You are on page 1of 11

ว า ร ส า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ บุ รี รั ม ย์ 51

การพัฒนาทักษะกระบวนการปฏิบต ั งิ านของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้
เรื่อง การปลูกผักสวนครัว

THE DEVELOPMENT OF PERFORMANCE PROCESS SKILLS OF


GRADE 9 STUDENTSIN LEARNINGABOUT GROWING HOME –GROWN
VEGETABLES WITH MULTIMEDIASUPPORTING
ศุภเนตร นอบน้อม 1

บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาสื่อ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วน
ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว เบีย่ งเบนมาตรฐาน และสถิตทิ ใี่ ช้ทดสอบสมมุตฐิ านความแตก
สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตาม ต่างค่าเฉลีย่ ของคะแนนวัดทักษะกระบวนการปฏิบตั งิ านของ
เกณฑ์ 80/802) ศึกษาผลการพัฒนาการทักษะกระบวนการ นักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้
ปฏิบัติงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดย ซึง่ ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Oneway ANOVA) และ
ใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การปลูกผัก เปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคูด่ ว้ ยวิธกี ารของ Sheffe’
สวนครัว และ3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า
ใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผัก 1) สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูก
สวนครัว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียน ผักสวนครัว กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อำ�เภอ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ 82.24/80.00 ซึ่งเป็น
วิหารแดง จังหวัดสระบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ไปตามเกณฑ์ 80/80
จำ�นวน 1 ห้องเรียน จำ�นวนนักเรียน 37 คน ซึ่งได้มาโดยใช้ 2) นักเรียนได้รบั การพัฒนาทักษะกระบวนการทำ�งาน
วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน ทีเ่ รียนโดยใช้สอื่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรูเ้ รือ่ ง การ
การวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปลูกผักสวนครัว และระหว่างเรียนมีการวัดพัฒนาการ 3
การปลูกผักสวนครัว จำ�นวน 11 แผนๆ ละ 2 ชั่วโมง 2) สื่อ ระยะ พบว่าในแต่ละระยะของการประเมินนักเรียนมีทักษะ
ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้เรื่อง การปลูกผักสวน กระบวนการมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่
ครัว3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทำ�งานที่มีลักษณะ ระดับ.01 (F =33.65) โดย
เป็นเกณฑ์ให้คะแนนรูบริคส์ (Scoring Rubrics) และ 4)
แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อวิธีสอนโดยใช้สื่อ ระยะที่ 3 ( = 75.24) มีคะแนนเฉลีย่ มากทีส่ ดุ รองลงมาเป็น
ประสมแบบมาตรส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติพรรณนา ระยะที่ 2 ( =72.22) และระยะที่ 1( =68.27) ตามลำ�ดับ

1
ครู สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
52 วม หา าร วิสทายรา วิลั จัย ยร าแช ลภั ะฎ พับุ รีฒรั นม ย์า

3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้สื่อ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ( = 4.55,


ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว S.D. = 0.12)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คำ�สำ�คัญ: ทักษะกระบวนการ,สื่อประสม

ABSTRACT
The purposes of this researchwere to 1) The collected data areanalyzed by usingmean,
develop learning multimedia about growing percentage,standard deviation,one way ANOVA and
home-grown vegetables in the learning area compare the pair by means of Sheffe.
occupation and technology of 9th grade 2) develop The resultsof the study are as follows:1.
process skill of students by using learningmultimedia Learning multimedia about growing home-grown
3) study student satisfaction on teaching method by vegetables in the learning area occupation and
using multimedia. The samples used in the study technology of 9th grade effective82.24/80.00which
is a class of 9th grade students with 37 people is in accordance with the criteria of 80/802. Students
studying in the first semester of academic year2015 have been working to develop a process using
in PrateabwittayatanSchool, WihandaengDistrict, Learning multimedia about growing home-grown
SaraburiProvince.The students are acquired by vegetables. And the study measured improvements
cluster sampling . The instrument used in this three stages, each stage of assessment of student
study are1)learning management planfor teach skills, the process is different at a statistically
students about growing home-grown vegetables significant level .01 (F = 33.65) by Phase 3 ( =
in the learning area occupation and technology 75.24) are available, the most average a minor
of 9th grade2) multimedia learning about growing second phase ( = 72.22) and Phase 1 ( = 68.27),
home-grown vegetables in the learning area occupation respectively 3. Student satisfaction on learning by
and technology of 9thgrade3)a skills assessment using multimedia about growing vegetables in the
processand 4) student satisfaction questionnaire learning area occupation and technology of 9th
on teaching method using multimedia. grade found in highest level ( = 4.55, S.D = 0.12)
Keyword : process skill, multimedia

ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559


ว า ร ส า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ บุ รี รั ม ย์ 53

บทนํา
การศึกษาเป็นการสร้างชาติให้มั่นคงได้อย่างยั่งยืน ความสุขมีศกั ยภาพทีจ่ ะแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์
สร้างเยาวชนให้มีความรู้คู่การทำ�งานซึ่งจะช่วยกอบกู้วิกฤต ในเวทีโลก (กรมวิชาการ. 2550 : 1) การพัฒนาผู้เรียนตาม
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศเป็นรากฐานสำ�คัญที่สุดใน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา
การพัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์และสมดุลทั้งด้านจิตใจ ผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำ�ลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความ
สติปัญญาอารมณ์และสังคม (กรมวิชาการ. 2540:1) ทั้งนี้ สมดุลทั้งด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม มีจิตสำ�นึกในความ
แนวทางในการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา เป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมัน่ ในการปกครองตาม
แห่งชาติพุทธศักราช 2542 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545) ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีหลักการที่สำ�คัญคือกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝัง มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำ�เป็นต่อการ
จิตสำ�นึกที่ถูกต้องที่จะรักษาและส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต และ
ภูมิปัญญาไทยพร้อมๆกับความรู้อันเป็นสากลตลอดจนการ โดยธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของกลุ่มสาระการเรียนรู้
อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมมีความสามารถใน การงานอาชีพและเทคโนโลยีจะมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความ
การประกอบอาชีพรูจ้ กั พึง่ ตนเองมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ใฝ่ เข้าใจเกี่ยวกับการงานอาชีพและเทคโนโลยีมีทักษะการ
รูแ้ ละเรียนรูด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ่ งดังนัน้ การจัดการศึกษา ทำ�งานทักษะจัดการสามารถนำ�เอาเทคโนโลยีสารสนเทศจาก
ไม่สามารถแยกออกไปจากท้องถิน่ ได้เพราะการจัดการศึกษา ภูมปิ ญั ญาพืน้ บ้านภูมปิ ญ
ั ญาไทยและเทคโนโลยีสากลมาใช้ใน
ต้องนำ�เอาข้อมูลพื้นฐานของท้องถิ่นมาเป็นส่วนหนึ่งของ การทำ�งานอย่างถูกต้องเหมาะสมคุม้ ค่าและมีคณ ุ ธรรมสร้าง
การจัดการเรียนการสอนเพื่อทำ�ให้ผู้เรียนเกิดความภูมิใจใน และพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธกี ารใหม่ๆสามารถทำ�งานร่วมกับ
รากเหง้าของตนเองสามารถทำ�ให้ผู้ที่จบการศึกษาออกไปมี ผู้อื่นและเป็นหมู่คณะมีนิสัยรักการทำ�งานเห็นคุณค่าและมี
ความรับผิดชอบและมีความสามารถทีจ่ ะสร้างสรรค์สงั คมได้ เจตคติที่ดีต่องานมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เป็นพื้น
ส่ ง ผลให้ ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทางการศึ ก ษาต้ อ งร่ ว มมื อ กั น ฐานคือความขยันซื่อสัตย์ประหยัดและอดออมอันจะนำ�ไป
สร้างสรรค์สิ่งเหล่านั้นให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริงซึ่งหลักสูตรใน สูก่ ารให้ผเู้ รียนสามารถช่วยเหลือตนเองและพึง่ ตนเองได้ตาม
ปัจจุบันมุ่งให้ท้องถิ่นนำ�ไปประยุกต์ใช้ตามความสนใจหรือ พระราชบัญญัตเิ ศรษฐกิจแบบพอเพียงสามารถดำ�รงชีวติ อยู่
ความเหมาะสมในแต่ละสภาพพื้นที่ (นิคม ชมภูหลง. 2545 ในสังคมได้อย่างมีความสุข (กรมวิชาการ.2545 : 3) ทั้งนี้
:84) ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ งานเกษตรเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการทำ�งานด้านการปลูก
พุทธศักราช 2542 มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล พืชและเลี้ยงสัตว์หรือใช้วิธีบอกความรู้ไม่ใช้กิจกรรมหรือวิธี
ครอบครัวชุมชนองค์กรชุมชนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเรียนการสอนทีท่ �ำ ให้ผเู้ รียนเกิดความคิดสร้างสรรค์สว่ น
เอกชนองค์กรเอกชนองค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนาสถาน ใหญ่เน้นเฉพาะภาคความรูข้ าดการส่งเสริมหรือปลูกฝังทีจ่ ะ
ประกอบการและสถาบันสังคมอืน่ ส่งเสริมความเข้มแข็งของ นำ�ไปประยุกต์ในชีวติ ประจำ�วันการเรียนรูย้ งั อยูใ่ นลักษณะที่
สังคมโดยจัดกระบวนการเรียนรูภ้ ายในชุมชนและวิทยาการ ครูเป็นศูนย์กลางกิจกรรมทีผ่ เู้ รียนปฏิบตั เิ ป็นกิจกรรมทีท่ �ำ ตาม
ต่างๆเพือ่ พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ ครูสงั่ ขาดความคิดสร้างสรรค์ซงึ่ ความรูท้ ไี่ ด้รบั ส่วนใหญ่เกิด
ต้องการของท้องถิน่ มีการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่าง จากการท่องจำ�และเข้าใจเนือ้ หามากกว่าการได้ลงมือปฏิบตั ิ
ชุมชน (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2542 : 28-29) จริง (สำ�นักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.
หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551เป็นหลักสูตร 2540 : 17-18) และสอดคล้องกับรายงานการสังเคราะห์
แกนกลางที่ทำ�ขึ้นเพื่อเป็นกลไกสำ�คัญในการพัฒนาการ การวิจัยของกรมวิชาการเรื่องหลักสูตรและการใช้หลักสูตร
ศึกษาของประเทศเพื่อสร้างคนไทยให้เป็นคนดีมีปัญญามี ประถมศึกษา 2521 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2533) ด้านกระบวน

ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559


54 วม หา าร วิสทายรา วิลั จัย ยร าแช ลภั ะฎ พับุ รีฒรั นม ย์า

การเรียนการสอนพบว่าการจัดการเรียนการสอนของครูสว่ น ของนักเรียนและชุมชนและเป็นการใช้ภูมิปัญญาที่มีอยู่ใน
ใหญ่ยังเน้นความรู้ความจำ�ยังไม่เน้นกระบวนการเท่าที่ควร ท้องถิ่นในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นให้มีคุณภาพ
และขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้วิธีสอนให้
เหมาะสมกับการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการรวมทั้งขาด วัตถุประสงค์การวิจัย
ความรูใ้ นการเขียนแผนการเรียนรู้ (กรมวิชาการ. 2545 : 52) 1. เพื่อพัฒนาสื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้
ปัจจุบนั ด้วยบทบาทของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามา เรื่อง การปลูกผักสวนครัว สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
มีบทบาทในการจัดการเรียนรูส้ อื่ ประสมเป็นสือ่ คอมพิวเตอร์ ปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80
ประเภทหนึง่ ได้เข้ามาบทบาทในการจัดการเรียนรูท้ เี่ รียกว่า 2. เพือ่ ศึกษาผลการพัฒนาทักษะกระบวนการปฏิบตั ิ
“สื่อประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia) โดย งานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโดยใช้สื่อประสมประกอบ
การเพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างสื่อและผู้ใช้สื่อประสมสมัยนี้จึง การจัดการเรียนรู้ เรื่อง การปลูกผักสวนครัว
หมายถึง การนำ�อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องเล่มซีดี - รอม 3. เพื่อหาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้สื่อ
เครื่องเสียงระบบดิจิทัล เครื่องเล่นแผ่นวีดิทัศน์ ฯลฯ มาใช่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว
ร่วมกันเพื่อเสนอเนื้อหาข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ภาพกราฟิก
ภาพถ่ายภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ และเสียงในระบบ สมมติฐานการวิจัย
สเตริโอโดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต 1. สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ งการปลูก
การนำ�เสนอเนื้อหาเป็นการให้ผู้ใช้หรือผู้เรียนมิใช่เพียงแต่ ผักสวนครัว กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
นั่งดูหรือฟังข้อมูลจากสื่อที่เสนอมาเท่านั้นแต่ผู้ใช้สามารถ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำ�งานในการตอบสนองต่อคำ�สั่ง 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการ
และให้ข้อมูลป้อนกลับในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ ผู้ใช้ จัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว กลุม่ สาระการเรียน
สื่อสามารถมีปฏิสัมพันธ์ตอบสนองซึ่งกันและกันได้ทันที รูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีท3ี่ มีทกั ษะ
ผู้ วิ จั ย ในฐานะครู ก ลุ่ ม สาระการงานอาชี พ สั ง กั ด กระบวนการสูงขึ้น
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 4 มีแนวคิดที่ต้องการ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้สื่อ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การปลูกผักสวน
เกิดทักษะในการทำ�งานมีความรับผิดชอบอดทนสามารถ ครัว ในระดับมาก
ทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้และนำ�ไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่อไป
ประกอบกับประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดสระบุรมี อี าชีพทาง ขอบเขตของการวิจัย
เกษตรกรรมและการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะนิยมปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ไว้เพือ่ เป็นอาหาร และจำ�หน่ายดังนัน้ การปลูกผักเป็นอีกอาชีพ 1.1 ประชากรได้แก่นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท3ี่ ภาค
หนึง่ ทีค่ วรได้รบั การส่งเสริมจากเหตุผลทีก่ ล่าวมาข้างต้น ทำ�ให้ เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนประเทียบวิทยาทาน
ผูว้ จิ ยั มีความประสงค์ทจี่ ะนำ�สือ่ ประสมประกอบการจัดการ อำ�เภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี สำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
เรียนรู้เรื่อง การปลูกผักสวนครัว มาใช้ในการเพิ่มความรู้ให้ มัธยมศึกษาเขต 4 จำ�นวนนักเรียน312คน
กับนักเรียนเพือ่ นำ�ไปสูก่ ารพัฒนาทักษะกระบวนการปฏิบตั ิ 1.2 กลุ่มตัวอย่าง
งานของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่อไปนอกจาก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
นี้ยังเป็นแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมสำ�หรับนักเรียนที่สนใจ เพื่อ ภาคเรียนที1่ ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนประเทียบวิทยาทาน
ให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และส่งเสริมการ อำ�เภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี สำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
สร้างองค์ความรูข้ องนักเรียนทีส่ ามารถตอบสนองกับวิถชี วี ติ มัธยมศึกษาเขต 4 จำ�นวน 1 ห้องเรียนจำ�นวนนักเรียน 37 คน
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
ว า ร ส า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ บุ รี รั ม ย์ 55

2. ระยะเวลาในการวิจัย ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา กรอบแนวคิด


