You are on page 1of 7

การใช้ย าในเด็ก (Drugs in Pediatrics)

วัต ถุป ระสงค์


ทราบการเลือกใช้ย าที่เหมาะสมในเด็ ก การคำา นวณขนาดยาในเด็ ก รวมถึง
การให้ คำา แนะนำา สำา หรั บ โรคที่ พ บบ่ อ ยในร้ า นขายยา เช่ น ไข้ ผื่ น ผ้ า อ้ อ ม โรคใน
ระบบทางเดินหายใจส่วนบน โรคในระบบทางเดินอาหาร
การกำา หนดช่ว งอายุข องเด็ก
1. ทารกคลอดก่ อ นกำา หนด (Premature) หมายถึ ง ทารกที่ ค ลอดก่ อ นครบ
กำาหนดอายุครรภ์ (อายุครรภ์ < 38 สัปดาห์)
2. ทารกแรกเกิด (new born, neonate) หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิด –
1 เดือน
3. ทารก (infant) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 1 เดือน – 1 ปี
4. เด็กเล็ก (small child) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 1 – 5 ปี
5. เด็กโต (old child) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 6 – 12 ปี
6. วัยรุ่น (adolescents) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 13 – 18 ปี
เนื่องจาก Pharmacokinetic processes ของเด็กยังไม่สมบูรณ์ การใช้ยา
ในเด็กจึงต้องให้ ความระมัด ระวัง ในการใช้ใ ห้เ หมาะสม มิฉะนั้น อาจจะทำา ให้ เกิ ด
ปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ เช่น
- Chloramphenicol ทำา ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า Grey baby syndrome มี
อาการคลื่น ไส้ อาเจี ยน ปวดท้ อง ตัว สีเขียวคลำ้า จนคล้า ยสี เทา เนื่องจาก
ขาด oxygen เนื่ องจาก Chloramphenicol มีก ารแปรสภาพที่ ตั บ โดย
อาศัยเอนไซม์ และขับออกทางไต แต่ในเด็ก เอนไซม์ยังทำางานไม่สมบูรณ์
และการขับออกทางไตก็ไม่สมบูรณ์ ทำาให้เกิดการสะสมของยาได้
- Sulfnamides ทำา ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า Kernicterus มี อ า ก า ร
encephalopathy เนื่องจากการใช้ยาในเด็กเล็กเกินไป หรือใช้ในขนาด
ไม่ เ หมาะสม อาการผิ ด ปกติ ดั ง กล่ า ว เกิ ด ขึ้ น จากยาที่ มี ป ริ ม าณมากไป
แทนที่ billirubin ที่จับอยู่กับ albumin ที่ albumin site ทำาให้มีปริมาณ
free billirubin เพิ่มมากขึ้น และกระจายเข้าไปในไขสั นหลัง ผ่าน BBB
และเกิด encephalopathy ในที่สุด
- การดูดซึมยาผ่านทางผิวหนังของเด็กเกิดขึ้นได้ง่าย เนื่องจากผิวมีความชุ่ม
ชื้นสูง และผิวบาง ทำา ให้ยาดูดซึมได้ง่าย ดังนั้น การใช้ยาทางผิว หนังจึง
ต้องใช้อย่างระมัดระวัง เช่น การใช้ยากลุ่ม corticosteroid ต้องเลือกใช้
ชนิดที่มี potency ตำ่า ๆ
ข้อ ควรพิจ ารณาในการคำา นวณขนาดยาในเด็ก
1. การปรับขนาดยาคิดตามนำ้าหนักหรือพื้นที่ผิวของเด็ก ในช่วงขวบปี
แรก
2. ขนาดยาควรปรับตามนำ้า หนัก จะถึงเด็กมีนำ้าหนัก 50 kg ให้คิดเท่า
ขนาดที่ใช้ในผู้ใหญ่
