You are on page 1of 37

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง “การพัฒ นาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากร”


หัวขอ : องคความรูตามยุทธศาสตรการปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา

เรื่อง

โครงการศึกษาการสรางแบบจําลองเตือนภัยน้ําทวมดวย Hec-Ras และ Hec-GgoRas จากขอมูล


DEM ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ บริเวณลุมน้ําบางสะพาน จ.ประจวบคีรี ขันธ

โดย
นายเอกพล ฉิ้มพงษ
ฝปน.ชป.14

ทีมงานจัดการความรู สํานักชลประทานที่ 14
กรมชลประทาน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
17 กันยายน 2552
โครงการศึกษาการสรางแบบจําลองเตือนภัยน้ําทวมดวย Hec-RAS
และ HEC-GeoRAS จากขอมูล DEM บริเวณลุม น้ําบางสะพาน
อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรี ขันธ

นายเอกพล ฉิ้มพงษ และ นายพงษศัก ดิ์ จิน ดาศรี


ฝายวางแผนและปญ หาเรื่อ งน้ํา และ ศูน ยสารสนเทศ
สํานัก ชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

หัวการขอนําเสนอ

1. การวิเคราะหพื้นที่รับ น้ํา
2. การเตรียมขอมูลดวยแบบจําลอง HEC-GeoRAS เพื่อ ใชในแบบจําลอง HEC-RAS
3. การนําเขาขอมู ลและแกไขขอมู ลในแบบจําลอง HEC-RAS
4. การวิเคราะหทางดานชลศาสตร
5. การจัดทําภาพพื้นที่ น้ําทวม
6. การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่น้ํา ทวม
หลัก การและเหตุผล /ความเปนมาของโครงการ

พื้น ที่อําเภอบางสะพานตั้งอยูในแนวรองนาของลุมนาบางสะพาน ไปลงทะเลที่อาวบาง


สะพาน มีพ ื้น ที่รับนาลุมนาบางสะพานประมาณ 475 ตารางกิโลเมตร เมื่อฝนตกหนักเกิน 100
มิลลิเมตร ติดตอกัน เปน เวลา 12 ชั่วโมง ขึ้น ไปจะเกิดนาปาไหลลงจากตน นา ไดแ ก คลองทอง คลอง
ลอย คลองขนาน และคลองยางขวาง ไหลลงบรรจบกัน ที่ตน นา คลองบางสะพาน เหนือถนนเพชร
เกษม แลวไหลลน บาตลิ่งทั้งสองฝงของคลองบางสะพานไหลออกทะเลไปบริเวณบานสวนหลวง
บานปากคลอง ในขณะเดียวกัน มีน าหลากจากลุมนายอยของคลองบางสะพาน ไหลเขามาเสริมใน
พื้น ที่เขตเทศบาลไดแ กห วยเขามารอง คลองพัน ลา หวยนาผุด และหวยนาโจน โดยที่พ ื้น ที่อุทกภัยจะ
เปน พื้น ที่ที่เกิดซ้ํากัน ที่ที่เดิมในขอบเขตประมาณ 26 ตารางกิโลเมตร มีความลึกของนา 1.0 เมตร ถึง
2.0 เมตร ความเสียหายในการเกิดอุทกภัยแตละครั้งขึน้ อยูกับปริมาณนานองสูงสุดที่เกิดขึ้น

ถึงแมวาระยะเวลาของนาทวมจะเกิด ขึ้นแตละครั้งไมนาน
มากนักแตก็ไ ดสรางความเสียหายและความเดือดรอ นตอราษฎร
จากการตรวจสอบขอมูล

ภาพพื้นที่น ้ําทว มบริเว ณสนามหลังโรงเรียนอนุบ าล ภาพพื้นที่น ้ําทว มบริเว ณโรงพยาบาลบางสะพาน