2558 จำ�นวน 36 ชั่วโมง ดังนี้ ผู้วิจัยสร้างและพัฒนาตามกรอบแนวคิดเพื่อพัฒนา
2.1 ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ทักษะกระบวนการปฏิบัติงาน ดังนี้
จำ�นวน 1 ชั่วโมง
2.2 ดำ�เนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จำ�นวน
34 ชั่วโมง ตัวแปรตน ตัวแปรตาม
การเรียนรูโดยใชสื่อประสม 1.ประสิ ท ธิ ภ าพของสื่ อ
2.3 ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ประสมประกอบการเรี ย น
ประกอบการจัดการเรียน
จำ�นวน 1 ชั่วโมง เรื่องการปลูกผักสวนครัว
รูเรื่องการปลูกพืช 2. ทักษะกระบวนการปฏิบตั ิ
3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ คือ ความรู้เรื่องการ ผักสวนครัว งานของนักเรียนที่เรียนโดย
ปลูกผักสวนครัว กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ กลุมสาระการเรียนรูการ ใชสื่อ ประสมประกอบการ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 งานอาชีพและเทคโนโลยี จัดการเรียนรูเรื่องการปลูก
ผักสวนครัว
4. ตัวแปรที่ศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
3. ความพึงพอใจของนักเรียน
4.1 ตัวแปรต้นได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม ที่มีตอ การเรียนโดยใชสื่อ
ประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผักสวนครัว กลุ่ม ประสมประกอบ
การจัดการเรียนรูเรื่องการ
สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีชนั้ มัธยมศึกษา ปลูกผักสวนครัว
ปีที่ 3
4.2 ตัวแปรตามได้แก่ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการพัฒนาทักษะกระบวนการ
4.2.1 ประสิทธิภาพของสื่อประสมประกอบ ปฏิบัติงานของนักเรียน
การเรียน เรือ่ งการปลูกผักสวนครัว กลุม่ สาระการเรียนรูก้ าร
งานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4.2.2 ทักษะกระบวนการปฏิบัติงานนักเรียน
วิธีดำ�เนินการวิจัย
ทีเ่ รียนโดยใช้สอื่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ งการ
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
ปลูกผักสวนครัว
1. การพัฒนาสื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้
4.2.3 ความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ
เรื่อง การปลูกผักสวนครัว
การเรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง
ผู้วิจัยมีขั้นตอนในการสร้าง หาคุณภาพ สื่อประสม
การปลูกผักสวนครัว
ประกอบการจัดการเรียนรู้ดังนี้
5. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
1. ศึกษา วิเคราะห์ กรอบแนวคิด และแนวทาง
5.1 สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่
การจัดการศึกษาของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน และ เอกสารประกอบ
อาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียน เรื่อง การปลูกผักสวนครัว
พุทธศักราช 2551
5.2 แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว
2. ศึกษา และจัดทำ�บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
ที่เรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้
เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ
5.3 แบบประเมินทักษะการปฏิบตั งิ านของนักเรียน
และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำ�นวน 9 หน่วย
5.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่
3. จั ด ทำ � คู่ มื อ ครู ก ารใช้ บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์
การเรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง
ช่วยสอน เรื่อง การปลูกผักสวนครัว กลุ่มสาระการเรียนรู้
การปลูกผักสวนครัว
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
56 วม หา าร วิสทายรา วิลั จัย ยร าแช ลภั ะฎ พับุ รีฒรั นม ย์า

4. ศึกษา และดำ�เนินการสร้างเอกสารประกอบ การให้คะแนนรูบริคส์ (Scoring Rubrics) ทั้งนี้ผู้วิจัยมีขั้น


การเรียนรู้การปลูกผักสวนครัว สำ�หรับนักเรียนระดับชั้น ตอนในการสร้างเครื่องมือดังนี้
มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำ�นวน 5 ชุด 1. ศึกษาหลักสูตร และคูม่ อื การวัดผลตามหลักสูตร
5. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการปลูกผัก พุทธศักราช 2551
สวนครัวที่เรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ 2. ศึกษามาตรฐานและตัวชี้การประกันคุณภาพ
6. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภายในมาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการท่างานรักการ
จำ�นวน 40 ข้อ ทำ�งานสามารถทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่อ
7. นำ�สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ พร้อม อาชีพสุจริต
แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทีส่ ร้าง 3. ผู้วิจัยได้สร้างแบบประเมินซึ่งประกอบด้วย
ขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จำ�นวน 5 ท่านตรวจสอบและประเมิน 3.1แบบประเมินพฤติกรรมการทำ�งาน
คุณภาพและนำ�วิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง พบว่าสื่อ ของนักเรียน
ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ มีคา่ ดัชนีความสอดคล้อง 3.2 แบประเมินทักษะการทำ�งานของ
เท่ากับ 1.00 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทุก นักเรียน
ข้อมีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80 -1.00 3.3 แบบประเมินทักษะการทำ�งานกลุ่ม
8. นำ�ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขสื่อประสม 3.4 แบบประเมินโครงงาน
แผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น 4. ผู้วิจัยนำ�แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงาน
9. นำ�แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ไปทดสอบกับ ของนักเรียนไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้อง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา พบว่าแบบประเมินทักษะการปฏิบตั งิ านทุกแบบประเมินมีคา่
2557 จำ�นวน 40 คน จากนัน้ นำ�ข้อสอบข้อมูลไปวิเคราะห์คา่ IOC = 1.00
ความยากง่ายของแบบทดสอบ จากนัน้ คัดเลือกแบบทดสอบ 5. ผูว้ จิ ยั ได้น�ำ แบบประเมินทักษะการปฏิบตั งิ านของ
จำ�นวน 30 ข้อ ที่มีค่าความยากง่าย ระหว่าง โดยเลือกแบบ นักเรียนไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของนักเรียนใน
ทดสอบทีม่ คี า่ ความยากระหว่าง 0.40-0.60 และมีคา่ อำ�นาจ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
จำ�แนกตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไปจำ�นวน 30 ข้อ 6. ผู้วิจัยนำ�คะแนนประเมินทักษะกระบวนการ
10. นำ � สื่ อ ประสมประกอบการจั ด การเรี ย นรู้ ไ ป
ไปหาค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินทักษะกระบวนการ
ทดสอบครั้งที่ 1 แบบเดี่ยวพร้อมนำ�คะแนนระหว่างเรียน ปฏิบตั งิ านของนักเรียนโดยใช้สตู รสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ของ
และคะแนนหลังเรียนมาหาค่าประสิทธิภาพ E1/E2 พบว่า เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) โดยใช้
มีค่าประสิทธิภาพ 82.23/81.11 โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางสถิติ SPSS ซึ่งสามารถวิเคราะห์ค่า
11. นำ�สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรูไ้ ปทดสอบ ความเชื่อถือได้ของแบบประเมินทักษะกระบวนการปฏิบัติ
ครัง้ ที่ 2 การทดลองกลุม่ เล็กหลังจากนำ�สือ่ ประสมประกอบ งานของนักเรียน ได้ผลดังนี้
การจัดการเรียนรูม้ าปรับปรุงแก้ไขแล้วผูว้ จิ ยั ได้น�ำ ไปทดลอง
6.1 แบบประเมินพฤติกรรมการทำ�งาน
กับนักเรียนจำ�นวน 10 คนและหาค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ของนักเรียน มีค่าความเชื่อมั่น 0.89
พบว่ามีค่าประสิทธิภาพ 82.06 /80.33 6.2 แบบประเมินทักษะกระบวนการ
ทำ�งานมีค่าความเชื่อมั่น 0.80
2. แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียน 6.3 แบบประเมินทักษะการทำ�งานกลุ่ม
แบบประเมินทักษะการปฏิบตั งิ านนักเรียนทีผ่ วู้ จิ ยั มีค่าความเชื่อมั่น 0.85
สร้างขึน้ มีลกั ษณะเป็นแบบประเมินทีม่ วี ธิ กี ารกำ�หนดเกณฑ์
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
ว า ร ส า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ บุ รี รั ม ย์ 57

