You are on page 1of 17

109

เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator)

1.จุดประสงคการใชงาน เปนเครื่องผลิตกระแสไฟฟาสํารองในกรณีที่กระแสไฟฟาของการไฟฟาดับ
เพือ่ ใหหนวยงานมีกระแสไฟฟาใชอยางตอเนื่อง

รูปที่ 1 แสดงเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดเล็ก

รูปที่ 2 แสดงเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดกลางที่มีใชกันตามโรงพยาบาลโดยทั่วไป

2. หลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟา
เครื่องกําเนิดไฟฟาเปนเครื่องกลที่สามารถเปลี่ยนพลังงานกลใหเปนพลังงานไฟฟาโดยอาศัยการ
หมุนของขดลวดตัดสนามแมเหล็ก หรือการหมุนสนามแมเหล็กตัดขดลวด
ลักษณะทั่วไปของเครื่องกําเนิดไฟฟาจําแนกออกเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ชนิด คือ
- เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (Alternator)
- เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง (Dynamo)
ในที่นี้จะกลาวเฉพาะเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ
เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับประกอบดวยสวนใหญ ๆ 2 สวน คือ
110
2.1. เครื่องตนกําลัง เปนสวนที่ผลิตพลังงานกลขึ้นมา เพื่อหมุนเพลาของเครื่องกําเนิดไฟฟา เชน
- กังหันน้ํา ไดแก เขื่อนตาง ๆ
- กังหันไอน้ํา ไดแก การนําเอาน้ํามาทําใหเกิดความรอนแลวนําเอาไอน้ําไปใชงาน
- กังหันแกส มีแบบใชน้ํามันดีเซล น้ํามันเบนซิน สวนใหญใชน้ํามันดีเซลเพราะราคาถูก

รูปที่ 3 หลักการพื้นฐานของเครื่องกําเนิดไฟฟา ชนิด AC


2.2. Generator เปนตัวผลิตพลังงานไฟฟา โดยหลักการเหนี่ยวนําของแมเหล็กมีหลายแบบดังนี้
2.2.1 แบบทุนหมุน Revolving Armature Type (Ra Type)
แบบนี้ใชวิธหี มุนขดลวดทองแดงที่พันอยูบนแกนเพลาหมุนตัดผานเสนแรงแมเหล็กที่อยูบ นเปลือก
ทําใหเกิดไฟฟาเหนีย่ วนําขึ้นที่ปลายขดลวดทองแดง นําเอาแรงดันไฟฟานี้ไปใชงานโดยผาน Slip Ring (วง
แหวนทองเหลือง) และแปรงถาน ขั้วแมเหล็กที่จะทําใหเกิดไฟฟาเหนี่ยวนํานี้ ไมไดเปนแมเหล็กถาวรหรือ
แมเหล็กธรรมชาติที่มีความเขมของสนามแมเหล็กคงที่ แตใชไฟฟากระแสตรงปอนผานขดลวดทองแดงที่
พันรอบแกนเหล็กออน เพื่อทําใหเกิดแมเหล็กไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้น ปริมาณของไฟฟากระแสตรงนี้จึงสามารถ
ควบคุมปริมาณแรงดันไฟฟากระแสสลับได โดยการเพิม่ หรือลดปริมาณของไฟฟากระแสตรง
2.2.2 แบบขั้นแมเหล็กหมุน Revolving Field Type (Rf Type)
แบบนี้ใชวิธหี มุนขัว้ แมเหล็กที่อยูบ นเพลา ทําใหเสนแรงแมเหล็กตัดผานขดลวดทองแดงที่พันติดอยู
บนเปลือก ทําใหเกิดแรงดันไฟฟาบนปลายขดลวดทองแดง แบบนี้ไมตองมี Slip Ring และแปรงถาน เพื่อ
นําแรง
ดันไฟฟาไปใชงาน แตมีแปรงถานและ Slip Ring ตอกับขดลวดทองแดง ที่พันอยูบนแกนแมเหล็ก เพื่อ
ใชสําหรับปอนไฟฟากระแสตรงไปเลี้ยงขดลวดทองแดง เพื่อสรางความเขมของสนามแมเหล็ก
111

รูปที่ 4 แสดงใหเห็นโครงสรางและองคประกอบหลักของเครื่องกําเนิดไฟฟา ที่ใชในโรงพยาบาล

