You are on page 1of 43

1

คู่มือ
มาตรฐาน Setting Protective Relay

จัดทําโดย
คณะทํางานควบคุมมาตรฐานระบบป้องกันสถานีไฟฟ้าแรงสูง
มิถุนายน 2561

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


2

คํานํา
คู่มือการใช้งาน มาตรฐาน Setting Protective Relay จัดทําขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการทํา Relay Setting ไปในทางเดียวกัน ง่ายต่อการตรวจสอบ และเป็นผลทําให้ระบบส่งมี
ความมั่นคงมากยิ่งขึ้น สามารถนําไปใช้งานร่วมกับงานด้านปฏิบัติการ ทั้งงานตรวจรับ งานปรับปรุง งาน
บํารุงรักษา และใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุ เหตุการณ์ข้อขัดข้องที่เกิดขึ้นในระบบส่งของ กฟผ. นอกจากนี้
หน่วยงานวิศวกรรม หน่วยงานก่อสร้างสถานีไฟฟ้า สามารถนําไปใช้เป็นหลักเกณฑ์ออกแบบ ส่งมอบ สถานี
ไฟฟ้าต่อไป
คณะทํางานฯ ได้ดําเนินการแล้วเสร็จตามจุดประสงค์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฯ นี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อระบบควบคุมและป้องกันสถานีไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. ทั้งนี้มาตรฐานได้มีการปรับปรุงฉบับ
ใช้งานล่าสุด มิถุนายน 2561 (Revision No.1) จึงเห็นควรยึดเป็นแนวทางปฏิบัติต่อไป

คณะทํางานควบคุมมาตรฐานระบบป้องกันสถานีไฟฟ้าแรงสูง

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


3

สารบัญ
หลักการทั่วไปในการ Setting Protective Relay ........................................................................................................5
1. Transformer Protection ......................................................................................................................................................6
1.1 Transformer Differential Relay .....................................................................................................................6
1.2 High Side Overcurrent Relay สําหรับ Loading Transformer ..................................................................6
1.3 High Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (230/115kV) .....................................................7
1.4 Low Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (230/115kV) .......................................................7
1.5 High Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (500/230kV) ......................................................7
1.6 Low Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (500/230kV) .......................................................8
1.7 Overcurrent Ground Back-up Relay สําหรับ Tertiary Winding ...............................................................8
1.8 Overfluxing Relay สําหรับ Tie Transformer (500/230kV) ..........................................................................9
1.9 OLTC Overcurrent Relay ................................................................................................................................9
1.10 ระบบป้องกัน 22kV Tie Transformer ..............................................................................................................9
2. Feeder Protection (22, 33kV) ...................................................................................................................................12
2.1 Phase Overcurrent Relay............................................................................................................................. 12
2.2 Ground Overcurrent Relay.......................................................................................................................... 12
3. Bus Protection...................................................................................................................................................................12
3.1 Bus Differential Relay ชนิด High Impedance........................................................................................... 12
3.2 Bus Differential Relay ชนิด Low Impedance ........................................................................................... 13
3.3 Busbar Supervision Relay ............................................................................................................................ 14
4. Line Protection .............................................................................................................................................................15
4.1 Distance Relay ............................................................................................................................................... 15
Part I (EGAT-EGAT, EGAT-IPP, EGAT-SPP) ............................................................................................................. 15
Part II (สายส่งเชื่อมโยง กฟผ. – กฟภ. – กฟน.) ............................................................................................. 25
Part III (สายส่งจ่ายไฟรูปแบบอื่นๆ) ................................................................................................................. 31
4.2 Line Current Differential Relay .................................................................................................................. 33
5. Breaker Failure and End Fault Protection ...........................................................................................................34
5.1 Breaker Failure Relay สําหรับ Line .............................................................................................................. 34
5.2 Breaker Failure Relay สําหรับ Transformer ............................................................................................... 34
5.3 Breaker Failure Relay สําหรับ Capacitor Bank .......................................................................................... 34
5.4 Breaker Failure Relay สําหรับ Shunt Reactor............................................................................................ 34
5.6 End Fault Protection .................................................................................................................................... 35
5.7 Operating Time of Pole Disagreement (62PD)....................................................................................... 35
6. Capacitor Protection ...................................................................................................................................................35
6.1 Capacitor Bank 22, 33 kV ............................................................................................................................ 35
6.2 Capacitor Bank 69-115 kV ........................................................................................................................... 36
6.3 Capacitor Bank 230 kV ................................................................................................................................. 37
7. Reactor Protection ........................................................................................................................................................40
7.1 Phase Reactor Differential Relay............................................................................................................... 40
7.2 Neutral Reactor Restricted Earth Fault Relay ........................................................................................ 40
7.3 Reactor Overcurrent Relay ......................................................................................................................... 40

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


4
8. Backup Protection of Power Plant .........................................................................................................................41
9. Spacial Protection........................................................................................................................................................43

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


5

หลักการทั่วไปในการ Setting Protective Relay

- อุปกรณ์ระบบป้องกัน ที่ใช้งานอยู่ในระบบส่งของ กฟผ. มีทั้งที่เป็นแบบ Electromechanical,