วัตถุประสงค
1. รวบรวมปรับแก และสรางขอมูล GIS ที่เกี่ยวของเพื่อใชในการเตรียมขอมูลใหกับแบบจําลอง Hec-
GeoRAS และ HEC-RAS
2. วิเคราะหขอมูลลุมน้ํา ไดแ ก ทิศทางการไหล ความลาดเอียงของพื้น ที,่ พื้น ที่รับน้ํา, สัน ปน น้ํา ลุม
น้ํายอยและลุมน้ําบางสะพาน
3. ศึกษาการใชแ บบจําลองทางคณิตศาสตร ชุดโปรแกรม Hec-GeoRAS และ HEC-RAS
4. พัฒนาฐานขอมูล ดานอุตนุ ิยมวิทยา ดานอุทกวิทยา ดานภูมิศาสตร และดานการใชประโยชนที่ดิน
5. สรางแผนที่น ้ําทวมในรอบการเกิดซ้ําของปตางๆทั้งรูปแบบ 2 มิติ และ3 มิติเพื่อประกอบการ
ตัดสิน ใจในการระวังภัยน้ําทวมชวงฤดูฝน
6. เพื่อถายทอดเทคโนโลยีแ ละเผยแพรความรูในการสรางแบบจําลองซึ่งเปน ซอฟแวรฟ รีแ ละเฝา
ระวังติดตามสถานการณการอุ ทกภัย

ลักษณะภูมิประเทศ

ลุมน้ําบางสะพานมีพื้น ทีล
่ ุมน้ําประมาณ 475 ตาราง
กิโลเมตร ลักษณะพื้น ที่ประกอบดวยที่ราบลุมชายฝงทะเล
เนินเขา และภูเขา ทางดานทิศตะวันตกเปน แนวเทือกเขา
ตะนาวศรีจะมีความลาดชัน สูงทอดตัวตามแนวเหนือ – ใต
ทําใหน ้ําที่ไหลจากเทือกเขาไหลเร็วและมีความแรงมาก
โดยมีคลองบางสะพานเปน ลําน้ําสายใหญ และมีลําน้ําสาย
สําคัญไดแก คลองขนาน คลองทอง คลองยางขวาง
คลองพัน ลํา คลองแมรําพึง
แผนที่ภูมิประเทศบริเวณลุมน้ําบางสะพาน

เทือ กเขาตเนาวศรี

ถนนเพชร
เกษม
ตัวอําเภอบางสะพาน

เทือ กเขาตเนาวศรี ถนนเพชร ตัวอําเภอบางสะพาน


เกษม

การวิเคราะหพื้นที่รับน้ํา
การวิเคราะหพ ื้นที่รับน้ํา
กรอบแนวคิดการศึกษา พื้น ที่รับน้ํา
Contour 2 meter. สรางพื้นที่รบั น้ําโดยการนําเสนชั้นความสูง 2 เมตร สราง
แบบจําลองภูมปิ ระเทศเชิงเลข Digital Elevatio n Model (DEM) เมื่อได
แบบจําลองภูมปิ ระเทศเชิงเลข กระบวนการ Fill sin k ปรับแกคาที่เกิดจาก
DEM
การผิดพลาดจากกระบวนการสรางแบบจําลองภูม ิประเทศเชิงเลข เมื่อขอมูล
มีการปรับแกแลวทําการสราง ทิศทางการไหล(Flow Direction)และสรางทิศ
Fill sink ทางการไหลรวม (Flow accumulation) ในการสรางพื้นที่รบั น้ํา(Watershed
area) จะนําขอมูลทิศทางการไหล สรางทิศทางการไหลรวมมาวิเคราะห
พื้นที่รับน้ํา(Watershed area)
Flow Direction

Watershed Area

Flow Accumulate

โครงขายสามเหลี่ยมไมสม่ําเสมอ (Triangulated Irregular Network : TIN)

เปนโครงสรางขอ มูล เวกเตอรที่เกิด จากการแสดงลัก ษณะพื้นผิวดวย


สามเหลี่ยมหลายรูปซึ่งมีดานชิดกันและใชจุดยอดรวมกันเรียงตอ เนื่อ งกันไป
โดยที่แตล ะจุดยอดมีค า(x,y,z) จัดเก็บไว จุดยอดของสามเหลี่ยมและจะกระจาย
ตัวไมสม่ําเสมอ พื้นที่ที่มีค วามแตกตางของคา z ไมแตกตางกัน จุดจะอยูหาง
กัน

