกแบบแผนการ
ทดลองแบบแฟคทอเรี ยลบางส่ วน (Fractional Factorial Design) ที่ได้รับการยอมรับในเวลาต่อมา
คือ แนวคิดของ Dr.Genichi Taguchi นักวิศวกรชาวญี่ปุ่น ผูท้ ี่ได้เสนอปรัชญาในการออกแบบทาง
วิศวกรรม เพื่อมีความประสิ ทธิภาพที่ว่า ผลิตภัณฑ์ควรจะออกแบบเพื่อให้ได้ผลในการทํางานที่ดี
และมีความผันแปรน้อยที่สุดต่อผลการดําเนิ นงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์ควรถูกทําให้
Robust ต่อความไม่คงที่ของกระบวนการผลิต การผันแปรของผูใ้ ช้และสิ่ งแวดล้อม และต่อ
องค์ประกอบที่ทาํ ให้คุณภาพลดลง ซึ่งแน่นอนว่าถ้าสามารถทําได้ตามแนวคิดนี้กจ็ ะทําให้ผลิตภัณฑ์
มีความน่าเชื่อถือ ดังนั้น จึงมีการนําวิธีการทางทากูชิไปใช้อย่างแพร่ หลายในภาคอุตสาหกรรมเพื่อ
ปรับปรุ งทางด้านคุณภาพ
วิธีการทางทากูชิได้ให้ความสําคัญกับการออกแบบที่ทาํ ให้สภาวะของกระบวนการ หรื อ
ผลิตภัณฑ์ดีที่สุด ภายใต้ความไวน้อยที่สุดต่อสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดความผันแปรต่างๆ และผลิตภัณฑ์ที่
ผลิตได้ตอ้ งมีคุณภาพสู ง ด้วยค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและการผลิตที่ต่าํ นอกจากนี้ วิธีการทางทากูชิยงั
เป็ นการทดลองที่สามารถศึกษาปั จจัยหลายๆ ปั จจัยพร้อมกัน โดยมีวิธีการคํานวณที่ไม่ยงุ่ ยาก และ
ใช้จาํ นวนการทดลองน้อยกว่าการออกแบบแผนการทดลองแบบอื่นๆ เช่น การออกแบบแผนการ
ทดลองแบบแฟคทอเรี ยลสมบูรณ์ (Full Factorial Design) โดยการใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า ออทอกอ
นอล อะเรย์ (Orthogonal Array) ซึ่งวิธีทางทากูชิเป็ นการศึกษา เพื่อหาผลกระทบของปั จจัย และ
กําหนดค่าในการทดลองมากที่สุด โดยวิธีทากูชิมีรากฐานมาจากเหตุผลที่สาํ คัญ 2 ประการ คือ
1. สังคมจะเกิดความสู ญเสี ยทุกๆ ครั้งที่คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ไม่ตรงตามเป้ าหมาย
ดังนั้น Taguchi จึงให้เหตุผลว่า การเบี่ยงเบนออกไปจากเป้ าหมายเป็ นผลทําให้เกิดความสู ญเสี ยและ
ให้คาํ จํากัดความคุณภาพว่า เป็ นความสูญเสี ยที่ผลิตภัณฑ์สร้างให้แก่สงั คม
2. การออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตต้องการระบบที่สามารถพัฒนา และมี
ความก้าวหน้าในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบระบบ (System Design) การออกแบบพารามิเตอร์
(Parameter Design) และการออกแบบค่าเผือ่ (Tolerance Design) Taguchi ได้เสนอแนะว่า ผูผ้ ลิต
ควรทําการตรวจสอบและประเมินความสู ญเสี ยทั้งหมดของผลิตภัณฑ์อนั เกิดจากองค์ประกอบต่างๆ
ที่ผนั แปรไปจากคุณภาพตามเป้ าหมายและหาว่าเงื่อนไขของกระบวนการผลิตเป็ นอย่างไร เพื่อความ
แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจะตรงตามเป้ าหมาย รวมไปถึงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งจะส่ งผลให้
ผลิตภัณฑ์ทนต่อสภาพแวดล้อมและปั จจัยอื่นๆ ที่อยู่นอกการควบคุม และได้จาํ แนกตัวแปร
ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
35

1. ตัวแปรที่ควบคุมได้ (Signal Variable) เป็ นตัวแปรที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต


และเป็ นตัวแปรที่สามารถควบคุมได้
2. ตัวแปรที่ควบคุมไม่ได้ (Noise Variable) เป็ นตัวแปรที่โดยทัว่ ไป เกิดภายนอก
กระบวนการและยากที่จะควบคุมในระหว่างกระบวนการผลิต เช่นการแปรปรวนของสิ่ งแวดล้อม
ต่างๆ (อุณหภูมิ, ความชื้น หรื อ ฝุ่ นผง) การออกแบบการทดลองในอุตสาหกรรมปั จจุบนั จําเป็ นต้อง
ใช้การออกแบบการทดลองที่มีจาํ นวนการทดลองน้อย เพื่อประหยัดต้นทุนและเวลา รวมไปถึง
ข้อจํากัดอื่นๆ เช่น ผลต่อสิ่ งแวดล้อม การทดลองแบบต้องทําลายไม่สามารถนํากลับมาใช้ได้ใหม่ได้
หรื อการมีตน้ ทุนต่อการทดลองสู ง ดังนั้น เพื่อเป็ นการลดปั ญหาต่างๆ โดยทัว่ ไปจึงนิ ยมใช้การ
ออกแบบการทดลองของนายทากูชิ ที่ใช้ตารางออทอกอนอล อะเรย์ ในการทดลอง
5.4.1 ออทอกอนอล อะเรย์ (Orthogonal Array)
ออทอกอนอล อะเรย์ เป็ นตารางมาตรฐานที่ใช้ในการลดจํานวนการทดลอง ซึ่ ง
คิดค้นโดยศาสตราจารย์ฟิสเชอร์ (R.A. Fisher) การนําออทอกอนอล อะเรย์ มาตรฐานมาใช้งาน
ขึ้นอยูก่ บั ระดับปั จจัยและจํานวนปั จจัยในการทดลอง ซึ่งจะได้จาํ นวนการทดลองตามมาตรฐานของ
ตารางออทอกอนอล อะเรย์ ซึ่งตารางออทอกอนอล อะเรย์ นั้นจะใช้สัญลักษณ์ แอล (L) และตาม
ด้วยตัวเลขที่บ่งบอกถึงจํานวนการทดลอง จํานวนปั จจัย และระดับปั จจัย ดังภาพที่ 14 และตารางที่
3 แสดงตัวอย่างตารางออทอกอนอล อะเรย์ L 8 (27) โดยในตารางจะมีการกําหนดระดับปั จจัยไว้ใน
แต่ละคอลัมน์อยูแ่ ล้ว ซึ่งหมายเลข 1 ในตารางหมายถึงระดับปั จจัยที่ 1 และหมายเลข 2 ในตาราง
หมายถึง ระดับปัจจัยที่ 2

จํานวนปัจจัยสูงสุ ด
จํานวน 8 การทดลอง
ของตาราง

L 8 (27)
2 ระดับปัจจัย

ภาพที่ 14 แสดงความหมายของสัญลักษณ์ตารางออทอกอนอล อะเรย์ (Belavendram, 1995: 84)


36

ตารางที่ 3 ตารางออทอกอนอล อะเรย์ L 8 (27)


Trial Column no.
no. 1 2 3 4 5 6 7
1 1 1 1 1 1 1 1
2 1 1 1 2 2 2 2
3 1 2 2 1 1 2 2
4 1 2 2 2 2 1 1
5 2 1 2 1 2 1 2
6 2 1 2 2 1 2 1
7 2 2 1 1 2 2 1
8 2 2 1 2 1 1 2

นอกจากนี้ ตารางออทอกอนอล อะเรย์ มาตรฐาน จะมีลิเนียร์กราฟมาตรฐานเฉพาะของแต่


ละตาราง (ลิเนี ยร์ กราฟเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการกําหนดปั จจัยลงในคอลัมน์ของตารางออทอกอ
นอล อะเรย์ มาตรฐาน) โดยตารางออทอกอนอล อะเรย์ มาตรฐาน 1 ตาราง จะมีลีเนี ยร์ กราฟ
มาตรฐานของตารางนั้นได้หลายรู ปแบบ เช่น จากตารางที่ 3 เป็ นตารางออทอกอนอล อะเรย์
มาตรฐาน L 8 (27) จะมีลิเนียร์กราฟมาตรฐานของตารางนี้ 2 แบบด้วยกัน ดังภาพที่ 15

ภาพที่ 15 ลิเนียร์กราฟมาตรฐานของตารางออทอกอนอล อะเรย์ L 8 (27) (Belavendram, 1995 : 85)

การใช้ตารางออทอกอนอล อะเรย์ มีขอ้ ดี คือ ทําให้สามารถลดจํานวนการทดลองให้


น้อยลงซึ่งเป็ นผลให้ลดเวลาและต้นทุนในการทดลองได้อย่างมาก เช่น
จํานวนปั จจัย ระดับปั จจัย การทดลองปกติ การทดลองทากูชิ
7 ปัจจัย 2 128 การทดลอง 8 การทดลอง (L8)
11 ปัจจัย 2 2048 การทดลอง 12 การทดลอง (L12)
37

ดังนั้น ทําให้ลดเวลาและต้นทุนในการทดลองได้อย่างมาก รายละเอียดของตารางออทอกอ


นอล อะเรย์
ตารางมาตรฐานออทอกอนอล อะเรย์ แบ่งตามระดับปัจจัยได้ 3 กลุ่ม คือ
1. ระดับปั จจัย มี 2 ระดับ ประกอบด้วยตาราง L 4 (23), L 8 (27), L 12 (211), L 16 (215),
L 32 (231) และ L 64 (263)
2. ระดับปัจจัย มี 3 ระดับ ประกอบด้วยตาราง L 9 (34), L 27 (313) และ L 81 (240)
3. ระดับปัจจัย มี 5 ระดับ ประกอบด้วยตาราง L 25 (56)
5.4.2 ระดับขั้นความอิสระ คือ ตัวเลขที่ใช้เปรี ยบเทียบระหว่างระดับปั จจัยหลัก
หรื อปั จจัยร่ วม ซึ่ งจําเป็ นต้องทําการกําหนดระดับให้ได้ค่าเฉพาะที่ถูกต้องที่สุด ระดับขั้นความ
อิสระอธิบายได้จากภาพที่ 17 แสดงต้นไม้ 3 ต้น โดยที่ A สู งเท่ากับ 1,B สู งเท่ากับ 2, C สู งเท่ากับ 3
สามารถบอกในลักษณะเปรี ยบเทียบได้ว่า C ตํ่ากว่า A และ Bตํ่ากว่า A จะเห็นได้ว่า A หมดโอกาส
ในการเปรี ยบเทียบถึงเพราะเป็ นผูถ้ ูกอ้างอิง ดังนั้น ความอิสระในการอ้างอิงมี 2 ค่า คือ C เมื่อเทียบ
กับ A และ B เทียบกับ A เราจึงสามารถบอกได้วา่ ระดับขั้นความอิสระมีค่าเท่ากับ 2

ภาพที่ 16 การเปรี ยบเทียบในการพิจารณาระดับขั้นความอิสระ (Belavendram, 1995: 87)

พิจารณาค่าระดับขั้นความอิสระในการทดลองจะขึ้นอยูก่ บั ระดับปั จจัย โดยจําแนกประเภท


ของปัจจัยได้ดงั นี้ (Peace, 1993: 247)
1. ปัจจัยหลัก: ค่าระดับขั้นความอิสระ = จํานวนระดับของปัจจัย - 1 (14)
ตัวอย่างเช่น ระดับปั จจัยเท่ากับ 2 จะมีค่าความอิสระเท่ากับ 1
2. ปัจจัยร่ วม: ค่าองศาอิสระ = ผลคูณของระดับขั้นความอิสระของปั จจัยหลัก (15)
ตัวอย่างเช่น ปัจจัย A มีระดับปัจจัยเท่ากับ 2 และปั จจัย B มีระดับปั จจัยเท่ากับ 2
38

ระดับขั้นของความอิสระของปัจจัย A x B = (ระดับขั้นความอิสระปัจจัย A)
x (ระดับขั้นความอิสระปัจจัย B)
= (2-1) x (2-1) =1
ระดับขั้นความอิสระของตารางออทอกอนอล อะเรย์ (Peace, 1993: 250)
ระดับขั้นความอิสระของตารางออทอกอนอล อะเรย์ จะมีค่าเท่ากับ ระดับขั้นความอิสระของปั จจัย
ในแต่ละคอลัมน์คูณด้วยจํานวนคอลัมน์ หรื ออาจบอกได้ว่า ระดับขั้นของความอิสระของตารางออ
ทอกอนอลอะเรย์ จะมีค่าเท่ากับ จํานวนการทดลอง – 1
ดังนั้น ระดับขั้นความอิสระของตาราง = (ระดับของปัจจัย-1) x จํานวนคอลัมน์ (16)
ตัวอย่างเช่น ออทอกอนอล อะเรย์ L 9 (34) จะมีคอลัมน์ท้ งั หมดเท่ากับ 4 และระดับปัจจัย
เท่ากับ 3
เพราะฉะนั้น
ระดับขั้นความอิสระของตาราง = (ระดับของปั จจัย-1) x จํานวนคอลัมน์
= (3-1) x 4 =8
2.5.4.3 การเลือกตารางออทอกอนอล อะเรย์ (Belavendram, 1995: 87)
การเลือกตารางออทอกอนอล อะเรย์ จะพิจารณาจากผลรวมของระดับขั้นความ
อิสระของปั จจัยหลัก และปั จจัยร่ วม แล้วนํามาพิจารณาเปรี ยบเทียบกับระดับขั้นความอิสระของ
ตารางออทอกอนอลอะเรย์ โดยมีการคํานวณดังนี้
การคํานวณระดับขั้นความอิสระของปัจจัยหลัก และปั จจัยร่ วมในการทดลอง
ระดับขั้นความอิสระของปั จจัยหลัก = (ระดับปัจจัย-1) x จํานวนปั จจัยหลัก (17)

ระดับขั้นความอิสระของปั จจัยร่ วม = (ระดับขั้นความอิสระของปั จจัยหลักที่ 1) x


(ระดับขั้นความอิสระของปัจจัยหลักที่ 2) x
จํานวนปั จจัยร่ วม (18)

ระดับขั้นความอิสระทั้งหมดของปัจจัย = ระดับขั้นความอิสระของปัจจัยหลัก +
ระดับขั้นความอิสระขอปัจจัยร่ วม (19)
นําผลการคํานวณระดับขั้นความอิสระทั้งหมดของปั จจัย มาเปรี ยบเทียบกับระดับขั้นความ
อิสระของตารางออทอกอนอล อะเรย์ มาตรฐาน โดยเลือกตารางออทอกอนอล อะเรย์ ที่มีระดับขั้น
ความอิสระมากกว่าหรื อเท่ากับ ระดับขั้นความอิสระทั้งหมดของปัจจัย
39

ตัวอย่างเช่น กําหนดให้ระดับของปัจจัยเท่ากับ 2 มีปัจจัยหลัก คือ A, B, C, D, E, F, G,H, I


และ J และปัจจัยร่ วมคือ A × B, A × C, C × D, E × F และ G × H (Peace, 1993: 168)
ระดับขั้นความอิสระของปั จจัยหลัก = (2-1) x 10
= 10
ระดับขั้นความอิสระของปั จจัยร่ วม = (2-1) x (2-1) x 5
= 5
ดังนั้น ระดับขั้นความอิสระทั้งหมดของปัจจัย = 10 + 5
= 15
จึงเลือกตาราง L 16 (215) ซึ่งมีระดับขั้นความอิสระของออทอกอนอล อะเรย์ เท่ากับ 15 เพราะ
มีระดับขั้นของความอิสระของตารางออทอกอนอล อะเรย์ เท่ากับ ระดับขั้นความอิสระทั้งหมดของ
ปั จจัย ดังนั้นจากตัวอย่างจึงเลือกตาราง L 16 (215) ได้
2.5.4.4 ลิเนียร์กราฟ (Linear Graph)
ในการวิจยั ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับการทดลองที่มีท้ งั ปั จจัยหลัก และปั จจัยร่ วม ซึ่ งเรา
ต้องกําหนดปั จจัยในการทดลองเหล่านั้นลงในตารางออทอกอนอล อะเรย์ ลิเนี ยร์ กราฟเป็ น
เครื่ องมือชนิดหนึ่งของนายทากูชิ ที่ช่วยในการกําหนดแต่ละปั จจัยลงในตารางออทอกอนอล อะเรย์
โดยนายทากูชิได้กาํ หนดลิเนียร์กราฟมาตรฐานของแต่ละตารางมาตรฐานออทอกอนอล อะเรย์ ไว้
จากภาพที่ 18 เป็ นลิเนียร์กราฟ L 4 (23) ซึ่งมีปัจจัย 3 ปั จจัย ปั จจัยละ2 ระดับ โดยที่ปัจจัยที่ 3 เป็ น
ปัจจัยที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ 1 และปั จจัยที่ 2 ซึ่งในกรณี ที่มีปัจจัยหลัก 2 ปั จจัย และ
ปั จจัยร่ วม 1 ปัจจัย ปัจจัยที่ 3 จะเป็ นตัวแทนของปั จจัยร่ วม

ภาพที่ 17 ลิเนียร์กราฟ L 4 (23) (Belavendram, 1995 : 86)

5.4.4.1 การกําหนดปัจจัยในลิเนียร์กราฟ
ในการกําหนดปั จจัยลงในตารางออทอกอกนอล อะเรย์ โดยใช้ลิเนี ยร์
กราฟปฏิบตั ิตามขั้นตอนดังนี้ (Peace, 1993: 170)
1. การเลือกตารางออทอกอนอล อะเรย์ ในขั้นตอนนี้ จะต้องทําการคํานวณหาค่า
ระดับขั้นความอิสระของปั จจัยหลักและปั จจัยร่ วม โดยระดับขั้นความอิสระของปั จจัยที่ทดลอง
จะต้องน้อยกว่าหรื อเท่ากับ ระดับขั้นความอิสระของตารางออทอกอนอล อะเรย์มาตรฐาน
40

2. วาดรู ปลิเนี ยร์ กราฟของปั จจัยที่ทดลอง โดยเขียนความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัย


หลักและปั จจัยร่ วม
3. เปรี ยบเทียบลิเนี ยร์ กราฟของปั จจัยที่ทดลองกับลิเนี ยร์ กราฟมาตรฐาน โดยเลือก
ลิเนียร์กราฟมาตรฐานที่ใกล้เคียงลิเนียร์กราฟของปัจจัยมากที่สุด
4. ปรับปรุ งลิเนียร์กราฟของปัจจัยที่ทดลองให้เข้าสู่ ลิเนียร์กราฟมาตรฐาน
5. กําหนดปั จจัยหลัก และปั จจัยร่ วมลงในลิเนี ยร์ กราฟ ที่ได้แปลงเป็ นลิเนียร์กราฟ
มาตรฐาน
6. ในกรณี ที่ลิเนี ยร์ กราฟของปั จจัยที่ ทดลองสามารถแปลงเป็ นลิเนี ยร์ กราฟ
มาตรฐานได้หลายรู ปแบบ ให้คาํ นึ งถึงปั จจัยที่ลาํ บากในการเปลี่ยนแปลงค่าในการทดลอง โดย
พิจารณาปั จจัยที่ลาํ บากในการเปลี่ยนแปลงค่าในการทดลองนั้น ให้แทนค่าลงในตัวเลขน้อยของ
ลิเนียร์กราฟมาตรฐาน
2.5.4.4.2 การแปลงรู ปแบบลิเนียร์กราฟมาตรฐาน
ในบางครั้งการแปลงลิเนี ยร์ กราฟของปั จจัยไม่สามารถแปลงเป็ นลิเนี ยร์
กราฟมาตรฐานได้ จึงจําเป็ นต้องมีการแปลงลิเนียร์กราฟมาตรฐานให้เป็ นลิเนี ยร์กราฟที่เราต้องการ
เราสามารถใช้ตารางในการแปลงลิเนี ยร์ กราฟ ที่เรี ยกว่า ตารางปั จจัยร่ วมระหว่างคอลัมน์
(Interactionbetween two Column) ใช้ในการแปลงลิเนียร์กราฟ

ตารางที่ 4 ตารางปั จจัยร่ วมระหว่างคอลัมน์ L 16 (215)