3. สำา หรั บ ยาที่ มี ค วามปลอดภั ย ค่ อ นข้ า งสู ง อาจกำา หนดขนาดยาเป็ น
ช่วงตามกลุ่มอายุ
4. อาจกำาหนดขนาดยาในเด็ก โดยคำานวณจากขนาดยาในผู้ใหญ่ โดย
ใช้อายุ นำ้า หนักตัว หรือพื้นที่ผิวร่างกาย โดยวิธีที่น่าเชื่อถือที่สุด คือ การใช้
Body Surface Area (BSA)
การคำา นวณขนาดยาในเด็ก
1. การคำา นวณขนาดยาตามอายุ (กรณีไ ม่ท ราบนำ้า หนัก )
- Young’s Rule ใช้สำาหรับเด็กอายุ 2 – 12 ปี
อายุ(year)
ขนาดยาในเด
็็ก
= ×ขนาดยาผู
หญ่ใ้
อายุ +12
(year)
** (ค่าโดยประมาณ เด็กอายุ 6 ปี ~ 1/3 ของขนาดยาในผู้ใหญ่)

- Fried’s Rule ใช้สำาหรับทารกแรกเกิด – 1 ปี


อายุ
(month)
ขนาดยาในเด
็็ก
= ×ขนาดยาผู
หญ่้ใ
150
** (ค่าโดยประมาณ เด็กอายุ 6 เดือน ~ 1/25 ของขนาดยาใน
ผู้ใหญ่)
2. การคำา นวณขนาดยาตามนำ้า หนัก ร่า งกาย
- Clark’s Weight Rule ใช้สำาหรับเด็กอายุ 2 ปีขึ้นไป
นำ้าหนั ก ×ขนาดยาผู
(lb) หญ่้ใ
ขนาดยาในเด
็็ก
=
150
** (ค่าโดยประมาณ เด็กนำ้าหนัก 10 kg (10 x 2.2) ~ 11/75 ของ
ขนาดยาในผู้ใหญ่)
- เภสัชตำารับมักระบุขนาดการใช้ยาเป็น mg/kg
ขนาดยา = นำ้าหนักร่างกาย (kg) x mg/kg ของยา
dose )×wt
(mg/kg/day
(kg)
(mL)=
Dose
conc ×frequency
.(mg/mL)
สูต รคำา นวณนำ้า หนัก ตัว เด็ก 1-12 ปี
- อายุ 1-6 ปี
นำ้าหนัก = [อายุ (year) x 2] + 8 kg
- อายุ 6-12 ปี
[อายุ ×7] −5
(year)
นำ้าหนัก
= kg
2
** Quick weight calculation = 2 x (age + 4)
ตัว อย่า ง Paracetamol syrup 120 mg/5 mL ให้คำานวณขนาดยาในเด็ก
อายุ 1 ปี
วิธ ีท ำา จาก Quick weight calculation = 2 x (age + 4)
= 2 x (1 + 4) = 10 kg
ขนาดยา paracetamol 10-15 mg/kg/dose  เด็กคนนี้ควรได้รับยา
ขนาด 100-150 mg/dose
จากโจทย์ Paracetamol syrup 120 mg/5 mL
ดังนั้น ขนาดยาที่ผู้ป่วยเด็กคนนี้ควรได้รับ = 120mg/5 mL คือ รับ
ประทาน 1 ช้อนชา
3. การคำา นวณขนาดยาตามพื้น ที่ผ ว ิ ร่า งกาย
มีความเหมาะสมมากกว่า เนื่องจาก ขนาดยาขึ้นกับอัตราเร็วของการเผาผลาญ
อาหาร มวลของร่างกาย ซึ่งสัมพันธ์กับพื้นที่ผิวมากกว่า แต่ต้องระวัง ในเด็กอ้วน
เนื่องจากอาจจะได้ขนาดยาที่สูงเกินจำาเป็น ให้คำานวณจาก IBW
IBWMale = 50 + 2.3 (ht in inch over 5 ft) IBWFemale
= 45 + 2.3 (ht in inch over 5 ft)
พื้นที่ผ
เด็
ิวก(m2
)
ขนาดยาในเด
็็ก
= ×ขนาดยาผู
หญ่้ใ
1.73(m) 2

สำาหรับพื้นที่ผิวของเด็ก สามารถหาได้จาก nomogram หรือ BSA (m2)


= 0.007184 x ht (m)0.725 x wt (kg)0.425
โดยทั่วไปจะถือว่าเด็กอายุมากกว่า 12 ปี จะใช้ยาขนาดเท่ากับผู้ใหญ่ (นำ้าหนัก ≥
50 kg)
ปัญ หาทีพ่ บบ่อ ยในเด็ก
1. อาการไข้ (Fever)
• อาการไข้ คือ ภาวะที่เด็กมีอุณหภูมิ > 37.4 C (oral), > 38 C (rectal),