2.2.3 แบบไมมีแปรงถาน Brushless Type (Bl Type)


แบบนี้แบงตามขั้นตอนการทํางานออกเปนสวน ๆ ได 4 สวน คือ
ก. Exciter ประกอบดวย
- Exciter Field Coil เปนขดลวดที่ทําใหเกิดแมเหล็กไฟฟาเหนีย่ วนําจะติดอยูก บั
สวนที่อยูกับที่
- Exciter Armature เปนชุดที่ประกอบดวยขดลวดที่จะถูกทําใหเกิดกระแส
ไฟฟาเหนี่ยวนํา โดยเปนสวนที่ติดอยูกับเพลาและหมุนไปพรอมกับเพลา
กระแสที่เกิดขึ้นใน Exciter Armature จะเปนไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส
ข. Rotating Rectifier จะติดอยูบนเพลาจึงหมุนตามเพลาไปดวย มีหนาที่แปลง
กระแสไฟฟาสลับที่เกิดจาก Exciter Armature ใหเปนไฟฟากระแสตรง
ค. Main Generator
เปนสวนทีผ่ ลิตกระแสไฟฟาเพื่อออกไปใชงานจริง ประกอบดวย
112
- Rotating Field Coil เปนขดลวดที่พนั รอบแกนเหล็กที่ติดกับเพลาเพื่อทําให
เหล็กกลายเปนสนามแมเหล็กไฟฟา โดยไดรับไฟฟากระแสตรงทีป่ อนมาจาก
Rotating Rectifier
- Stator Coil (Alternator Armature)
เปนขดลวดที่จะถูกทําใหเกิดไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นและจายกระแสไฟฟาสลับออก
ไปใชงาน
ช. Automatic Voltage Regulator (A.V.R.)
เปนชุดควบคุมแรงดันไฟฟาที่นําไปใชงานใหคงที่ ซึ่งเปนการทํางานควบคุมอยาง
อัตโนมัติ หลักการทํางานของ A.V.R. เปนการนํากระแสสลับที่เกิดจาก Stator Coil มา
แปลงเปนกระแสตรง จายเขา Exciter Field Coil โดยปริมาณกระแสตรงจะมีการ
ควบคุมใหมากหรือนอยตามสภาพการณของแรงดันไฟฟาจาก Stator Coil โดยเปนไป
อยางอัตโนมัติ
Automatic Voltage Regulator