Solid State (Static), Digital และ Numerical Relay โดยใช้ของบริษัทผู้ผลิตต่างๆ คือ ABB,
ALSTOM, SEIMENS, GE, SEL, TOSHIBA, ZIV(SPAIN) และ SCHNEIDER(UK)
- การ Setting Relay ทุกชนิดจะต้องแสดงตําแหน่งของ Relay นั้นๆ ลงบน Single Line
Diagram
- การ ต่อ Star Point ของ CT ให้ต่อ Star Point เข้าหาอุปกรณ์ที่จะป้องกันเสมอ
- การ Setting จะต้องแสดงการคํานวณอย่างละเอียดทุกขั้นตอน
- แสดงการ Setting ตาม Recommendation ของผู้ผลิต
- ต้องแสดงแผนภาพของการ Set Switch และ Link Switch ต่างๆ บนตัว Relay และภายในตัว
Relay อย่างละเอียด สําหรับ Switch ที่มีลักษณะสามารถเลือก Set ได้หลายค่า เช่น Thumb
Wheel Switch จะต้องเขียนค่าที่เลือกกํากับอย่างชัดเจน
- ต้องแสดงค่า Parameter Setting และ Logic Configuration ทั้งหมดของ Relay นั้น
- ให้คํานวณ CT Requirement ตามคู่มือ Relay แต่ละชนิด
- ต้องแสดงค่า CT Ratio ทุกค่าและ Accuracy Class ของ CT
- การเลือก CT Ratio ต้องตรวจสอบว่าค่า Maximum Bus Fault Current น้อยกว่า 20 เท่าของ
CT Ratio ที่เลือกใช้งาน หรือไม่เกินค่า ALF (ตามมาตรฐาน IEC)
- ต้องมีการทบทวน ปรับปรุงค่า Setting ของ Relay ชนิดต่างๆ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในระบบ
เช่น Fault Current มีค่ามากขึ้นหรือน้อยลง มีการเพิ่มหรือเปลี่ยนขนาดของหม้อแปลง มีการตัด
หรือเพิ่ม สายส่งใหม่ เป็นต้น

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


6

1. Transformer Protection
1.1 Transformer Differential Relay
- เลือกค่า CT Ratio ที่เหมาะสมทั้ง Main CT และ Auxiliary CT (ในกรณีที่ใช้) เพื่อไม่ให้
Secondary Current เกินค่า Rating ของ Relay โดยเลือก Main CT Ratio = 150% FOA Rating
ของ Transformer
- ในกรณีที่ใช้ Auxiliary CT จะต้องใช้ทุกๆ ด้านของ Relay ที่ต่อกับ Main CT และให้แสดง
Connection ของ Tap Auxiliary CT ที่ใช้งานด้วย ในการ Form Vector Group ให้ต่อ Main CT
เป็นแบบ Wye แล้ว Form แก้ไข Vector Group ที่ Auxiliary CT โดยต่อ Auxiliary CT เป็นแบบ
Wye ในด้านหม้อแปลงที่เป็น Delta และต่อ Auxiliary CT เป็นแบบ Delta ในด้านหม้อแปลงที่เป็น
Wye ส่วนกรณีที่หม้อแปลง เป็นแบบ Wye-Wye ให้ต่อ Main CT เป็นแบบ Wye แล้ว ต่อ Auxiliary
CT เป็นแบบ Delta ทั้งสองด้าน เพื่อป้องกัน Relay ไม่ให้ทํางานผิดพลาดเมื่อเกิด External Fault
(I0 Elimination)
- ตรวจสอบ CT Performance สําหรับกรณีที่เกิด Maximum External Fault จะต้องไม่ทําให้ CT
Saturated
- ค่า Percent Mismatch ที่เกิดจากการคํานวณจะต้องไม่เกิน 5% ที่ Normal Tap ของ
Transformer และ ค่า Total Mismatch Setting จะต้องมากกว่าผลรวมของค่า Percent
Mismatch ที่คํานวณได้, ค่า Error ของ CT และค่า Maximum or Minimum Transformer Tap
Changer
- เลือกค่า Percent Slope โดยคํานึงว่า Relay จะต้องไม่ทํางานในกรณีเกิด Maximum External
Fault
- Unrestraint Unit เลือกค่า Setting จาก Manual Relay และ Relay จะต้องไม่ทํางานที่
Maximum Inrush Current
- 2nd Harmonic Block = 12%
- 5th Harmonic Block = 40%
- ฟังก์ชั่น Cross Block ให้รองรับกรณีถ้ามี Fault ในระหว่างการ Block ต้อง Trip ได้
- กรณี Numerical Relay ในการแก้ไข Magnitude, Phase Shift และ Zero Sequence ให้ Form
CT เป็น Wye เสมอ พร้อมทั้งเปิดใช้งาน I0 Elimination

1.2 High Side Overcurrent Relay สําหรับ Loading Transformer ควร Set ให้ Current ทํางานแบบ
Harmonic Filtering
Phase Overcurrent Relay : ในการ Setting Overcurrent Relay จะต้องแสดง Time Coordination Curve
โดยใช้กระดาษกราฟชนิด Semi-Log Scale
- เลือก CT Ratio = 150% ของ FOA Transformer Rating
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ต้องมีค่ามากกว่า Operating Time ของ Low Side Overcurrent Relay โดย
มี Coordination Time Interval ประมาณ 500 ms. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current
ของ Low Side Bus
- Block Instantaneous Unit
Ground Overcurrent Relay : ไม่เปิดใช้งาน เนื่องจากเคยมีประวัติ Relay ทํางานผิดพลาด เมื่อเกิด Ground
Fault ในสายส่งด้าน 115kV

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


7

1.3 High Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (230/115kV) ควร Set ให้ Current ทํางาน
แบบ Harmonic Filtering
Phase Overcurrent Relay
- เลือก CT Ratio = 150% ของ FOA Transformer Rating
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 2.0 sec. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current Contributed to Low
Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

Ground Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 30% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 2.0 sec. ที่ Maximum Single Line to Ground Fault Current
Contributed to Low Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

1.4 Low Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (230/115kV) ควร Set ให้ Current ทํางาน
แบบ Harmonic Filtering
Phase Overcurrent Relay
- เลือก CT Ratio = 150% ของ FOA Transformer Rating
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current Contributed to Low
Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