> 37.8 C (axillary) และสามารถเกิดอาการชักได้ หากมีอุณหภูมิสูงกว่า
39 C หรือเคยมีประวัติการชักจากไข้สูง
• เมื่อเด็กมีไข้ควรพิจารณาอาการอื่นร่วม เช่น ผื่น ภาวะหายใจลำาบาก ท้อง
เสีย ปวดหู เจ็บคอ ไอ นำ้ามูก ปวดท้อง
• สาเหตุของอาการไข้ อาจเกิดจากการติดเชื้อ URI, UTI, common cold,
tonsillitis, otitis media, pneumonia, meningitis, การตอบสนอง
ต่อวัคซีน
• การดู แ ลรั ก ษา อาจให้ ย าลดไข้ (Paracetamol, Ibuprofen, Aspirin)
หรือรักษาทั่ว ๆ ไป เช่น เช็ดตัวด้วยนำ้าอุ่น ดื่มนำ้ามาก ๆ ไม่ใส่เสื้อผ้าหนา ๆ
หรือห่มผ้าหนา ๆ
• อย่าใช้ยาลดไข้นานเกิน 5 วันโดยไม่ทราบสาเหตุของไข้ (ถ้ามีไข้สูงเกิน 5
วัน โดยไม่ทราบสาเหตุ  refer)
การใช้ย าลดไข้
1.1 Paracetamol
• เป็น ยาที่เ ลือ กใช้ เ ป็น อั นดั บแรก มีป ระสิท ธิภ าพเทีย บเท่ า กั บ aspirin ใน
การลดไข้ มีหลายรูปแบบและหลายความเข้มข้นให้เลือกใช้
• Dose 10-15 mg/kg q 4-6 hr, max dose 75 mg/kg/day (5 ครั้ง
ต่อวัน)
1.2 Aspirin
• ไ ม่ แ น ะ นำา ใ ห้ ใ ช้ ใ น เ ด็ ก อ า ยุ น้ อ ย ก ว่ า 16 ปี ห รื อ อี สุ ก อี ไ ส ห รื อ
respiratory viral infections  Reye’s Syndrome
(encephalopathy, hepatic dysfunction, death)
• Dose 10-15 mg/kg q 4-6 hr, max dose 4 g/day  รับ ประทาน
หลังอาหารทันที
1.3 Ibuprofen
• มีประสิทธิภาพในการลดไข้ดีกว่า Paracetamol
• ไม่ แ นะนำา ให้ ใ ช้ ใ นเด็ ก ที่ มี อุ ณ หภู มิ ไ ม่ สู ง มาก หรื อ อายุ น้ อ ยกว่ า 6 เดื อ น
(ใช้ Paracetamol)
• Dose ในเด็ก 6 เดือน-2 ปี
- T < 39 C  5 mg/kg
- T > 39 C  10 mg/kg, max dose 40 mg/kg/day (4-6 ครั้ง)
2 Common cold, Acute rhinitis
• เป็นโรคติดเชื้อของโพรงจมูกจากเชื้อไวรัส มีไข้ตำ่า ๆ หนาว ๆ ร้อน ๆ ปวด
เมื่อยตามตัว ร่วมกับอาการนำ้ามูกใส (อาจเหลืองตอนเช้า ) จาม คัดจมูก เจ็บ
คอ และไอ
• การดูแลรักษา ไข้หวัดหายได้เองภายใน 1-5 วัน ไม่เกิน 1 wk ควรรักษา
ตามอาการโดยให้ยาลดไข้ ยาลดนำ้ามูก แนะนำาให้สั่งนำ้ามูกออกหรือใช้ลูก
ยางแดงดู ด นำ้า มู ก หรื อ ทำา nasal irrigation (0.9% NaCl 5-10 cc) ถ้า
นำ้ามูกเหนียวแห้ง หยอด 0.9% NaCl 1-2 หยด
การใช้ย าบรรเทาอาการ
1.1 Antihistamines
• 1st generation (CPM, brompheniramine, diphenhydramine,
tripolidine), 3rd generation (loratadine, cetirizine,
fexofenadine)
• ยาที่มี ฤทธิ์ anticholinergic (1 st gen) ให้ผลลดนำ้า มูก ได้ ดีก ว่า แต่ห าก
ใช้ในเด็กเล็กอาจเกิดอาการนอนไม่หลับ กระวนกระวายได้
1.2 Decongestants สำาหรับลดอาการบวมของเยื่อบุจมูก
• Oral decongestants เช่น pseudoephedrine 1 mg/kg tid-qid 
ไม่แนะนำาให้ใช้ในเด็กเล็ก อายุ < 1 ปี
• ยาพ่ น จมู ก หรื อ หยอดจมู ก เช่ น 0.5% ephedrine, phenylephrine,