Output

Main Stator
Exciter Stator

Rotating Diodes

แกนเพลาหมุนไป
ดวยกัน
Exciter Rotor Main Rotor

รูปที่ 5 แสดง Block Diagram of Brushless A.C. Generators


113

รูปที่ 6 แสดงวงจรการทํางานของชุดกําเนิดไฟฟาขนาดเล็ก ซึ่งเครื่องขนาดใหญ


ก็ใชหลักการเดียวกัน

รูปที่ 7 แสดง stator coil และ rotor winding ของชุดกําเนิดไฟฟาขนาดเล็ก


ระบบสายสงแบงเปน 2 ชนิด คือ
- ระบบ 1 เฟส (Single Phase)
- ระบบ 3 เฟส (Three Phase) หรือ 3 เฟส 4 สาย
114
ระบบควบคุมการจายกําลังไฟฟา มี 2 ชนิด คือ
- ควบคุมดวยมือ (Manual)
- ควบคุมโดยอัตโนมัติ (Automatic)
3. ขั้นตอนการใชงานที่ถูกตอง
3.1 กอนใชงานเครื่องกําเนิดไฟฟา ควรดําเนินการดังตอไปนี้
(1) ทําความคุนเคยการทํางาน โดยศึกษาจากคูมือ อุปกรณการควบคุม เนื่องจากเครือ่ งกําเนิดไฟฟา
สามารถควบคุมไดทั้งระบบ Manual และ Automatic ศึกษาตําแหนงของวาลวที่ทํางานและ
อุปกรณการดับเครื่องจนเปนที่เขาใจ
(2) มีความเขาใจเกีย่ วกับน้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่นของเครื่องกําเนิดไฟฟา
(3) ตรวจสอบน้ําในหมอน้ํารังผึ้ง ตองมีน้ําเต็มและฝาปดหมอน้ําไมชํารุด สายยางทอน้ําอยูในสภาพดี
(4) ตรวจวัดระดับน้ํามันหลอลื่นของเครื่องยนต ตองอยูในระดับทีก่ ําหนด
(5) ตรวจสอบน้ํามันเชื้อเพลิงวามีปริมาณเพียงพอหรือไม สําหรับการเดินเครื่องใชงาน โดยเฉพาะเมื่อ
ระบบควบคุมตั้งอยูในตําแหนง Automatic
(6) ตรวจสอบระบบการประจุของแบตเตอรี่ของเครื่องประจุ
(7) ตรวจสอบระดับน้ํากลั่นของแบตเตอรี่ตองไมแหง ขั้วสายไฟของแบตเตอรี่ตองสะอาดและแข็งแรง
(8) ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ํา น้ํามันหลอลื่น น้ํามันดีเซลจากตัวเครือ่ งยนต หากพบวามีการรัว่ ซึมให
รีบ
แกไขหรือเรียกบริการจากชางผูชํานาญ
(9) ตรวจสอบความตึงของสายพาน ตองไมหยอนหรือตึงเกินไปโดยกดที่ระยะกึ่งกลางระหวางพูเลของ
ใบ
พัดกับพูเลของไดชารต น้ําหนักกดประมาณ 10 kg ตั้งความตึงสายพานใหไดประมาณ 11 ถึง 13
mm. สายพานหยอนเกินมักกอใหเกิดปญหาของเครื่องยนตดีเซลมีอุณหภูมิสูง และการประจุไฟ
ของ
ไดชารตเขาแบตเตอรี่ตา่ํ เกินไป สายพานที่ตึงเกินไปจะทําใหตัวสายพานและพูเลตาง ๆ เสื่อมสภาพ
เร็วกวาปกติ
(10) ตรวจสอบใบพัดระบายอากาศ ตองอยูในสภาพดีไมแตกชํารุด
(11) ตรวจสอบ Circuit Breaker ตองอยูในสภาพดีและขั้วตอสายไฟตาง ๆ แนนหนาแข็งแรง
(12) ทดสอบเดินเครื่องกําเนิดไฟฟาโดยไมตองจายกระแสไฟฟา และตรวจสอบแรงดันของไฟฟาตอง
อยู
115
ในเกณฑปกติ 220 V. โดยวัดจาก Line กับ Neutral หรือ 380 V. วัดระหวาง Line กับ Line
(13) ตรวจสอบความถี่ทางไฟฟา ตองอยูในเกณฑปกติ 50 ถึง 52 Hz
(14) ตรวจสอบแรงดันของน้ํามันเครื่องวาปกติหรือไม (ดูจากมาตรวัดความดัน)หลีกเลี่ยงการเดินเครื่อง
ยนตโดยระดับแรงดันน้าํ มันหลอลื่นต่าํ กวาเกณฑกําหนด เครื่องยนตใชงานในสภาวะปกติ แรงดัน
น้ํามันหลอลื่นจะตองไมต่ํากวาระดับกําหนดนีจ้ ึงจะไมทําใหเครื่องยนตชํารุด
เมื่อเดินเบารอบเครื่องประมาณ 800 RPM 10 PSI (0.07 Mpa)
เมื่อเดินเครื่องใชงานรอบเครื่องประมาณ 1500 RPM 40 PSI (0.28 Mpa)
(15) ตรวจสอบอุณหภูมิที่มาตรวัดอุณหภูมขิ องเครื่องยนต ตองอยูในระดับปกติ อุณหภูมิน้ําหลอเย็น
ตอง
ไมเกิน 95 °C
3.2 ระหวางใชงานเครื่องกําเนิดไฟฟา ควรดําเนินการดังตอไปนี้
(1) ตรวจสอบแรงดันไฟฟา ตองอยูในเกณฑกําหนด
(2) ตรวจสอบความถี่ทางไฟฟา ตองอยูในเกณฑกําหนด
(3) ตรวจสอบกระแสการใชงานของ Load ตองไมเกินกําลังของเครื่องกําเนิดไฟฟา
(4) ตรวจสอบแรงดันน้ํามันเครื่องยนตวาปกติหรือไมจากมาตรวัด
(5) ตรวจสอบอุณหภูมิของเครื่องยนตวาปกติหรือไมจากมาตรวัด
(6) สังเกตและฟงเสียงที่เกิดจากอาการผิดปกติของเครื่องยนตและเครื่องกําเนิดไฟฟา
(7) ตรวจเช็คการทํางานของตูควบคุม
(8) ไมควรเปดหรือปดเบรกเกอรสําหรับจาย Load บอย ๆ โดยไมจําเปน
(9) หากเกิดประกายไฟจากจุดตาง ๆ หรือมีกลิ่นไหม ควันขึ้นใหดับเครื่องยนตแลวแจงชาง
(10) ควรมีเจาหนาที่ควบคุมดูแลเครื่องยนตขณะใชงานตลอดเวลา
116
รูปที่ 8 แสดงเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ถูกออกแบบไวในตูเก็บเสียง เหมาะสําหรับโรงพยาบาลที่มีพื้นที่นอย

