You are on page 1of 31

คู่มือการสร้ าง

หุ่นยนต์ น้อย หัวใจอิเล็กทรอนิกส์


สาขาวิชาฟิ สิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา
เอกสารประกอบกิจกรรม

โครงการมหาวิทยาลัยเด็ก
ประเทศไทย
ประจําปี ๒๕๕๙ 2
จุดประสงค์

เพือให้ เด็กๆ สนุกสนานกับการเรี ยนรู้ วิชาอิเล็กทรอนิกส์เบืองต้ น ไปพร้ อมกับการ


สร้ างหุน่ ยนต์ตามเส้ นอย่างง่าย โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรม

3
แนะนําหุ่นยนต์ BEAM

4
5
6
7
อิเล็กทรอนิกส์พนฐาน

8
ตัวต้ านทาน
ตัวต้านทานมีคุณสมบัติตา้ นการไหลไฟของกระแสไฟฟ้า เพือให้กระแสไฟฟ้าเหมาะสมกับวงจรนันๆ โดยค่าความ
ต้านทาน จะมีหน่วยเป็ นโอห์ม (Ω) และมีอกั ษรย่อ R ตัวต้านทานแบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ
1. ตัวต้านทานคงที (Fixed Resistor)
เป็ นตัวต้านทานทีมีค่าความต้านทานไม่เปลียนแปลง มีสัญลักษณ์เป็ น ตัวต้านทานชนิ ดนีจะไม่มีขวั
ดังนันการนําไปใช้ไม่จาํ เป็ นต้องพิจารณาการต่อให้ถูกขัว

รู ปตัวต้านทานแบบสี แถบสี (รู ปซ้าย) และแบบห้าแถบสี (รู ปขวา) 9


ตัวต้านทานคงทีจะมีแถบสี ระบุค่าความต้านทานส่ วนมากมี 4 แถบ หรื อ 5 แถบ แต่ละสี มีค่าประจํา
สี ดงั ตาราง

รู ประบุค่าความต้านทานตามแถบสี 10

รู ปจาก : www.kmitl.ac.th/~s2010977/Lab%20auto%20(electronic)1.htm
2. ตัวต้านทานปรับค่าได้ (Variable Resistor)
ตัวต้านทานทีสามารถปรับเปลียนค่าความต้านทานได้ดว้ ยการหมุนแกนของตัวต้านทาน มีสัญลักษณ์
เป็ น โดยตัวต้านทานปรับค่าได้จะมี 3 ขา ค่าความต้านทานจะระบุอยูบ่ นตัวต้านทานโดยตรง
เช่น ตัวต้านทานปรับค่าได้แบบโวลุ่ม หรื อ ระบุโดยใช้รหัสตัวเลข

รูปตัวต้ านทานโวลุม่ และเกือกม้ า 11


3. ตัวต้านทานไวแสง หรื อ แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor)
ตัวต้านทานไวแสงค่าความต้านทานจะปรับเปลียนไปตามแสงทีกระทบบนตัวมัน ในขณะทีไม่มีแสงมาตก
กระทบค่าความต้านทานจะสูงมาก แต่เมือมีแสงมาตกกระทบค่าความต้านทานจะตํามาก โดย LDR มีขาใช้งาน 2
ขา ซึงไม่มีขวั มีสัญลักษณ์เป็ น

รู ปตัวต้านทานไวแสง LDR กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง 12


ความต้านทานและความเข้มแสง
ตัวเก็บประจุ (Capacitor)

ตัวเก็บประจุเป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทีทําหน้าทีเก็บสะสมประจุและคายประจุออกมาให้กบั


วงจร ค่าความจุของตัวเก็บประจุมีหน่วยเป็ นฟารัด (F) แต่ตวั เก็บประจุทีพบเห็นทัวไปมักมีหน่วยเป็ น
ไมโครฟารัด (µF)

สําหรับในหุ่ นยนต์ ตัวเก็บประจุมีหน้าทีกรองสัญญาณ (Filter) ทําให้สัญญาณไฟตรงทีได้เรี ยบ


มากขึน และกําจัดสัญญาณรบกวนทีปนมาให้ลดลง

13
ตัวเก็บประจุมีลกั ษณะภายนอกแตกต่างหลายแบบ ซึงแต่ละแบบเหมาะกับการใช้งานต่างกัน โดย
ตัวเก็บประจุแบ่งตามลักษณะทางกายภาพได้ 2 ชนิ ด
1. ตัวเก็บประจุชนิ ดมีขวั

14

ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโทรไลติก สัญลักษณ์ตวั เก็บประจุชนิดมีขวั