เสนชั้นความสูง TIN TIN


แบบจําลองภูมิประเทศเชิงเลข Digital Elevation Model (DEM)

แบบจําลองภูมิป ระเทศเชิงเลข Digital Elevation Model


(DEM) โดยทําการจัดสรางขึ้นจากขอมูล พื้ นฐานประกอบดวยคา
พิ กัด X, Y และ Z ของจุดตัวอยาง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตรนิยมนําเขาขอมูลเสนชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ
มาใชในการจัดสรางแบบจําลองภูมิป ระเทศเชิงเลขในรูป ของขอมู ล
เชิงภาพหรื อขอมู ลเชิงเสน

แบบจําลองภูมิประเทศเชิงเลข

Filled SINK
เปนกระบวนการปรับแกค าที่เกิด จากการผิด พลาดจากกระบวนการสราง
แบบจําลองภูมิประเทศเชิงเลข Digital Elevation Model (DEM) ที่ไดจากการการ
สะทอ นของระบบ Laser ที่ทํา ใหเราทราบคาขอ มูลความสูงหรือ DSM(Digital Surface
Model) และทําการปรับแกค าความสูงที่เกิด จากการสรางจําลองภูมิประเทศเชิงเลขใหมี
ความถูก ตอ ง
ทิศทางการไหล(Flow Direction)
ทิศ ทางการไหล(Flow Direction) ทําการกําหนดทิศ ทางจากแบบจําลองภูมิ
ประเทศเชิงเลข โดยพฤติก รรมการไหลของน้ําจะขึ้นอยูก ับลัก ษณะของภูมิประเทศ
ในทางภูมิศ าสตร ทิศ ทางการไหลจะแบงออกเปน 8 ทิศ ทาง คือ ทิศ เหนือ , ทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ , ทิศ ตะวันออก, ทิศ ตะวันออกเฉียงใต, ทิศ ใต, ทิศ ตะวันตกเฉียง
ใต, ทิศ ตะวันตกและทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ

ทิศทางการไหล

ทิศทางการไหลรวม (Flow accumulation)


ทิศ ทางการไหลรวม(Flow accumulation) เปน เสนทางน้ําไหลที่เกิดจาก
ลัก ษณะพื้นที่นั้นโดยเกิดจากน้ําที่เกิดจากฝนสวนเกินไหลจากที่สูงกวาลงสูที่ต่ํากวา
จากทิศ ทางใดทิศ ทางหนึ่งไหลรวมกัน ทําใหเกิดเป นเส นทางน้ําไหลบนผิวดินลงสู
แมน้ําลําธาร

ทิศ ทางการไหลรวม ทิศ ทางการไหลรวม


ลุมน้ํา(Watershed)
ลุมน้ํา(Watershed) หนวยของพื้นที่ซึ่งลอ มรอบดวยสันปนน้ํา (boundary)
เปนพื้นที่รั บน้ําฝนของแมน้ําสายหลัก ในลุมน้ํานั้น ๆ เมื่อ ฝนตกลงมาในพื้นที่ล ุมน้ําจะ
ไหลออกสูล ําธารสายยอย ๆ (sub-order) แลวรวมกันออกสูล ําธารสายใหญ (order) และ
รวมกันออกสูแมน้ําสายหลัก (mainstream) จนไหลออกปากน้ํา (outlet) ในที่สุด

พื้นที่รับน้ํายอ ย ลุมน้ํา

กรอบแนวคิ ดการศึกษา พื้นที่น้ําทวม

นําเขาขอมูล GIS วิเคราะห ,เชื่อมโยงขอมูล วิเคราะหคาระดับน้ํา


และสรางขอมูล TIN
Hec-GeoRAS Hec-RAS

แผนที่แ สดงน้ําทวม ขอ มูล น้ําทา


การเตรียมขอมูลดวยแบบจําลอง HEC-GeoRAS
เพื่อใชในแบบจําลอง HEC-RAS

HEC-GEORAS

HEC-GeoRAS เปนชุดโปรแกรม เครื่อ งมือ และอํานวยความสะดวก หรับการ


ประมวลผลขอมูล เชิงพื้นที่ในโปรแกรม ARCGIS โดยใช ประโยชนในการเตรียมขอมูล
เชิงพื้นที่ซึ่ง สามารถนําเขาแบบจําลอง HEC-RAS
การเลือกใชแบบจําลองภูมิประเทศ