รูปที่ 9 แสดงถึงหองควบคุมที่มีความสะอาดเรียบรอย เปนสิ่งที่จําเปนสําหรับหองเครื่องกําเนิดไฟฟา


3.3 หลังการใชงานเครื่องกําเนิดไฟฟา ควรดําเนินการดังตอไปนี้
(1) ตรวจสอบรอยรั่วซึมของระบบน้ําหลอเย็น รอยรั่วซึมของน้ํามันหลอลื่น
(2) ทําความสะอาดหมอน้ํารังผึ้ง โดยปดฝุน ผง เศษวัสดุที่ติดตามแนวหมอน้ํา
(3) ตรวจสอบขอตอสงกําลังตาง ๆ
(4) ตรวจสอบจุดตอสายไฟตาง ๆ
(5) ทําความสะอาดไสกรองอากาศ
(6) ตรวจสอบหารอยปริราวของสายพานฉุดใบพัด และสายพานตาง ๆ
(7) ทําความสะอาดสถานทีแ่ ละเครื่องยนต ตูควบคุม
(8) ตรวจดูระดับน้ํากลั่นในหมอแบตเตอรีใ่ หอยูใ นระดับ
(9) ไลความชื้นออกจากทีก่ รองน้ํามันเชื้อเพลิงทุก ๆ สัปดาห (ถายน้ําทิ้งจากชุดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง)
(10) ตรวจสอบจดบันทึกการใชน้ํามันเชื้อเพลิง และชั่วโมงการทํางานของเครื่องยนต
4. ขั้นตอนการบํารุงรักษา (Check List)
4.1 การบํารุงรักษาโดยผูใชงาน
117
ระยะเวลา วิธีปฏิบัติ ผลการตรวจสอบ
1. ทุกวันหรือ 20 - ทําความสะอาดโรงไฟฟา ตูควบคุม
ชั่วโมงการใชงาน - ตรวจระดับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
- ตรวจสอบระดับน้ําในหมอน้ํา
- ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ําและน้ํามันตาง ๆ
- ตรวจระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
- ตรวจความตึงสายพาน
- ตรวจสอบขอตอสายไฟ
2. ทําความสะอาดหมอ - ตรวจสอบเดินเครื่องยนตและตรวจสอบคาตาง ๆ เชน แรงดันไฟฟา
น้ํารังผึ้งดานนอก ความถี่ อุณหภูมิเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเครื่อง
- ตรวจสอบระดับน้ํากลั่นแบตเตอรี่ ขั้วและสายแบตเตอรี่
- ตรวจสอบเครื่องประจุไฟฟาของแบตเตอรี่
- ไลความชื้นและน้ําออกจากที่กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
- ทําความสะอาดหมอน้ํารังผึ้งดานนอก
4.2 การบํารุงรักษาโดยชาง
ระยะเวลา วิธีปฏิบัติ ผลการตรวจสอบ
1. ทุกรอบ 3 เดือน หรือ - ถายน้ํามันหลอลื่น
250 ชั่วโมงการใชงาน - เปลี่ยนไสกรองน้ํามันหลอลื่น
- ทําความสะอาดไสกรองอากาศ
- ตรวจสอบทอยางและเหล็กรัดทอ
- ตรวจสอบนอตและสกรูของจุดตอสายไฟ
- ตรวจสอบขอตอสงกําลัง