Trial Column no.
no. 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
1 3 2 5 4 7 6 9 8 11 10 13 12 15 14
2 1 6 7 4 5 10 11 8 9 14 15 12 13
3 7 6 5 4 11 10 9 8 15 14 13 12
4 1 2 3 12 13 14 15 8 9 10 11
5 3 2 13 12 15 14 9 8 11 10
6 1 14 15 12 13 10 11 8 9
7 15 14 13 12 11 10 9 8
8 1 2 3 4 5 6 7
9 3 2 5 4 7 6
10 1 6 7 4 5
11 7 6 5 4
12 1 2 3
13 3 2
14 1
41

จากตารางที่ 4 เป็ นตัวอย่างของตารางปั จจัยร่ วมระหว่างคอลัมน์ L 16 (215) เช่น ถ้าเรา


กําหนดให้ A เป็ นปั จจัยหมายเลข 3 และกําหนดให้ B เป็ นปั จจัยหมายเลข 9 เราจะได้ปัจจัยร่ วมAB
โดยการตัดกันระหว่างแถวที่ 3 และคอลัมน์ที่ 9 เพราะฉะนั้นจะได้หมายเลข 10 ดังนั้นจะกําหนด
ปั จจัยร่ วม AB ให้อยูใ่ นคอลัมน์ที่ 10
2.5.5.5 ปั จจัยสัญญาณรบกวน (Noise Factor)
ปั จจัยสัญญาณรบกวน คือ ปั จจัยที่เราไม่สามารถควบคุมได้ หรื อยากต่อการ
ควบคุมจึงไม่ทาํ การควบคุมในกระบวนการผลิต เราจึงกําหนดสิ่ งนั้นเป็ นสัญญาณรบกวน ซึ่ งถือว่า
เป็ นค่าคลาดเคลื่อนในกระบวนการผลิตที่ทาํ ให้เกิดความแปรปรวน แต่ในการคํานวณเราจะถือว่า
ไม่แสดงปั จจัยโดยจะถือว่าเป็ นจํานวนครั้งในการทดลอง (Belavendram, 1995: 90)
2.5.5.6 การลดค่าอคติในการทดลอง
2.5.5.6.1 ความคลาดเคลื่อนหลัก เรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า ความคลาดเคลื่อน
ระหว่างการทดลอง ซึ่ งความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการทดลองหนึ่ ง
ไปเป็ นอีกการทดลองแบบหนึ่ ง โดยทัว่ ไปเกิดจากการเปลี่ยนกรรมวิธีการทดลอง ค่าความคลาด
เคลื่อนนี้ สามารถลดได้โดยการลดจํานวนครั้งในการเปลี่ยนรู ปแบบการทดลองให้นอ้ ยที่สุด (การ
กําหนดปั จจัยลงตารางการทดลองออทอกอนอล อะเรย์ ควรให้ปัจจัยที่มีความยุง่ ยากในการเปลี่ยน
รู ปแบบการทดลองในลําดับต้นๆ)
2.5.5.6.2 ความคลาดเคลื่อนรอง หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า ความคลาด
เคลื่อนภายในการทดลอง ซึ่ งเกิดจากการทําการทดลองหลายครั้งในรู ปแบบการทดลองเดิม ซึ่งค่า
ของการคลาดเคลื่อนรองนี้ ข้ ึนอยูก่ บั ปั จจัยความคลาดเคลื่อนของระบบวัด และความคลาดเคลื่อน
ตามธรรมชาติของการวัด โดยที่ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติของการวัดแก้ไขได้โดยการหา
ค่าเฉลี่ยจากการทําการวัดหลายๆครั้ง ส่ วนความคลาดเคลื่อนของระบบ แก้ไขได้โดยฝึ กฝนการทํา
การทดลอง และการใช้เครื่ องมือทําการทดลองที่มีความเที่ยงตรงสูง
2.5.5.6.3 การสุ่ มการทดลอง ความคลาดเคลื่อนในการทดลองเกิดจาก
ลําดับการทดลองที่มีค่าเสื่ อมสภาพในตัวเองในการทําการทดลองหลายๆ ครั้ง หรื อการรวมตัวเมื่อมี
การทําการทดลองหลายๆ ครั้ง ซึ่ งไม่สามารถแก้ไขทางกายภาพได้ เราสามารถทําการลดปั ญหา
ความคลาดเคลื่อนนี้ โดยการสุ่ มการทดลอง เพื่อการกระจายวามคลาดเคลื่อนออกไปอย่างทัว่ ถึงแต่
ก็อาจจะเพิ่มความคลาดเคลื่อนในรู ปแบบความคลาดเคลื่อนหลัก เราอาจใช้การทดลองแบบกลุ่ม
ของข้อมูลแทนการสุ่ มการทดลองของแต่ละลําดับการทดลอง
2.5.6 หลักการทางสถิติที่จาํ เป็ นในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
42

Montgomery (1996: 75) การวิเคราะห์ขอ้ มูลได้แสดงการวิเคราะห์ขอ้ มูลและจัดเรี ยงลําดับ


ตามลักษณะสมบัติดงั นี้คือ
2.5.6.1 การวิเคราะห์ค่าการกระจายของข้อมูล ในการวิเคราะห์คุณภาพของข้อมูล
ได้พิจารณาถึงขนาดความเบี่ยงเบนที่เรี ยกว่า การกระจายและสามารถวัดได้จากหลักสถิติหลายตัว
ดังนี้ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ความแปรปรวน (Variance) เป็ นต้น
2.5.6.1.1 ความแปรปรวน (V:Variance)
ความแปรปรวน = ผลรวมกําลังสอง(ss) (20)
องศาแห่ งความอิสระ(df)
n
จาก ผลรวมกําลังสอง(ss) = ∑ (y i – ค่าเฉลี่ย)2 (21)
i =1

องศาแห่ งความอิสระ( df :Degree of freedom ) = n-1 (22)


∑ (y )
n 2

i - y
ดังนั้น ค่าความแปรปรวน (S หรื อ σ ) =
2 2 i =1
(23)
n -1
โดยที่ n คือ จํานวนสิ่ งตัวอย่างที่ตอ้ งการ
yi คือ ข้อมูลของสิ่ งตัวอย่างที่น่าสนใจ
y คือ ค่าเฉลี่ยของข้อมูลของสิ่ งตัวอย่างที่สนใจ
2.5.6.1.2 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ : Standard Deviations) ความ
แปรปรวนที่ได้จะมีค่ามากกว่าความเป็ นจริ ง เนื่ องมาจากยกกําลังสองของค่าความเบี่ยงเบน ดังนั้น
จึงสามารถหาค่าความเบี่ยงเบนที่แท้จริ งได้ดว้ ยการถอดรากที่สองของค่าความแปรปรวน และเรี ยก
ค่านี้วา่ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งจะเป็ นค่าที่ใช้อนุมานความเบี่ยงเบนของประชากรได้ดีที่สุด

∑ (y )
n 2

i -y
S หรื อ σ = S =
2 i =1
(24)
n -1

2.5.6.2 การวิเคราะห์พารามิเตอร์ รูปทรงของรู ปแบบข้อมูล โดยการวิเคราะห์ท้ งั 2


ประเด็นนี้เป็ นเพียงการวิเคราะห์เพื่อพิจารณาถึงลักษณะสมบัติของข้อมูลว่ามีคุณภาพตรงตามข้อมูล
ธรรมชาติหรื อไม่ หากไม่แล้วก็มีความจําเป็ นต้องมีการสอบย้อนกลับเพื่อแก้ไขข้อมูลก่อนจากนั้น
ดําเนินการวิเคราะห์เพื่อการตัดสิ นใจ โดยการวิเคราะห์ถึงการวิเคราะห์ค่าแนวโน้มสู่ ศูนย์กลางของ
ข้อมูล
2.5.6.2.1 ความเบ้
43

ความเบ้ หมายถึง ถ้าหากข้อมูลมีรูปทรงการกระจายที่สมมาตรรอบค่าที่


ควรจะเป็ นแล้วจะพบว่าค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และค่าฐานนิยม จะเป็ นค่าเดียวกัน แต่ถา้ หากรู ปทรง
ของข้อมูลมีความเบ้แล้วค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และค่าฐานนิยมจะมีค่าไม่เท่ากันคือ
ถ้าค่าฐานนิยม < ค่ามัธยฐาน < ค่าเฉลี่ย แล้วรู ปทรงของการกระจายจะเบ้
ขวา
ถ้าค่าฐานนิยม > ค่ามัธยฐาน > ค่าเฉลี่ย แล้วรู ปทรงของการกระจายจะเบ้
ซ้ายลักษณะรู ปทรงความเบ้ในลักษณะต่าง ๆ ได้แสดงไว้ในภาพที่ 2-19

ภาพที่ 18 แสดงลักษณะความเบ้รูปทรงต่างๆ (Montgomery, 1996: 78)

2.5.6.2.2 ความโด่ง
ความโด่ ง หมายถึ ง ลักษณะสมบัติของรู ปทรงของรู ปแบบข้อมูลที่ ใช้
พิจารณาว่ารู ปแบบของข้อมูลมีความสู งเพียงใด ความโด่งของรู ปแบบของข้อมูลจะจําแนกลักษณะ
ของรู ปทรงได้ออกเป็ น 3 ประเภท โดยภาพที่ 20 ได้แสดงรู ปทรงความโด่งในลักษณะต่าง ๆ คือ

ภาพที่ 19 แสดงลักษณะความโด่งในลักษณะต่างๆ (Montgomery, 1996: 79)

ก.โด่งปกติ คือความโด่งที่สอดคล้องกับลักษณะสมบัติของรู ปทรงแบบ


ปกติ
ข.โด่ ง มาก คื อ ค่ า ความโด่ ง มากกว่ า รู ป แบบของข้อ มู ล ปกติ ซึ่ ง จะมี
รู ปแบบของข้อมูลที่มีความเบี่ยงเบนค่อนข้างตํ่า
ค. แบนราบ คือรู ปแบบของข้อมูลที่ มีรูปแบบความโด่งตํ่ากว่ารู ปแบบ
ข้อมูลปกติซ่ ึงจะมีรูปแบบข้อมูลที่มีความเบี่ยงเบนค่อนข้างสูง
44

2.5.6.3 การวิเคราะห์ค่าแนวโน้มสู่ ศูนย์กลางของข้อมูล


ค่าแนวโน้มสู่ ศูนย์กลางของข้อมูล หมายถึง ค่าที่ควรจะเป็ นของข้อมูลซึ่งจะ
สะท้อนให้ทราบถึงผลจากปั จจัยที่ได้รับการควบคุมขณะเก็บข้อมูล
2.5.6.3.1 ค่ามัชฌิม (Mean) หรื อค่าเฉลี่ย (Average Out)
ค่าเฉลี่ย หมายถึง ค่าที่ได้จากการกําจัดทิ้ง (Average Out) ผลของตัวแปร
ที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่อยู่ในขณะเก็บข้อมูล โดยหมายถึงผลของปั จจัยสามารถควบคุมได้ใน
กระบวนการและใช้ค่านี้เป็ นค่าในการตัดสิ นใจในข้อมูล
n

∑y i

y= i =1
(25)
n

ค่าเฉลี่ย( y ) เป็ นตัวสถิติที่ใช้วดั ค่าแนวโน้มสู่ ศูนย์กลางของข้อมูลที่เป็ น


ปกติ เท่ า นั้น คือข้อมูลที่ ตอ้ งมี รูปทรงของรู ปแบบที่ ค่อนข้างสมมาตรและเป็ นแบบมี ย อดเดี ย ว
นอกจากนี้ยงั ต้องเป็ นข้อมูลที่รวบรวมมาจากประชากรที่มีความเบี่ยงเบนคงที่ดว้ ย
2.5.6.3.2 ค่ามัธยฐาน (Median)
ค่ามัธยฐาน เป็ นตัวสถิติที่ใช้วดั ค่าแนวโน้มสู่ ศูนย์กลางโดยพิจารณาจาก
ค่าควอไทล์ที่ 2 ซึ่ งแบ่งข้อมูลออกเป็ น 2 ส่ วนที่เท่าๆกัน ถ้าให้ y (1) ,y (2) ,…,y (n) หมายถึง ข้อมูลที่
ได้รับการจัดเรี ยงลําดับตามขนาดของข้อมูลไว้แล้ว โดยให้ y (1) หมายถึงข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุดและ
y (n) หมายถึงข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดแล้วจะสามารถหาค่ามัธยฐาน โดยทัว่ ไปมักแทนด้วย ỹ
2.5.6.3.3 ค่าฐานนิยม (Mode)
ค่าฐานนิ ยม เป็ นตัวสถิ ติที่วดั แนวโน้มสู่ ศูนย์กลางโดยพิจารณาค่าที่ มี
ความถี่มากที่สุดค่าฐานนิยมเป็ นตัววัดแนวโน้มสู่ศูนย์กลางที่ดีที่สุดแต่เนื่องจากค่าฐานนิยมมักจะไว
ต่อข้อมูลมาก คือ ถ้าข้อมูลมีค่าเปลี่ยนไปจะทําให้ค่าฐานนิยมเปลี่ยนแปลงทันที ด้วยเหตุน้ ี ในทาง
วิศวกรรมจึงไม่นิยมใช้ค่าฐานนิ ยมมากนักแต่ค่าฐานนิ ยมจะเป็ นตัววัดที่ดีสาํ หรับข้อมูลเชิงคุณภาพ
เช่น เพศ วุฒิการศึกษา ประเภทโลหะ เป็ นต้น ซึ่งไม่อาจวัดได้ดว้ ยค่าเฉลี่ยและค่ามัธยฐาน การ
คํานวณค่าฐานนิ ยมควรจะมีเพียงค่าเดี ยวสําหรั บข้อมูลที่มีการกระจายแบบยอดเดี ยว และอาจมี
หลายค่าสําหรับข้อมูลที่มีการกระจายแบบหลายยอด
2.5.6.4 การทดสอบสัมประสิ ทธิ์ ของการตัดสิ นใจ (R - square) เป็ นการวิเคราะห์
ว่าการออกแบบที่ได้ออกแบบขึ้นมาใช้ในการทดลอง มีความเหมาะสมเพียงใด ซึ่งในการทดลองทุก
ครั้งจะต้องมีความผันแปรที่อธิ บายไม่ได้ หรื อ ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเสมอ การออกแบบการ
ทดลองที่ดีจะต้องทําให้เกิดความผันแปรที่อธิบายไม่ได้นอ้ ยที่สุด
45

สัมประสิ ทธิ์ของการตัดสิ นใจ(R - Square) = ความผันแปรที่อธิบายไม่ได้ x 100% (26)


ความผันแปรทั้งหมด

ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ของการตัดสิ นใจ (R - Square) มีค่าตํ่า สามารถแก้ไขได้โดย


5.4.4.1 เพิ่มจํานวนซํ้าในการทดลอง
5.4.4.2 ตรวจสอบหาปั จจัยอื่นที่เกี่ยวข้องแล้วออกแบบการทดลองใหม่
5.4.4.3 ถ้าทําการเพิ่มปั จจัยอื่นแล้วค่าสัมประสิ ทธิ์ ของการตัดสิ นใจ (R -
square) ยังตํ่าอยู่ แสดงว่า ผลจากปั จจัยรบกวนมีมากต้องทําการบล็อกเพื่อลดปัจจัยรบกวน

2.6 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


การศึ กษาเรื่ องการควบคุ มคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการ
ทดลองผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารและผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็ นพื้นฐานสําหรับการดําเนิ นงานวิจยั
โดยสามารถสรุ ปสาระสําคัญได้ดงั นี้
2.6.1 งานวิจยั เกี่ยวกับกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
ในอุตสาหกรรมเครื่ องประดับ กรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของผูป้ ระกอบการมากกว่าร้อยละ
95 คือ การหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับโดยใช้วตั ถุดิบ เงินและทองคําเป็ นวัตถุดิบหลัก รวมไปถึงการ
ใช้เทคโนโลยีในการผลิต ซึ่ งส่ วนมากจะใช้ 2 วิธีการหลักๆ คือ การหล่อโดยใช้สุญญากาศและการ
หล่ อ โดยใช้ แ รงเหวี่ ย งหนี ศู น ย์ก ลาง จากความแตกต่ า งทางด้า นเทคนิ ค การหล่ อ ตัว เรื อน
เครื่ องประดับแสดงให้เห็นความพยายามของผูผ้ ลิตที่จะค้นหาวิธีการหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับที่ดี
ที่สุดทั้งทางด้านคุณภาพและการลงทุน
งานวิจยั ที่ทาํ การศึกษา คือ การศึกษากระบวนการหล่อผลิตภัณฑ์เครื่ องประดับที่เหมาะสม
สําหรับเครื อข่าย วิสาหกิจชุมชน กรณี ศึกษา กลุ่มพลอยไพลินนิ ลเมืองกาญจน์ (ภัทราพร บําเพ็ญ
ศิล, 2549: 92) ได้ทาํ การศึกษากระบวนการหล่อผลิตภัณฑ์เครื่ องประดับ และทําการเปรี ยบเทียบ
กระบวนการหล่ อ แบบเหวี่ ย งหนี ศู น ย์ก ลางและกระบวนการหล่ อ แบบสุ ญ ญากาศ เพื่ อ หา
กระบวนการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเครื อข่ายวิสาหกิจชุมชน ซึ่ งทํา
การทดลองเปรี ยบเทียบระหว่างกระบวนการหล่อทั้ง 2 แบบ เปรี ยบเทียบกระบวนการละ 2 โรงงาน
ซึ่ งได้แก่ โรงงานตัวแทนของกลุ่มเครื อข่ายวิสาหกิจชุมชนและโรงงานที่กาํ หนดให้เป็ นมาตรฐาน
จากการศึกษาด้านกระบวนการหล่อ เครื่ องจักรที่ใช้ จํานวน และลักษณะของเสี ยที่เกิดขึ้น แบบที่ใช้
ในการทดลองคือ แหวน จี้ และต่างหู อย่างละ 20 ชิ้น ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % จากผลการศึกษา
46

ทางด้านเทคนิ คและด้านเศรษฐศาสตร์ พบว่า กระบวนการหล่อเครื่ องประดับที่เหมาะสมกับทาง


กลุ่มเครื อข่ายวิสาหกิจชุมชน คือ กระบวนการหล่อแบบเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
2.6.2 งานวิจยั เกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่อการหล่อเครื่ องประดับ
กระบวนการหล่ อ เครื่ องประดั บ เป็ นกระบวนการที่ สํ า คั ญ อย่ า งมากในการผลิ ต
เครื่ องประดับ เนื่องจากเป็ นกระบวนการขึ้นรู ปโลหะเพื่อให้เป็ นตัวเรื อนสิ นค้า ซึ่งเป็ นกระบวนการ
ที่เพิ่มค่าให้แก่วตั ถุดิบเป็ นอย่างมาก แต่เป็ นกระบวนการที่เสี ยค่าใช้จ่ายมากในการดําเนิ นการมาก
เช่นกัน และเป็ นกระบวนการที่ส่งผลให้เกิดของเสี ยในกระบวนการผลิตอย่างเห็นได้ชดั
งานวิ จ ัย ที่ ท าํ การศึ ก ษา คื อ การพัฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพงานหล่ อ เครื่ อ งประดับ ด้ว ยการ
ออกแบบการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง กรณี ศึกษา : โรงงานเครื่ องประดับจากข้อมูล
(ปาณิ กา เสนาะดนตรี , 2549: 104) พบว่า มีของเสี ยเป็ นจํานวนมากในกระบวนการผลิต
เครื่ องประดับ เมื่อพิจารณาของเสี ยที่เกิดขึ้น เกิดจากจุดบกพร่ องหลายลักษณะ เช่น ตามด ผืน่ หล่อ
ไม่เต็ม ชิ้นงานเสี ยทรง เป็ นต้น เมื่อแยกปั ญหาแต่ละประเภทออกมาของเสี ยที่เกิดจากการเกิดผืน่
บนผิวชิ้นงานเป็ นจํานวนมากถึง 54.18% เมื่อได้ทาํ การวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาการเกิดผื่นใน
เครื่ องประดับเงินโดยการระดมสมองของผูท้ ี่รับผิดชอบในกระบวนการผลิตนี้ พบว่า การควบคุม
ระดับอุณหภูมิการหล่อ อุณหภูมิน้ าํ โลหะ เวลาอบ, ขนาดทางเดินนํ้าโลหะ และมุมเอียงชิ้นงาน
เป็ นจุดที่สาํ คัญซึ่งมีอิทธิพลทําให้เกิดปัญหาผืน่ ในเครื่ องประดับเงิน
งานวิจยั ที่ทาํ การศึกษา คือ การศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อกระบวนการหล่อพร้อมฝัง กรณี ศึกษา :
วิสาหกิจชุมชนพลอยไพลินนิลเมืองกาญจน์ (เบญจกูล อึ๊งศิริรัตน์, 2550: 100) พบว่า กระบวนการ
หล่อพร้อมฝังของกระบวนการผลิตเครื่ องประดับและปั จจัยต่างๆที่มีผลต่อกระบวนการหล่อพร้อม
ฝังของเครื่ องประดับนิ ล จากการวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาการแตก/ปิ่ นของอัญมณี ในการหล่อ
พร้ อมฝั งเครื่ องประดับนิ ล โดยการระดมสมองของผูท้ ี่รับผิดชอบในกระบวนการผลิตนี้ ซึ่ งมี 3
ปั จจัย ประกอบด้วย อุณหภูมิอบเบ้าปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ
เป็ นจุ ด ที่ สํ า คัญ ซึ่ งมี อิ ท ธิ พ ลทํา ให้ เ กิ ด ปั ญ หาการแตก/ปิ่ นของอัญ มณี ใ นการหล่ อ พร้ อ มฝั ง
เครื่ องประดับนิล
2.6.3 งานวิจยั เกี่ยวกับหลักการเลือกใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองให้เหมาะสม
การออกแบบการทดลองเป็ นเทคนิ ค ที่ มี ค วามสํา คัญ ยิ่ ง ในการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพของ
กระบวนการหรื อผลิตภัณฑ์โดยสามารถลดความผันแปร เพิ่มประสิ ทธิ ภาพ และความสามารถของ
กระบวนการ (Jiju Antony, 2003: 473) เทคนิ คนี้ นิยมใช้อย่างแพร่ หลายในงานวิศวกรรมคุณภาพ
และการอบรมการใช้โปรแกรม โดยทัว่ ไปมี การสอนการใช้งานแบบใดแบบหนึ่ งระหว่างการ
ออกแบบการทดลองแบบดั้งเดิมกับการออกแบบการทดลองแบบทากูชิข้ ึนอยูก่ บั ประสบการณ์การ
47