Ground Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 30% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum Single Line to Ground Fault Current
Contributed to Low Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

1.5 High Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (500/230kV) ควร Set ให้ Current ทํางาน
แบบ Harmonic Filtering
Phase Overcurrent Relay
- เลือก CT Ratio = 150% ของ FOA Transformer Rating
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current Contributed to Low
Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


8

Ground Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 30% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum Single Line to Ground Fault Current
Contributed to Low Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

1.6 Low Side Overcurrent Relay สําหรับ Tie Transformer (500/230kV) ควร Set ให้ Current ทํางาน
แบบ Harmonic Filtering
Phase Overcurrent Relay
- เลือก CT Ratio = 150% ของ FOA Transformer Rating
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current Contributed to Low
Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

Ground Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 30% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ Maximum Single Line to Ground Fault Current
Contributed to Low Side Bus (Fault ที่ Low Side Bus)
- Block Instantaneous Unit

1.7 Overcurrent Ground Back-up Relay สําหรับ Tertiary Winding ควร Set ให้ Current ทํางานแบบ
Harmonic Filtering
ในการ Setting Overcurrent Relay จะต้องแสดง Time Co-ordination Curve โดยใช้กราฟชนิด Semi-Log
Scale
- ใช้ค่า Maximum Circulating Current (3IOT) ที่ไหลใน Tertiary Winding เมื่อเกิด Single Line to
Ground Fault ที่ด้าน Low Voltage โดยได้ค่าจากผลการศึกษาของแผนกวิเคราะห์ระบบไฟฟ้า
- ใช้ CT Ratio ค่าสูงสุด ใน Tertiary Winding แต่ละ Phase ต่อขนานกันแล้วจึงต่อเข้า Relay
- ใช้ Overcurrent Ground Relay จํานวน 2 ชุด โดยชุดที่ 1 (51GB1) ใช้ Time Characteristic
แบบ Long Time Inverse ชุดที่ 2 (51GB2) ใช้แบบ Very Inverse
- Minimum Pickup Current สําหรับ Relay ชุดที่ 1 ประมาณ 100% ของ OA Rating ของ
Tertiary Winding ส่วน Relay ชุดที่ 2 ประมาณ 200-300% ของ OA Rating Tertiary Winding
(ค่า Current ที่ใช้ในการ Setting จะเป็น 3 เท่าของค่าที่คํานวณเนื่องจากใช้ CT แต่ละ Phase ต่อ
ขนานกันเข้า Relay)
- Time Characteristic ของ Relay ชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 ต้องต่ํากว่า Thermal Damage Curve ของ
Transformer โดยมี Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum Circulating Current
(3IOT) และให้ Block การทํางานของ Instantaneous Unit.
- กรณีที่มีการติดตั้ง NGR แล้วพบว่าค่า 3IOT ที่ไหลใน Tertiary Winding เมื่อเกิด Single Line to
Ground Fault ที่ด้าน High Voltage มีค่าสูงกว่า เมื่อเกิด Single Line to Ground Fault ที่ด้าน
Low Voltage ถ้าคํานวณ Relay Setting ตามปกติโดยวิธีข้างต้น จะทําให้ Relay ทํางานด้วยเวลาที่
น้อยลงเมื่อเกิด Single Line to Ground Fault ที่ด้าน High Voltage ซึ่งอาจชิงทํางานก่อนระบบ
ป้องกันชุดอื่นได้ ให้ใช้ค่า Setting ดังนี้
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
9

 Minimum Pickup Current สําหรับ Relay ชุดที่ 1 ประมาณ 100% ของ OA Rating
ของ Tertiary Winding
 Operating Time ประมาณ 1.8 sec.
 Minimum Pickup Current สําหรับ Relay ชุดที่ 2 ประมาณ 200% ของ OA Rating
ของ Tertiary Winding
 Operating Time ประมาณ 1.5 sec.

1.8 Overfluxing Relay สําหรับ Tie Transformer (500/230kV)


- Setting Curve ของ Overfluxing Relay ให้ต่ํากว่า Transformer Capability Curve โดยมี
Time Margin ประมาณ 1.0-2.0 sec.

1.9 OLTC Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)

1.10 ระบบป้องกัน 22kV Tie Transformer


1. มี 1 Feeder ต่อรับไฟจาก Tertiary Winding ของ Tie Transformer 1 ชุด ประกอบด้วย
1.1 Phase Overcurrent Relay(51) : Trip ผ่าน Transformer Differential Lockout Relay (86K)
1.2 Residual Overvoltage Relay (59N) : ใช้งาน Alarm

Phase Overcurrent Relay (51)


- เลือก CT Ratio = 150% ของ Rated MVA Tertiary Winding
- Minimum Pickup Current = 120% of Rated MVA Tertiary Winding or 120% Load
Conductor Capacity โดยเลือกค่าน้อย
- Time Characteristic ให้ Coordinate กับ Fuse of Station Service
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ 22kV Maximum 3 Phase Fault Current

Residual Overvoltage Relay (59N) ( With 3rd Harmonic Block )


- Minimum Pickup Voltage = 10% Maximum 3V0 of Single Line to Ground Fault
Voltage
- Time delay = 5.0 sec.