แบบจําลองภูมิประเทศ สามารถเลือ กใชข อ มูล TIN หรือ ขอ มูล DEM เพื่อ ใชเปน
ขอ มูล ฐานในการสราง คือ
- จุด กลางของลําน้ํา
- การตัดตามขวางของลําน้ํา

สรางฐานขอมูล GeoRAS

ในชุดโปรแกรมแบบจําลอง HEC-GeoRAS จะมีเครื่อ งมือ ในการสรางขอ มูล


พื้นฐานสําหรั บนําไปใชใ นแบบจําลอง HEC-RAS ซึ่งจะสามารถชวยลดระยะเวลาในการ
สรางขอ มูลพื้นฐานสําหรับ แบบจําลอง HEC-RAS ซึ่งจะมีข อ มูลพื้นฐานที่สําคัญดังนี้
- ลําน้ําสายหลัก (Stream Centerline)
- ตลิ่งของลําน้ํา(Stream Banks)
- เสน ทางการไหลบา (Flow Paths)
- หนาตัดลําน้ํา (Cross Sections XS Cut Lines)
การสรางขอมูล HEC-GeoRAS ดวยโปรแกรม ArcGIS 9.0

เมื่อสราง Layer ของเสน ลําน้ําสายหลัก(Stream Cente rline), ตลิ่งของลําน้ํา(Stream


Banks), เสน ทางการไหลบา (Flow Paths), หนาตัดลําน้ํา(Cross Sections XS Cut Lines) ใน HEC-
GeoRAS ขั้น ตอนตอไปคือทําการสรางขอมูลของ Layer ของ HEC-GeoRAS ดวยโปรแกรม
ArcGIS 9.0

สราง
Layer

การสรางขอมูล HEC-GeoRAS ดวยโปรแกรม ArcGIS 9.0 (ตอ)

สรางขอ มูล HEC-GeoRAS โดยเลือ ก เมนู Editor จากนั้นเลือ ก Start Editing


เพื่อ เริ่มทําการสรางขอ มูล Layer เมื่อ ตอ งการสรางขอ มูล Layer ใดๆ ใหทําการเลือ ก
Layer ในชอ งของ Target และทําการ Digitize โดยเลือ ก Sketch Tool ที่มีล ัก ษณะเปน
รูปดินสอ
Edito r

Sketch Tool

Target
ขอมูลลําน้ํา

ระดับน้ําปกติ ระดับน้ําไหลบา

ทางน้ําไหลบา ทางน้ําไหลบา

ลําน้ํา
ตลิ่งซาย ตลิ่งขวา

ลําน้ําสายหลัก(Stream Centerline)
- แหลงน้ํา ผิวดิน (Surface water) ที่ไหลอยูในรอ งน้ํา
- ทําการลากเสนลําน้ําจากทิศ ทางการไหลตนลําน้ําถึงทาย
ลําน้ํา
ตลิ่งของลําน้ํา(Stream Banks)

- สรางเส นขอบตลิ่งของลําน้ํา ทั้งสองดานของลําน้ํา

เสนทางการไหลบา(Flow Paths)

- สรางทิศ ทางการไหลบาของลําน้ําดานขาง
- สรางแกนกลางของทิศ ทางการไหลบาของลําน้ํา
หนาตัดลําน้ํา(Cross Sections XS Cut Lines)

- สรางหนาตัดลําน้ําโดยการลากจากดานใดดานหนึ่งของลําน้ําโดยใหค รอบคลุมพื้นที่
ที่จะวิเคราะห
- โดยหนาตัดลําน้ําจะเรียกคาจากความสูงของ TIN หรือ DEM ขึ้นอยูก ับการเลือกใช
ขอ มูล

เปรียบเทียบหนาตัดลําน้ํากับ TIN

เสนหนา ตัด ลํา น้าํ

TIN

รูปตัด ลํา น้ํา


แปลงไฟล (GIS RAS)