ทํางานของวิทยากร (Jiju Antony, 2006: 227) งานวิจยั นี้ จึงทําการเปรี ยบเทียบหลักการที่เหมือนกัน


และแตกต่างกันระหว่างเทคนิ คการออกแบบการทดลองแบบดั้งเดิมกับการออกแบบการทดลอง
แบบทากูชิจากผูเ้ ชี่ ยวชาญหลายท่านเพื่อสร้ างแนวทางในการเลื อกใช้เทคนิ คการออกแบบการ
ทดลองได้อย่างเหมาะสม ดังแสดงในตารางที่ 5

ตารางที่ 5 หลักการเลือกใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองให้เหมาะสม
ลักษณะปั ญหา เทคนิคทากูชิ เทคนิคดั้งเดิม
สามารถหาคู่ปัจจัยทุกคู่ที่มีผลกระทบระหว่างกัน X ⁄
สามารถหาค่าที่ดีที่สุดของเงื่อนไข X ⁄
สร้างสมการทํานายค่าเป้ าหมายที่เพิ่มสมรรถนะให้กระบวนการ X ⁄
สามารถหาค่าปั จจัยหลักและปั จจัยที่เกิดผลกระทบร่ วม X ⁄
สามารถนําไปประยุกต์ใช้งานได้ง่าย ⁄ X
สามารถลดความผันแปรของกระบวนการ ⁄ X
สามารถหาปั จจัยที่ควบคุมได้ และควบคุมไม่ได้ ⁄ X
สามารถใช้ค่าความคลาดเคลื่อนของปัจจัยที่กระบวนการ ⁄ X
สามารถยอมรับความผันแปรที่เกิดขึ้นได้
ที่มา: Jiju Antony. (1997). “A strategic approach to the use of advanced statistical methods for
quality improvement.” PhD thesis, Portsmouth Business School , University of Portsmouth.

เมื่ อพิ จารณาลักษณะของปั ญหา พบว่า ถ้าผูท้ ดลองต้องการทราบคู่ปัจจัยทุ กคู่ที่เ กิ ดผล


กระทบระหว่างกัน ต้องการหาค่าที่ดีที่สุดของเงื่อนไขในกระบวนการ สามารถทํานายค่าเป้ าหมายที่
เพิ่มสมรรถนะให้กับกระบวนการและสามารถตั้งค่ าของปั จ จัยหลักและปั จ จัยที่ เกิ ด ผลกระทบ
ร่ วมกัน ดังนั้น ให้ผทู ้ ดลองเลือกใช้เทคนิ คดั้งเดิมในการทดลอง แต่ถา้ ผูท้ ดลองต้องการเทคนิ คที่ใช้
งานง่ายต้องการลดความผันแปรของกระบวนการ โดยหาปั จจัยหลักที่ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้
เพื่อให้การทดลองมีความมัน่ คงขึ้น ต้องการลดความผันแปรของกระบวนการทําให้ค่าที่ได้เข้าใกล้
ค่าเป้ าหมายมากขึ้น และสามารถใช้ค่าความคลาดเคลื่อนของปั จจัยที่กระบวนการสามารถยอมรับ
ความผันแปรที่เกิดขึ้นได้ ผูท้ ดลองจึงเลือกใช้เทคนิ คทากูชิ (Jiju Antony, 1997: 227) และงานวิจยั
เพื่ อ การพัฒ นาคุ ณ ภาพของกระบวนการสี ข า้ ว พบว่ า ทากูชิ เ ป็ นเทคนิ ค ที่ ดี ก ว่า เทคนิ ค ดั้ง เดิ ม
เนื่ องจากได้ค่าปั จจัยที่มีผลต่อคุณภาพของกระบวนการสี ขา้ วเหมือนกัน แต่เทคนิ คทากูชิใช้เวลา
และต้นทุนในการทดลองน้อยกว่า เพราะเทคนิ คดั้งเดิมทําการทดลองด้วยการทดลองแฟกทอเรี ยล
48

แบบเต็มส่ วน (Full Factorial Design) ด้วย 6 ปั จจัยหลัก 2 ระดับ ทําซํ้า 3 ครั้ง และมี 6 เงื่อนไขการ
ทดลอง จึงมีการทดลองทั้งหมด 1,152 การทดลอง แต่เทคนิ คทากูชิที่เงื่อนไขเดียวกันศึกษา 6 ปั จจัย
หลัก 2 ระดับและมีปัจจัยรบกวน 6 ปั จจัย ใช้การจัดเรี ยงแบบออโธกอนอล (Orthogonal Array; OA)
L12 ทําซํ้า 3 ครั้ง มีการทดลองทั้งหมด 432 การทดลอง ดังแสดงในตารางที่ 6

ตารางที่ 6 ผลการทดลองของกระบวนการสี ขา้ วระหว่างเทคนิคดั้งเดิมกับเทคนิคทากูชิ


Approach ระหว่างเทคนิคดั้งเดิมกับเทคนิคทากูชิ Estimate Mean
Factor A B C D E F (head rice yield)
Classical 1050 1050 1050 1.5 1.5 1.5 67
Taguchi 1050 1050 1050 1.5 1.5 1.5 67
ที่มา: Worlaluck Jankrajang. (2003). “Design of Experiment Approach for Improving Rice
Milling Quality.” M.S. Thesis, Industrial Engineering, Kasepsart University.

ผลการศึกษา พบว่า ข้อดีของเทคนิ คดั้งเดิม คือ เป็ นเทคนิ คที่สามารถวิเคราะห์ผลทางสถิติ


ทดสอบสมมติฐานในการหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยและค่าความผันแปร เพื่อวิเคราะห์ว่า
ปั จจัยใดส่ งผลต่อผลตอบที่ทาํ การศึกษา แต่มีขอ้ เสี ย คือ จํานวนครั้งการทดลองสู ง ส่ งผลให้เกิด
ค่าใช้จ่ายสู ง ส่ วนข้อดีของเทคนิคทากูชิ คือ ใช้ตารางการจัดเรี ยงแบบออโธกอนอลมาออกแบบการ
ทดลอง ลดจํา นวนการทดลอง ทํา ให้ ป ระหยัด เวลาและค่ า ใช้จ่ า ยในการทดลอง
(WorlaluckJankrajang, 2003: 45) ทําการวิเคราะห์ผลด้วยค่าอัตราส่ วนสัญญาณไปยังสิ่ งรบกวน
(Signal-to-noise ratio; S/N) ซึ่งเป็ นค่าที่วดั ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการรวมกันระหว่างค่าเฉลี่ย
กับค่าผันแปร(single performance measure) จึงได้ค่าที่เหมาะสมโดยลดความผันแปรของ
กระบวนการ ส่ วนข้อเสี ย คือ ไม่สามารถหาค่าของคู่ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกันบางค่า ค่าผลตอบที่
ได้เป็ นค่าที่รวมกันระหว่างค่าเฉลี่ยกับค่าความผันแปรซึ่งไม่สามารถแยกกันได้เหมือนเทคนิคดั้งเดิม
ทําให้ไม่สามารถเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนของปั จจัยที่ศึกษาในการทดลองได้
(Jiju Antony, 2006: 227)
การออกแบบการทดลองที่ดีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการหาเงื่อนไขที่เหมาะสม, การ
ปรับปรุ งคุณภาพตลอดจนหาค่าที่เหมาะสมที่สุดของปัจจัยในกระบวนการต่างๆได้ ในอุตสาหกรรม
ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มีการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง เพื่อศึกษาอิทธิ พลต่อการ
เกิ ด รอยบิ่ นและรอยร้ าวในกระบวนการตัด ขั้นตอนสุ ด ท้ายของการตัดหัว อ่ านเขี ยนข้อมูลของ
ฮาร์ดดิสก์และการหาเงื่อนไข หรื อวิธีการปรับปรุ งที่เหมาะสม จากการวิเคราะห์ทางวิธีทางสถิติโดย
49

ใช้การออกแบบการทดลองแบบแฟรกชัน่ นอลแบบครึ่ งหนึ่ งของวิธีแฟกทอเรี ยลสามารถหาปั จจัยที่


มีอิทธิพลอย่างมีนยั สําคัญต่อการเกิดรอยบิ่นและรอยร้าว คือ ความเร็ วรอบในการตัดและทิศทางใน
การตัด (กฤษดา อัศวรุ่ งแสงกุล, 2542: 34)
2.6.4 งานวิจยั เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคนิคทากูชิในกระบวนการผลิต
อุตสาหกรรมการผลิตในอดีตมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตและ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้มากกว่าการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนของกระบวนการผลิต (W.Y. Fowlkes and
C.M. Creveling, 1995: 75) แต่ปัจจุบนั อุตสาหกรรมผลิตให้ความสําคัญกับการออกแบบและพัฒนา
อุตสาหกรรมการผลิตในอดีตมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ที่
ได้มากกว่าการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนของกระบวนการผลิต (W.Y. Fowlkes and C.M.
Creveling, 1995: 75) แต่ปัจจุบนั อุตสาหกรรมผลิตให้ความสําคัญกับการออกแบบและพัฒนา
กระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าในอนาคต เทคนิ คทากูชิมีประสิ ทธิ ภาพ
สู งในการออกแบบกระบวนการและผลิตภัณฑ์รวมถึงการพัฒนาขั้นตอนของกระบวนการ แต่ตอ้ ง
วางแผนการใช้งานอย่างรอบคอบและต้องมีความรู ้ ในการวิเคราะห์ ผลการทดลอง (Genichi
Taguchi, 1999 : 348) ปั จจุบนั การประยุกต์ใช้เทคนิ คทากูชิในอุตสาหกรรมการผลิตยังมีไม่มากนัก
เนื่ องจากองค์กรนิ ยมให้นกั วิชาการทางสถิติและที่ปรึ กษาภายนอกองค์กรมาแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น
ทําให้กลุ่มวิศวกรขององค์กรไม่มีโอกาสเรี ยนรู ้และออกแบบการทดลองเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจาก
งานหลัก ดังนั้น บุคลากรภายในองค์กรควรเพิ่มการติดต่อสื่ อสารระหว่างกลุ่มวิศวกร ผูบ้ ริ หาร และ
นักสถิติ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้ความเข้าใจในหลักการและประสบการณ์ในการนําเทคนิ คทากูชิไป
ใช้ประยุกต์ใช้ในงานขององค์กรอย่างมีประสิ ทธิภาพ (Jiju Antony, 1999 : 136)
การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ งานหล่ อ นิ ก เกิ ล - อลู มิ เ นี ย ม บรอนซ์ โดยวิ ธี ข องทากู ชิ The
Improvement of Nickel-Aluminum Bronze Casting by Taguchi's Method (กิตติกร ฤทธิ์ สิ งห์และ
คณะ, 2546: 82) พบว่า นิกเกิล - อลูมิเนียม บรอนซ์ เป็ นวัสดุที่ใช้ผลิตอะไหล่ ชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล
มักพบปั ญหาจากผลิตภัณฑ์ มีความแข็ง และเปราะ จึงทําให้ยากต่อการแปรรู ป เช่น การกลึง และ
เกิดข้อบกพร่ องในงานหล่อ เช่น งานหดตัว โพรงอากาศ งานไม่เต็ม เป็ นต้น ทั้งนี้ การพัฒนาและ
ปรับปรุ งคุณภาพของงานหล่อนิ เกิล - อลูมิเนี ยม บรอนซ์ดงั กล่าว โดยการใช้วิธีทากูชิ (Taguchi's
Method) ที่เป็ นแนวคิดที่จะรวมคุณภาพให้อยู่ในผลิตภัณฑ์ และเป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิ ภาพในการ
สร้างคุณภาพให้กบั ผลิตภัณฑ์ วิธีการของทากูชิพยายาม ทําให้กระบวนการทําได้ตามที่ถูกออกแบบ
ไว้และควบคุมตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการให้เกิดความแน่ นอนมากขึ้น และ
ทําให้ทราบถึงตัวแปรที่ตอ้ งมีการควบคุมตามเงื่อนไขและสภาวะต่างๆ วิธีการทดลอง กําหนดปั จจัย
ไว้ 4 ตัว คือ อุณหภูมิเท %นิ เกิล %อลูมิเนี ยม และ %สังกะสี โดยแบ่งปั จจัยเป็ น 3 ระดับ ทําให้ได้
50

แผนการทดลองแบบ L 9 (34) และทําการวิเคราะห์ผลโดยใช้ ค่า S/N-Ratio และการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย


ANOM ผลการศึกษา พบว่า ปั จจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพมากที่สุด คือ ปั จจัยอุณหภูมิเท รองลงมาคือ
ส่ วนผสมอลูมิเนี ยม ปั จจัยและเงื่อนไขที่ดีที่สุด คือ ปั จจัยอุณหภูมิเทที่ 1350 ๐C, นิ เกิล 14% ,
อลูมิเนียม 12 % และสังกะสี 8 % ผลการทดสอบสมบัติของ นิ เกิล-อลูมิเนี ยม บรอนซ์ดีข้ ึนและลด
จํานวนของเสี ยให้นอ้ ยลงได้
การศึ ก ษาปั จ จัยที่ เ หมาะสมในกระบวนการพ่น สี เฟอร์ นิเจอร์ ไม้โดยการออกแบบการ
ทดลองของทากูชิ กรณี ศึกษา : โรงงานผลิตเฟอร์ นิเจอร์ ไม้ (เปมิกา สุ วรรณมณี , 2548: 98) จาก
การศึกษาสภาพปั ญหาในแผนกทําสี ของกระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ พบว่า มีของเสี ย ที่เกิดจาก
การพ่นสี ที่ไม่ได้มาตรฐานเป็ นจํานวนมาก ซึ่ งปั ญหาของเสี ยที่พบมากที่สุด คือ ปั ญหาสี เป็ นผิวส้ม
ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวตั ถุประสงค์ เพื่อหาค่าระดับปั จจัยที่เหมาะสมของการพ่นสี ที่ ทําให้เกิดของ
เสี ยสี เป็ นผิวส้มน้อยที่สุด โดยใช้หลักการออกแบบและวิเคราะห์การทดลอง เมื่อวิเคราะห์สาเหตุ
ของปั ญหา มีปัจจัย 5 ปั จจัย คือ ความสู งของหัวปื นพ่นสี (ระยะห่ างระหว่าง งานกับหัวปื นพ่นสี )
ความเร็ วของหัวปื นพ่นสี ความเร็ วของสายพาน แรงดันลม และความหนื ดสี ที่ ทาํ ให้เกิ ดปั ญหา
ดังกล่าว ดังนั้น จึงนําปั จจัยดังกล่าวมาออกแบบการทดลองโดยใช้เทคนิ คการออกแบบการทดลอง
ของทากูชิ พบว่า ความหนื ดสี และแรงดันลม มีอิทธิ พลต่อปั ญหาสี เป็ นผิวส้มอย่างมีนัยสําคัญที่
ระดับ α = 0.05 ส่ วนความสู งของหัวปื นพ่นสี ความเร็ วของหัวปื นพ่นสี และความเร็ วของสายพาน
ตามมาตรฐานการทํางานปั จจุบนั ไม่มีนยั สําคัญต่อการเกิดปั ญหานี้ และเมื่อนําปั จจัยทั้ง 2 ปั จจัยที่มี
อิทธิ พลต่อการทดลองมาทําการทดลองเชิงแฟคทอเรี ยล 3 ระดับ เพื่อหา ระดับปั จจัยที่เหมาะสม
ด้วยเทคนิคพื้นผิวตอบสนอง พบว่า ระดับปัจจัยที่เหมาะสมของความหนืดสี คือ 10-10.5 วินาที และ
ค่าแรงดันลมที่เหมาะสม คือ 4 บาร์ และจากการนําผลการวิจยั ไปใช้ในการทํางานจริ ง ทําให้จาํ นวน
ของเสี ยสี ที่เป็ นผิวส้มลดลงอย่างมีนยั สําคัญจากเดิมมีงานเสี ยเฉลี่ย 532 ชิ้น/เดือน ลดลงเหลือ 210
ชิ้น/เดือน และสามารถลดค่าใช้จ่ายในการแก้ไขงานจากเดิม 306,432 บาท/ปี เหลือเพียง 120,960
บาท/ปี หรื อคิดเป็ นค่าใช้จ่ายในการแก้ไขงานลดลง 60.53 %
51

บทที่ 3
วิธีดําเนินงานวิจัย

การศึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ใ นครั้ งนี้ มุ่ ง เน้ น ศึ ก ษาที่ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ กระบวนการหล่ อ
เครื่ องประดับทอง เพื่อหาระดับพารามิเตอร์ ที่เหมาะสมที่สุดของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
ทอง ซึ่งในการวิจยั มีลาํ ดับดังต่อไปนี้
1. วิธีการศึกษาที่นาํ มาใช้
2. ขั้นตอนในการศึกษา
3. เครื่ องมือที่นาํ มาใช้ในการเก็บข้อมูล
4. เครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้
5. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
6. สถานที่เก็บข้อมูล
7. ข้อมูลที่ใช้ในการทดลอง
8. วิธีการเก็บข้อมูล
9. การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

3.1 วิธีการศึกษาทีน่ ํามาใช้


วิธีการศึกษาที่นาํ มาใช้ในการศึกษาปั จจัยของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง เป็ นการ
ศึกษาวิจยั เชิงทดลอง โดยเป็ นการวิจยั ที่ใช้ขอ้ มูลจากการทดลอง การวิจยั ประเภทนี้ตอ้ งอาศัยความรู ้
เกี่ยวกับเรื่ อง การออกแบบการทดลอง ซึ่ งเป็ นวิธีต่างๆที่ใช้ในการวางแผนการทดลอง เพื่อให้การ
ทดลองกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ แล้วได้ขอ้ มูลที่ถูกต้องที่
สามารถเชื่อถือได้

3.2 ขั้นตอนในการศึกษา
ทําความเข้าใจถึงปั ญหา ศึกษากระบวนการหล่อเครื่ องประดับจากสื่ อความรู ้, จากสถาน
ประกอบการ และสอบถามผูร้ ู ้/ผูเ้ ชี่ยวชาญ กระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง
1. เลือกปั จจัย ระดับ และขอบเขต เพื่อทําการทดลอง กําหนดขอบเขตที่ปัจจัยเหล่านี้ และ
กําหนดระดับที่จะเกิดขึ้นในการทดลอง
2. เลือกตัวแปรผลตอบ โดยต้องมัน่ ใจว่าตัวแปรนี้ จะให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับกระบวนการที่กาํ ลัง
ศึกษาอยู่ และวิธีวดั ตัวแปรเหล่านี้ ก่อนที่จะเริ่ มทําการทดลองจริ ง
51
52