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


10

- ด้าน Secondary PT ที่ Terminal ชุด X ต่อแบบ Broken Delta เพื่อใช้งาน 59N โดยมี Damping
Resistor ต่อพ่วงหลัง MCB
- ให้คํานวณค่า Damping Resistor ตามสูตร ดังนี้
 หาค่า Resistance ( R ) จากสูตร
R = ( 3√3Vs 2 )/Pe ohm
( ควรเลือกค่า R ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าที่คํานวณได้ )
 หาค่า Power (Watt) จากสูตร
PR = ( 3Vs ) 2/R watt
( ควรเลือกค่า PR ที่มากกว่าหรือเท่ากับค่าที่คํานวณได้ )
 หาค่า Current (Ampere) จากสูตร
IR = ( 3Vs )/R Ampere
เมื่อ Pe : Rated Thermal Burden of PT Secondary Winding ( Per Phase, In VA )
Vs : Rated Voltage of PT Secondary ( Line to Ground )

2. มีหลาย Feeder ต่อรับไฟจาก Tertiary Winding ของ Tie Transformer 1 ชุด ประกอบด้วย
2.1 Phase and Ground Overcurrent Relay (51/51G) : Trip Breaker ของแต่ละ Feeder
2.2 Protection Zone ของ Transformer Differential Relay ยืดให้ครอบคลุมถึง CT 22 kV ของ
แต่ละ Feeder

Phase Overcurrent Relay (51)


- เลือก CT Ratio = 150% ของ Rated MVA Tertiary Winding
- Minimum Pickup Current = 120% of Rated MVA Tertiary Winding or 120% Load
Conductor Capacity โดยเลือกค่าน้อย
- Time Characteristic ให้ Coordinate กับ Fuse of Station Service
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ 22kV Maximum 3 Phase Fault Current
Ground Overcurrent Relay (51G)
- Minimum Pickup Current = 20% of Rated MVA Tertiary Winding or 20% Load
Conductor Capacity โดยเลือกค่าน้อย
- Time Characteristic ให้ Coordinate กับ Fuse of Station Service
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ 22kV Maximum Single Line to Ground Fault Current

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


11

3. มีหลาย Feeder ต่อรับไฟจาก Tertiary Winding ของ Tie Transformer 2 ชุด ประกอบด้วย
3.1 Phase Overcurrent Relay (51) ของแต่ละ Source : Trip Breaker Incoming
3.2 Phase and Ground Overcurrent Relay (51/51G) : Trip Breaker ของแต่ละ Feeder
3.3 Ground Overcurrent Relay (51G) ที่ Neutral ของ Grounding Transformer : Trip
Breaker Incoming ทั้ง 2 ชุด
3.4 Protection Zone ของ Transformer Differential Relay ยืดให้ครอบคลุมถึง CT 22 kV ของ
Incoming Breaker

Phase Overcurrent Relay (51-Incoming Breaker)


- เลือก CT Ratio = 150% ของ Rated MVA Tertiary Winding
- Minimum Pickup Current = 120% of rated MVA Tertiary Winding
- Time Characteristic ให้ Coordinate กับ Fuse of Station Service
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ 22kV Maximum 3 Phase Fault Current

Phase Overcurrent Relay (51-Feeder)


- เลือก CT Ratio = 150% ของ Rated MVA Tertiary Winding
- Minimum Pickup Current = 120% of rated MVA Tertiary Winding or 120% Load
Conductor Capacity โดยเลือกค่าน้อย
- Time Characteristic ให้ Coordinate กับ Fuse of Station Service
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ 22kV Maximum 3 Phase Fault Current

Ground Overcurrent Relay (51G-Feeder)


- Minimum Pickup Current = 20% of rated MVA Tertiary Winding or 20% Load
Conductor Capacity โดยเลือกค่าน้อย
- Time Characteristic ให้ Coordinate กับ Fuse of Station Service
- Operating Time ประมาณ 1.0 sec. ที่ 22kV Maximum Single Line to Ground Fault Current

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


12

Ground Overcurrent Relay (51G-Grounding Transformer)


- Minimum Pickup Current = ให้เลือกมากกว่าหรือเท่ากับ 51G ของ Feeder ที่ Setting สูงสุด
- Coordinate With Ground Overcurrent Relay (51G-Feeder) Margin ≥ 0.5 sec. And With
Thermal Limit of Grounding Transformer

2. Feeder Protection (22, 33kV)


จะต้องมีการ Review ค่า Setting ปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับ Fault Current ที่เปลี่ยนแปลงไป ในการ
Setting Overcurrent Relay จะต้องแสดง Time Coordination Curve โดยใช้ กระดาษกราฟชนิด Semi-Log Scale

2.1 Phase Overcurrent Relay


- เลือกค่า CT Ratio ประมาณ 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
และต้องไม่มากกว่า Minimum Pickup ของ High Side Overcurrent Relay
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse (ต้องพิจารณาว่าสามารถ Coordinate กับ
Overcurrent Relay ของ PEA ได้ด้วย)
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current ของ Low Side Bus
- Block Instantaneous Unit

2.2 Ground Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 30% ของ Maximum Transformer Capacity (FOA Rating)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse (ต้องพิจารณาว่าสามารถ Coordinate กับ
Overcurrent Relay ของ PEA ได้ด้วย)
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ Maximum Single Line to Ground Fault Current ของ
Low side Bus
- Block Instantaneous Unit