naphazoline  ไม่แนะนำาให้ใช้ในเด็กเล็ก อายุ < 1 ปี การใช้ติดต่
ดกั น นานเกิ น 5 วัน อาจทำา ให้ เ กิ ด rebound phenomenon (rhinitis
medicamentosa, rebound congestion, rhinorrhea)
1.3 ยาลดอาการไอ
• Antitussive (diphenhydramine, dextromethorphan, codeine)
 ไม่ควรใช้ในเด็ก เพราะทำาให้ไอไม่ออก เสมหะค้างและอุดหลอดลมได้
• Expectorants (guaifenesin, glyceryl guaiacolate,
bromhexine, ambroxol)
• Mucolytics (acetylcysteine, carbocysteine)
3. Acute Otitis Media (AOM)
เป็นอาการของหูชั้นกลางอักเสบ เนื่องจากการติดเชื้อ พบได้บ่อยในเด็กอายุ 6
เดือน-3 ปี เนื่องจากเด็กมีท่อ eustachine สั้นและทำามุมมากกว่าผู้ใหญ่ เชื้อก่อโรค
ที่ สำา คั ญ เ ช่ น S. aureus, H. influenzae, Moraxella catarrhalis เ ป็ น ต้ น
อาการสำาคัญ ได้แก่ ปวดหู กวน จับใบหูหรือเอานิ้วแหย่รูหู กดเจ็บหลังหู นำ้ามูกไหล
หนองไหลออกจากหู ไข้ ถ้าส่องกล้องจะพบเยื่อแก้วหูแดง โป่งออกหรือมีฝ่าขุ่น มีนำ้า
ในหูชั้นกลาง ถ้าเป็นมากกว่า 3 เดือน  Chronic Otitis Media
การรั ก ษา รั ก ษาโดยให้ ย าปฏิ ชี ว นะ 5-7 วัน (AOM ไม่ มี ภ าวะแทรกซ้ อ น),
10-14 วั น (เ ด็ ก อ า ยุ < 2 ปี เ ยื่ อ แ ก้ ว หู ท ะ ลุ มี ก า ร ก ลั บ เ ป็ น ซำ้า
immunocompromised)
• AOM ไม่มีภาวะแทรกซ้อน  Amoxicillin 40-50 mg/kg/day หาก
เชื้อเริ่มดื้อยา 80-90 mg/kg/day bid-tid
• กรณี ไ ม่ ต อบสนองต่ อ Amoxicllin หรื อ อาการไม่ ดี ขึ้ น ใน 48 hr 
Amoxiciilin-clavulanic acid (amoxicillin 80-90 mg/kg/day)
ห รื อ 2nd gen Cephalosporins ช นิ ด กิ น ห รื อ Ceftriaxone (IM)
single dose
• ก ร ณี แ พ้ Beta-lactams  azithromycin or clarithromycin or
TMP-SMX
4. Acute rhinosinusitis
เป็นอาการติดเชื้อของโพรงอากาศรอบ ๆ จมูก โดยอาการใน 7 วันแรก ไม่
สามารถแยกออกจาก common cold ได้ มักพบร่ว มกับประวัติภูมิแพ้ อาการหลัก
คื อ facial pain, facial congestion, nasal obstruction, postnasal drip,
fever รับกลิ่นได้ลดลง และอาการรอง (ที่อาจเกิดได้ ) คือ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บหู ปวด
ฟัน มีกลิ่นปาก เชื้อสาเหตุหลักเหมือน AOM
ควรคำานึงถึง sinusitis เมื่อ เป็นหวัดนานกว่า 10 วัน และอาการไม่ดีขึ้น มีไข้
สูง นำ้า มูกข้นเขียว ปวดกระบอกตา แก้มหรือบริเวณเหนือลูกตา หรือบวมรอบตา มี
อาการไอ มักไอมากตอนกลางคืน หายใจมีกลิ่นเหม็น อาจไม่มีไข้หรือไข้ตำ่า ๆ โดย
แยกจาก allergic rhinitis ตรงที่ allergic rhinitis จะเป็ น ซำ้า ๆ คั น จมู ก หรื อ มี
อาการภูมิแพ้อื่น ๆ ร่วม
การรั ก ษา ให้ Amoxicillin 10-14 วั น (หากแพ้ ใ ช้ Macrolides) หาก