3. เลื อกการออกแบบการทดลอง โดยจะเกี่ ยวข้องกับการพิจารณาขนาดของตัวอย่าง


การเลื อกลําดับที่ เหมาะสมของการทดลองที่ จะใช้ในการเก็บข้อมูล และตัวสถิ ติที่จะใช้ในการ
ทดลอง
4. ทําการทดลอง เมื่อทําการทดลองจะต้องติดตามกระบวนการทํางานอย่างระมัดระวัง
เพื่อให้แน่ใจว่าการดําเนินการทุกอย่างเป็ นไปตามแผนที่ได้วางไว้
5. วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิ งสถิติ ทําวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิ งสถิติแล้วนํามาผนวกกับความรู ้ทาง
วิศวกรรม ความรู ้เกี่ยวกับกระบวนการ และสามัญสํานึ ก จะทําให้ขอ้ สรุ ปที่ได้มีเหตุผลสนับสนุ น
และมีความน่าเชื่อถือ
6. สรุ ปและข้อเสนอแนะ คือ หาข้อสรุ ปในทางปฏิบตั ิและแนะนําแนวทางของกิจกรรมที่
จะเกิดขึ้น ทําการทดลองเพื่อยืนยันผล เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อสรุ ปที่เกิดขึ้น

ทําความเข้าใจถึงปัญหา

เลือกปัจจัย ระดับ และขอบเขต

เลือกตัวแปรผลตอบ

เลือกการออกแบบการทดลอง

ทําการทดลอง

วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงสถิติ

สรุ ปและข้อเสนอแนะ

ภาพที่ 20 แสดงขั้นตอนในการศึกษา
53

3.2.1 ขั้นทําความเข้าใจถึงปัญหา
3.2.1.1 กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
กระบวนการหล่อเครื่ องประดับ สามารถแสดงได้ดงั นี้

การขึ้นพิมพ์หรื อต้นแบบ

การทําแม่พิมพ์ยาง

การฉี ดเทียน

การติดช่อ

การหล่อเบ้าปูน

การไล่เทียน

การอบเบ้าปูน

การหลอมโลหะและการหล่อ

การแกะปูน

การตกแต่งชิ้นงาน

การฝังอัญมณี

การขัดมัน

ภาพที่ 21 แสดงลําดับขั้นตอนของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ


54

3.2.1.2 ระบุปัญหา
จากข้อมูลปริ มาณการผลิตตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2554 – พฤษภาคม 2555 พบว่า มี
ปริ มาณการผลิต 252,864 ชิ้น โดยในจํานวนชิ้นงานทั้งหมดนี้ จะมีชิ้นงานที่เสี ยและชิ้นงานที่ตอ้ งนํา
กลับไปซ่อม 103,100 ชิ้น ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 40.77 ของปริ มาณการผลิตทั้งหมด พบว่า ส่ วนใหญ่เกิด
จากข้อบกพร่ องจากงานหล่อเครื่ องประดับ คือ ตามด รู พรุ น และผืน่ โดยมีตามดมีสัดส่ วนที่สูงที่สุด
คือ ร้อยละ 27.18 , 21.05 และ 16.79 ของปริ มาณชิ้นงานที่เสี ยและส่ งซ่อมทั้งหมด ตามลําดับ
3.2.2 การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา เพือ่ กําหนดพารามิเตอร์ที่จะนํามาศึกษา
3.2.2.1 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผล
ในการวิเคราะห์หาสาเหตุที่คาดว่ามีผลต่อปั ญหาที่ทาํ ให้เกิดของเสี ยและงานซ่ อม
โดยวิธีการระดมสมองของวิศวกรและหัวหน้าแผนกงานหล่อของโรงงานตัวอย่าง เพื่อช่ วยกัน
วิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ ใ นแต่ ล ะกระบวนการและระบุ ส าเหตุ ที่ ค าดว่ า มี ผ ลต่ อ ปั ญ หาของชิ้ น งาน
ผลิตภัณฑ์เครื่ องประดับทองโดยผ่านแผนผังก้างปลา ตามภาพที่ 22

ของเสี ย
เม็ดทองไม่สะอาด

ภาพที่ 22 แสดงแผนผังก้างปลาแสดงสาเหตุที่คาดว่ามีผลต่อปัญหาของชิ้นงานเครื่ องประดับทอง


55

3.2.2.2 ปั จจัยป้ อนที่นาํ มาทําการวิเคราะห์


จากปั ญหาที่ดงั กล่าวมาแล้วในเบื้องต้นนั้น ผูว้ ิจยั จึงได้ทาํ การศึกษาปั ญหานี้ โดย
การใช้ก ารออกแบบการทดลองของทากูชิ เ พื่ อทํา การปรั บปรุ ง คุ ณ ภาพงานหล่ อเครื่ องประดับ
เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่มีคุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการ โดยกําหนดปั จจัยและการตั้งพารามิเตอร์ ตาม
รายละเอียดดังนี้
3.2.2.2.1 ปั จจัยควบคุม (Control Factors) ปั จจัยควบคุมและระดับที่
กําหนด ได้จากเงื่อนไขการผลิตของโรงงานและจากการประชุมร่ วมกับวิศวกร หลังจากได้ศึกษาผล
ของแต่ละปั จจัยแล้ว เพื่อหาช่วงความเชื่อมัน่ ของปั จจัยตามตารางที่ 7 ซึ่ งแสดงถึงรายละเอียดการ
กําหนดระดับของปั จจัยประกอบด้วย 3 ปั จจัยคือ
1. อุณหภูมิหลอมโลหะ เป็ นอุณหภูมิที่หลอมจนเนื้ อโลหะละลายเป็ น
ของเหลว ซึ่ งส่ งผลต่อการไหลของนํ้าโลหะเข้าสู่ โพรงแบบ และการชดเชยนํ้าโลหะ เมื่อโลหะเกิด
การหดตัวขณะเย็นตัว ทําให้สามารถหล่อชิ้นงานมาได้เต็มตามแบบที่ตอ้ งการ
2. อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ เป็ นอุณหภูมิที่ใช้ในการควบคุมการ
เย็นตัวของนํ้าโลหะในโพรงแบบ ซึ่ งเกิดจากการถ่ายเทความร้อนจากนํ้าโลหะสู่ เบ้าปูน ที่ทาํ ให้น้ าํ
โลหะที่ไหลเข้าสู่โพรงแบบได้เต็มตามแบบที่ตอ้ งการ
3. อุณหภูมิอบเบ้าปูน เป็ นการอบเพื่อให้เกิดการจับตัวกันของปูนยิปซัม
ในโพรงแบบให้มีผิวที่เรี ยบ และแข็งแกร่ งทนทานระหว่างการหล่อ ที่ส่งผลต่อลักษณะผิวชิ้นงาน
ในการหล่อเครื่ องประดับ

ตารางที่ 7 ช่วงการดําเนินงานในปั จจุบนั ของปั จจัยควบคุมสําหรับการหล่อเครื่ องประดับทอง


ปัจจัยควบคุม ช่ วงการดําเนินงานในปัจจุบัน
1. อุณหภูมิหลอมโลหะ 1080– 1160 o C
2. อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ 550 - 650 o C
3. อุณหภูมิอบเบ้าปูน 650 - 750 o C

3.2.2.2.2 ปัจจัยคงที่ (Held-Constant Factors) เป็ นปั จจัยที่ไม่ได้สนใจใน


การทดลองครั้งนี้ แสดงไว้ตามตารางที่ 8
56

ตารางที่ 8 แสดงปั จจัยคงที่


ปัจจัยคงที่ หน่ วยวัด ค่ าควบคุม
ขนาดทางเดินนํ้าโลหะ เซนติเมตร 3
มุมในการติดต้นเทียน องศา 60
ชิ้นงานแหวนเครื่ องประดับต่อช่อ ชิ้น 10
ระยะเวลาในการอบเบ้าปูน ชัว่ โมง 12
ระยะเวลาในการหลอมโลหะ นาที่ 3
ระยะเวลาที่ใช้ในการหล่อ นาที 5

3.2.2.2.3 ปั จจัยควบคุมไม่ได้ (Noise Variable) เป็ นตัวแปรที่โดยทัว่ ไป


เกิดภายนอกกระบวนการและยากที่จะควบคุมในระหว่างกระบวนการผลิต เช่น อัตราการหดตัว
ของปูนหลังการอบเบ้าปูน อัตราการเย็นตัวของกระบอกปูนหลังการหล่อเครื่ องประดับ เป็ นต้น
3.2.3 ขั้นเลือกตัวแปรผลตอบ
หลัง จากที่ ไ ด้ทาํ การคัด เลื อกปั จ จัย ป้ อนเข้าที่ ค าดว่า จะมี ผลต่ อรู ป ทรง ลัก ษณะผิว ของ
ชิ้นงานในการหล่อเครื่ องประดับทองแล้วขั้นตอนในการดําเนิ นงาน คือการเลือกตัวแปรผลตอบ
โดยที่ตวั แปรนี้จะให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับกระบวนการที่กาํ ลังศึกษาอยู่
3.2.3.1 ตัวชี้วดั ของโครงการ (Project Metric)
ตัวชี้ วดั โครงการนี้ คือ การได้ค่าในแต่ละปั จจัยที่เหมาะสมต่อกระบวนการหล่อ
เครื่ องประดับทอง ที่เมื่อหล่อมาแล้วได้ชิ้นงานตามที่ออกแบบไว้
3.2.3.2 ตัวชี้วดั ทางธุรกิจ (Business Metric)
ตัว ชี้ ว ดั ทางธุ รกิ จ ของโครงการในงานวิ จยั นี้ คือการลดเปอร์ เซ็ นต์ของเสี ย และ
ชิ้นงานที่บกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับ
3.2.3.3 บทสรุ ปผลการดําเนินการวิจยั ในการเลือกตัวแปรผลตอบ
จากผลการสํ า รวจงานหล่ อ เครื่ องประดับ ทองในกระบวนการผลิ ต พบว่ า
ข้อบกพร่ องในงานหล่อตัวเรื อนเครื่ องประดับ คือ ตามด รู พรุ น และผืน่ ซึ่ งส่ งผลต่อต้นทุนการผลิต
และความพึงพอใจของลูกค้า ผูว้ ิจยั ได้ใช้แนวทางสถิติมาควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับของ
แผนกผลิตโดยหาค่าในแต่ละปั จจัยที่เหมาะสมต่อรู ปทรงและลักษณะผิวของชิ้ นงานในการหล่อ
เครื่ องประดับ ทอง เพื่ อ ลดเปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องเสี ย และชิ้ น งานที่ บ กพร่ องในงานหล่ อ ตัว เรื อน
เครื่ องประดับ
57

3.2.4 ขั้นเลือกการออกแบบการทดลอง
3.2.4.1 การวิเคราะห์ระบบการวัด
เนื่ อ งจากคุ ณ ลัก ษณะที่ ศึ ก ษางานหล่ อ เครื่ อ งประดับ ทองเป็ นคุ ณ ลัก ษณะเชิ ง
คุณภาพ คือ ความละเอียดของผิวงาน และรู ปทรงและขนาดผลิตภัณฑ์ ซึ่ งในการศึกษาระบบการวัด
จะเป็ นการประเมินโดยการเปรี ยบเทียบชิ้ นงานในการหล่อเครื่ องประดับที่ทาํ การตรวจสอบกับ
มาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพของงานหล่อเครื่ องประดับ ซึ่ งจะทําให้สามารถประเมินผลของ
ข้อมูลออกมาเป็ นที่ยอมรับหรื อปฏิเสธ และผ่านหรื อไม่ผา่ น ซึ่ งเป็ นการประเมินผลและระบบการ
ตรวจสอบเมื่อเป็ นข้อมูลนับ
3.2.4.1.1 การประเมิ นผลระบบการตรวจสอบในระยะสั้น เป็ นการ
ประเมินผลออกมาในรู ปของความมีประสิ ทธิผลของการตรวจสอบ ซึ่ งเป็ นความสามารถของระบบ
การวัด (หรื อ ตรวจสอบ) ในการแยกแยะงานไม่ ดี อ อกจากงานที่ ดี โดยมี ล ํา ดับ ขั้น ตอนการ
ดําเนินงาน ดังนี้
1) ทํา การเลื อ ก “คณะผูช้ ํา นาญการ” ซึ่ งเป็ นบุ ค คลที่ มี
ความสามารถเป็ นพิเศษในการแยกแยะคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ดี/เสี ย และลูกค้าให้การยอมรับใน
การตรวจสอบดังกล่าว
2) ให้กาํ หนด “ลอตมาตรฐาน (Standard lots)” สําหรับใช้ในการ
ตรวจสอบเพื่อประเมินความสามารถของระบบการตรวจสอบ
3) ทําการเลือกพนักงานวัดหรื อพนักงานตรวจสอบงานมา 2- 4
คน โดยพนักงานที่เลือกมาจะต้องเป็ นพนักงานที่มีหน้าที่ประจําในการตรวจสอบคุณภาพ และได้
ผ่านการฝึ กอบรมอย่างดี พร้ อมผ่านการสอบประเมินผลแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจสอบที่
อาศัยความรู ้สึก เช่น ขนาดของจุดบกพร่ อง ความละเอียดผิว ฯลฯ
4) ทําการกําหนดจํานวนชิ้นตัวอย่างงาน และจํานวนครั้งในการ
ทดสอบซํ้า โดยจํานวนดังกล่าวจะขึ้นอยูก่ บั จํานวนของพนักงานทดสอบ
5) ให้สุ่ มพนักงานตรวจสอบขึ้นมาคนหนึ่ ง แล้วให้ตรวจสอบ
ตัวอย่างงานแบบสุ่ ม เพื่อประเมินผลคุณภาพของสิ่ งตัวอย่างว่า “ผ่าน (Good-G)” หรื อ “ไม่ผา่ น (No
Good- NG)” พร้อมการบันทึกผลในตารางการทดสอบ
6) ทําการสุ่ มพนักงานมาอีก แล้วดําเนิ นการเหมือนขั้นตอนที่ 5
ทําเช่นนี้ไปจนครบการประเมินผลจากพนักงานทุกคน
7) ดําเนินการประเมินผล ด้วย % ประสิ ทธิผลด้านรี พีททะบิลิต้ ี
58

ของการตรวจสอบ โดยใช้โปรแกรม MINITAB วิเคราะห์ถึงความสามารถในการตรวจสอบได้ผล


เหมือนกันของพนักงานแต่ละคน
3.2.4.1.2 การวิเคราะห์ผลของระบบการตรวจสอบ จะดําเนิ นการทดสอบ
เช่ นเดี ยวกับการประเมิ นผลระบบการตรวจสอบทุ กประการ เพียงแต่จะทําการพิจารณาถึ งการ
ทดสอบสมมติฐานความมีประสิ ทธิผลของพนักงานทีละคู่ โดยมีข้นั ตอนในการดําเนินงาน ดังนี้
1) ทํา การเลื อ ก “คณะผูช้ ํา นาญการ” ซึ่ งเป็ นบุ ค คลที่ มี
ความสามารถเป็ นพิเศษในการแยกแยะคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ดี/เสี ย และลูกค้าให้การยอมรับใน
การตรวจสอบดังกล่าว
2) ให้กาํ หนด “ลอตมาตรฐาน (Standard lots)” สําหรับใช้ในการ
ตรวจสอบเพื่อประเมินความสามารถของระบบการตรวจสอบ
3) ทําการเลือกพนักงานวัดหรื อพนักงานตรวจสอบงานมา 2- 4
คน โดยพนักงานที่เลือกมาจะต้องเป็ นพนักงานที่มีหน้าที่ประจําในการตรวจสอบคุณภาพ และได้
ผ่านการฝึ กอบรมอย่างดี พร้ อมผ่านการสอบประเมินผลแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจสอบที่
อาศัยความรู ้สึก เช่นกลิ่น รสชาติ สี ฯลฯ
4) ทําการกําหนดจํานวนชิ้นตัวอย่างงาน และจํานวนครั้งในการ
ทดสอบซํ้า โดยจํานวนดังกล่าวจะขึ้นอยูก่ บั จํานวนของพนักงานทดสอบ
5) ให้สุ่มพนักงานตรวจสอบขึ้ นมาคนหนึ่ ง แล้วให้ตรวจสอบ
ตัวอย่างงานแบบสุ่ ม เพื่อประเมินผลคุณภาพของสิ่ งตัวอย่างว่า “ผ่าน (Good-G) หรื อ “ไม่ผา่ น (No
Good- NG)” พร้อมการบันทึกผลในตารางการทดสอบ
6) ทําการสุ่ มพนักงานมาอีก แล้วดําเนินการเหมือนขั้นตอนที่ 5
ทําเช่นนี้ไปจนครบการประเมินผลจากพนักงานทุกคน
7) วิเคราะห์ ระบบการตรวจสอบด้วยสัมประสิ ทธิ์ แคปปา
(Kappa) โดยใช้โปรแกรมนิ แทป วิเคราะห์ถึงความสามารถของแต่ละคน และโอกาสในการตรวจ
พบผลิตภัณฑ์บกพร่ องอย่างถูกต้อง
3.2.4.2 การวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการผลิต
ในการทดลองเพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อกระบวนการหล่อเครื่ องประดับที่กาํ หนด
พารามิเตอร์แบบเชิงคุณภาพ อาทิ ความสวยงาม รู พรุ นในงานหล่อ จึงจําเป็ นต้องแปลงข้อมูลให้อยู่
ในรู ป แบบการนับ ซึ่ ง ในการประเมิ น ความสามารถของกระบวนการของข้อมู ลแบบนับ จะมี
ขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้
59

3.2.4.2.1 ทําการเก็บข้อมูลผลิตภัณฑ์บกพร่ องของเครื่ องประดับที่ผ่าน


กระบวนการหล่อเครื่ องประดับทองจากการสุ่ มเลือกล็อตจากแผนกควบคุมคุณภาพ โดยที่พนักงาน
ควบคุ มคุ ณภาพที่ ปฏิ บตั ิ งานได้ผ่านการอบรมอย่างดี และเป็ นที่ ยอมรั บของกลุ่ มลูกค้า จํานวน
ทั้งหมด 10 ลอต
3.2.4.2.2 ทํา การวิ เ คราะห์ ค วามมี เ สถี ย รภาพของกระบวนการโดยใช้
แผนภูมิควบคุมพีชาร์ท (P-Chart)
3.2.4.2.3 ทําการวิเ คราะห์ ความสามารถของกระบวนการด้ว ยค่า ดัชนี
ความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการ (P p k Bench )
3.2.4.3 การออกแบบแผนการทดลอง (Design of Experiment)
ในการทดลองในแต่ละครั้งมีตน้ ทุนที่ค่อนข้างสู ง การทดลองแบบแฟคทอเรี ยลเต็มรู ป
(Full Factorial Design) จึงไม่เหมาะสมในแง่ของค่าใช้จ่ายในการทดลอง แต่อย่างไรก็ตามยังมีการ
ออกแบบการทดลองโดยใช้ตารางออทอกอนอลอะเรย์ ซึ่ งสามารถลดจํานวนครั้งของการทดลอง
ได้ ผูว้ ิจยั จึงเลือกใช้ตารางออทอกอนอล อะเรย์ ในการออกแบบการทดลอง เพื่อเป็ นการลดจํานวน
การทดลองให้เหลือน้อยลง โดยมีข้นั ตอนดังนี้
3.2.4.3.1 ทําการคํานวณหาค่าขนาดสิ่ งตัวอย่างที่เหมาะสมที่ใช้ในการวิจยั
1) กําหนดความผิดพลาดประเภทที่1 (α) ซึ่ งเป็ นค่าที่
กําหนดการปฏิบตั ิงานฝ่ ายตรวจสอบคุณภาพของโรงงานกรณี ศึกษาที่ควบคุมการปฏิเสธ (Reject)
ชิ้นงานเครื่ องประดับทองที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของลูกค้าไม่ให้เกินค่าที่กาํ หนด โดยใช้
ค่าอ้างอิงที่ 5% หรื อระดับนัยสําคัญ 0.05
2) กําหนดสมมติฐานสัดส่ วนตัวอย่างของข้อมูลสัดส่ วนที่ยอมรับ
ได้ = 0.5 และ สัดส่ วนที่ยอมรับไม่ได้เท่ากับ 0.5 ในกรณี ที่ไม่ทราบสัดส่ วนของชิ้นงาน
เครื่ องประดับทอง แล้วกําหนดค่าสัดส่ วนของชิ้นงานเครื่ องประดับทอง (Alternative Proportion)
เท่ากับ 0.4 จากข้อมูลข้อเสี ยการผลิตตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2554 ถึงพฤษภาคม 2555 เพื่อหาความ
แตกต่างค่าสัดส่ วนเปรี ยบเทียบกับการตั้งสมมติฐาน
3) กําหนดค่ากําลังการทดสอบ (Target Power) เท่ากับ 0.9 ซึ่ง
กําหนดมาจากเกณฑ์การยอมรับของโรงงานกรณี ศึกษา กรณี ที่ส่งชิ้นงานเครื่ องประทับทองคืนกลับ
จากลูกค้าให้นาํ มาแก้ไขที่บริ ษทั ไม่เกิน 10 %
3.2.4.3.2 พิจารณาตัว แปรที ่มีผลต่ องานหล่ �อ โดยพิจ ารณาเลื อกตัว
แปรที่
ต้องการศึกษา เช่น อุณหภูมิอบเบ้าปูน ขนาดทางเดินนํ้าโลหะ เป็ นต้น ส่ วนตัวแปรที่ไม่�ต้องการ
60