ชนิดของขอมูล
o *.sdf (RAS I/O ASCII format) เปนไฟล Spatial Data Format เปน
ขอ มูล ประเภท GIS
o *.XML Extensible Markup Language เปนไฟลใชติดตอกันใน
ระบบที่มีค วามแตกตางกัน ระหวาง HEC-GeoRAS กับ HEC-RAS

การนําเขา ขอมูล และแกไขขอมูล ในแบบจําลอง HEC-RAS


HEC-RAS
แบบจําลอง HEC-RAS เปน Free Software แบบจําลอง HEC-RAS สามารถให
ผูใชงานนั้น ทําการวิเคราะหก ารไหลตอ เนื่อ งแบบหนึ่ งมิติ, การไหลไมตอ เนื่อ ง, การ
เคลื่อ นยายตะกอน และการคํานวณตะกอนจมใน ระหวางการเคลื่อ นที่ และแบบจําลอง
อุณหภูมิข องน้ํา โดยปจจุบันอยูที่เวอรชัน 4.0

นําเขาขอมูล GIS

ทําการนําเขาขอ มูล ที่ไดจากการแปลงขอ มูล ของโปรแกรม HEC-GeoRAS เพื่อ นํา


ขอ มูล มาทําการปรับแกและวิเคราะหแบบจําลองดวยโปรแกรม HEC-RAS
ลักษณะขอมูลใน HEC-RAS

เมื่อ ขอ มูล GIS นําเขาขอ มูล ทางเรขาคณิต (Geometric Data) HEC-RAS จะ
สามารถแสดงขอ มูล เปนกราฟก ที่มีลกั ษณะเปนขอ มูล ตารางงายตอการปอ นขอ มูล
และแกไข

ขอมูล หนาตัดลําน้ํา(Cross Section Data)ที่ไดจาก Hec-GEORas

• ขอมูลหนาตัดลําน้ํา
- ลําน้ํา, ขอบเขต, และตารางขอมูลตําแหนงลําน้ํา
- ขอมูลเสน หนาตัดลําน้ํา(x,y)
- ขอมูลเสน พื้นผิวหนาตัดลําน้ํา (x,y,z)
- ขอมูลตําแหนงตลิ่งของตัดลําน้ํา
- ขอมูลความยาวระหวางหนาตัดลําน้ํา
- ขอมูลสัมประสิทธิ์ความขรุข ระ (Manning “n”) ของ
ทองน้ํา
ลําน้ํา , ขอบเขต, และตารางขอมูลตําแหนงลําน้ํา

ขอมูล เสนหนาตัดลําน้ํา(Cross Section Cutline) (x,y)


เสน หนาตัดลําน้ําสามารถปรับแกค า x,y ไดทําใหสามารถนําคาจาก
การสํารวจมาปรับแกรวมกับขอ มูล เสนชั้นความสูงได
ขอมูลเสนหนาตัดลําน้ํา(Cross Section Cutline) (x,y) (ตอ)

เนื่อ งจากคา Station และคา Elevation ที่ไดจากเสนชั้นความสูง 2 เมตรในลํา


น้ํามีค าไมค รบถวนเทาใดนัก ผูศ ึก ษาจึงทําการปรับปรุงคา Station และคา Elevation
ทําการปรับแกค าของรูปตัด ซึ่งคาของรูปตัด จากการสํารวจมีตําแหนงรูปตัดลําน้ํา
( River Station ) ทั้งหมด 145 รูปตัดโดยทําการนําคา Station และคา Elevation จาก
ขอ มูล สํารวจ ของโครงการบรรเทาอุทกภัยและแกไขปญหาน้ําทวมพื้นที่อ ําเภอบาง
สะพาน จากการสํารวจภาคสนามของฝายสํารวจภูมป ิ ระเทศ
สํานักชลประทานที่ 14

ขอมูลไฟล AUTO CAD ของตําแหนงรูปตัดลําน้ํา( River Station )


ขอมูลไฟล AUTO CAD ของขอมูลรูปตัดลําน้ํา

ขอมูลเสนพื้นผิวหนาตัดลําน้ํา(Cross Section Surface) (x,y,z)