อาการไม่ดีขึ้นใน 3-5 วัน หรือกลับเป็นซำ้า ใน 2 wk ใช้ Amoxiciilin-clavulanic
acid หรือ 2nd gen Cephalosporins ชนิด กิน อาจให้ร่ว มกับ decongestants,
antihistamine (ไม่ควรใช้รุ่น 1)
5. Colic
เป็นอาการที่เด็กร้องไห้โยเยไม่หยุด โดยเฉพาะเวลาเย็นทุกวัน นานกว่า 2-3
hr/day, 3 day/week และเป็นอยู่นาน 3 wk ในเด็กอายุ < 3 เดือน มักพบได้บ่อย
ในเด็กอายุ 1-4 เดือน โดยไม่มีสัญญาณของโรคหรือความเจ็บป่ว ยอื่ น ๆ อาจเกิด
จากลำาไส้ทำางานหนักเกินไป อากาศไหลเข้าไปในลำาไส้ กินเร็ว มากเกินไป หรือกลืน
อากาศเข้าไปมาก
การรักษาป้องกัน เช่น การป้องกันการกลืนลมเข้าไป อย่าป้อนนมมากหรือน้อย
เกินไป อุ้มทารกพาดบ่าในเรอหลังกินนม ใช้ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ ทาบาง ๆ ที่หน้าท้อง
ใช้ยา Simethicone, Gripe water, Charmomine tea

6. Diarrhea
มี อ าการถ่ า ยเหลว ถ่ า ยมาก มั ก เกิ ด จาก gastroenteritis การติ ด เชื้ อ
retroviruses (ระยะฟักตัว 1-2 วัน) แต่หากมีไข้ ถ่ายเป็นมูกเลือด กลิ่นเหม็น อาจ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย การตรวจร่างกายที่สำา คัญ คือ การประเมินสภาวะขาด
นำ้า (dehydration) ซึ่งเป็นสาเหตุการตายที่สำาคัญในเด็กอายุ < 4 ขวบ
การประเมิน สภาวะขาดนำ้า สามารถประเมินได้จาก
• Tachycardia  moderate dehydration
• Hypotension  severe dehydration
• Increase in respiratory rate  higher degree of dehydration
• กระหม่อมบุ๋ม ปากแห้ง นำ้าลายข้นเหนียว ผิวหนังแห้ง เย็น ขาดความยืดหยุ่น
ปัสสาวะน้อย ขุ่น มีความถ่วงจำาเพาะมาก
สภาวะขาดนำ้า
• Mild  อาการไม่ชัดเจน อาจสังเกตจากการกระหายนำ้า
• Moderate  หิวนำ้า กระสับกระส่ าย ร้องกวน ผิวหนังแห้ง ปากแห้ง ตาลึก
กระหม่อมบุ๋ม ชีพจรเต้นเร็วขึ้น
• Severe  ชีพจรเต้นเร็ว ซึมไม่รู้สึกตัว shock
การรัก ษา
• Rehydration and electrolyte replacement  ห า ก อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ
severe dehydration ให้ IV fluid infusion 20 CC of NSS or lactate
Ringer’s solution หากอยู่ ใ นระดั บ mild-moderate ให้ ORS สำา หรั บ
เด็ก (5-20 cc q 5-10 min) โดยเฉพาะช่วง 4-6 ชั่วโมงแรก ถ้าเด็กอาเจียน
ระหว่างดื่ม ORS ให้หยุดดื่ม 5-10 นาที แล้วค่อยดื่มใหม่ ถ้ามีอาการอาเจียน
ร่วมด้วย ให้ค่อย ๆ จิบครั้งละ 1 ช้อนชา ทุก 5 นาที
• หยุดให้นำ้าเกลือ เมื่อระยะห่างของการถ่ายแต่ละครั้งมากกว่า 6-8 ชั่วโมง หรือ
อาการขาดนำ้าหายไป
• ให้ยาลดการเคลื่อนไหวของลำา ไส้ เช่น Loperamide, diphenoxylate ไม่
ควรใช้ในเด็กอายุ < 6 ปี และท้องเสียเนื่องจากการติดเชื้อ
• ให้ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับ เช่น Kaolin, pectin, activated charcoal ไม่ช่วยให้