ศึกษาจะต้องกําหนดวิธีการควบคุมตัวแปร เพื่อให้ความแปรปรวน เนื่องจากปั จจัยภายนอกเกิดขึ้น


น้อยที่สุด
3.2.4.3.3 กําหนดตัวแปรที่มีผลต่องานหล่�อ ซึ่งได้แก่ อุณหภูมิเบ้าปูน
อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับงานหล่อ จากการประชุมร่ วมกับวิศวกร, หัวหน้า
ช่างหล่อเครื่ องประดับ และข้อจํากัดทางเทคนิ คของโรงงานกรณี ศึกษาในการกําหนดตัวแปรในการ
ทดลอง
3.2.4.3.4 กําหนดระดับของตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง โดยกําหนดให้
ปั จจัยหลักมี 3 ตัว (อุณหภูมิหลอมโลหะ, อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ และอุณหภูมิอบเบ้าปูน)
และระดับแต่ละปัจจัยมี 3 ระดับ ดังแสดงในตารางที่ 9
3.2.4.3.5 ทําการออกแบบแผนการทดลองแบบแฟคทอเรี ยลบางส่ วนโดย
การศึกษาเฉพาะผลกระทบจากปั จจัยหลัก ทั้ง 3 ปั จจัย (อุณหภูมิหลอมโลหะ, อุณหภูมิเบ้าปูน
สําหรับการหล่อ และอุณหภูมิอบเบ้าปูน) จึงทําการทดลองแบบ Orthogonal Array L 9 (33) ดังแสดง
ในตารางที่ 10 และตารางที่ 11
3.2.4.3.6 ทําการกําหนดจํานวนการทดลอง โดยการทดลองที่ได้ออกแบบ
มีท้ งั หมด 9 จุดการทดลอง โดยจะทําทดลองซํ้าแต่ละจุดการทดลองจํานวน 3 ครั้ง ดังนั้น ทําการ
ทดลองทั้งหมด 27 จุดการทดลอง ซึ่ งในแต่ละครั้งการทดลองจะทดลอง 10 ชิ้น จะต้องเตรี ยม
ชิ้นงานเทียนรวมทั้งหมดเท่ากับ 10 × 27 = 270 ชิ้น
3.2.4.3.7 การกําหนดลําดับการทดลอง เพื่อให้การทดลองนี้ ประหยัดและ
ไม่เกิดความสู ญเสี ยมากในการทดลอง จึงจําเป็ นต้องกําหนดลําดับการทดลอง โดยยึดปั จจัย
อุณหภูมิอบเบ้าปูนเป็ นอุณหภูมิหลักในการทดลอง ซึ่งจะควบคุมการทดลองตามตารางที่ 12

ตารางที่ 9 ระดับของตัวแปรที่ใช้�ในการทดลอง
ระดับ ปั จจัย (Factor)
(LEVEL) อุณหภูมิหลอมโลหะ อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับ อุณหภูมิอบเบ้าปูน
(o C) หล่อ (o C) (o C)
1 1,080 550 650
2 1,120 600 700
3 1,160 650 750
61

ตารางที่ 10 แสดงการทดลอง Orthogonal Array L 9 (33) ตามมาตรฐานของ Taguchi Method


ลําดับการ คอลัมน์
ทดลอง A B C
1 -1 -1 -1
2 -1 0 0
3 -1 +1 +1
4 0 -1 0
5 0 0 +1
6 0 +1 -1
7 +1 -1 +1
8 +1 0 -1
9 +1 +1 0

ตารางที่ 11 แสดงแผนการทดลอง Orthogonal Array L 9 (33) ตามมาตรฐานของ Taguchi Method


จุดการ ปั จจัย (Factor) ที่ทาํ การควบคุมในการทดลอง
ทดลอง T หลอมโลหะ T เบ้าปูนสําหรับหล่อ T อบเบ้าปูน
1 1,080 550 650
2 1,080 600 700
3 1,080 650 750
4 1,120 550 700
5 1,120 600 750
6 1,120 650 650
7 1,160 550 750
8 1,160 600 650
9 1,160 650 700
62

ตารางที่ 12 แสดงลําดับการทดลองตามแผน Orthogonal Array L 9 (33)


จุดการทดลองที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ลําดับการทดลอง 7 5 3 4 2 9 1 8 6
ทดลองซํ้า (ครั้ง) 3 3 3 3 3 3 3 3 3

3.2.5 ขั้นทําการทดลอง
เมื่อทําการทดลองจะต้องติดตามกระบวนการทํางานอย่างระมัดระวัง เพื่อให้แน่ ใจว่าการ
ดําเนิ นการทุกอย่างเป็ นไปตามแผนที่ได้วางไว้แผน แล้วเก็บผลในการทดลองจะแบ่งออกเป็ น 2
กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 คือ ชิ้นงานที่ดี ผิวของชิ้นงานหลังขัดไม่มี ตามด ผืน่ หรื อปั ญหาจากงานหล่อ และ
กลุ่มที่ 2 คือ ชิ้นงานที่มีตามด ผืน่ หรื อปั ญหาจากงานหล่อที่ผวิ หลังขัด โดยผูท้ ี่ทาํ การตรวจสอบคือ
พนักงานฝ่ ายควบคุมคุณภาพของโรงงาน
3.2.6 ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงสถิติ
หลังจากนําค่าจํานวนงานดีและเสี ยที่เกิดจากงานหล่อเครื่ องประดับของชิ้นงานที่ได้ตาม
ข้อกําหนด ที่ได้ในแต่ละการทดลอง ป้ อนลงในโปรแกรม จะมีวิธีข้ นั ตอนในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ดังนี้
3.2.6.1 ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจําลอง จากการวิเคราะห์ โดยใช้กราฟของ
ค่าผิดพลาด (Residual Plot) เพื่อตรวจสอบการกระจายของค่าผิดพลาด (Residual ) เป็ นแบบแจก
แจงปกติ (Normal Distribution)
3.2.6.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการทดลองเบื้องต้น ด้วยการวิเคราะห์ความ
แปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA) เพื่อพิจารณาว่าระดับที่แตกต่างของปั จจัยแต่ละตัว
แปร และปฏิสมั พันธ์ระหว่างปั จจัย ที่มีผลกระทบต่อตัวแปรตอบสนองหรื อค่าผลผลิต (Yield) ของ
เครื่ องประดับทอง
3.2.6.3 การสร้างสมการทํานายหลังจากตรวจสอบความพอเพียงของแบบจําลอง
แล้ว นําค่าของปั จจัยที่ได้จากการวิเคราะห์ ไปเขียนสมการสําหรับทํานายค่าของดีที่ได้จากการหล่อ
เครื่ องประดับทอง
3.2.6.4 หาค่าผลอิทธิ พลหลัก (main Effects Plots) โดยแสดงเป็ นแผนภูมิค่าเฉลี่ย
ผลผลิต (Yield) ของแต่ละระดับปั จจัย
63

3.2.6.5 หาค่าปั จจัยที่เหมาะสมในโปรแกรม Minitab มีฟังก์ชนั พื้นผิวผลตอบ


(Response Optimization) เพื่อใช้สาํ หรับหาจุดที่เหมาะสมของปั จจัย ที่เป็ นจุดที่ดีที่สุดของชุดการ
ทดลองที่ศึกษานี้
3.2.7 ขั้นสรุ ปและข้อเสนอแนะ
เมื่อเราได้วเิ คราะห์ขอ้ มูลเรี ยบร้อยแล้วผูท้ ดลองจะต้องหาข้อสรุ ปในทางปฏิบตั ิและแนะนํา
แนวทางของกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนนี้เราจะนําเอาวิธีการทางกราฟเข้ามาช่วยนอกจากนี้แล้ว
การทําการทดลองเพื่อยืนยันผล (Confirmation Testing) จะทําเพื่อที่จะตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อสรุ ปที่เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งโดยมีข้ นั ตอนการดําเนินงานดังนี้
3.2.7.1 ทํา การหล่ อ เครื่ อ งประดับ ภายใต้ร ะดับ ของปั จ จัย ตามข้อ สรุ ป ที่ ท าํ ให้
ชิ้นงานที่หล่อออกมาสามารถยอมรับได้ จํานวน 4 เบ้า เบ้าละ 10 ชิ้น แล้วทําการเก็บข้อมูล
3.2.7.2 ทําการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของกระบวนการโดยใช้แผนภูมิควบคุม
พีชาร์ท (P-Chart)
3.2.7.3 ทําการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการด้วยค่าดัชนี ความสามารถ
ด้านสมรรถนะของกระบวนการ (P p k Bench )
3.3 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บข้ อมูล
3.3.1 กล้องถ่ายรู ปดิจิตอล ใช้ในการบันทึกรู ปภาพชิ้นงานเครื่ องประดับและกระบวนการ
ผลิตเครื่ องประดับ
3.3.2 แบบฟอร์ มการบันทึกข้อมูล ใช้ในการเก็บผลของข้อมูลจากที่ได้ออกแบบไว้ใน
แบบฟอร์มบันทึกข้อมูลอย่างเป็ นระบบ
3.3.3 สมุดบันทึก ใช้ในการจดบันทึกการสอบถามหรื อสัมภาษณ์ผปู ้ ฏิบตั ิการ, เจ้าหน้าที่
และผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการผลิตเครื่ องประดับ
3.4 เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใี่ ช้
3.4.1 การทําต้นแบบ
3.4.1.1 หัว เจาะอุ ปกรณ์ ที่ใ ช้ใ นการทําพิมพ์ ประกอบด้ว ยหัว สว่า น เม็ด มะยม
(Round Bur) ดอกสว่านจานบิน (Hart Bur) ดอกสว่านกรอที่นงั่ พลอย (Stone Setting Bur) และ
เหล็กครอบ (Cup bur)
64

ภาพที่ 23 แสดงหัวเจาะอุปกรณ์ที่ใช้ในการทําพิมพ์ ก) หัวสว่าน ข) เม็ดมะยม ค) ดอกสว่านจานบิน


ง) ดอกสว่านกรอที่นงั่ พลอย จ) เหล็กครอบ

3.4.1.2 เหล็กฝังพลอยประเภทต่างๆ ประกอบด้วยเหล็กคมมีด (Knife Graver)


เหล็กรู ปตัววี (V-shape Graver) เหล็กรู ปตัวยู (U-shape Graver) และเหล็กตัด (Flat Graver)
(เนื่ องจากเหล็กที่ใช้ในการฝังเครื่ องประดับด้วยมือ มีชื่อเรี ยก และรู ปทรงที่แตกต่างจากเหล็กที่ใช้
สําหรับการทําต้นแบบงานฝังพร้อมหล่อ ดังนั้น ในหนังสื อเล่มนี้ จึงขอใช้ชื่อเรี ยกตามการถ่ายทอด
จากวิทยากรผูส้ อนหลัก

ภาพที่ 24 แสดงเหล็กฝังพลอยประเภทต่างๆใช้สาํ หรับการทําพิมพ์ ก) เหล็กคมมีด ข) เหล็กรู ปตัววี


ค) เหล็กรู ปตัวยู ง) เหล็กตัด

3.4.2 การทําแม่พิมพ์ยาง
3.4.2.1 แม่พิมพ์ยาง อาจเป็ นยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์หรื อยางซิลิโคน
65

ภาพที่ 25 แสดงแม่พิมพ์ยาง

3.4.2.2 เครื่ องอัดแม่พิมพ์ยางและกรอบ (บล็อก) อะลูมิเนียมแผ่นประกบ

ภาพที่ 26 แสดง ก) เครื่ องอัดแม่พิมพ์ยาง ข) แผ่นประกบกรอบ ค) กรอบ (บล็อก) อะลูมิเนียม

3.4.3 การทําชิ้นงานเทียน
3.4.3.1 เทียนควรมีคุณสมบัติต่างๆ เช่น มีจุดหลอมเหลวตํ่าเมื่อหลอมเหลวแล้วมี
อัตราการไหลดี เมื่อแข็งตัวควรรวมตัวเป็ นเนื้ อเดียวกัน มีผิวเรี ยบ เพื่อให้ฉีดเข้าไปในแม่พิมพ์ยาง
แล้วแบบเทียนจะเหมือนต้นแบบทุกประการ มีความเหนี ยว ไม่แตกง่าย ไม่กรอบ มีอตั ราการหดตัว
ตํ่า มีการจํารู ปที่ดีเพื่อรักษารู ปร่ างเดิมไว้ได้เมื่อแกะออกจากแม่พิมพ์ยาง เทียนที่ดีควรมีอายุการใช้
งานยาวนาน และมีความยืดหยุน่ สู ง สามารถถอด/แกะออกจากแม่พิมพ์ยางได้ง่าย ตัวอย่างชนิดเทียน
ที่มีความยืดหยุน่ สู งเหมาะกับการฝังพลอยบนชิ้นงานเทียน ได้แก่ Plast-O-Wax, Flexiplast, Magna
66

Ject หรื อยีห่ อ้ อื่นๆที่มีคุณสมบัติใกล้เคียง สําหรับการเลือกใช้เทียนในชิ้นงานที่มีความหนามาก ควร


เลือกใช้เทียนที่มีความโปร่ งแสงสู ง หากส่ องชิ้นงานเทียนภายใต้แสงไฟ

ภาพที่ 27 แสดงเทียนสําหรับฉี ดเทียนในงานหล่อเครื่ องประดับ

3.4.3.2 เครื่ องฉี ดเทียน ต้องมี 2 ระบบ คือระบบความร้อนและความดันอยูภ่ ายใน


เครื่ อง นอกจากนี้ อาจมีระบบอื่นเพิ่มเติมเข้ามาในเครื่ องฉี ดเทียนบางแบบ เช่ นระบบสุ ญญากาศ
ระบบความดันนิวเมติก เป็ นต้น

ภาพที่ 28 แสดงเครื่ องฉี ดเทียนระบบสุ ญญากาศ (Wax Injector with Vacuum)

3.4.3.3 เครื่ องมือพื้นฐานสําหรับการแกะเทียนขี้ผ้ งึ เช่น เลื่อย เครื่ องคว้านขนาด


แหวน ชุดแกะสลักเทียน วงเวียน ตะไบที่ใช้ในงานเทียน และอื่นๆ
67

ภาพที่ 29 แสดงเครื่ องคว้านขนาดแหวน ตะไบเทียน และวงเวียน

3.4.4 การฝังพลอยในชิ้นงานเครื่ องประดับ


3.4.4.1 ขี้ผ้ ึงดูดจับพลอย ใช้สาํ หรับจับหัวพลอยระหว่างการวางพลอยในชิ้นงาน
เทียน

ภาพที่ 30 แสดงขี้ผ้ งึ ดูดจับพลอย

3.4.4.2 อุปกรณ์วดั ขนาดพลอย ใช้ระหว่างการฝังพลอย และแผนกควบคุมคุณภาพ


พลอย

ภาพที่ 31 แสดงอุปกรณ์วดั ขนาดพลอย

3.4.5 การติดต้นเทียน
3.4.5.1 หัวแร้ง หรื อปากกาเชื่อมเทียน ใช้สาํ หรับซ่ อมแซมเม็ดไข่ปลา หนามเตย
หรื อเพื่อส่ งผ่านความร้อนในการฝังพลอย
68

ภาพที่ 32 แสดงหัวแร้งหรื อปากกาเชื่อมเทียน

3.4.5.2 ฐานยาง เป็ นฐานที่ใช้ในการติดต้นเทียน

ภาพที่ 33 แสดงฐานยาง

3.4.5.3 เครื่ องชัง่ นํ้าหนักละเอียดแม่นยําสูง ใช้ชงั่ นํ้าหนักเพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้องและ


แม่นยํา เช่น ชัง่ นํ้าหนักเนื้อโลหะเงิน พรี อลั ลอยด์สาํ หรับผสมโลหะเงิน นํ้าหนักของต้นเทียนพร้อม
ฐานยาง เป็ นต้น
69

ภาพที่ 34 แสดงเครื่ องชัง่ นํ้าหนักละเอียดแม่นยําสูง

3.4.6 การทําปูนหล่อแบบ
3.4.6.1 กระบอกปูนแบบเจาะรู ที่ไม่มีปีก เป็ นกระบอกปูนที่เหมาะสําหรับการ
หล่อดูดสุ ญญากาศที่อุปกรณ์ยกกระบอกปูนจากด้านล่าง ปั จจุบนั เครื่ องหล่อสุ ญญากาศส่ วนใหญ่
จะใช้กระบอกปูนชนิดนี้

ภาพที่ 35 แสดงกระบอกปูน

3.4.6.2 เครื่ องผสมปูนและเครื่ องดูดสุ ญญากาศ เป็ นการตีปูนเพื่อให้ส่วนผสมของ


ปูนเป็ นเนื้อเดียวกัน
70

ภาพที่ 36 แสดงเครื่ องผสมปูน

3.4.6.3 เครื่ องดูดสุ ญญากาศ เป็ นการดูดอากาศออกจากปูน จนปูนมีลกั ษณะคล้าย


นํ้าเดือด

ภาพที่ 37 แสดงเครื่ องดูดสุ ญญากาศ


3.4.7 การไล่เทียนและการอบปูน
3.4.7.1 เตาอบปูนที่มีระบบการไล่เทียนและอบเป้ าปูนไปด้วยในเครื่ องเดียวกัน
โดยเจาะรู ที่พ้นื เตาเพื่อให้เทียนออกและสามารถอบปูนต่อไปได้
71

ภาพที่ 38 แสดงเตาอบปูน

3.4.8 การหล่อเครื่ องประดับ


3.4.8.1 เครื่ องหล่อสุ ญญากาศ เป็ นเครื่ องที่ทาํ ให้โลหะเกิดการหลอมเหลวแล้วทํา
การหล่อลงในกระบอกปูนโดยมีระบบสุ ญญากาศช่วยดูดนํ้าโลหะเข้าสู่ กระบอกปูน

ภาพที่ 39 แสดงเครื่ องหล่อสุ ญญากาศ


3.5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
จากการศึกษาการทดลองได้กาํ หนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือ เครื่ องประดับจากกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง
กลุ่มตัวอย่าง คือ ชิ้ นงานแหวนรหัส R-10021 ตัวเรื อนทํามาจากทองสี ขาว 18
กะรัตผสมแพลเลเดียม ( 18 K Palladium White Gold)
72

3.6 สถานทีเ่ ก็บข้ อมูล


สถานที่เก็บข้อมูลในการศึกษา คือ โรงงานเครื่ องประดับ
สถานที่ทดลอง คือ โรงงานเครื่ องประดับ

3.7 ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการทดลอง


แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ
3.7.1 ข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลจากการหล่อชิ้นงานด้วยกระบวนการหล่อเครื่ องประดับที่
โรงงานตัวอย่างและข้อมูลจากการทดลองการหล่อเครื่ องประดับทอง
3.7.2 ข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ ข้อมูลจากทฤษฎี และข้อมูลที่มีการบันทึกหรื อเก็บรวบรวมไว้
แล้ว จากหนังสื อ และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

3.8 วิธีการเก็บข้ อมูล


3.8.1 เก็บข้อมูลของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ ว่ามีลาํ ดับขั้นตอนของกระบวนการใน
แต่ละขั้นตอน จากโรงงานตัวอย่างแล้วบันทึกการเก็บข้อมูลการหล่อเครื่ องประดับ
3.8.2 เก็บข้อมูลปั ญหาของชิ้นงานหลังจากผ่านกระบวนการหล่อเครื่ องประดับจากการ
สอบถามผูเ้ กี่ยวข้อง และบันทึกประวัติงานเสี ยและงานที่นาํ กลับมาทําใหม่แล้วบันทึกข้อมูลปั ญหา
ของงานหล่อเครื่ องประดับ
3.8.3 เก็บข้อมูลวิธีการตรวจสอบชิ้ นงานจากแบบฟอร์ มรายการตรวจสอบชิ้ นงาน
เครื่ องประดับ (QC Sheet) ที่โรงงานตัวอย่าง
3.8.4 เก็บข้อมูลจากการทดลองตามการออกแบบการทดลอง (โดยใช้ตารางออทอกอนอล
อะเรย์) ด้วยแบบฟอร์มบันทึกผลการทดลอง
72