2. ทุกรอบ 6 เดือนหรือ - เปลี่ยนไสกรองอากาศ


500 ชั่วโมงการใชงาน - เปลี่ยนไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
3. ทุกรอบ 12 เดือนหรือ - ปรับตั้งระยะหางวาลว
1,000 ชั่วโมงการใชงาน - ถายน้ําหลอเย็น
- ทําความสะอาดหมอน้ํารังผึ้งดานใน
- ขันนอตฝาสูบและเสื้อสูบ
- ถายน้ําและเศษสกปรกออกจากถังน้ํามันเชื้อเพลิง
- ตรวจสอบใบพัดระบายอากาศ
- ตรวจสอบรอยรั่วซึมที่หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
- ตรวจสอบ Shutdown Sensors
118
หมายเหตุ
- จากรายละเอียดการบํารุงรักษาขางตน เปนแนวทางปฏิบัติซึ่งแนะนําใหใชกับเครื่องยนตทั่วไป ดังนั้นผูใชควรศึกษาการ
บํารุงรักษาเครื่องยนตจากหนังสือคูมือของเครื่องยนตโดยตรง (ถามี) ทั้งในดานวิธีปฏิบัติและระยะเวลาการบํารุงรักษา

รูปที่ 10 แสดงชุดชารทแบตเตอรี่ ขนาด Input: 220 Volt Output: 2 Volt Amps: 10

รูปที่ 11 แบตเตอรี่รูปแบบตางๆ ที่ใชในบานเราสวนมากจะเปนชนิด 12 V

รูปที่ 12 แสดงชุดควบคุมการทํางานของระบบ สวนใหญในปจจุบนั จะใชไมโครคอมพิวเตอรเปนตัวควบคุม


119

รูปที่ 13 เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 200 kW ใชเครื่องยนตขนาด 16 สูบเปนตัวตนกําลัง

รูปที่ 14 เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 500 KW ที่นิยมใชยี่หอหนึ่ง


120

5. ปญหาและแนวทางแกไขเบื้องตน

ปญหา สาเหตุ วิธีแกไข


1. เครื่องกําเนิดไฟฟาไมมี - เนื่องจากชุดควบคุม A.V.R. ไมทํางาน - ตรวจซอมชุด A.V.R.
แรงดันไฟฟาเมื่อมีความเร็วถึง - ไมมีสนามแมเหล็กตกคาง - กระตุนดวยไฟฟากระแสตรง
อัตรากําหนด ประมาณ 12 V. ที่ Exciter
- Rotating Rectifier ชํารุด - ตรวจเช็ค Diode และเปลี่ยน ใหม

2.แรงดันไฟฟาสูงหรือต่ํากวา - ปรับ Volume แรงดันไฟฟาไว - ปรับ Volume แรงดันไฟฟา ใหม


กําหนด ผิดตําแหนง - แกไขหรือเปลี่ยนใหม
- ชุด A.V.R. ชํารุด

3. แรงดันไฟฟามี Regulation ไม - แผง A.V.R. ชํารุด - แกไขหรือเปลี่ยนใหม


ดี - ปรับ Stability ไวไมถูกตอง - ปรับ Stability ใหม
- ปรับ Under Speed - ปรับ Under Speed
Protection ไวไมถูกตอง Protection ใหม
- Rotating Rectifier ชํารุด - ตรวจเช็ค Diode และเปลี่ยน

4. แรงดันไฟฟาลดต่ําลงเมื่อจาย - ชุดควบคุม A.V.R. ชํารุด - แกไขหรือเปลี่ยนใหม


โหลด - เครื่องกําเนิดไฟฟารับโหลดมากเกินไป - ลดปริมาณการใชกระแส ไฟฟา
- โหลดของเครื่องกําเนิดไฟฟาไมสมดุล
- Diode ชํารุด
5. มีความรอนและกลิ่นไหมจาก - ระบบระบายความรอนไมดี - แกไขโหลดใหสมดุล
เครื่องกําเนิดไฟฟา - ฉนวนขดลวดลัดวงจร - เปลี่ยน Diode ใหม
- ตรวจดูใบพัดระบายอากาศ
- มีความรอนและกลิ่นไหมจากเครื่องกําเนิดไฟฟา - ตรวจสอบขดลวดและตรวจซอม
- ตรวจสอบกระแสที่ แอมปมิเตอร
ถากระแสเกินตองปดวงจรการจาย
ไฟหรือลดโหลดลงทันที
121

ปญหา สาเหตุ วิธีแกไข


6. เครื่องยนตสตารทไมได - แบตเตอรี่ไมมีกระแสไฟ - เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม
มอเตอร สตารทไมทํางาน - สวิทซมอเตอรสตารทเสีย - ซอมหรือเปลี่ยนใหม
- สวิทซโซลินอยดเสีย - ซอมหรือเปลี่ยนใหม
- มอเตอรสตารทเสีย - ซอมหรือเปลี่ยนใหม