ขอ มูล เสนพื้นผิวหนาตัดลําน้ํา (x,y,z) ทําใหสามารถมองภาพเปนมิติข อง
ลําน้ําและพื้นที่โดยรอบ
ขอมูลตําแหนงตลิ่งของหนาตัดลําน้ํา
ขอมูลตําแหนงตลิ่งของหนาตัดลําน้ําจะเริ่ม วัดระยะจากแกน x ของตลิ่งทั้งขาง
ของหนาตัดลําน้ํา

ขอมูล ความยาวระหวางหนาตัดลําน้ํา

เปนความยาวเสน ทางการไหลบา (Flow Paths) ระหวางแตล ะหนาตัดของลํา


น้ํา
ขอมูล สัมประสิทธิ์ความขรุ ขระ (Manning “n”)
คาสัมประสิทธิ์ค วามขรุข ระ (Manning “n”) โดยใสค า ทอ งลําน้ําและลุมน้ําที่มีน้ํา
ทวมถึงทั้งทางดานซายและขวาของผิวทางน้ําเปด

ปรับแก หนาตัดลําน้ํา

หนา ตัดลํา น้ํา จากการสํา รวจ หนา ตัดลํา น้ํา จากเสน ชั้น ความสูง 2 เมตร หนา ตัดลํา น้ํา ที่ผา นการปรับ แกแลว
การวิเคราะหทางดานชลศาสตร

แบบจําลอง HEC-RAS (River Analysis System)


แบบจําลอง HEC-RAS (River Analysis System) เปนแบบจําลองที่ใชในการคํานวณคา
ระดับน้ํา เป นโปรแกรมคอมพิวเตอรที่พ ัฒนามาจากแบบจําลอง HEC-2 พัฒนาโดย
หนวยงาน Hydrologic Engineering Center. U.S. Army Corps of engineering
การวิเคราะหก ารไหลในทางเปด (open channel flow ) ลัก ษณะการไหลอาจเปนไดทั้ง
Unsteady Flow และ steady Flow คือ การไหลที่ค ุณสมบัติข องการไหลมีค าเปลี่ยนแปลง
ตามเวลา Steady Flow หมายถึง ระดับน้ํา (Depth of Flow) ที่หนาตัดที่พ ิจารณาคงที่ไม
เปลี่ยนแปลงตามเวลา
ขอมูล ปริมาณน้ํานองสูงสุดสําหรับการวิเคราะห

ในการวิเคราะหจะใชค าปริมาณน้ํานองสู งสุดของฝายบางสะพานใน


รอบปตางๆกรณีตนน้ําไมมีอ างเก็บน้ําคือ
1. ในรอบ 2 ป คาเทากับ 285.58 ลม.ม./วินาที
2. ในรอบ 5 ป คาเทากับ 564.9 ลม.ม./วินาที
3. ในรอบ 10 ป คาเทากับ 749.83 ลม.ม./วินาที

*หมายเหตุ ขอมูล ปริมาณน้ํา นองสูงสุด จากรายงานคณะทํา งานศึกษาสํา รวจ และออกแบบโครงการบรรเทาอุทกภัย และแกไขปญ หาน้าํ
ทวมพื้นที่อ ํา เภอบางสะพาน(อันเนื่อ งมาจากพระราชดําริ) จังหวัด ประจวบคีรีข ันธ กรมชลประทาน

ขอมูลลักษณะเฉพาะของการไหล

• ขอ มูลการไหล
(Flow data)

• ขอเขตของเงื่อ นไข
(Boundary conditions)

• ชื่อ ของหนาตัด(Profile names)


การวิเคราะหการการไหลแบบคงที่ด วยแบบจําลอง HEC-RAS

ในการวิเคราะหดวยแบบจําลอง HEC-RAS ผลที่ไดข ึ้นอยูก ับการใส


คาเงื่อ นไงขอ มูล ลัก ษณะเฉพาะของการไหลบา ซึ่งลัก ษณะการวิเคราะหดวย
แบบจําลอง HEC-RAS จะแสดงในรูปแบบ2 มิติ

คาระดับโปรไฟลผิวน้ําจากแบบจําลอง HEC-RAS (River Analysis System)