บทที่ 4
ผลการศึกษา

จากการศึกษาเรื่ องการควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการ


ทดลอง ผูท้ าํ การวิจยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนํามาวิเคราะห์โดยนําหลักโดยใช้การออกแบบการ
ทดลองทางวิศวกรรมให้เหมาะสมกับปัญหาในด้านต่าง ๆ ของกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง
โดยข้อมูลดังกล่าวที่นาํ มาวิเคราะห์ได้ผลการทดลองดังต่อไปนี้ตามลําดับ
1. ผลการวิเคราะห์ระบบการวัด
2. ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการผลิต
3. ผลการดําเนินการทดลองตามการออกแบบการทดลอง
4. ผลการทําการทดลองเพื่อยืนยันผล

4.1 ผลการวิเคราะห์ ระบบการวัด


ในการศึกษาความสามารถของกระบวนการวัดแบบอาศัยข้อมูลนับนี้ จะเป็ นการประเมิน
โดยการเปรี ยบเทียบชิ้ นงานเครื่ องประดับที่ทาํ การตรวจสอบกับพิกดั ข้อกําหนดเฉพาะของลูกค้า
ซึ่งจะทําให้สามารถประเมินผลของข้อมูลออกมาเป็ นยอมรับและปฏิเสธ หรื อผ่านและไม่ผา่ น ซึ่ ง
สามารถทําการวิเคราะห์ระบบการวัดแบบข้อมูลนับของชิ้นงานเครื่ องประดับได้ดงั นี้
4.1.1 การประเมินผลกระบวนการวัดในระยะสั้น
ผลจากการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับประเภทแหวนจากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
และควบคุ ม คุ ณ ภาพ โดยการตรวจสอบชิ้ น งานว่ า ผ่ า นหรื อไม่ ผ่ า น จากคุ ณ ภาพงานหล่ อ
เครื่ องประดับ ซึ่งสามารถดูรายละเอียดการตรวจสอบผลได้จากภาคผนวก ก ซึ่งจากการประมวลผล
ด้วยโปรแกรม MINITAB ได้ผลดังนี้

72
73

Attribute Agreement Analysis for C2, C3, C4, C5

Date of study:
Reported by:
Name of product:
Misc: -

Within Appraisers

Assessment Agreement
Appraiser # Inspected # Matched Percent 95 % CI
1 100 100 100.00 (97.05, 100.00)
2 100 99 99.00 (94.55, 99.97)

# Matched: Appraiser agrees with him/herself across trials.

Each Appraiser vs Standard

Assessment Agreement
Appraiser # Inspected # Matched Percent 95 % CI
1 100 98 98.00 (92.96, 99.76)
2 100 95 95.00 (88.72, 98.36)

# Matched: Appraiser's assessment across trials agrees with the known standard.

Between Appraisers

Assessment Agreement
# Inspected # Matched Percent 95 % CI
100 97 97.00 (91.48, 99.38)

# Matched: All appraisers' assessments agree with each other.

All Appraisers vs Standard

Assessment Agreement
# Inspected # Matched Percent 95 % CI
100 95 95.00 (88.72, 98.36)

# Matched: All appraisers' assessments agree with the known standard.

ภาพที่ 41 แสดงผลการประมวลผลการตรวจสอบคุณภาพงานในระยะสั้น
74

Date of study :
Assessment Agreement
Reported by :
Name of product:
Misc:

Within Appraisers Appraiser vs Standard


100 95.0% C I 100 95.0% C I
P ercent P ercent

98 98

96 96
Percent

Percent
94 94

92 92

90 90

1 2 1 2
Appraiser Appraiser

ภาพที่ 42 แสดงการประมาณค่าแบบช่วงของเปอร์เซ็นต์ค่าการตรวจซํ้า

จากภาพที่ 42 พบว่า ค่าการตรวจสอบซํ้า (repleatability) ของพนักงานที่ทาํ การ


ตรวจสอบ ตลอดจนประสิ ทธิ ผลด้านการตรวจสอบของกระบวนการตรวจสอบ โดยที่ โปรแกรม
MINITAB จะมิได้แสดงถึงประสิ ทธิผลด้านความโอนเอียงของการตรวจสอบ (Bias) ของระบบการ
ตรวจสอบ ซึ่งจากภาพที่ 42 จะแปลผลได้วา่
1. เปอร์เซ็นต์การตรวจสอบซํ้า ของพนักงานตรวจสอบคนที่1 และ 2 มีค่า
เท่ากับ 100 เปอร์ เซ็นต์, 99 เปอร์ เซ็นต์ ตามลําดับ ซึ่ งแสดงว่าพนักงานตรวจสอบคนที่ 1 มีการ
ตรวจสอบแต่ละครั้ งจะให้ผลการตรวจสอบเหมื อนกันทุกครั้ งในแต่ละชิ้ นงานที่ ตรวจสอบ แต่
พนักงานตรวจสอบคนที่ 2 ให้ผลการตรวจสอบชิ้นงานเดียวกันไม่ตรงกัน 1 ครั้ง
2. ประมาณค่าแบบช่วงความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์ สําหรับค่าการ
ตรวจสอบซํ้าของพนักงานแต่ละคนได้คือ
- ค่าการตรวจสอบซํ้าของพนักงานตรวจสอบคนที่ 1 จะอยูใ่ นช่วง 97.05
เปอร์เซ็นต์ ถึง 100 เปอร์เซ็นต์
- ค่าการตรวจสอบซํ้าของพนักงานตรวจสอบคนที่ 1 จะอยูใ่ นช่วง 94.55
เปอร์เซ็นต์ ถึง 99.97 เปอร์เซ็นต์
75

3. เมื่อนําผลการตรวจสอบของพนักงานแต่ละคนมาเปรี ยบเทียบกับ
มาตรฐานจะได้ว่า % ผลการตรวจสอบของพนักงานคนที่ 1 และคนที่ 2 เมื่อเปรี ยบเทียบกับ
มาตรฐาน คือ 98 เปอร์ เซ็ นต์และ 95 เปอร์ เซ็นต์ ตามลําดับ และเมื่อประมาณค่าแบบช่ วงความ
เชื่อมัน่ 95 เปอร์เซ็นต์สาํ หรับผลการตรวจสอบของพนักงานคนที่ 1 มาเปรี ยบเทียบกับค่ามาตรฐาน
จะอยู่ ใ นช่ ว ง 92.76 ถึ ง 99.76 เปอร์ เ ซ็ น ต์ แ ละพนั ก งานคนที่ 2 อยู่ ใ นช่ ว ง 88.72 ถึ ง 98.36
เปอร์เซ็นต์
4. ประสิ ทธิ ผลด้านการตรวจสอบซํ้า (% Screen Effect Score) เท่ากับ 97
เปอร์เซ็นต์ แสดงว่าในการใช้พนักงานตรวจสอบ 2 คนตรวจสอบงาน 100 ชิ้น งานที่ตรวจสอบได้มี
ผลลัพธ์เหมือนกันทั้งหมดทั้ง 98 ชิ้น
5. ประมาณค่าแบบช่วงความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์ สําหรับประสิ ทธิ ผล
ด้านการตรวจสอบซํ้า จะอยูใ่ นช่วง 91.48 เปอร์เซ็นต์ ถึง 99.76 เปอร์เซ็นต์
6. % คะแนนของค่าแอตทริ บิวต์ (% attribute screen effective score) ที่
แสดงถึ ง ประสิ ท ธิ ผ ลด้า นความพ้อ งกัน ระหว่ า งพนัก งานแต่ ล ะคนกับ มาตรฐาน เท่ า กับ 95
เปอร์ เซ็นต์ และเมื่อประมาณค่าแบบช่วงความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์ สําหรับ % คะแนนของค่า
แอตทริ บิวต์ จะอยูใ่ นช่วง 88.72 ถึง 98.36 เปอร์เซ็นต์
ดังนั้น พบว่า พนักงานตรวจสอบทั้ง 2 คนมีความสามารถของการตรวจสอบ
(ระบบการวัด) ในการแยกแยะชิ้นงานไม่ดีออกจากงานที่ดีได้
4.1.2 การวิเคราะห์ผลของระบบการตรวจสอบ
ในการวิเคราะห์ผลของระบบการตรวจสอบ จะใช้ผลการตรวจสอบคุณภาพงานในระยะ
สั้น มาประมวลผลด้วยโปรแกรม MINITAB ได้ผลดังนี้
76

Attribute Agreement Analysis for C2, C3, C4, C5

Within Appraisers
Fleiss' Kappa Statistics
Appraiser Response Kappa SE Kappa Z P(vs > 0)
1 G 1.00000 0.1 10.0000 0.0000
NG 1.00000 0.1 10.0000 0.0000
2 G 0.95429 0.1 9.5429 0.0000
NG 0.95429 0.1 9.5429 0.0000

Each Appraiser vs Standard


Assessment Agreement
Appraiser # NG / G Percent # G / NG Percent # Mixed Percent
1 1 1.16 1 7.14 0 0.00
2 1 1.16 3 21.43 1 1.00

# NG / G: Assessments across trials = NG / standard = G.


# G / NG: Assessments across trials = G / standard = NG.
# Mixed: Assessments across trials are not identical.

Fleiss' Kappa Statistics


Appraiser Response Kappa SE Kappa Z P(vs > 0)
1 G 0.916944 0.0707107 12.9675 0.0000
NG 0.916944 0.0707107 12.9675 0.0000
2 G 0.804539 0.0707107 11.3779 0.0000
NG 0.804539 0.0707107 11.3779 0.0000

Between Appraisers
Fleiss' Kappa Statistics
Response Kappa SE Kappa Z P(vs > 0)
G 0.920251 0.0408248 22.5415 0.0000
NG 0.920251 0.0408248 22.5415 0.0000

All Appraisers vs Standard


Fleiss' Kappa Statistics
Response Kappa SE Kappa Z P(vs > 0)
G 0.860741 0.05 17.2148 0.0000
NG 0.860741 0.05 17.2148 0.0000

ภาพที่ 43 แสดงผลการประมวลผลของระบบการตรวจสอบ

จากภาพที่ 43 พบว่า ค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปา (Kappa) ของพนักงานตรวจสอบทั้ง


สองคน ซึ่งสามารถแปลผลได้ดงั ต่อไปนี้
1. ผลการตรวจสอบชิ้ นงานชิ้นเดี ยวกันได้ผลเหมือนกันของพนักงาน
ตรวจสอบคนที่ 1 และพนักงานตรวจสอบคนที่ 2 คือ
77

1.1 พนักงานตรวจสอบคนที่ 1 ตรวจสอบชิ้นงาน พบว่า ผ่าน


เหมือนกันในชิ้นงานเดียวกันมีค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปา เท่ากับ 1.00 และค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.1 และพนักงานตรวจสอบคนที่ 2 มีค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปาเท่ากับ 0.95429 และค่า
คลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.1
1.2 พนักงานตรวจสอบคนที่ 1 ตรวจสอบชิ้นงาน พบว่า ไม่ผา่ น
เหมือนกันในชิ้นงานเดียวกันมีค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปา เท่ากับ 1.00 และค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.1 และพนักงานตรวจสอบคนที่ 2 มีค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปาเท่ากับ 0.95429 และค่า
คลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.1
2. ผลการตรวจสอบของพนักงานแต่ละคนเมื่อเปรี ยบเทียบกับผลการ
ตรวจที่เป็ นมาตรฐานให้ผลดังนี้
2.1 พนักงานตรวจสอบคนที่ 1
ให้ผลการตรวจสอบว่าไม่ผา่ น แต่ผลการตรวจสอบมาตรฐานคือ
ผ่านเท่ากับ 1.16 เปอร์เซ็นต์
ให้ผลการตรวจสอบว่าผ่าน แต่ผลการตรวจสอบมาตรฐานคือไม่
ผ่านเท่ากับ 7.14 เปอร์เซ็นต์
ให้ผลการตรวจสอบที่ไม่แน่ชดั ว่าชิ้นงานผ่านหรื อไม่ผา่ นเท่ากับ
0 เปอร์เซ็นต์
2.2 พนักงานตรวจสอบคนที่ 2
ให้ผลการตรวจสอบว่าไม่ผา่ น แต่ผลการตรวจสอบมาตรฐานคือ
ผ่านเท่ากับ 1.16 เปอร์เซ็นต์
ให้ผลการตรวจสอบว่าผ่าน แต่ผลการตรวจสอบมาตรฐานคือไม่
ผ่านเท่ากับ 21.43 เปอร์เซ็นต์
ให้ผลการตรวจสอบที่ไม่แน่ชดั ว่าชิ้นงานผ่านหรื อไม่ผา่ นเท่ากับ
1 เปอร์เซ็นต์
ดังนั้น สัมประสิ ทธิ์แคปปาแต่ละคนเมื่อเปรี ยบเทียบกับผลมาตรฐานจะได้ผลดังนี้
พนักงานตรวจสอบคนที่ 1 ตรวจสอบชิ้ นงานว่าผ่านสอดคล้องกับผล
มาตรฐาน พบว่า ผ่านมีค่าสัมประสิ ทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.916944 และค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ
0.0707107 และพนักงานตรวจสอบคนที่ 2 มีค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปาเท่ากับ 0.804539 และค่า
คลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.0707107
78

พนักงานตรวจสอบคนที่ 1 ตรวจสอบชิ้นงาน พบว่า ไม่ผา่ นสอดคล้องกับ


ผลมาตรฐานที่ชิ้นงานไม่ผ่าน มี ค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปาเท่ากับ 0.916944 และค่าคลาดเคลื่อน
มาตรฐาน เท่ากับ 0.0707107 และพนักงานตรวจสอบคนที่ 2 มีค่าสัมประสิ ทธิ์ แคปปาเท่ากับ
0.804539 และค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.0707107
3. ผลการตรวจสอบชิ้นงานระหว่างพนักงานทั้งสองคนที่ตรวจสอบได้ผล
เหมือนกัน ได้ผลดังนี้
3.1 ตรวจสอบได้ผลว่าผ่านเหมื อนกันทั้งสองคนในชิ้ นงาน
เดียวกัน มีค่าสัมประสิ ทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.920251 ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.0408248
3.2 ตรวจสอบได้ผลว่าไม่ผ่านเหมือนกันทั้งสองคนในชิ้นงาน
เดียวกัน มีค่าสัมประสิ ทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.920251 ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.0408248
4. ผลการตรวจสอบชิ้นงานของพนักงานทั้งหมด เมื่อเปรี ยบเทียบกับผล
การตรวจสอบมาตรฐาน ได้ดงั นี้
4.1 ตรวจสอบได้ผลว่าผ่านเหมือนกับผลการตรวจสอบมาตรฐาน
ได้ค่าสัมประสิ ทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.860741 ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.05
4.2 ตรวจสอบได้ผลว่าไม่ผ่านเหมือนกับผลการตรวจสอบ
มาตรฐาน ได้ค่าสัมประสิ ทธิ์แคปปาเท่ากับ 0.860741 ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.05
ดังนั้น พบว่า พนักงานตรวจสอบทั้ง 2 คนสามารถตรวจสอบชิ้นงาน โดยให้ผล
การตรวจสอบของทั้งคู่เห็ นพ้องกันดี มาก และยังให้ผลการตรวจสอบเห็ นพ้องกับผลการตรวจ
มาตรฐานดี
4.2 ผลการวิเคราะห์ ความสามารถของกระบวนการผลิต
ในการทดลองเพื่อควบคุ มคุ ณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการ
ทดลองจะทําการพิจารณาความผันแปรในช่วงระยะเวลาสั้นๆ และความผันแปรตลอดช่วงเวลา
4.2.1 ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่บกพร่ อง
ผลการตรวจสอบชิ้ นงานเครื่ องประดับที่บกพร่ องจากกระบวนการหล่อเครื่ องประดับที่
แผนกควบคุมคุณภาพ ซึ่งสามารถดูรายละเอียดการตรวจสอบชิ้นงานที่บกพร่ องได้จากภาคผนวก ข
จากนั้นนําไปพล๊อตแผนภูมิควบคุมเพื่อวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของกระบวนการ ซึ่ งสามารถ
แสดงได้ดงั ภาพที่ 44
79

ผลการตรวจชิ
ผลการตรวจสอบช◌ิ ้นงานเครื◌่องประด◌ั
นงานเคร◌ื
◌้ ่ องประดับบท◌ี
ที่บกพร่ องจากแผนกควบคุ
บกพร◌่
◌่ มคุณภาพมค◌ุณภาพ
องจากแผนกควบค◌ุ
P C har t Rate of Defectives
U C L=0.3476
0.3 30

% Defective
P r opor tion

0.2 _ 20
P =0.1469
0.1 10

0.0 LC L=0 0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 40 60 80
Sample Sample Size
Tests performed w ith unequal sample sizes

C umulative % Defective H istogr am

S ummary S tats Tar


18 4
(95.0% confidence)
% Defectiv e: 14.69
16 3
% Defective

Low er C I: 11.59

Fr equency
U pper C I: 18.24
14
Target: 0.00 2

12 P P M Def: 146868
Low er C I: 115888 1
10 U pper C I: 182441
P rocess Z: 1.0500 0
2 4 6 8 10 Low er C I: 0.9061 0 4 8 12 16 20
Sample U pper C I: 1.1958 % Defective

ภาพที่ 44 แสดงแผนภูมิควบคุมของข้อมูลที่เก็บเพื่อวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ

ซึ่ งจากภาพที่ 44 พบว่า แผนภูมิควบคุมพีชาร์ ท (P-Chart) ไม่มีจุดที่ออกนอกช่วงการ


ควบคุมแสดงว่ากระบวนการผลิตมีเสถียรภาพและความผันแปรของข้อมูลที่เก็บก็เป็ นความผันแปร
จากสาเหตุธรรมชาติ ดังนั้นข้อมูลจึงมีคุณภาพเพียงพอที่จะดําเนิ นการวิเคราะห์ความสามารถของ
กระบวนการต่อไป
4.2.2 ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ
จากการวิ เ คราะห์ ค วามมี เ สถี ย รภาพของกระบวนการแล้ว ต่ อ มาจะเป็ นการวิ เ คราะห์
ความสามารถของกระบวนการ ซึ่ งสามารถประเมินได้ 2 ด้านคือ ความสามารถเชิงศักยภาพของ
กระบวนการ และความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการ โดยให้ผลดังต่อไปนี้ (สามารถดู
รายละเอียดการคํานวณได้จากภาคผนวก ค)
1. ค่าดัชนีความสามารถเชิงศักยภาพของกระบวนการ คือ
P p Bench = 0.483
2. ค่าอัตราส่ วนความสามารถของกระบวนการคือ
P R Bench = 2.07
3. ค่าดัชนีความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการคือ
P p k Bench = 0.35
80

ดังนั้น จากค่าดัชนี ความสามารถเชิ งศักยภาพของกระบวนการเท่ากับ 0.483 และค่าดัชนี


ความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการเท่ากับ 0.35 แสดงว่ามีความสามารถเชิงศักยภาพของ
กระบวนการและความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการตํ่า
4.3 ผลการดําเนินการทดลองตามการออกแบบทดลอง
ใช้การทดลองแบบแฟคทอเรี ยลบางส่ วน เนื่ องจากมีประโยชน์อย่างมากต่องานทดลอง
ในช่วงเริ่ มแรก ซึ่ งทําให้เกิดการทดลองจํานวนน้อยที่สุดที่สามารถจะทําได้ เพื่อศึกษาถึงผลของ
ปั จจัยทั้งสามปัจจัย
4.3.1 ผลการออกแบบจํานวนสิ่ งตัวอย่าง
ควบคุ ม คุ ณ ภาพการหล่ อ เครื่ อ งประดับ ทองด้ว ยวิ ธีก ารออกแบบการทดลองมี ปั จ จัย ที่
ต้องการศึกษาอยู่ 3 ปั จจัย คือ อุณหภูมิอบเบ้าปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับ
การหล่อ ซึ่งในแต่ละปั จจัยจะทําการทดลองเป็ น 3 ระดับ คือ ค่าตํ่าสุ ด (-1) ค่ากลาง (0) และค่าสูงสุ ด
(+1) โดยทดลองแบบ Orthogonal Array L 9 (33)
จากการหาจํา นวนชิ้ น งานตัว อย่า งทั้ง หมดที่ ใ ช้ใ นการทดลอง เมื่ อ ลองคํา นวณด้ว ย
โปรแกรมมินิแทปได้ผลดังรู ป

Power and Sample Size


Test for One Proportion
Testing proportion = 0.5 (versus not = 0.5)
Alpha = 0.05
Alternative Sample Target
Proportion Size Power Actual Power
0.4 259 0.9 0.900549
ภาพที่ 45 แสดงผลการคํานวณหาขนาดของสิ่ งตัวอย่าง

จากการคํานวณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่า กรณี ที่ไม่ทราบสัดส่ วนของเสี ยใน