7. เครื่องยนตสตารทไมได จาก - แบตเตอรี่ไฟไมเต็ม - ชารทแบตเตอรี่ใหม


การที่มอเตอรสตารทหมุนชา - ขั้วตอสายแบตเตอรี่หลวม - ทําความสะอาดขั้วสายและ
หรือสกปรก ขันใหแนน
- มอเตอรสตารทเสีย - ตรวจซอมหรือเปลี่ยนใหม
8. เครื่องยนตสตารทไมติด แต - ตั้งจังหวะฉีดเชื้อเพลิงผิด - ตั้งจังหวะการฉีดใหม
มอเตอรสตารททํางานปกติ - กําลังอัดต่ํา - ตรวจซอมเครื่องยนต
- ไสกรองอากาศอุดตัน - ทําความสะอาดไสกรอง
- น้ํามันเชื้อเพลิงหมด - เติมน้ํามันเชื้อเพลิง
- ทางเดินน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน - ทําความสะอาดระบบทอนําน้ํามัน
เชื้อเพลิง
- มีลมในระบบทางเดินน้ํามัน - ไลลมในระบบทางเดินน้ํามัน
เชื้อเพลิง
9. เครื่องยนตรอนจัด - น้ําหลอเย็นรั่ว - ตรวจซอม
- น้ํามันหลอลื่นแหง - เติมน้ํามันหลอลื่น
- หมอน้ํารังผึ้งตัน - ตรวจซอมหมอน้ํา
- ปมน้ําชํารุด - ตรวจซอมปมน้ํา
- สายพานปมน้ําขาดหรือหยอน - เปลี่ยนหรือตั้งสายพานใหม
- เทอรโมสตัดไมทํางาน - เปลี่ยนใหม
- เครื่องยนตหลวมมาก - ตรวจซอมเครื่องยนต
- น้ําหลอเย็นแหง - เติมน้ําหลอเย็น
- ใบพัดระบายอากาศแตกหรือ หัก - เปลี่ยนใหม
10. เครื่องยนตมีเสียงเคาะ - ชารปละลายและหลวม - ตรวจซอม
- บูชกานสูบเสีย - ตรวจซอม
- แหวนลูกสูบเสีย - ตรวจซอม
- สปริงวาลวหัก - ตรวจซอม
- ตั้งจังหวะการจุดระเบิดผิด - ตั้งจังหวะการจุดระเบิดใหม
122

ปญหา สาเหตุ วิธีแกไข


11.เครื่องยนตมีควันดํา - ตั้งปมสงน้ํามันมากเกินไป - ตั้งจังหวะการทํางานของปม
หัวฉีดใหม
- ระบบเรงฉีดของปมคาง - ตรวจซอมหัวฉีด
- กําลังอัดของระบบสูบต่ํา - ตรวจซอมปมหัวฉีด
12. เครื่องยนตสตารทติดแลวดับ - วาลวรั่วหรือคาง - ตรวจซอม
- ตั้งโกเวอรเนอรในจังหวะเดิน - ตั้งโกเวอรเนอรใหม
เบาผิด
- น้ํามันหมดหรือมีลมในระบบ - เติมน้ํามันและไลลม
- ไสกรองน้ํามันตัน - เปลีย่ นใสไสกรองน้ํามัน
เชื้อเพลิง
13. เครื่องยนตไมมีกําลัง - วาลวรั่ว - ตรวจซอม
- มีลมในระบบ - ไลลม
- ลูกสูบหลวม - ตรวจซอม
- ตั้งวาลวผิด - ตั้งวาลวใหม
- แหวนลูกสูบหักและหลวม - ตรวจซอมเปลี่ยนใหม
- จังหวะจุดระเบิดผิด - ตรวจซอม
- เครื่องยนตรอนจัด - ตรวจซอม