3. Bus Protection
3.1 Bus Differential Relay ชนิด High Impedance
- การเลือก CT Ratio ให้ใช้ Full Tap และเป็น Ratio เดียวกัน
- แสดงการ Setting ตาม Recommendation ของบริษัทผู้ผลิต
- ในการคํานวณค่า Setting ต้องแสดงค่า CT Secondary Winding Resistance และ Lead
Resistance ของทุกชุดด้วยโดยเป็นค่าที่ใช้งานจริง เพื่อให้ในกรณีเกิด Minimum Internal Fault
Relay จะต้องสามารถทํางานได้ แต่ในกรณีที่เกิด Maximum External Fault Relay จะต้องไม่
ทํางาน
- ค่า Voltage Setting ของ Relay ให้เลือกครึ่งหนึ่งของ CT Knee Point Voltage ทั้งนี้ต้องคํานึงถึง
ค่า Voltage ที่คํานวณได้ หากค่าที่ได้มีค่ามากกว่าค่าที่เลือกให้ดําเนินการแจ้งปรับปรุงการออกแบบ
ไปยังหน่วยงานวิศวกรรม เช่น การขนาน CT Cable, เปลี่ยน CT ให้ Knee Point Voltage สูงขึ้น,
เปลี่ยน Relay เป็นชนิด Low Impedance Bus เป็นต้น โดยใช้สูตรคํานวณ Voltage ดังนี้
 สําหรับ Phase Faults; Vs = IF(Rct + RL)/N ; IF คือ Maximum Three Phase Fault
 สําหรับ Ground Faults; Vs = IF(Rct + 2RL)/N ; IF คือ Maximum Single Line to
Ground Fault
- ต้องแนบ CT Excitation Curve ด้วย
- ต้องมี Metrosil และ Shunt Resistor (If Required)

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


13

- ให้คํานวณค่า ISR ตามสูตรที่ 2 แล้วหาค่า Shunt Resistor (RSR) จาก VS / ISR


IP = CT Ratio*( IR + n*Ie + IM + ISR + IV ) …………. สูตรที่ 1
ISR = IP /CT Ratio – ( IR + n*Ie + IM + IV ) ………….. สูตรที่ 2

โดยที่ IP = Primary Current Sensitivity ให้เลือกใช้ค่า 10-20 % ของ Rating CT ด้าน Primary
Current (เช่น CT Ratio 600/5 ใช้ค่า IP = 60-120 A.)
IR = Current ที่เข้า Relay ตามค่า Voltage Setting (VS)
IM = Current ที่เข้า Metrosil
ISR = Current ที่เข้า Shunt Resistor
Ie = CT Magnetizing Current ที่ Voltage Setting (VS)
n = จํานวนชุด CT ที่ต่อขนานเข้าใช้งาน
IV = Current ที่เข้า Super Vision Relay (กรณีที่มีการติดตั้ง Supervision Relay แยกตัว)

3.2 Bus Differential Relay ชนิด Low Impedance


- การเลือก CT Ratio ให้ใช้ Full Tap และเลือก Tap ของ Auxiliary CT (กรณีที่มีใช้งาน) เพื่อให้มี
Overall Ratio เท่ากัน
- แสดงการ Setting ตาม Recommendation ของผู้ผลิต
- การคํานวณค่า Setting ต้องแสดงค่า CT Secondary Winding Resistance และ Lead
Resistance ของทุกชุดด้วย เพื่อใช้ในการตรวจสอบว่า Relay จะไม่ทํางานในกรณีที่เกิด Maximum
External Fault

ฟังก์ชั่นอื่นๆ
- แรงดัน 500 kV ดึง 52b ทําฟังก์ชั่น Dead Zone ภายใน 87B ทุก Bay
- แรงดัน 230 kV ดึง 52b ทําฟังก์ชั่น Dead Zone ภายใน 87B เฉพาะ Bay Line, Bay Coupler
- แรงดัน 115 kV ดึง 52b ทําฟังก์ชั่น Dead Zone ภายใน 87B เฉพาะ Bay Coupler
- ทุกระดับแรงดัน ฟังก์ชั่น 50BF ให้ Trip ผ่าน 87B ทุกชุดเท่านั้น ห้ามทํา External Wiring
- DC Circuit ของ Lockout Relay (86B) ให้ดึงจากหัว MCB ของ 87B

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


14

ฟังก์ชั่น การทํางาน
1.CB Coupler สับอยู่ เกิด Fault ที่ Dead Zone ลําดับ1
Bus Differential Relay จะสั่ง Trip บัส BB-A ทันที
โดยจะ Trip CB Coupler ด้วย ส่วนบัส BB-B จะยังไม่
Trip เนื่องจากเห็นเป็น External Fault
ลําดับ2
หลังจาก CB Coupler ถูก Trip ออกแล้ว Bus
Differential Relay จะตัด CT ของ Bus Coupler ออก
จากบัส BB-B ทันทีหลังจากได้สัญญาณ Open ของ CB
Coupler ซึ่งจะทําให้เกิด Differential Current บัส
BB-B จึง Trip ทันที วิธีนี้จะช่วยลดเวลาในการ Trip ลง

2.CB Coupler เปิ ดอยู่ เกิด Fault ที่ Dead Zone Bus Differential Relay จะรู้สถานะของ CB Coupler
ว่า Open อยู่ จึงตัด CT ของ Bus Coupler ออกจาก
การคํานวณของ BB-A และ BB-B ดังนั้นเมื่อเกิด Fault
ที่ Dead Zone บัส BB-A จึงไม่ Trip ในขณะที่บัส BB-B
จะ Trip ทันที

3.CB Line(Tx.) เปิ ดอยู่ เกิด Fault ที่ Dead Zone Bus Differential Relay จะรู้สถานะของ CB Line(Tx.)
ว่า Open อยู่ จึงตัด CT ของ Line(Tx.) ออกจากการ
คํานวณของ BB-A และ BB-B ดังนั้นเมื่อเกิด Fault ที่
Dead Zone บัส BB-A และ BB-B จึงไม่ Trip ป้องกัน
การ Trip เกิน
หมายเหตุ :
กรณีนี้ Fault จะถูก Clear ด้วยระบบป้องกัน End
Fault Protection ทันทีภายใน 50 msec. โดยการส่ง
DTT ไปปลดอีกฝั่ง (CB Line เปิดอยู่นานกว่า 200
msec.)