โปรไฟลผิวน้ําตามยาวตลอดลําน้ํา คาระดับน้ําจากแบบจําลอง HEC-RAS


(River Analysis System)จากปริมาณน้ํานองสู งสุดในรอบ 2 ป, ในรอบ 5 ป และใน
รอบ 10 ป จะสามารถทราบคาระดับของน้ําในแตล ะหนาตัด จะแสดงในรูป แบบมิติผิว
น้ําโปรไฟลผิวน้ําตามยาวตลอดลําน้ําทั้ง 145 รูปตัด แตล ะหนาตัดสามารถปอ นคาพิก ัด
ไดไมเกิน 500 คา ใน Hec-Ras V.4.0
ผลการวิเคราะห

จากผลการวิเคราะหแบบจําลอง HEC-RAS (River Analysis System) จะไดพ ื้นที่


น้ําทวมจากปริมาณน้ํา นองสูงสุดในรอบ 2 ป , ในรอบ 5 ป และในรอบ 10 ป ดัง นี้
- ปริมาณน้ํา นองสูง สุดในรอบ 10 ป จะมีค าระดับความสูงน้ําคือ 0.000072-
6.95929 เมตรจากทอ งลําน้ํา
- ปริมาณน้ํา นองสูง สุดในรอบ 5 ป จะมีค าระดับความสูงน้ําคือ 0.000275-
6.520595 เมตรจากทอ งลําน้ํา
- ปริมาณน้ํา นองสูง สุดในรอบ 2 ป จะมีค าระดับความสูงน้ําคือ 0.000029 -
5.454453 เมตรจากทอ งลําน้ํา

การจัดทําภาพพื้นที่น้ําทวม
แปลงไฟลผลลัพธที่ไดจาก HEC-RAS ใหเปนขอมูล GIS

เมื่อได ผลลัพธคํานวณคาระดับน้ําจากแบบจําลอง HEC-RAS (River Analysis System)


ทําการสงไฟลขอมูลคา ระดับน้ําจากแบบจําลอง HEC-RAS (River Analysis System) ไปเปน
ไฟลขอมู ล GIS เพื่อสรางพื้นที่น้ําทว มในลักษณะ 2 มิติ และ3 มิติ

(Export)

Hce-RAS Hce-GeoRAS in ArcGIS

การจัดทําภาพพื้นที่น้ําทวม

ทําการสรางพื้นที่น้ําทวมจากขอ มูล คาระดับน้ําที่ผานการแปลงเปนขอ มูล GIS


แลว ทําการเลือ กขอ มูล พื้นผิวที่จะนํามาเปน ฐานใหก ับมูล คาระดับน้ําในการสรางพื้นที่
น้ําทวมสามารถเลือ กใชข อ มูล TIN หรือ ขอ มูล Grid ได
การจัดทําภาพพื้นที่น้ําทวม(ตอ)

ทําการแปลงไฟล .sdf (RAS I/O ASCII format) ที่ผานการแปลงขอมูลเปน ขอมูล


GIS ใหเปน ไฟล .XML (Extensible Markup Language) เพื่อใชในการวิเคราะหใน HEC-GeoRAS

การจัดทําภาพพื้นที่น้ําทวม(ตอ)

ผลที่ไดจากการวิเคราะหข อ มูล แบบจําลอง HEC-RAS และนําเขาขอ มูล สู


แบบจําลอง HEC-GeoRAS จะไดขอ มูลดังนี้
- เสน หนาตัดลําน้ํา (Cross-sectional Cut Lines)
- ระดับความสูงผิวน้ํา (water surface elevations)
- ขอ มูลขอบเขต(Bounding polygon data)
- ลําน้ําสายหลัก (Stream Centerline)
การวิเคราะหพ ื้นที่น้ําทวม(ตอ)

ใน Cross-sectional Cut Lines จะมีข อ มูล ตารางของระดับความสูงของผิวน้ําที่หา


คาระดับของผิวน้ําแลว เมื่อ นําไปสรางพื้น ที่น้ําทวมโดยใช (TIN) ที่สรางไวเปน ฐานของ
พื้นที่ สามารถทราบระดับของน้ําที่ทวมของในแตล ะพื้นที่ในบริ เวณแม น้ําบางสะพานใน
รูปแบบแบบจําลองระดับแบบขายสามเหลี่ยมไมปรกติข องผิวน้ํา(TIN)