14. เครื่องยนตเดินเบาไมสนิท - ตั้งโกเวอรเนอรในตําแหนง - ตรวจซอม


เดินเบาผิด - ตรวจซอม
- จังหวะจุดระเบิดผิด - ตรวจซอม
- วาลวรั่ว - ตรวจซอม
- สปริงวาลวหัก - ตรวจซอม
- ปมน้ํามันเชื้อเพลิงชํารุด - ตรวจซอม
- ปมหัวฉีดชํารุด - ตรวจซอม
- ไสกรองน้ํามันตัน - ตรวจซอม
- มีอากาศในระบบ - ตรวจซอม
- หัวฉีดชํารุด - ตรวจซอม
123
6. ขอควรระวังในการใชงาน
6.1 กอนจะตรวจเช็คอุปกรณใด ๆ ของเครื่องกําเนิดไฟฟา ถาระบบของเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนแบบจาย
กระแสอัตโนมัติ ใหปรับไปที่ตําแหนง OFF หรือปลดขั้วสายแบตเตอรี่ออกเสียกอน เพื่อปองกัน
เกิด
อุบัติเหตุจากเครื่องยนตสตารทเองขณะทําการตรวจเช็ค
6.2 หามเปดฝาหมอน้ําในขณะที่เครื่องยนตยังรอนอยู
6.3 ไมจายกระแสเกินกําลังของเครื่องกําเนิดไฟฟา
6.4 ไมควรปรับอุปกรณใด ๆ ขณะจายกระแสไฟฟา ถามีความผิดปกติใด ๆ ใหงดจาย Load แลวจึงทํา
การแกไข
6.5 ไมควรทิ้งเครื่องยนตโดยไมมีผดู ูแลขณะเครื่องกําลังทํางานอยู
6.6 ไมควรเปด-ปดเบรกเกอรสําหรับจาย Load บอย ๆ โดยไมจําเปน
6.7 สถานที่ติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาตองมีการระบายอากาศเปนอยางดีและไมควรมีฝุนละออง ไมเปน
สถานที่เก็บสารเคมีหรือวัตถุไวไฟอืน่ ๆ นอกจากน้ํามันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเทานั้น
6.8 ขณะจาย Load ควรตรวจสอบกระแสไฟฟา แรงดันไฟฟา ความถี่ทางไฟฟาอยูเ สมอ
6.9 ขณะจาย Load ควรตรวจสอบแรงดันน้ํามันเครื่องและอุณหภูมิของเครื่องยนต
6.10 ในการติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟา จําเปนตองเดินสายดินโดยตอกับแทงทองแดงหรือ Ground Rod
ที่
ฝงอยูใตดินตามมาตรฐานกําหนด ทั้งนี้ตองตอทั้งตัวเครื่องยนตและตูควบคุม
7. แนวทางการปฏิบัติทคี่ วรยึดถือในการใชงาน
7.1 ทําการบํารุงรักษาชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา ตามกําหนดเวลาการบํารุงรักษา ซึ่งรวมถึงการ
ตรวจสอบกอนการเดินเครื่องยนต
7.2 อยาใชงานเครือ่ งยนตโดยไมใสตัว Themostat
7.3 ใชน้ํามันหลอลื่นที่มีคุณภาพดี
7.4 ใชน้ํามันเชื้อเพลิงที่ปราศจากการเจือปนของน้ําหรือสารอื่น ๆ
7.5 ตระหนักถึงขอควรระวังดานความปลอดภัย
7.6 อยาใชงานชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาเกินพิกดั
7.7 ควรหลีกเลียงสิ่งตอไปนี้คือ
7.7.1 หลีกเลี่ยงการใชงานจนเครื่องยนตรอ นจัด อุณหภูมิน้ําหลอเย็นตองไมเกิน 95 °C
7.7.2 หลีกเลี่ยงการใชงานในลักษณะอุณหภูมิน้ําหลอเย็นต่ํากวา 60 °C การใชงานอยางตอ
124
เนื่องโดยที่อุณหภูมิน้ําหลอเย็นต่าํ กวา 60 °C อาจเปนผลเสียตอเครื่องยนต เนื่องจาก
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นต่ําเกินไปจะทําใหเครื่องยนตเกิดการเผาไหมไมสมบูรณ เปนผลให
มีการสะสมของคารบอน จนทํา ใหแหวนลูกสูบและหัวฉีดชํารุด นอกจากนั้นน้ํามัน
เชื้อเพลิงที่ตกคางจากการเผาไหมไมสมบูรณเมือ่ ปนกับน้ํามันหลอลื่นในเสือ้ สูบ จะทําให
น้ํามันหลอลื่นเสื่อมคุณภาพเร็วขึน้
7.7.3 หลีกเลี่ยงการเดินเครื่องยนตโดยระดับแรงดันน้ํามันหลอลื่นต่ําเกินเกณฑกําหนด
เครื่องยนตใชงาน ในสภาวะปกติ แรงดันน้ํามันหลอลื่นจะตองไมต่ํากวาระดับกําหนด
ดังนี้ จึงจะไมทําใหเครื่องยนตชํารุด กรณี เมื่อเครื่องเดินเบา รอบเครื่องประมาณ 800
RPM 10 PSI (0.07 Mpa) และเมื่อเครื่องใชงาน รอบเครื่องประมาณ 1500 RPM 40
PSI (0.28 Mpa)
7.7.4. หลีกเลี่ยงการใชงาน เมื่อชิ้นสวนของเครื่องยนตชํารุด โดยทั่วไปแลวการชํารุดของ
ชิ้นสวน
ตาง ๆมักมีสัญญาณบอกเหตุกอนที่ชิ้นสวนนั้น ๆ จะชํารุด ผูใชอาจทราบไดจากการ
เปลี่ยน
แปลงในสมรรถนะของเครื่องกําเนิดไฟฟา เชนมีเสียงผิดไปจากปกติ หรือการสังเกต
ดวย
สายตา ขอสังเกตบางประการ เชน
- เครื่องยนตสนั่ แรงเกินไป
- เครื่องยนตหรือเครื่องกําเนิดไฟฟาสูญเสียกําลังทันทีทนั ใด
- เสียงของเครื่องยนตหรือเครื่องกําเนิดไฟฟาผิดไปจากสภาวะปกติ
- ไอเสียมากกวาปกติ
- แรงดันน้ํามันหลอลื่นต่ํากวาปกติ
- น้ํามันหลอลื่น น้ําหลอเย็นรั่วซึม
- อื่น ๆ
125
ตารางการตรวจสอบบํารุงรักษา