3.3 Busbar Supervision Relay


- Minimum Pickup ประมาณ 25A (Primary) หรือ 10% ของ Load Bay ที่น้อยที่สุดโดยเลือกใช้
ค่าที่สูงกว่ามาคํานวณหาค่า Voltage Pickup หรือ Set ประมาณ 10% ของค่า Voltage ที่คํานวณ
ได้
- Operating Time = 3.0 Sec.

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


15

4. Line Protection
เลือกใช้ CT Ratio ตามค่า Thermal Limit ของสายส่ง โดยต้องคํานึงถึงค่า Fault Level ที่ Remote
Substation ด้วย หากค่า Setting ของ Relay ไม่มี Sensitivity ที่ดี ให้พิจารณาเลือก CT Ratio ลดลง
4.1 Distance Relay
Part I (EGAT-EGAT, EGAT-IPP, EGAT-SPP)
a) Zone Characteristic
- ในการ Setting Distance Relay จะต้องแสดง Zone Characteristic และตําแหน่งของ
Minimum Load Impedance เมื่อมีการเพิ่ม, ตัด Line หรือเปลี่ยน, เพิ่ม Transformer ที่
Remote Substation จะต้องมีการ Review ค่า Setting ต่างๆ ของ Distance Relay เช่น
Zone1, 2, 3 และ Starting Zone (ถ้ามี) เป็นต้น เพื่อไม่ให้ Relay ทํางานผิดพลาด
- ถ้า Relay สามารถเลือก Characteristic ใช้งานได้ทั้ง Mho และ Quadrilateral ให้เลือกใช้งาน
ทั้งคู่ แต่ถ้าต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง กรณี Phase faults ให้เลือกใช้แบบ Mho (ถ้า Line สั้น
ให้เลือกแบบ Quadrilateral), กรณี Ground faults ให้เลือกใช้แบบ Quadrilateral ทั้งนี้ต้อง
เลือกใช้ฟังก์ชั่น Load Encroachment ด้วย

b) Teleprotection Scheme
- ระบบแรงดัน 115kV ใช้ เป็นแบบ Permissive Underreach Transfer Trip ยกเว้น ในกรณีที่
สายส่งสั้น ให้ใช้เป็นแบบ Permissive Overreach Transfer Trip
- ระบบแรงดัน 230kV ที่ใช้ Teleprotection Scheme ชุดเดียว ให้เป็นแบบ Permissive
Overreach Transfer Trip
- ระบบแรงดัน 230, 500 kV ที่ใช้ Teleprotection Scheme 2 ชุด ให้เป็นแบบ Permissive
Underreach Transfer Trip สําหรับ Primary Protection ชุดที่ 1 และเป็นแบบ Permissive
Overreach Transfer Trip สําหรับ Primary Protection ชุดที่ 2
- ส่วนกรณี Weak Infeed ให้ใช้ Permissive Overreach Transfer Trip พร้อมทั้งนํา Function
Weak Infeed เข้าใช้งานด้วย
- Pulse Time (62DTT) ในการส่งสัญญาณ Direct Transfer Trip(DTT) ของ Breaker = 200
ms.
- Time Delay (62TT) สําหรับ Direct Transfer Trip Lockout Relay (86DTT) = 400 ms.

c) Load Encroachment
- ให้ Set ค่า Reach ไม่เกิน 50% Minimum Load Impedance, Angle 45 องศา

d) ค่า Reach Zone


- ค่า Reach ด้านแกน R ทั้ง Phase faults และ Ground fault ให้ Set โดยใช้เกณฑ์
Ohms/Loop ทั้งนี้ให้พิจารณา Distance relay ทุกชุด มีค่า R Reach เท่ากัน
- ค่า Reach ด้านแกน R Zone1, Zone2, Zone3 ให้ Grading กัน
- Starting Zone (Fault Detection Zone) ค่า X ให้ Set 120% Reach Zone3 ส่วนค่า R ให้
Set น้อยกว่า 60% Minimum Load Impedance
- Power Swing Zone (Inner Zone) ค่า X ให้ Set 110-140% Reach Zone3 ส่วนค่า R ให้
Set น้อยกว่า 70% Minimum Load Impedance
- ค่า Reach ของ Zone 2, 3 ที่คํานวณได้ ให้ตรวจสอบโดยใช้ Program OneLiner ว่า เมื่อเกิด
Faults (ทั้งชนิด Phases Fault และ Single Phase-Ground Fault) ที่ Remote Bus
Section1, 2 แล้ว Distance Relay Zone2, 3 สามารถทํางานได้และต้องไม่ชิงทํางานกับระบบ

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


16

ป้องกันของหม้อแปลง เมื่อเกิด Faults ที่ด้าน Low Voltage ของ Transformer ที่ Remote
Substation

d.1 กรณีมีฟังก์ชั่น Load Encroachment


 ค่า Resistive Reach Zone1, Zone2, Zone3 ควรจะคลุม Arc Resistance ได้
อย่างน้อย 20 Ohm Primary โดยใช้อัตราส่วน R/X ตาม Recommendation
ของผู้ผลิต แต่ทั้งนี้ ต้องน้อยกว่า 80% Minimum Load Impedance
d.2 กรณีไม่มีฟังก์ชั่น Load Encroachment
 ให้ Set ค่า Resistive Reach ของ Zone 3 ต้องน้อยกว่า 50% Minimum Load
Impedance
 กรณีที่เป็นแบบ Mho ค่า Impedance Zone 3 และ Starting Zone (Fault
Detection Zone) ที่ Angle 30 องศา ต้องน้อยกว่า 50% Minimum Load
Impedance