2. ตัวเก็บประจุชนิดไม่มีขวั

ตัวเก็บประจุแบบเซรามิค สัญลักษณ์ตวั เก็บประจุชนิดมีขวั


15
ไดโอด (Diode)
เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ ง ทีออกแบบและควบคุมทิศทางการไหลของประจุไฟฟ้า มัน
จะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลในทิศทางเดียว และกันการไหลในทิศทางตรงกันข้าม ดังนันจึงอาจถือว่า
ไดโอดเป็ นวาล์วตรวจสอบแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ ง โดยมีขาใช้งาน 2 ขา คือ แคโทด(-) และ
แอโนด(+)

ไดโอดชนิ ดซิ ลิกอน สัญลักษณ์ การทํางานของไดโอด


16
ไดโอดเปล่งแสง หรื อ แอลอีดี (LED : Light Emitting Diode)
ไดโอดเปล่งแสงนีเมือมีกระแสไหลผ่านจะให้แสงสว่างออกมา มักเรี ยกไดโอดชนิ ดนี ว่า LED
โดยลักษณะคล้ายหลอดไฟเล็กๆ โดยมีขา 2 ขา ขาทีสันกว่าคือ ขัวแคโทด (-) และขาทียาวกว่าคือ
ขัวแอโนด (+)

17

หลอด LED สัญลักษณ์


อินฟราเรด แอลอีดี หรื อ IR LED (Infrared LED)
IR LED เป็ นไดโอดเปล่งแสงย่านอินฟราเรด ซึ งอินฟราเรดสายตามนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้
นิยมใช้เป็ นตัวส่ งสัญญาณ

สัญลักษณ์ IR LED
18
ทรานซิสเตอร์ (Transistor)
ทรานซิสเตอร์เป็ นอุปกรณ์สารกึงตัวนําทีสามารถทําหน้าที ขยายสัญญาณไฟฟ้า เปิ ด/ปิ ด
สัญญาณไฟฟ้า คงค่าแรงดันไฟฟ้า การทํางานของทราสซิ สเตอร์เปรี ยบได้กบั วาลว์ทีถูกควบคุมด้วย
สัญญาณไฟฟ้าขาเข้า เพือปรับขนาดกระแสไฟฟ้าขาออกทีมาจากแหล่งจ่ายแรงดัน มีขา 3 ขา ได้แก่
ขาเบส (B : Base)ขาอิมิตเตอร์ (E : Emiter)ขาคอลเล็กเตอร์ (C : Collector)

19
ชนิ ดของทรานซิ สเตอร์ แบ่งตามโครงสร้างมี 2 แบบ คือ
1. ชนิ ด NPN เป็ นทรานซิสเตอร์ ทีจ่ายไฟเข้าทีขาเบสให้มีความต่างศักย์สูงกว่าขาอิมิตเตอร์
C

รู ปสัญลักษณ์ทรานซิ สเตอร์ชนิด NPN

E
2. ชนิ ด PNP เป็ นทรานซิ สเตอร์ ทีจ่ายไฟเข้าทีขาเบสให้มีความต่างศักย์ตากว่
ํ าขาอิมิตเตอร์
E

รู ปสัญลักษณ์ทรานซิ สเตอร์ชนิด PNP


20

C
โฟโต้ทรานซิสเตอร์ (Photo Transistor)
ทําหน้าทีควบคุมการไหลของกระแสคล้ายกับทรานซิสเตอร์ แต่จะใช้แสงเป็ นตัว
ควบคุมแทน นิ ยมใช้เป็ นตัวรับสัญญาณ มี 2 ขา คือ ขา E และขา C

E
C
สัญลักษณ์โฟโต้ทรานซิ สเตอร์
21
มอเตอร์ (Motor)
ทําหน้าทีเปลียนแปลงพลังงานไฟฟ้าให้เป็ นพลังงานกล เพือช่วยให้เกิดเป็ นระบบขับเคลือนของหุ่นยนต์

สัญลักษณ์ DC Motor
22
การสร้างหุ่นยนต์ตามเส้น

23
การเคลือนทีของหุ่นยนต์

BRAITENBERG
VEHICLE

24
25
วงจรควบคุมหุ่นยนต์

26
แนวทางการสร้างฐานหุ่ นยนต์
ล้ อพยุง/ แผงวงจรควบคุม ตกแต่งหน้ าตาให้ น่ารัก
แผ่นอคริ ลกิ ล้ ออสระ
หนา 3 มม.

สวิตช์
ปิ ด/เปิ ด

6-9V DC motor + ล้ อ แบตเตอรี 9V


27
แนวทางการสร้างแผงวงจรควบคุม

ด้ านบน ด้ านล่ าง

ตัวอย่างวงจรทีบัดกรี ลงบนแผ่น prototype board


28
คลิปตัวอย่างหุ่นยนต์ทีสร้างสําเร็จแล้ว

29

https://youtu.be/035NU0x2yFg
30
คณะผูจ้ ดั ทํา

บุญฤทธิ ขึนทันตา
ปิ ยรัชนี ประไพรภูมิ
ไวพจน์ งามสอาด

31

You might also like