6.4 แบบประเมินโครงงานมีค่าความ จัดการเรียนรู้ แบบประเมินทักษะกระบวนการปฏิบัติงาน


เชื่อมั่น 0.79 ของนักเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3. การรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนำ�สื่อประสมประกอบ
3. แบบสอบถามความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี การจัดการเรียนรู้ไปทดสอบครั้งที่ 3 ผู้วิจัยได้เลือกนักเรียน
ต่อการเรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ คละกันมีทั้งเก่งปานกลางและอ่อนจำ�นวน 30 คน มาเรียน
เรื่องการปลูกผักสวนครัว ด้วยสื่อประสม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นหลังจากได้ทำ�การปรับปรุง
แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การ สื่อประสมในขั้นนี้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนจริงโดยเริ่ม
เรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่องการ ตั้งแต่ให้นักเรียนทำ�แบบทดสอบก่อนเรียนแล้วนำ�เข้าสู่บท
ปลูกผักสวนครัว ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีลักษณะเป็นมาตราส่วน เรียนประกอบกิจกรรมการเรียนสรุปผลการสอนและทำ�
ประมาณค่า (Rating Scale) 5 อันดับผูว้ จิ ยั มีขนั้ ตอนในการ แบบทดสอบหลังเรียนในการทดสอบภาคสนามนี้ ผู้วิจัยได้
สร้างดังนี้ นำ�คะแนนระหว่างเรียนและคะแนนจากการทำ�แบบทดสอบ
1. ศึกษาหลักการ ทฤษฎี วิเคราะห์สงิ่ ทีจ่ ะประเมิน หลังเรียนของนักเรียนมาหาประสิทธิภาพของสื่อประสม
พร้อมเขียนข้อคำ�ถาม จำ�นวน 15 ข้อ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสือ่
2. นำ�แบบสอบถามทีส่ ร้างขึน้ ไปให้ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจ ประสมโดยใช้ E1/E2
สอบความสอดคล้องเชิงเนื้อหานำ�ผลการประเมินที่ได้จาก
ผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องพบว่า แบบ ขั้ น ตอนที่ 3 การศึ ก ษาผลการพั ฒ นาทั ก ษะ
สอบถามีค่า IOC = 1.00 กระบวนการปฏิบัติงานของนักเรียน
3. นำ � แบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับ 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียน
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียน
2557 จำ�นวน 30 คน ที่เป็นกลุ่มภาคสนามที่ได้เรียนโดยใช้ ประเทียบวิทยาทาน อำ�เภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จำ�นวน
สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ 8 ห้องเรียน รวม 312 คน และกลุ่มตัวอย่างได้มาจากการ
4. นำ � คะแนนที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพของ สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) มา 1 ห้องเรียน จำ�นวน
แบบสอบถามโดยการหาค่าความเชื่อมั่นโดยวิธีการใช้สูตร 37 คน
สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบประเมินทักษะ
Coefficient) ใช้โปรแกรมสำ�เร็จรูปทางสถิติ SPSS ซึง่ สามารถ กระบวนการปฏิบัติงานของนักเรียน
วิเคราะห์ค่าความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามเท่ากับ 0.87 3. การรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยนำ�สื่อประสมประกอบ
การจัดการเรียนรูไ้ ปจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการ
ขั้นตอนที่ 2 การหาประสิทธิภาพของสื่อประสม เรียนรู้ และประเมินทักษะกระบวนการปฏิบตั งิ านของนักเรียน
ประกอบการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรพุทธศักราช 2551 โดยทำ�การประเมินทักษะ
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การปฏิบัติงานของนักเรียนระหว่างเรียน โดยแบ่งเป็น 3
ประชากรคือนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียน ระยะซึ่งในแต่ละระยะ ผู้วิจัยประเมินทักษะการะบวนการ
ที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อำ�เภอ ปฏิบัติงานของนักเรียนทั้ง 4 คือ พฤติกรรมการทำ�งานของ
วิหารแดง จังหวัดสระบุรี จำ�นวน 8 ห้องเรียน รวม 322 นักเรียนทักษะการทำ�งานของนักเรียนทักษะการทำ�งานกลุม่
คน และกลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster ประเมินโครงงาน
sampling) มา 1 ห้องเรียน จำ�นวน 30 คน 4. การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ผู้ วิ จั ย วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสื่อประสมประกอบการ เทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินทักษะ
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
58 วม หา าร วิสทายรา วิลั จัย ยร าแช ลภั ะฎ พับุ รีฒรั นม ย์า