อาการดีขึ้น ถ้าใช้มากกว่า 2 วัน จะทำา ให้อุจจาระแข็งเป็นก้อน ถ่ายลำา บาก
และไม่ควรใช้ในเด็กอายุ < 3 ปี
• ภาวะอุจจาระร่วงส่วนใหญ่หายได้เอง ไม่จำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ควรหา
สาเหตุและแก้ไข ร่วมกับกับให้ ORS
• สามารถให้นมแม่ต่อได้ หรือให้นมผงชนิดไม่มี lactose ให้อาหารอ่อน
• Refer กรณีเด็กอายุ < 3 เดือน
7. ท้อ งผูก (Constipation)
อาการ คือ ถ่ายลำา บาก ปวดท้อง อุจจาระแข็ง หลายวันจึงจะถ่าย มักพบบ่อย
ในทารกและเด็ก สาเหตุเกิดจากการรับประทานอาหารหรือนำ้าไม่เพียงพอ หรือมีการ
เปลี่ยนจากนมแม่เป็นนมขวด สาเหตุที่เกิดจากโรคมักพบน้อย
การรัก ษา
• แก้ที่สาเหตุ คือ ในเด็กที่สามารถรับประทานอาหารได้ ให้เพิ่มอาหารที่มีกาก
ใย ผัก ผลไม้ อาจใช้ยาเหน็บหรือยาสวน
• ควรหลีกเลี่ยงยาระบายแบบ stimulant (Senna, Bisacodyl) ในเด็กทารก
และไม่แนะนำาให้ใช้แบบ chronic use
- ยาเหน็บ glycerin (hyperosmotic) ใช้สำาหรับเด็กทารก
- Bisacodyl 5 mg (ยาเม็ด) ใช้ในเด็กอายุ > 6 ปี
- ยาเหน็บทวาร ขนาด 5 mg ใช้ในเด็กอายุ > 2 ปี
- ยาสวนทวาร เช่ น Saline enema  safe and efficacy เหมาะกั บ
อุจจาระแข็ง ถ่ายยาก
- Bulk forming agents เช่น methylcellulose ใช้ในเด็กอายุ > 6 ปี
- Lubricants เช่น mineral oil ใช้ในเด็ กอายุ > 6 ปี และให้ ระวัง lipid
pneumonia จาก GERD และการสำาลัก
- Magnesium hydroxide ระวังการเกิดพิษในเด็กทารก และระวังการใช้
ในผู้ป่วยเด็กโรคไต
8. ผื่น ผ้า อ้อ ม (Nappy rash/ Diaper rash)
พบการเกิดได้ในเด็กอายุ 9-12 เดือน สาเหตุเกิดจากการหมักหมมของ urine
และ feces บนผิ ว หนั ง โดยเชื้ อ แบคที เ รี ย ทำา ให้ เ กิ ด แอมโมเนี ย เกิ ด การทำา ลาย
ผิ ว หนั ง อาการ คื อ มี ผื่ น แดง (erythema), สะเก็ ด (scaling) , เป็ น ตุ่ ม หนอง
(pustules) อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเชื้อ Candida ได้ ภายใน 3 วัน จะทำา ให้
ผิวแฉะ ชื้น และมีกลิ่นเหม็น
การรัก ษา
• รักษาความสะอาดโดยการเปลี่ยนผ้าอ้อมบ่อย ๆ (อย่างน้อยทุก 3 ชั่วโมง) ล้าง
คราบสบู่ให้หมดหลังอาบนำ้า
• First line therapy  zinc oxide ointment เ ป็ น antiseptic and
astringent และไม่ทำาให้เกิดผื่นแพ้
• Protective agent เ ช่ น zinc oxide, Vaseline, caster oil ointment
 ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง
• Powdered protective agents  Talcum
• Low potency corticosteroid  1% hydrocortisone apply bid 1
wk สำาหรับ severe inflammation
• Anticandidal agents  clotrimazole, miconazole, nystatin เมื่ อ มี
การติดเชื้อ Candida

You might also like