e) ค่ามุม Tilt Angle 3 องศา

f) สําหรับ Parallel Line


การ Setting Zone 1 ให้ลดค่า Setting ลง เพื่อไม่ให้เกิด Trip เกิน ดังนี้
 กรณีที่ Distance Relay สามารถ Set ค่า Zero-Sequence Current Compensation
Factor (ko) แยกแต่ละ Zone ให้ค่า ko ดังนี้
ค่า ko1(Zone1) = 0.6x(Z0-Z1)/3Z1 (เทียบเป็น 70%Line เมื่อ ko=1)
ค่า ko (Zone 2, 3) = (Z0-Z1)/3Z1
 กรณีที่ Distance Relay ไม่สามารถ Set ค่า Zero-Sequence Current Compensation
Factor (ko) แยกกันได้ โดยค่า Reach ของ Zone Phase กับ Ground แยกกัน ค่า Set ko =
(Z0-Z1)/3Z1 เท่ากันทุก Zone ให้ Setting ดังนี้
Zone 1 Phase Reach = 85% of Line
Zone 1 Ground Reach = 70 % of Line

g) Setting สําหรับ Distance Group2 เพื่อรองรับกรณี De-Energize Remote Main Bus ให้เปิดใช้
งาน ดังนี้
- เปิด Forward Zone เพิ่มต่างหาก เช่น Zone4 หรือ Zone5 เป็นต้น และตั้งค่า Time
Setting 3 sec.
- เปิด Overcurrent Relay โดยค่า Setting พิจารณาตามหัวข้อ 2.4

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


17

1. Zone Setting ระบบแรงดัน 115kV กรณี Loop Line

- Zone 1 = 85% Line Impedance ของ Section I (Protected Line)


- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section I + 50% Line Impedance ของ Section II เลือก
Line ที่สั้นที่สุด ทั้งนี้ต้องมากกว่า 120% Line Impedance Section I ถ้าน้อยกว่า 120% Line
Impedance ของ Section I ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ Section I
กรณี Line ที่สั้นที่สุดของ Section II เป็น Parallel Line เลือก
- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section I + 40% Line Impedance ของ Section II Line
ที่สั้นที่สุด ทั้งนี้ต้องมากกว่า 120% Line Impedance ของ Section I ถ้าน้อยกว่า 120% Line
Impedance ของ Section I ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ Section I
- Zone 3 = 100% Line Impedance ของ Section I + 120% Line Impedance ของ Section II Line
ที่ยาวที่สุด สําหรับระบบ 115kV ต้องตรวจสอบว่าไม่เกิน 40% Impedance ของ Loading
Transformer ตัวที่มีค่าน้อยสุดที่ Remote Substation
- Reverse Zone สําหรับ Teleprotection Scheme POTT
 ใช้ในกรณีที่ Teleprotection Scheme เป็นแบบ Permissive Overreach with Weak
Infeed, Blocking Scheme หรือ Scheme อื่นๆ ที่ต้องใช้ Zone Reverse ในการตรวจจับ
Fault ที่เกิดขึ้นด้านหลัง ตําแหน่งของ Relay
- Zone Reverse = 120% Pilot Zone Reach ของ Relay ที่ Remote End และจะต้อง Block Timer
ของ Zone Reverse
- Operating Time Zone 1 = Instantaneous
- Operating Time Zone 2 = 500 ms.
 ถ้า Reach Zone2 Section I ทับซ้อนกับ Reach Zone2 Section II ให้ค่า Operating
Time Zone 2 Section II = 350 ms.

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


18

 Operating Time Zone 3 = 1.2 sec. (เพื่อ Coordinate กับ Time ของ Overcurrent
Relay 115kV Line PEA ซึ่ง เท่ากับ 0.9 sec.)

2. Zone Setting กรณี 115kV Radial Line (สฟ.ของ EGAT)

A B
Section I

21 Loading
Transformer

 Zone 1 = 85% Line Impedance ของ Section I (Protected Line)


 Zone 2 = 120% Line Impedance Section I (Protected Line)
 Zone 3 = 150% Line Impedance Section I (Protected Line) ต้องตรวจสอบว่าไม่เกิน 40%
Impedance ของ Loading Transformer ตัวที่มีค่าน้อยสุดที่ Remote Substation
 Operating Time Zone 1 = Instantaneous
 Operating Time Zone 2 = 300 ms.
 Operating Time Zone 3 = 600 ms.

กรณีที่เป็น Radial Line และมีสายส่ง 115kV PEA ต่อที่สฟ.ปลายทางด้วย ให้ใช้

- Zone 1 = 85% Line Impedance ของ Section I (Protected Line)


- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section I + 50% Line Impedance PEA ทั้งนี้ต้อง
มากกว่า 120% Line Impedance Section I ถ้าน้อยกว่า 120% Line Impedance ของ Section
I ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ Section I

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


19

- Zone 3 = 100% Line Impedance ของ Section I + 120% Line Impedance PEA ต้อง
ตรวจสอบว่าไม่เกิน 40% Impedance ของ Loading Transformer ตัวที่มีค่าน้อยสุดที่ Remote
Substation
- Operating Time Zone 1 = Instantaneous
- Operating Time Zone 2 = 500 ms.
- Operating Time Zone 3 = 1.2 sec. (เพื่อ Coordinate กับ Time ของ Overcurrent Relay
115kV Line PEA ซึ่ง เท่ากับ 0.9 sec.)