การจัดทําภาพพื้นที่น้ําทวม(ตอ)
จัดทําแบบจําลองภูมิประเทศ และระดับความสูงผิวน้ํา แปลงเป นขอ มูล กริด
หรือ แบบจําลองภูมิประเทศเชิงเลข Digital Elevation Model (DEM) ของระดับความสูง
ผิวน้ํา
การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่น้ําทวม

การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่น้ําทวม
เมื่อ ไดขอ มูล DEM ของระดับผิวน้ําแลวเราสามารถนํามาผลิตแผนที่น้ําทวมดวย
การนําไปซอ นทับกับภาพถายทางอากาศหรือ ขอ มูล GIS จะสามารถทราบถึงพื้นที่ที่จะ
ไดรับผลกระทบจากระดับน้ําลนตลิ่งและน้ําหลากได

ซอ นทับขอ มูล แผนที่แสดงน้ํา ทวม


แผนทแสดงนาทวมจากคาปรมาณนานองสูงสุด ในรอบ 2
ป

แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 5 ป
แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 10 ป

แผนทแสดงนาทวมจากคาปรมาณนานองสูงสุด ในรอบ 2
ป
แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 5 ป

แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 10 ป
แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 2 ป

แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 5 ป
แผนที่แสดงน้ําทวมจากคาปริมาณน้ํานองสูงสุด ในรอบ 10 ป

ปญหาและขอเสนอแนะ

1. การศึก ษาครั้งนี้ใชข อ มูล ปริมาณน้ํานองสูงสุด ซึ่งจัดทําโดยคณะทํางานศึก ษาสํารวจ


และออกแบบโครงการบรรเทาอุทกภัย และแกไขปญหาน้ําทวมพื้นที่อ ําเภอบาง
สะพาน(อันเนื่อ งมาจากพระราชดําริ) จังหวัดประจวบคีรีข ันธ กรมชลประทาน
2. เนื่อ งจากคลองบางสะพานมีล ัก ษณะทางกายภาพที่คดเคี้ยวมากทําใหเสน Cutline ตัด
กันเปน ผลทําให เขตพื้นที่น้ําทวมบางสวนหายไปเล็ก นอ ยแตสามารถปรับแกโดยใช
โปรแกรมทางดาน GIS
3. การใชข อ มูล เสนชั้นความสูง 2 เมตรของกระทรวงเกษตรฯ พบวาบริเวณลําน้ําไม
ปรากฏคา section ลําน้ําเนื่อ งจากระดับที่ 2 เมตร มีรายละเอียดของความสูงพื้นที่
นอ ย เนื่อ งจากการจัดทําของกระทรวงเกษตรฯ ไมไดค รอบคลุมบริเวณทอ งน้ํา
ปญหาและขอเสนอแนะ(ตอ)

4. แบบจําลอง Hec-RAS และHec-GeoRAS เป นแบบจําลองทางชลศาสตรวิธีก าร


นําเขาขอ มูล ที่มีค วามยุงยากและมีรายละเอียดมาก จึงควรศึก ษาการปรับแกขอ มูล
section กอ นนํามาใชใน แบบจําลอง Hec-RAS และHec-GeoRAS
5. ควรใชแบบจําลอง Hec-Geo HMS เพื่อ คํานวณปริมาณน้ํานองของลุมน้ําโดยใชค า
ปริมาณน้ําฝนและระยะเวลาการตกของฝน นําขอ มูล ที่ไดมาวิเคราะหรวมกับ
แบบจําลอง Hec-RAS จะทําใหสามารถประชาสัมพันธใ หประชาชนเขาใจไดงาย
ขึ้น
6. ควรทําสัญลัก ษณเครื่อ งหมายแสดงถึงระดับน้ําทวมติดไวตามสถานที่สําคัญเชน
ตอมอ สะพาน หรือ ปก เสาระดับน้ําทวม

You might also like