กระบวนการปฏิบตั งิ านของนักเรียนระยะที่ 1 ระยะที่ 2 และ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทั้งนี้ผู้วิจัยกำ�หนดระดับความ


ระยะที่ 3 โดยการวิเคราะห์แปรปรวนทางเดียว (One way พึงพอใจไว้ 5 ระดับและการสรุปผลดังนี้
ANOVA: F – test) และเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นราย ระดับความพึงพอใจ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
คู่ด้วยวิธีการของ Sheffe’ ที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00
ระดับความพึงพอใจ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
ขั้นตอนที่ 4 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ มีค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.49
การเรียนโดยใช้สอื่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ระดับความพึงพอใจ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปาน
การปลูกผักสวนครัว กลาง มีค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49
1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างประชากรคือนักเรียนชัน้ ระดับความพึงพอใจ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียน มีค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49
ประเทียบวิทยาทาน อำ�เภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จำ�นวน ระดับความพึงพอใจ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
8 ห้องเรียน รวม 322 คน กลุม่ ตัวอย่างได้มาจากการสุม่ แบบ ที่สุด มีค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49
กลุ่ม (cluster sampling) มา 1 ห้องเรียน จำ�นวน 37 คน ผลการวิจัย
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามความพึง 1. ผลการพัฒนาสือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียน
พอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การเรียนโดยใช้สอื่ ประสมประกอบ รู้ เรื่อง การปลูกผักสวนครัว สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
การจัดการเรียนรู้ ปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่ อ ผู้ วิ จั ย จั ด การ
เรียนการสอนให้กับนักเรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการ ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพสือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียน
จัดการเรียนรู้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนตอบ
แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้ การวัดผล N เต็ม เฉลี่ย คะแนน (ร้อยละ)
สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ การวัดผลระหว่าง 30 490 402.97 82.24
4. การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ เรียน (E1)
ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้สื่อประสมประกอบการ วัดผลสัมฤทธิ์ 30 30 24.00 80.00
จัดการเรียนรู้ เรื่อง การปลูกผักสวนครัวโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ทางการเรียนหลัง
เรียน (E2)

ตารางที่ 2 แสดงผลการพัฒนาทักษะกระบวนการของนักเรียนในเรื่องพฤติกรรมการทำ�งานของนักเรียน และทักษะการ


ทำ�งานของนักเรียน (นักเรียน 37 คน)
ระยะเวลาประเมิน
F sig
พฤติกรรมที่ประเมิน เต็ม ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3
S.D. S.D. S.D.
1.พฤติกรรมการทำ�งานของนักเรียน 15 13.46 1.35 13.81 1.33 14.32 0.88 4.816 0.01
2.ทักษะการทำ�งานของนักเรียน 18 15.51 1.37 16.22 1.38 16.68 0.78 8.685 0.00
3.ทักษะกระบวนการกลุ่ม 30 24.43 3.72 26.19 1.81 26.83 1.71 8.575 0.00
4.ประเมินโครงงาน 20 14.97 2.02 16.00 1.05 17.41 1.21 24.838 0.00
รวม 83 68.27 3.43 72.22 3.62 75.24 2.93 33.645 0.00
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
ว า ร ส า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ บุ รี รั ม ย์ 59

จากตารางที่ 1 สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎีปญ ั ญานิยมนีก้ จ็ ะมีโครงสร้างของบทเรียนในลักษณะ