กระบวนการ เราจะทําการกําหนดค่าสัดส่ วนของเสี ยสู งสุ ด เท่ากับ 0.5 (p = 0.5) ในระดับความ
เชื่อมัน่ เท่ากับ 95 เปอร์ เซ็นต์ ถ้าค่าความแม่นยําที่ตอ้ งการของกระบวนการเท่ากับ 0.4 จะใช้ขนาด
ของสิ่ งตัวอย่าง 259 ตัวอย่าง ซึ่งให้ค่ากําลังทดสอบ (Power of the Test) ที่ 0.900549
ดังนั้น จะต้องใช้จาํ นวนตัวอย่าง (Sample Size) ทั้งหมดอย่างน้อย 259 ตัวอย่างในการ
ทดลอง ซึ่งจากการออกแบบการทดลองแบบ Orthogonal Array L 9 (33) ใช้จาํ นวนตัวอย่างในการ
ทดลองทั้งหมด 270 ชิ้น จึงเพียงพอสําหรับการทดลองในครั้งนี้
81

4.3.2 ผลการทดลองสําหรับการทดสอบแบบ Orthogonal Array L 9 (33)


4.3.2.1 ผลการทดลองการหล่อเครื่ องประดับทองซึ่ งสามารถดูรายละเอียดคุณภาพงาน
หล่อเครื่ องประดับได้จากภาคผนวก ง
เมื่อได้ผลการทดลองการหล่อเครื่ องประดับทองแล้วทําการทดสอบความถูกต้อง
ของตัวแบบ ซึ่งมีการทดสอบดังนี้
1. การทดสอบการแจกแจงแบบปกติของข้อมูล
2. การทดสอบว่าข้อมูลมีความแปรปรวนคงที่
3. การทดสอบข้อมูลเป็ นตัวแปรสุ่ มและมีความเป็ นอิสระต่อกัน
ก่อนที่จะนําข้อมูลจากการทดลองที่ได้ไปวิเคราะห์ ต้องทําการตรวจสอบความถูกต้องโดยมีการ
พล็อตกราฟ ดังนี้
4.3.2.1.2 ผลการทดสอบการแจกแจงแบบปกติของข้อมูล

Normal Probability Plot


(response is yield)
99

95
90

80
70
Percent

60
50
40
30
20

10

1
-10 -5 0 5 10
Residual

ภาพที่ 46 แสดงการแจกแจงแบบปกติของค่า Residual

จากภาพที่ 46 พบว่า กราฟการกระจายค่าผิดพลาด (Residuals) เป็ นแบบเส้นตรง แสดงว่า


ค่าผิดพลาด (Residuals) มีการแจกแจงแบบปกติ
4.3.2.1.2 ผลการทดสอบความแตกต่างกันของค่าความแปรปรวนของข้อมูล
82

Versus Fits
(response is yield)

10

5
Residual

-5

-10

20 30 40 50 60 70 80
Fitted Value

ภาพที่ 47 แสดงกราฟระหว่าง ค่าความคลาดเคลื่อนกับค่าพยากรณ์ของข้อมูล

จากภาพที่ 47 พบว่า กราฟค่าผิดพลาด (Residuals) มีการกระจายตัวอย่างสมํ่าเสมอรอบเส้น


กึ่งกลางศูนย์ แสดงว่า ค่าความคลาดเคลื่อนมีความแปรปรวนคงที่
4.3.2.1.3 การทดสอบข้อมูลเป็ นตัวแปรสุ่ มและมีความเป็ นอิสระต่อกัน

Versus Order
(response is yield)

10

5
Residual

-5

-10

2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26
Observation Order

ภาพที่ 48 แสดงการทดสอบข้อมูลเป็ นตัวแปรสุ่ มและมีความเป็ นอิสระต่อกัน


83

จากภาพที่ 48 พบว่า กราฟค่าผิดพลาด (Residuals) มีการกระจายตัวแบบสุ่ มรอบกึ่งกลาง


ศูนย์ แสดงว่า ข้อมูลเป็ นตัวแปรสุ่ มและมีความเป็ นอิสระต่อกัน
4.3.3 ผลดําเนินการทดลองโดยใช้แฟคทอเรี ยลบางส่ วน
1. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลจากการทดลอง Orthogonal Array L 9 (3 3 )
2. ผลของอิทธิ พลหลักของแต่ละปัจจัย
3. ผลของกราฟเส้นโครงร่ างของค่าผลผลิตจากอิทธิพลร่ วมของทั้ง 3 ปั จจัย
4. ผลของปั จจัยที่บริ เวณเหมาะสมที่ทาํ ให้ผลการวัดค่าผลผลิตสูงสุ ด
4.3.3.1 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลจากการทดลอง Orthogonal
Array L 9 (3 3 )
นําผลการทดลองมาวิเคราะห์ผลสําหรับใช้ในการหาปั จจัยที่เหมาะสมโดยวิธีเทคนิ คพื้นผิว
ตอบสนอง (Response Surface Methodology) ได้ดงั ตารางที่ 13

ตารางที่ 13 ANOVA ของผลการทดลอง Orthogonal Array L 9 (3 3 )


Response Surface Regression: yield versus T หลอม, T หล่ อ, T อบเบ้ า
Estimated Regression Coefficients for yield
Term Coef SE Coef T P-value
Constant 67.7778 1.9245 35.218 0.000
T หลอม 16.6667 0.7857 21.213 0.000
T หล่อ 3.8889 1.1111 3.500 0.003
T อบเบ้า 0.0000 1.1111 0.000 1.000
T หลอม*T หลอม 2.2222 1.3608 1.633 0.120
T หล่อ*T หล่อ -3.8889 1.5713 -2.475 0.024
T อบเบ้า*T อบเบ้า -7.7778 1.5713 -4.950 0.000
T หลอม*T หล่อ -6.6667 1.5713 -4.243 0.000
T หลอม*T อบเบ้า 2.2222 1.5713 1.414 0.174
S = 3.33333 PRESS = 450
R-Sq = 96.63% R-Sq(pred) = 92.43% R-Sq(adj) = 95.14%

จากตารางที่ 13 พบว่า อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ เป็ นปั จจัย


หลักที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพงานหล่อเครื่ องประดับทองอย่างมีนยั สําคัญ เนื่องจากค่า P-value มี
ค่าน้อยกว่า 0.05 (α = 0.05) และปัจจัยร่ วม (Interaction) ระหว่างอุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิ
84

เบ้าปู น สํา หรั บ การหล่ อ ส่ ง ผลกระทบต่ อคุ ณ ภาพงานหล่ อเครื่ องประดับ ทองอย่า งมี นัย สํา คัญ
เนื่องจากค่า P-value มีค่าน้อยกว่า 0.05 (α = 0.05)
ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยที่เหมาะสมคือ Yield = 67.78+16.67X 1 +3.89X 2 -3.89X 2 2-
7.78X 3 2-6.67X 1 X 2 โดยสมการถดถอยนี้ สามารถอธิบายค่าผลผลิต (R-Sq(adj))ได้ 95.14 เปอร์เซ็นต์
4.3.3.2 ผลของอิทธิพลหลักของแต่ละปัจจัย

Main Effects Plot for Means


Data Means

T หลอม T หล◌่

80

70

60
Mean of Means

50

1080 1120 1160 550 600 650


T เบ◌้

80

70

60

50

650 700 750

ภาพที่ 49 แสดงผลของอิทธิ พลหลัก

จากภาพที่ 49 ผลของอิทธิ พลหลักแต่ละปั จจัย พบว่า เมื่ออุณหภูมิหลอมโลหะสู งขึ้น


ส่ งผลให้ชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับทองมีเปอร์ เซ็นต์ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเพิ่มขึ้น (ดี ที่สุดที่
อุณหภูมิ 1160 องศาเซลเซี ยส) ส่ วนอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ จะส่ งผลให้ชิ้นงานหล่อ
เครื่ องประดับทองผ่านการตรวจสอบคุณภาพสู งที่สุดที่ค่าปั จจัยระดับกลาง คือ อุณหภูมิ 600 องศา
เซลเซี ยส และอุณหภู มิอบเบ้าปูนจะส่ งผลให้ชิ้นงานหล่อเครื่ องประดับทองผ่านการตรวจสอบ
คุณภาพสู งที่สุดที่ค่าปั จจัยระดับกลาง คือ 700 องศาเซลเซียส
85

ตารางที่ 14 ผลการวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการทากูชิ


Taguchi Analysis: yield versus T หลอม, T หล่อ, T เบ้ า
The following terms cannot be estimated, and were removed.

Response Table for Signal to Noise Ratios


Larger is better
Level T หลอม T หล่อ T เบ้า
1 32.88 34.62 34.48
2 35.56 35.88 36.02
3 37.92 35.87 35.87
Delta 5.04 1.27 1.55
Rank 1 3 2

Response Table for Means


Level T หลอม T หล่อ T เบ้า
1 45.56 57.78 56.67
2 60.00 63.33 64.44
3 78.89 63.33 63.33
Delta 33.33 5.56 7.78
Rank 1 3 2

จากตารางที่ 14 พบว่า ปั จจัยที่มีผลต่อค่า Signal-to-Noise Ratio (S/N) เรี ยงลําดับจากค่า


ผลต่าง (Delta) มากไปน้อย คือ ปั จจัย อุณหภูมิหลอมโลหะ มีผลต่างเท่ากับ 5.04, ปั จจัย อุณหภูมิอบ
เบ้าปูน มีผลต่างเท่ากับ 1.55 และปั จจัยอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ มีผลต่างเท่ากับ 1.27
ปั จจัยที่มีผลต่อค่าเฉลี่ยเรี ยงลําดับจากค่าผลต่าง (Delta) มากไปน้อย คือ ปั จจัย อุณหภูมิ
หลอมโลหะ มีผลต่างเท่ากับ 33.33, ปั จจัย อุณหภูมิอบเบ้าปูน มีผลต่างเท่ากับ 7.78 และปั จจัย
อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ มีผลต่างเท่ากับ 5.56
86

Main Effects Plot for SN ratios


Data Means

T หลอม T หล◌่

38

36
Mean of SN ratios

34

1080 1120 1160 550 600 650


T เบ◌้

38

36

34

650 700 750


Signal-to-noise: Larger is better

ภาพที่ 50 แสดงผลของอิทธิ พลหลักของค่า S/N ratios

จากภาพที่ 50 ผลของอิทธิ พลหลักของค่า S/N ratios ของ Taguchi Method พบว่า จุดที่ให้
ผลงานหล่อเครื่ องประดับทองดีที่สุดที่ทาํ ให้ค่า S/N มีค่าสู งที่สุด (Max S/N) ดังนี้ ปั จจัยอุณหภูมิ
หลอมโลหะสู งที่สุด คือ 1160 องศาเซลเซี ยส มีค่าเท่ากับ 37.92 ส่ วนอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการ
หล่อสู งที่สุด คือ อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซี ยส มีค่าเท่ากับ 35.87 และอุณหภูมิอบเบ้าปูนสู งที่สุดคือ
700 องศาเซลเซียส มีค่าเท่ากับ 36.02
4.3.4.3 ผลของกราฟเส้นโครงร่ างของค่าผลผลิตจากอิทธิพลร่ วมของทั้ง 3 ปั จจัย
Contour Plots of yield
T หล◌่
อ*T หลอม T อบเบ◌้
า*T หลอม y ield
650 750
< 30
30 – 40
625 725
40 – 50
50 – 60
600 700 60 – 70
70 – 80
575 675 > 80

Hold Values
550 650
T หลอม 1080
1100 1125 1150 1100 1125 1150
T หล◌่
อ 550
T อบเบ◌้
า*T หล◌่
อ T อบเบ◌้
า 650
750

725

700

675

650
550 575 600 625 650

ภาพที่ 51 แสดงกราฟเส้นโครงร่ างของค่าผลผลิตจากอิทธิพลร่ วมของทั้ง 3 ปั จจัย


87

จากภาพที่ 51 พบว่า อิทธิ พลร่ วมระหว่างปั จจัยอุณหภูมิหลอมโลหะกับอุณหภูมิเบ้าปูน


สําหรับการหล่อที่ทาํ ให้ค่าผลผลิต (Yield) สู งที่สุด อยูใ่ นช่วงอุณหภูมิหลอมโลหะที่ 1160 องศา
เซลเซียส และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อที่ 600 องศาเซลเซียส
อิ ทธิ พลร่ วมระหว่างปั จจัยอุ ณหภู มิหลอมโลหะกับอุ ณหภู มิอบเบ้าปูนทําให้ค่าผลผลิ ต
(Yield) สู งที่สุด อยูใ่ นช่วงอุณหภูมิหลอมโลหะที่ 1160 องศาเซลเซี ยส และอุณหภูมิอบเบ้าปูนที่
700 องศาเซลเซียส
และอิทธิพลร่ วมระหว่างปั จจัยอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อกับอุณหภูมิอบเบ้าปูน ทําให้
ค่าผลผลิต (Yield) สู งที่สุด อยูใ่ นช่วงอุณหภูมิเบ้าปูนที่ 650 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิอบเบ้าปูนที่
700 องศาเซลเซียส

Surface Plots of yield


Hold Values
T หลอม 1160
T หล◌่
อ 650
T เบ◌้
า 750
80 80
70
yield 60 yield
650 60 750
40
600 50 700
T หล◌่
อ T เบ◌้

1080 1080
1120 550 1120 650
1160 1160
T หลอม T หลอม

85
yield 80
75 750
70 700 T เบ◌้

550
600 650
650
T หล◌่

ภาพที่ 52 แสดงพื้นผิวตอบสนองของอิทธิพลร่ วมระหว่างปัจจัย ทั้ง 3 ปั จจัย

จากภาพที่ 52 พบว่า เมื่ออุณหภูมิน้ าํ โลหะสู งขึ้น ชิ้นงานเครื่ องประดับทองจะทําให้ค่า


ผลผลิต (Yield) เพิ่มขึ้นและเมื่อลดอุณหภูมิไปที่ระดับตํ่าสุ ดทําให้ค่าผลผลิต (Yield) ก็จะลดลงอย่าง
ต่อเนื่ อง ส่ วนอุ ณ หภู มิเ บ้า ปู น สําหรั บการหล่อ จะส่ งผลให้ชิ้ น งานหล่ อเครื่ องประดับทองมี ค่า
ผลผลิต (Yield) สู งที่สุดที่ค่าปั จจัยระดับกลาง และอุณหภูมิอบเบ้าปูนจะส่ งผลให้ชิ้นงานหล่อ
เครื่ องประดับทองมีค่าผลผลิต (Yield) สู งที่สุดที่ค่าปัจจัยระดับกลาง
88

Optimal T หลอม T หล◌่


อ T อบเบ◌้

D High 1160.0 650.0 750.0
Cur [1160.0] [582.3232] [707.3103]
0.84152 Low 1080.0 550.0 650.0

Composite
Desirability
0.84152

yield
Maximum
y = 87.3213
d = 0.84152

ภาพที่ 53 แสดงปั จจัยที่บริ เวณเหมาะสมของค่าทั้ง 3 ปั จจัย

จากภาพที่ 53 พบว่า ค่าปั จจัยที่บริ เวณเหมาะสมที่ทาํ ให้ได้ค่าผลผลิต (Yield) มากที่สุด คือ


บริ เวณที่ระดับของปั จจัยต่างๆได้ดงั นี้
1. อุณหภูมิหลอมโลหะ อยูท่ ี่ระดับ 1160 องศาเซลเซียส
2. อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ อยูท่ ี่ระดับ 582.32 องศาเซลเซียส
3. อุณหภูมิอบเบ้าปูน อยูท่ ี่ระดับ 707.31 องศาเซลเซียส
แต่ ใ นการปฏิ บตั ิ งานจริ ง ไม่ สามารถปรั บระดับปั จ จัย ได้ละเอี ย ดตามผลจากโปรแกรม
ดังนั้นจึงเลือกตําแหน่งที่ใกล้เคียงที่สุด ซึ่งจะใช้เป็ นจุดเหมาะสมในการปรับปั จจัย คือ
1. อุณหภูมิหลอมโลหะ อยูท่ ี่ระดับ 1160 องศาเซลเซียส
2. อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ อยูท่ ี่ระดับ 580 องศาเซลเซียส
3. อุณหภูมิอบเบ้าปูน อยูท่ ี่ระดับ 710 องศาเซลเซียส
4.4 ผลการทําการทดลองเพือ่ ยืนยันผล
ในการทดลองเพื่อยืนยันผลนี้ จะทําการพิจารณาความผันแปรในช่วงระยะเวลาสั้นๆ และ
ความผันแปรตลอดช่วงเวลา ซึ่งมีผลการดําเนินการดังต่อไปนี้
1. ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่มาจากกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ
ทองภายใต้ระดับของปั จจัยที่ทาํ ได้ค่าผลผลิต (Yield) ดีที่สุด
2. ผลการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของกระบวนการ
3. ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ
89

4.4.1 ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่มาจากกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง


ภายใต้ระดับของปั จจัยที่ทาํ ให้ผลลัพธ์ดีที่สุด ดังต่อไปนี้

ตารางที่ 15 ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่มาจากกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง


เบ้า จํานวนตรวจสอบ จํานวนผลิตภัณฑ์ สัดส่ วนของเสี ย
(n) บกพร่ อง (np) (p)
1 10 1 0.1
2 10 0 0
3 10 1 0.1
4 10 2 0.2
ผลรวม 40 4 -

4.4.2 ผลการวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของกระบวนการ
จากข้อมูลที่ได้จากตารางที่ 15 นํามาพลอตแผนภูมิควบคุม ได้ดงั ภาพที่ 54

ผลการตรวจชิ้นงานเครื
ผลการตรวจสอบช◌ิ ่ องประดั◌่องประด◌ั
นงานเคร◌ื
◌้ บที่บกพร่บทองท◌ี
องจากแผนกควบคุ มคุณมภาพ
แผนกควบค◌ุ
◌่
P C har t Binomial P lot
0.4 U C L=0.3846 2
Expected Defectives
P r opor tion

0.2 1
_
P =0.1

0.0 LC L=0 0
1 2 3 4 0 1 2
Sample O bser ved Defectives

C umulative % Defective H istogr am

S ummary S tats Tar


2.0
(95.0% confidence)
20 % D efectiv e: 10.00
1.5
% Defective

Low er C I: 2.79
Fr equency

15
U pper C I: 23.66
Target: 0.00 1.0
10
P P M D ef: 100000
5 Low er C I: 27925 0.5
U pper C I: 236637
0 P rocess Z: 1.2816 0.0
1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 Low er C I: 0.7172 0 10 20
Sample U pper C I: 1.9122 % Defective

ภาพที่ 54 แสดงแผนภูมิควบคุมของข้อมูลที่เก็บ เพื่อวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ


90

จากภาพที่ 54 พบว่า แผนภูมิควบคุมพีชาร์ท (P-Chart) ไม่มีจุดที่ออกนอกช่วงการควบคุม


แสดงว่ากระบวนการผลิตมีเสถียรภาพและความผันแปรของข้อมูล เป็ นความผันแปรจากสาเหตุ
ธรรมชาติ ดังนั้น ข้อมูลจึงมีคุณภาพเพียงพอที่จะดําเนินการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ
ต่อไป
4.4.3 ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ
จากการวิ เ คราะห์ ค วามมี เ สถี ย รภาพของกระบวนการแล้ว ต่ อ มาจะเป็ นการวิ เ คราะห์
ความสามารถของกระบวนการ ซึ่ งสามารถประเมินได้ 2 ด้านคือ ความสามารถเชิงศักยภาพของ
กระบวนการ และความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการ โดยให้ผลดังต่อไปนี้ (สามารถดู
รายละเอียดการคํานวณได้จากภาคผนวก ค)
1. ค่าดัชนีความสามารถเชิงศักยภาพของกระบวนการ คือ
P p Bench = 0.55
2. ค่าอัตราส่ วนความสามารถของกระบวนการคือ
P R Bench = 1.82
3. ค่าดัชนีความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการคือ
P pk Bench = 0.43
ดังนั้น จากค่าดัชนี ความสามารถเชิ งศักยภาพของกระบวนการเท่ากับ 0.55 และค่าดัชนี
ความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการเท่ากับ 0.43 แสดงว่า มีความสามารถเชิงศักยภาพของ
กระบวนการและความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการพอใช้
จากการทดลองเพื่ อ ยืน ยัน ผล พบว่ า ระดับ ของปั จ จัย ทั้ง 3 ที่ ไ ด้จ ากค่ า ปั จ จัย ที่ บ ริ เ วณ
เหมาะสมที่ทาํ ให้ค่าได้ค่าผลผลิตมากที่สุด เมื่อทําการหล่อเครื่ องประดับทองตามค่าปั จจัยดังกล่าว
ทั้งหมด 40 ชิ้ น ได้ชิ้นงานเครื่ องประดับทองที่ผ่านการตรวจสอบถึง 36 ชิ้น หรื อคิดเป็ น 90
เปอร์เซ็นต์ ของชิ้นงานเครื่ องประดับทองทั้งหมด
91