ระยะเวลา รายการที่ตรวจสอบ วิธีปฏิบัติ A B C


1 ทุก 20 ชั่วโมง - ตูควบคุมไฟฟาและอุปกรณ - ตรวจสอบจุดตอสายไฟตางๆ และการทํางานของสวิตช
การใชงาน โอนยาย
- ระดับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต - ตรวจระดับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
- ระดับน้ําในหมอน้ํา - ตรวจสอบระดับน้ําในหมอน้ํา
- การรั่วซึมของน้ําและน้ํามันตาง ๆ - ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ําและน้ํามันตาง ๆ
- ระดับน้ํามันเชื้อเพลิง - ตรวจระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
2. ทุกสัปดาห - ความตึงสายพาน - ตรวจความตึงสายพาน
หรือ 7 วัน - ตูควบคุมไฟฟาและอุปกรณ - ตรวจสอบการทํางานของชุดควบคุมเครื่องและสวิตช
โอนยาย
- เครื่องยนต - ตรวจสอบเดินเครื่องยนตและตรวจสอบอุณหภูมิ
เครื่องยนต แรงดันน้ํามันเครื่อง
- ตัวเครื่องกําเนิดไฟฟา - ตรวจสอบคาแรงดันไฟฟา ความถี่
- แบตเตอรี่ - ตรวจสอบระดับน้ํากลั่นแบตเตอรี่ ขั้วและสายแบตเตอรี่
- ตรวจสอบแรงดันไฟฟาและการทํางาน
3. ทุก 3 เดือน - เครื่องประจุไฟฟาของแบตเตอรี่ - ตรวจสอบการทํางานของชุดควบคุมเครื่องและสวิตช
- ตูควบคุมไฟฟาและอุปกรณ โอนยาย
- ตรวจสอบจุดตอสายไฟฟาตางๆและการใชกระแสไฟฟา
- เครื่องยนต - ตรวจสอบไสกรองอากาศและไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
- ตรวจสอบทอยางและเหล็กรัดทอ
- ตรวจสอบขอตอสงกําลัง
- ตรวจสอบหมอน้ํารังผึ้งดานใน
- ตรวจสอบใบพัดระบายอากาศ
- ตรวจสอบรอยรั่วซึมที่หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
- ตัวเครื่องกําเนิดไฟฟา - ตรวจสอบ Shutdown Sensors
- ตรวจสอบการยึดติดกับฐานและตัวเครื่อง

หมายเหตุ A : สภาพปกติ B : แกไขบํารุงรักษา C : ตองแกไขซอมแซมโดยดวน

You might also like