มีประสิทธิภาพ E1 / E2 เท่ากับ 82.24 / 80.00 ซึ่งเป็นไป สาขาเช่นกันโดยผู้เรียนทุกคนจะได้รับการเสนอเนื้อหาใน
ตามเกณฑ์ 80 / 80 ที่กำ�หนดไว้ ลำ�ดับที่ไม่เหมือนกันโดยเนื้อหาที่ได้รับการนำ�เสนอต่อไป
2. ผลการพัฒนาการทักษะกระบวนการปฏิบัติงาน นั้นจะขึ้นอยู่กับความสามารถความถนัดและความสนใจ
ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้สื่อประสม ของผู้เรียนเป็นสำ�คัญ สอดคล้องกับ ชอมสกี้ (Chomsky,
ประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การปลูกผักสวนครัว 1965) จากการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของกฤติกา
จากตารางที่ 2 นั ก เรี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะ สังขวดี (2546:บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการสร้างสื่อประสม
กระบวนการของนักเรียนการใช้สื่อประสมประกอบ การ ช่วยสอน Multimedia ผ่านInternetThe Construction
จัดการเรียนรูเ้ รือ่ ง การปลูกผักสวนครัว กลุม่ สาระเรียนรูก้ าร of Computer Assisted Instruction Multimedia on
งานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเรียน the Internet พบว่าบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน
โดยการวัดพัฒนาการ 3 ระยะ พบว่า และนักเรียนมีทักษะ Internet มีประสิทธิภาพ 84.85 /85.07 ซึ่งสอดคล้องกับ
กระบวนการปฏิบตั งิ านทีค่ วามแตกต่างกันอย่างมีนยั สำ�คัญ เกณฑ์มาตรฐาน และ สอดคล้องงานวิจยั ของ สมยศ เอียการนา
ทางสถิตทิ ี่ ระดับ .01 (F =33.65) โดยระยะที่ 3 ( = 75.24) (2547: บทคัดย่อ) ที่ศึกษาการพัฒนาชุดสื่อประสม เรื่อง
มีคะแนนเฉลีย่ มากทีส่ ดุ รองลงมาเป็นระยะที่ 2 ( = 72.22 ) การขยายพันธุ์พืชกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และ
และระยะที่ 1 ( = 68.27) ตามลำ�ดับ เทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนิยมมิตรวิทยาคาร
3. ผลการ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการ จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2546 พบว่า สือ่ ประสมทัง้
ใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การปลูกผัก 4 ชุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.32 คิดเป็นร้อยละ 88.00 ของ
สวนครัว พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ คะแนนเต็ม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบหลัง
สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวน เรียนมีคา่ เฉลีย่ 42.88 คิดเป็นร้อยละ 82.48 ของคะแนนเต็ม
ครัว กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น 2. นักเรียนได้รบั การพัฒนาทักษะกระบวนการของ
มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.55, นักเรียนการใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้เรื่อง
S.D. = 0.12) การปลูกผักสวนครัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยผู้วิจัยวัด
ทักษะการปฏิบัติงานระหว่างเรียน โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ
อภิปรายผลวิจัย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ที่ระดับ.01
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการการพัฒนากระบวนการ (F =33.65) โดย ระยะที่ 3 ( = 75.24) มีคะแนนเฉลี่ยมาก
ปฏิบัติงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ที่เรียนโดยใช้ ที่สุด รองลงมาเป็นระยะที่ 2 ( = 72.22 ) และระยะที่ 1
สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวน ( = 68.27 ) ตามลำ�ดับทั้งนี้เนื่องจากนักเรียนได้เรียนรู้หลัก
ครัวนำ�ไปสู่การอภิปรายผลการทดลอง ดังนี้ การทฤษฎีอย่างเพียงพอส่งผลให้มีความรู้สู่การวางแผน
1. สือ่ ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ ปฏิบัติกิจกรรม และสื่อแต่ละประเภทมีจุดเด่นของสื่อถ้ามี
E1 / E2 เท่ากับ 82.24 / 80.00 ซึง่ เป็นไปตามเกณฑ์ 80 / 80 การใช้หลาย ๆ สื่อ ก็จะเป็นการเติมเต็มซึ่งกันและกัน ซึ่ง
ทีก่ �ำ หนดไว้ทงั้ นีเ้ นือ่ งจากการพัฒนากระบวนการปฏิบตั งิ าน สอดคล้องกับ แนวคิดของ กิดานันท์มลิทอง (2544:6-7)
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทีโ่ ดยใช้สอื่ ประสมทีผ่ วู้ จิ ยั อธิบายว่าสือ่ ประสม หมายถึง การนำ�สือ่ หลายๆประเภท มา
สร้างขึน้ คำ�นึงถึงนักเรียนให้มอี สิ ระมากขึน้ ในการควบคุมการ ใช้รว่ มกันทัง้ วัสดุอปุ กรณ์และวิธกี าร เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ
เรียนของตนเองโดยเฉพาะอย่างยิง่ การมีอสิ ระมากขึน้ ในการ และประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยการใช้สื่อ
เลือกลำ�ดับของการนำ�เสนอเนือ้ หาของบทเรียนทีเ่ หมาะสม แต่ละอย่างตามลำ�ดับขั้นตอนของเนื้อหา และในปัจจุบันมี
กับตน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ออกแบบตามแนวคิดของ การนำ�คอมพิวเตอร์มาใช้รว่ มด้วยเพือ่ การผลิตหรือการควบคุม
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
60 วม หา าร วิสทายรา วิลั จัย ยร าแช ลภั ะฎ พับุ รีฒรั นม ย์า

การทำ�งานของอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการเสนอข้อมูลทัง้ ตัวอักษร ประสมประกอบการเรียนรู้ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก และยัง