บทที่ 5
สรุ ปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ

จากการศึกษาเรื่ องการควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่ องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการ


ทดลอง มีวตั ถุประสงค์ที่สําคัญคือ ทําการศึกษากระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง และทําการ
เปรี ยบเทียบปั จจัยที่มีผลต่อกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทอง เพื่อหาค่าปั จจัยที่เหมาะสมกับการ
หล่อเครื่ องประดับทอง จากการศึกษาสามารถแยกเป็ นหัวข้อได้ดงั นี้
- สรุ ปผลการศึกษา
- ปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานวิจยั
- ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจยั ครั้งต่อไป
5.1 สรุ ปผลการศึกษา
5.1.1 การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis)
ผลการตรวจสอบคุ ณ ภาพงานในระยะสั้ น พบว่า พนัก งานตรวจสอบทั้ง 2 คนมี
ความสามารถของการตรวจสอบ (ระบบการวัด) ในการแยกแยะชิ้นงานไม่ดีออกจากงานที่ดีได้
ผลจากการวิเคราะห์ผลของระบบการตรวจสอบ จะพบว่าพนักงานตรวจสอบทั้ง 2 คน
สามารถตรวจสอบชิ้ นงาน โดยให้ผลการตรวจสอบของทั้งคู่เห็ นพ้องกันดีมาก และยังให้ผลการ
ตรวจสอบเห็นพ้องกับผลการตรวจมาตรฐานดี
5.1.2 การวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการผลิต
ผลจากการวัดค่า P p Bench ซึ่ งเป็ นดัชนี ความสามารถเชิงศักยภาพของกระบวนการเท่ากับ
0.483 แสดงว่ามีความสามารถด้านศักยภาพตํ่า
ผลจากการวัดค่า P pk Bench ซึ่ งเป็ นดัชนี ความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการเท่ากับ
0.35 แสดงว่ากระบวนการมีสมรรถนะตํ่า
5.1.3 การดําเนินการทดลองตามการออกแบบการทดลอง
จากผลการทดลอง Orthogonal Array L 9 (3 3 ) สามารถสรุ ปได้ว่า อุณหภูมิหลอมโลหะ และ
อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ มีผลต่อกระบวนการหล่อเครื่ องประดับทองอย่างมีนยั สําคัญและ
ปั จจัยร่ วม (Interaction) ระหว่างอุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ ส่ งผล
กระทบต่อคุณภาพงานหล่อเครื่ องประดับทองอย่างมีนยั สําคัญ
ค่าปั จจัยที่บริ เวณเหมาะสมที่ทาํ ให้ค่าได้ค่าผลผลิต (Yield) มากที่สุด คือบริ เวณที่ระดับของ
ปัจจัยต่างๆสรุ ปได้ดงั นี้

91
92

1. อุณหภูมิหลอมโลหะ อยูท่ ี่ระดับ 1160 องศาเซลเซียส


2. อุณหภูมิเบ้าปูนสําหรับการหล่อ อยูท่ ี่ระดับ 580 องศาเซลเซียส
3. อุณหภูมิอบเบ้าปูน อยูท่ ี่ระดับ 710 องศาเซลเซียส
5.1.4 การทําการทดลองเพื่อยืนยันผล
จากการทดลองเพื่ อ ยืน ยัน ผล พบว่า ระดับ ของปั จ จัย ทั้ง 3 ที่ ไ ด้จ ากค่ า ปั จ จัย ที่ บ ริ เ วณ
เหมาะสมที่ทาํ ให้ค่าได้ค่าผลผลิตมากที่สุด เมื่อทําการหล่อเครื่ องประดับทองตามค่าปั จจัยดังกล่าว
ทั้งหมด 40 ชิ้ น ได้ชิ้นงานเครื่ องประดับทองที่ผ่านการตรวจสอบถึง 36 ชิ้น หรื อคิดเป็ น 90
เปอร์เซ็นต์ ของชิ้นงานเครื่ องประดับทองทั้งหมด
5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานวิจัย
5.2.1 การใช้แรงในการขัดมากเกินไปหรื อไม่ได้ระมัดระวังในการขัด ทําให้เกิดรอยขูดขีด
บนผิวชิ้นงานเครื่ องประดับ และอาจซึ่ งผลต่อการบิดเบี้ยวของชิ้นงานในจุดที่บอบบางของชิ้นงาน
ได้ ทําให้ตอ้ งเสี ยเวลาในการนําไปแต่งใหม่หรื อกลายเป็ นของเสี ยที่ตอ้ งนําไปหลอมโลหะใหม่
และส่ งผลต่อการวิเคราะห์ผลการตรวจสอบคุณภาพผิวของชิ้นงาน
5.2.2 การควบคุมเวลาและลําดับขั้นตอนการอบเบ้าปูนในเตาอบปูนที่ใช้ในการทดลอง
โดยไม่ ใ ห้ส่ ง ผลกระทบต่ อ ตารางการผลิ ต เครื่ อ งประดับ ของโรงงานกรณี ศึ ก ษา เพื่ อ เป็ นการ
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการอบเบ้าปูน
5.3 ข้ อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่ อไป
5.3.1 การออกแบบทางเดินนํ้าโลหะควรทําการออกแบบทางเดินนํ้าโลหะให้หลากหลาย
เช่ น ขนาดของทางเดิ นนํ้าโลหะ ตําแหน่ งการติดทางเดิ นนํ้าโลหะ เป็ นต้น เพื่อศึกษาหาความ
เหมาะสมของทางเดินนํ้าโลหะในแต่ละแบบ
5.3.2 การหลอมโลหะ ควรเพิ่มเพิ่มการทดสอบอัลลอย (Alloy) แต่ละชนิ ดที่ใช้ในงานหล่อ
เพื่อศึกษาสมบัติการไหลของนํ้าโลหะ การหดตัว และความสามารถในการลดออกซิเจน
5.3.3 หาระดับแรงดันก๊าซสู่ น้ าํ โลหะระหว่างการหล่อที่เหมาะสมกับงานเครื่ องประดับทอง
ในรู ปแบบต่างๆ
93

รายการอ้ างอิง

ภาษาไทย
กิตติศกั ดิ์ พลอยพานิชเจริ ญ. (2546). การวิเคราะห์ระบบการวัด. กรุ งเทพมหานคร: สมาคมส่ งเสริ ม
เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.
กิตติศกั ดิ์ พลอยพานิชเจริ ญ. (2546). การวิเคราะห์ ความสามารถกระบวนการ. กรุ งเทพมหานคร:
สมาคมส่ งเสริ มเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.
กิติศกั ดิ์ พลอยพานิชเจริ ญ. (2539). สถิติสําหรับงานวิศวกรรม. กรุ งเทพมหานคร: สมาคมส่ งเสริ ม
เทคโนโลยี ไทย – ญี่ปุ่น.
ขจีพร วงศ์ปรี ดี. (2549). เทคนิคหล่ อพร้ อมฝังพลอย. กรุ งเทพมหานคร : กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม.
ปาณิ กา เสนาะดนตรี .(2549). “การพัฒนาประสิ ทธิภาพงานหล่อเครื่ องประดับด้วยการออกแบบการ
ทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง กรณี ศึกษา:โรงงานเครื่ องประดับ.” วิทยานิพนธ์
ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ.
ปารเมศ ชุติมา. (2545). การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม. กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
ภัทราพร บําเพ็ญศิล, วิษา พูนมาน, อรุ ณรัตน์ บุราณเดช (2549). “การศึกษากระบวนการหล่อ
ผลิตภัณฑ์เครื่ องประดับที่เหมาะสมสําหรับเครื อข่ายวิสาหกิจชุมชน กรณี ศึกษา: กลุ่ม
พลอยไพลิน นิลเมืองกาญจน์.” ปริ ญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
วิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เอกสิ ทธิ์ นิสารัตน์. (2549). คู่มือแนวทางแก้ไขข้ อบกพร่ องในชิ้นงานหล่อเครื่องประดับ.
กรุ งเทพมหานคร: บางกอกบล็อก.
เอกสิ ทธิ์ นิสารัตน์. (2549). เทคนิคการหล่อเครื่องประดับ. กรุ งเทพมหานคร : กรมส่ งเสริ ม
อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.

ภาษาอังกฤษ
Dieter Ott. (1991). Defect in Jewelry a New Version of and Old Problem. The Santa Fe
Symposium on Jewelry.
94

Jiju Antony. (1997). “A strategic approach to the use of advanced statistical methods for
quality improvement.” PhD thesis, Portsmouth Business School , University of
Portsmouth.
Jiju Antony. (2003). Design of Experiments for Engineers and Scientists. Oxford :
Butterworth-Heinernann.
Jiju Antony. (2006). Taguchi or Classical design of experiments: a perspective from a
practitioner. Emerald, 26 : 227-230.
Mongomery , D.C. (1996). Introduction To Statistical. 3rd ed. New York : Jonh Wilay & Sons
: 75-453.
Phillip J. (1996). Taguchi Techniques for Quality Engineering. 2nd ed. New York: McGraw-
Hill.
Richard V. Carrano. (1990). Sterling Silver Casting Problem. The Santa Fe Symposium on
Jewelry.
Worlaluck Jankrajang. (2003). “Design of Experiment Approach for Improving Rice Milling
Quality.” M.S. Thesis, Industrial Engineering, Kasepsart University.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก

ผลจากการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับประเภทแหวน
จากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ
พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน
คุณภาพ คุณภาพ
ตัวอย่ าง ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตัวอย่ าง ตรวจสอบ ตรวจสอบคน
งานที่ งานที่
ที่ คนที่1 คนที่2 ที่ คนที่1 ที2่
แท้ จริง แท้ จริง
1 2 1 2 1 2 1 2
1 NG G G G G 26 G G G G G
2 G G G G G 27 G G G G G
3 G G G G G 28 G G G G G
4 G G G G G 29 G G G G G
5 G G G G G 30 G G G G G
6 G G G G G 31 G G G G G
7 G G G G G 32 G G G G G
8 G G G G G 33 G G G G G
9 G G G G G 34 NG NG NG NG NG
10 G G G G G 35 G G G G G
11 G G G G G 36 G G G G G
12 NG NG NG NG NG 37 G G G G G
13 G G G G G 38 G G G G G
14 G G G G G 39 G G G G G
15 G G G G G 40 G G G G G
16 G G G G G 41 G G G G G
17 G G G G G 42 G G G G G
18 NG NG NG G G 43 G G G G G
19 G G G G G 44 NG NG NG NG NG
20 G G G G G 45 G G G G G
21 G G G G G 46 G G G G G
22 G G G G G 47 G G G G G
23 G G G G G 48 G G G G G
24 G G G G G 49 G G G G G
25 NG NG NG NG NG 50 G G G G G
พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน
คุณภาพ คุณภาพ
ตัวอย่ าง ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตัวอย่ าง ตรวจสอบ ตรวจสอบคน
งานที่ งานที่
ที่ คนที่1 คนที่2 ที่ คนที่1 ที2่
แท้ จริง แท้ จริง
1 2 1 2 1 2 1 2
51 G G G G G 76 G G G G G
52 NG NG NG NG NG 77 G G G G G
53 G G G G G 78 NG NG NG NG NG
54 G G G G G 79 G G G G G
55 G G G G G 80 G G G G G
56 G G G G G 81 NG NG NG G G
57 G G G G G 82 G G G G G
58 G G G G G 83 G G G G G
59 G G G G G 84 NG NG NG NG NG
60 G G G G G 85 G G G G G
61 NG NG NG NG NG 86 G G G G G
62 G G G G G 87 G G G G G
63 G G G G G 88 NG NG NG NG NG
64 G G G G G 89 G G G G G
65 G G G G G 90 G G G G G
66 NG NG NG NG NG 91 G G G G G
67 G G G G G 92 G G G G G
68 G G G G G 93 G G G G NG
69 G G G G G 94 G G G G G
70 G G G G G 95 G G G G G
71 G G G G G 96 G G G G G
72 NG NG NG NG NG 97 G G G G G
73 G G G G G 98 G G G G G
74 G G G G G 99 G G G G G
75 G G G G G 100 G NG NG NG NG
ภาคผนวก ข

ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่บกพร่ องจากกระบวนการหล่อเครื่ องประดับ


ที่แผนกควบคุมคุณภาพ
ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่บกพร่ อง
กลุ่มย่อยที รหัสสิ นค้า จํานวนตรวจสอบ จํานวนผลิตภัณฑ์ สัดส่ วนของ
(n) บกพร่ อง (np) เสี ย (p)
1. R-10020 #M 53 5 0.0943
2. R-10020 #O 61 8 0.1311
3. R-10020 #Q 40 5 0.1250
4. R-10020 #T 28 4 0.1429
5. R-10019 76 12 0.1579
6. R-10020 #O 62 11 0.1774
7. R-10015 38 5 0.1316
8. R-10019 #L 42 6 0.1429
9. R-10018 #N 35 7 0.2000
10. R-10017 #P 28 5 0.1786
ผลรวม 463 68
ภาคผนวก ค

ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ
ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่บกพร่ อง
กลุ่มย่อยที รหัสสิ นค้า จํานวนตรวจสอบ จํานวนผลิตภัณฑ์ สัดส่ วนของ
(n) บกพร่ อง (np) เสี ย (p)
1. R-10020 #M 53 5 0.0943
2. R-10020 #O 61 8 0.1311
3. R-10020 #Q 40 5 0.1250
4. R-10020 #T 28 4 0.1429
5. R-10019 76 12 0.1579
6. R-10020 #O 62 11 0.1774
7. R-10015 38 5 0.1316
8. R-10019 #L 42 6 0.1429
9. R-10018 #N 35 7 0.2000
10. R-10017 #P 28 5 0.1786
ผลรวม 463 68

จากตารางที่ ค-1ผลการตรวจสอบชิ้นงานเครื่ องประดับที่บกพร่ อง นํามาวิเคราะห์


ความสามารถของกระบวนการ แสดงรายละเอียดคํานวณได้ดงั ต่อไปนี้
จากแผนภูมิควบคุม p ในการประเมินความสามารถของกระบวนการสําหรับแบบ
นับจะต้องเริ่ มต้นจากการหาค่า p ก่อน
จํานวนผลิตภัณฑ์บกพร่ องโดยรวม ∑ np 68
p = จํานวนตรวจสอบโดยรวม ∑ n = 463 = 0.1469

Z 0.1469 = 1.05, Z 0.07345 = 1.45


ในการประเมินความสามารถด้านศักยภาพจะถือว่ากระบวนการมีค่าเฉลี่ยอยูท่ ี่ค่า
กลางของพิกดั ข้อกําหนดเฉพาะ จึงหาค่าเทียบเคียงด้วยการให้ค่าสัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่ องเท่ากัน
ที่แต่ละด้านของการแจกแจง (ในที่น้ ีคือ 0.1469/2 = 0.07345) ซึ่งจากตารางแจกแจงแบบปกติ
มาตรฐาน จะได้ค่า Z Bench = Z 0.07345 = 1.45 ดังแสดงในรู ปที่ ค-1 (ก)
ค่าดัชนีความสามารถเชิงศักยภาพของกระบวนการ คือ
P p Bench = 1 Z Bench = 1 (1.45) = 0.483
3 3
ค่าอัตราส่ วนความสามารถของกระบวนการคือ
1 1
P R Bench = = = 2.07
PpBench 0.483
สําหรับการประเมินความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการ จะพิจารณาโดย
ถือว่าผลิตภัณฑ์บกพร่ องทั้งหมดอยูท่ ี่ดา้ นใดด้านหนึ่งของการแจกแจงแบบปกติ ดังรู ปที่4-3 (ข) ซึ่ง
จากตารางการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน จะได้ค่า Z Bench = Z 0.1469 = 1.05
จะได้ดชั นีความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการคือ
1
P p k Bench = Z Bench = (1.05) = 0.35
3
จากหัวข้อ 4.5.3 ผลการวิเคราะห์ความสามารถของกระบวนการ จากการทดลองเพื่อยืนยัน
ผล แสดงรายละเอียดคํานวณได้ดงั ต่อไปนี้

จํานวนผลิตภัณฑ์บกพร่ องโดยรวม ∑ np 4
p = = = 0.1
จํานวนตรวจสอบโดยรวม ∑ n 40
Z 0.1 = 1.28 , Z 0.05 = 1.64
ในการประเมินความสามารถด้านศักยภาพจะถือว่ากระบวนการมีค่าเฉลี่ยอยูท่ ี่ค่า
กลางของพิกดั ข้อกําหนดเฉพาะ จึงหาค่าเทียบเคียงด้วยการให้ค่าสัดส่วนผลิตภัณฑ์บกพร่ องเท่ากัน
ที่แต่ละด้านของการแจกแจง (ในที่น้ ีคือ 0.1/2 = 0.05) ซึ่งจากตารางแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน จะ
ได้ค่า Z Bench = Z 0.05 = 1.64
ค่าดัชนีความสามารถเชิงศักยภาพของกระบวนการ คือ
P p Bench = 1 Z Bench = 1 (1.64) = 0.55
3 3
ค่าอัตราส่ วนความสามารถของกระบวนการคือ
1 1
P R Bench = = = 1.82
PpBench 0.55
สําหรับการประเมินความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการ จะพิจารณาโดย
ถือว่าผลิตภัณฑ์บกพร่ องทั้งหมดอยูท่ ี่ดา้ นใดด้านหนึ่งของการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งจากตารางการ
แจกแจงแบบปกติมาตรฐาน จะได้ค่า Z Bench = Z 0.1 = 1.28
จะได้ดชั นีความสามารถด้านสมรรถนะของกระบวนการคือ
1
P pk Bench = Z Bench = (1.28) = 0.43
3
ภาคผนวก ง

ผลการทดลองการหล่อเครื่ องประดับทอง
ปัจจัย ผลการทดลองชิ้นงานหล่อ
การทดลอง T หลอมโลหะ T เบ้าปูนสําหรับการ T อบเบ้าปูน ผลผลิต
ดี เสี ย
(°C) หล่อ (°C) (°C) (% yield)
1 1080 550 650 3 7 30
2 1080 600 700 5 5 50
3 1080 650 750 5 5 50
4 1120 550 700 6 4 60
5 1120 600 750 6 4 60
6 1120 650 650 5 5 60
7 1160 550 750 8 2 80
8 1160 600 650 8 2 80
9 1160 650 700 8 2 80
10 1080 550 650 3 7 30
11 1080 600 700 5 5 50
12 1080 650 750 5 5 50
13 1120 550 700 6 4 60
14 1120 600 750 6 4 60
15 1120 650 650 6 4 60
16 1160 550 750 8 2 80
17 1160 600 650 7 3 70
18 1160 650 700 8 2 80
19 1080 550 650 4 6 40
20 1080 600 700 6 4 60
21 1080 650 750 5 5 50
22 1120 550 700 6 4 60
23 1120 600 750 6 4 60
24 1120 650 650 5 5 60
25 1160 550 750 7 3 80
26 1160 600 650 8 2 80
27 1160 650 700 8 2 80
ประวัติผู้วจิ ัย

ชื่อ-สกุล นายโอรส พินิจรัตนพันธ์


ที่อยู่ 720 ถ.เพชรเกษม ต.พระประโทน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
ที่ทาํ งาน บริ ษทั ทีพีเอ็น ไรซ์มิล จํากัด

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2550 สําเร็ จการศึกษาปริ ญญาตรี หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2553 ศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท หลักสูตรวิศวกรรมมหาบัณฑิต
สาขาการจัดการงานวิศวกรรม ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
จังหวัดนครปฐม
ประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2550-2551 วิศวกร บริ ษทั ทีพีเอ็น สตีลกรุ๊ ป จํากัด แขวงบางกระดี่
เขต แสมดํา จ. กรุ งเทพมหานคร
พ.ศ. 2551-2552 หัวหน้าแผนกประกอบ บริ ษทั พีเพิ่ล (ประเทศไทย)
อ .สามพราน จ.กรุ งเทพมหานคร
พ.ศ. 2552-2553 สมาชิกที่ปรึ กษาระบบคุณภาพ บริ ษทั ซีเคอี แอน เอส จํากัด
อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร
พ.ศ. 2553-2554 สมาชิกที่ปรึ กษาระบบคุณภาพ บริ ษทั เมวินเทค จํากัด
อ.วังน้อย จ.พระนครศรี อยุธยา
พ.ศ. 2554-ปั จจุบนั สมาชิกที่ปรึ กษาระบบคุณภาพ บริ ษทั ทีพเี อ็น ไรซ์มิล จํากัด
อ.แม่จนั จ.เชียงราย

You might also like