ภาพกราฟิก ภาพถ่ายภาพเคลือ่ นไหวแบบวิดที ศั น์และเสียง สอดคล้องกับ สมยศ เอียการนา (2547: บทคัดย่อ) ที่ศึกษา
คำ� “สือ่ ประสม” (Multimedia) มีและสอดคล้องกับงานวิจยั การพัฒนาชุดสือ่ ประสม เรือ่ งการขยายพันธุพ์ ชื กลุม่ สาระการ
ของ อารียา ประยงค์กุล. (2535 :บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษาการ เรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ใช้สื่อประสมในการสอนวิชางานเกษตร เรื่อง การดูแลบำ�รุง โรงเรียนนิยมมิตรวิทยาคาร จังหวัดนครราชสีมาการศึกษา
รักษาไม้ดอกไม้ประดับ แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2546 พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ชุด
โรงเรียนประโคนชัยวิทยา จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่าผลสัมฤทธิ์ สือ่ ประสมกลุม่ การงานและเทคโนโลยีอยูใ่ นระดับพอใจมาก
ทางด้านทักษะวิชางานเกษตรของนักเรียนกลุม่ ทดลองสูงกว่า
กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อเสนอแนะ
3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อวิธีการสอนโดย ข้อเสนอแนะซึ่งเป็นผลที่ได้จากการดำ�เนินการวิจัย
ใช้สื่อประสม ครั้งนี้มีดังต่อไปนี้
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้สอื่ 1.ข้อเสนอแนะในการเรียนการสอน
ประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การปลูกผักสวนครัว 1.1 ในสถานศึกษาควรมีการส่งเสริมพัฒนาครูผสู้ อน
อยู่ในระดับมากที่สุด โดยนักเรียนรู้สึกชอบที่สื่อประสมช่วย ให้มีการใช้สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน
กระตุน้ ความสนใจในการเรียนรูอ้ ยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ รองลงมา ให้มากขึ้น เพราะครูผู้สอนบางคนยังยึดการสอนแบบเดิมๆ
คือ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อความรู้ที่ได้รับอยู่ในระดับ อาจทำ�ให้นกั เรียนเกิดความเบือ่ หน่ายและมีผลต่อผลสัมฤทธิ์
มากและสื่อประสมมีลักษณะของขนาด สีตัวอักษร ชัดเจน ทางการเรียน ทักษะที่จำ�เป็นของนักเรียน
สวยงามเหมาะสมกับวัยของนักเรียนทั้งนี้อาจเป็นเพราะ 1.2 ครูควรลดบทบาทจากการเป็นผู้สอนมาเป็นผู้
ว่า สื่อประสมประกอบการจัดการเรียนรู้ มีภาพประกอบ ให้ค�ำ ปรึกษาหรือคำ�แนะนำ�ควรมีการกระตุน้ และให้ก�ำ ลังใจ
ชัดเจน ทำ�ให้เกิดความพอใจทำ�ให้จำ�เนื้อหาได้ดีขึ้นรวมทั้ง ผูเ้ รียนในการทำ�กิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้เด็กเกิดความพึงพอใจ
การเรียนการสอนด้วยสื่อประสมประกอบการจัดการเรียน ต่อวิชานั้น ๆ
รู้ เปลีย่ นบรรยากาศในการเรียนให้นา่ สนใจขึน้ เพิม่ แรงจูงใจ 1.3 ควรมีการศึกษาเกีย่ วกับความพร้อมของผูเ้ รียน
ในการเรียนให้แก่ผเู้ รียนมีการใช้สภี าพ ภาพเคลือ่ นไหวเสียง กับการใช้สอื่ ประสมและมีการสอนซ่อมเสริมให้กบั นักเรียนที่
ดนตรีเป็นการเพิ่มความเหมือนจริงและเร้าใจผู้เรียนให้เกิด มีขาดความพร้อม
ความอยากรู้อยากเรียนมากขึ้นสามารถใช้ในการศึกษาราย 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
บุคคลได้เป็นอย่างดีให้ความเป็นส่วนตัวแก่ผู้เรียนทำ�ให้ผู้ 2.1 ควรมีประยุกต์สื่อประสมประกอบการจัดการ
เรียนเกิดความพึงพอใจทีด่ กี บั บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรียนรู้ในเนื้อหาเรื่องอื่น ๆ เพราะสื่อประสมประกอบการ
สอดคล้องกับคอตเลอร์ (Kotler, 2000) ทีไ่ ด้กล่าวไว้วา่ ความ จัดการเรียนรู้สามารถลดระยะเวลาในการเรียน นักเรียน
พึงพอใจเป็นความรูส้ กึ ของบุคคล ในผลลัพธ์ของสิง่ ทีต่ อ้ งการ สามารถสืบค้นความรู้ได้ด้วยตนเองมากยิ่งขึ้น
ถ้าการรับรู้ต่อสิ่งที่ต้องการพอดีกับความคาดหวังจะเกิด 2.2 ควรสร้างสือ่ ประสมสำ�หรับกลุม่ สาระการเรียน
ความพึงพอใจจากการวิจัยครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ รูอ้ นื่ ๆ เพือ่ เร้าความสนใจแก่นกั เรียนในการนำ�ไปใช้ประกอบ
พยูรณี ตันมิง่ (2551:ออนไลน์) ได้ศกึ ษา การพัฒนาสือ่ ประสม การจัดการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพซึง่ จะสอดคล้องกับ
ประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา การพัฒนานักเรียนในรายวิชานั้น ๆ อย่างแท้จริง
และวัฒนธรรม เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วัน 2.3. ควรมีการสำ�รวจความต้องการของนักเรียน
สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลการศึกษาพบว่า เกี่ยวกับการเลือกสื่อประสม และให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ การดำ�เนินการ
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559
ว า ร ส า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ บุ รี รั ม ย์ 61

เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ. (2540) แนวทางการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.


.คูม่ อื การจัดสาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช
2544. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กฤติกา สังขวดี .(2546).การสร้างสื่อประสมช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet . วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม.
กิดานันท์ มลิทอง. (2544).สื่อการสอนและฝึกอบรม: จากสื่อพื้นฐานถึงสื่อดิจิทัล. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำ�กัดอรุณการพิมพ์
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
นิคม ชมพูหลง.(2545). วิธกี ารและขัน้ ตอนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิน่ และการจัดทำ�หลักสูตรสถานศึกษา. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์
พยูรณี ตันมิ่ง. (2551).การพัฒนาสื่อประสม ประกอบการเรียนรู้กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาสังคมศึกษา
เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วัน สำ�หรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเชียงคาน อำ�เภอเชียงคาน จังหวัดเลย
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2554 จากhttps://www.gotoknow.org/posts/280982
สมยศ เอียการนา.(2547).การพัฒนาชุดสื่อประสม เรื่องการขยายพันธุ์พืชกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์มหาลัยมหาสารคาม.
สำ�นักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2540).ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด ต้นแบบการเรียนรู้ทางด้านหลัก
ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ.
อารียา ประยงค์กุล. (2535) .การใช้สื่อประสมในการสอนวิชางานเกษตร เรื่อง การดูแลบำ�รุงรักษาไม้ดอกไม้ประดับ แก่นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Chomsky, Noam. (1965). Aspect of the Theory of Syntax. Massachusetts : The M.I.T. Press.
Kolter, Phillip. (2000). Marketing Management. The Millennium Edition. New Jersey : Prentice Hall.

ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2559

You might also like