3. Zone Setting ระบบแรงดัน 230kV และ 500 kV


- Zone 1 = 85% Line Impedance
- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section I + 50% Line Impedance ของ Section II
เลือก Line ที่สั้นที่สุด ทั้งนี้ต้องมากกว่า 120% Line Impedance Section I ถ้าน้อยกว่า 120%
Line Impedance ของ Section I ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ Section I
- กรณี Line ที่สั้นที่สุดของ Section II เป็น Parallel Line เลือก
- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section I + 40% Line Impedance ของ Section II Line
ที่สั้นที่สุด ทั้งนี้ต้องมากกว่า 120% Line Impedance ของ Section I, ถ้าน้อยกว่า 120% Line
Impedance ของ Section I ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ Section I
- Zone 3 = 100% Line Impedance ของ Section I + 120% Line Impedance ของ Section II Line
ที่ยาวที่สุด
- Operating Time Zone 1 = Instantaneous
- Operating Time Zone 2 = 350 ms.
- Operating Time Zone 3 = 1.0 sec.
- Operating Time Zone 1 = 100 ms.(สําหรับ Backup Distance Relay ระบบ 500kV หรือ
ระบบ 230kV ที่เป็นแบบ Single Pole Tripping แต่ Backup Distance Relay ไม่สามารถ Trip
แบบ Single Pole ได้)

4. Setting ฟังก์ชั่นอื่นๆ
4.1 Power Swing Blocking
- ให้ Block การทํางาน Pilot Zone (Phase) และ Zone 1 (Phase) เมื่อเกิด Power Swing
- Time สําหรับ Detect การเกิด Power Swing เท่ากับ 50 ms.
- Time สําหรับ Block Trip ต้องไม่น้อยกว่า 2.0 sec.

4.2 Voltage Failure Function


 ให้ Block การทํางานของ Distance Relay (Block Trip) พร้อมกับให้ฟังก์ชั่น Overcurrent ส่วน
สัญญาณ Alarm ให้มี Time Delay อย่างน้อย 2.0 sec.
 ค่า Setting Vo = 20%Vn (3Vo = 60%Vn), Io = 10%In (3Io = 30%In)
 ให้หน่วงเวลาสําหรับ Permanent Blocking เท่ากับ 5 sec.
 ให้เปิดฟังก์ชั่น Phase Overcurrent ทํางาน Trip แทน (Enable/Disable อัติโนมัติ)
- Current Phase Pickup = 180% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ Rating CT (เลือก
ค่าที่น้อย) ทั้งนี้ Relay ต้องทํางานเมื่อเกิด Fault ที่ Remote End
- Operating Time = 200 ms.(115, 230, 500kV)

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


20

4.3 Switch onto Fault Function


- ให้เลือกใช้ Zone Comparator แทน Level Detector แต่ถ้า Distance relay เป็นชนิดที่ต้องใช้
Current Detector ให้ Set ค่า Current Pickup น้อยกว่าค่า Minimum Fault Contributed to
Remote Substation เมื่อเกิด Fault ที่ Remote Busและค่า Setting ต้องมากกว่า 150% Maximum
Load Current

4.4 Directional Earth Fault Relay with Carrier ให้เปิดใช้งานระดับแรงดัน 115, 230 และ 500kV
- Minimum Pickup Current Forward= 15% Rated Current CT ทั้งนี้ Relay จะต้องทํางานที่
25% Maximum Neutral Current (3Io) Contributed to Remote Bus เมื่อเกิด Single Line to
Ground Fault ที่ Remote Bus ในกรณีที่ Relay ไม่ทํางานที่ค่าดังกล่าว ให้เลือก Minimum Pick
Up = 25% Maximum Neutral Current (3Io) Contributed to Remote Bus
- Minimum Pickup Current Reverse= 80% Current Forward
 Operating Time ระบบ 500kV = 100 ms.
 Operating Time ระบบ 230kV, 115kV = 150 ms.
 Current Reversal Logic โดยทั่วไปใช้ Tp = 30 ms., Td = 60 ms.
- ค่า Minimum Direction
 ค่า Dir. pickup 3Vo = 5%
 ค่า Dir. pickup 3Io = 5%
 ค่า RCA Maximum Torque 60 องศา

4.5 Directional Earth Fault Relay without Carrier ให้เปิดใช้งานระดับแรงดัน 115 kV


- Minimum Pickup Current Forward= 20% Maximum Neutral Current (3Io) Contributed
to Remote Bus. หรือ 20% Rated Current CT โดยเลือกค่ามากกว่า
- Characteristic แบบ Normal Inverse ให้เลือก Dial ที่ทําให้ Relay มี Operating Time เท่ากับ
1.8 sec. ที่ ค่า Maximum Neutral Current (3Io) Contributed to Remote Bus.
- ค่า Minimum Direction
 ค่า Dir. pickup 3Vo = 5%
 ค่า Dir. pickup 3Io = 5%
 ค่า RCA Max. Torque 60 องศา
หมายเหตุ : ให้เปิดใช้งานฟังก์ชั่นนี้ กรณีไม่มีฟังก์ชั่น 67N with Carrier หรือไม่มีระบบป้องกัน 87L
กรณีสายส่งยังไม่มีระบบป้องกัน 87L ใช้งาน มาตรการป้องกันกรณี Relay ไม่ทํางานขณะเกิด High Impedance
Ground Fault ให้ปรับปรุงระบบป้องกันรองรับ ดังนี้
1. 115kV กรณีใช้สื่อสารแยกช่อง
 ใช้ POTT ทั้ง Distance และ DEF(Time=0)
 ใช้ 3 Poles Trip และ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot , DEF Pilot
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
 ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse
2. 115kV กรณีใช้สื่อสารช่องเดียวกัน
 ใช้ POTT ทั้ง Distance และ DEF(Time=0) ด้วยการ Wiring ในส่วนของ DEF เพิ่ม
 ใช้ 3 Poles Trip และ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot , DEF Pilot
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
 ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
21

 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse


3. 230kV กรณีใช้สื่อสารแยกช่อง 3 Poles Trip (Teleprotection ของ Distance คงเดิม)
 เปิดใช้ POTT ของ DEF(Time=0) ใน LP1 หรือ LP2 หรือ 21P
 ให้ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot , DEF Pilot
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
 ค่า TP = 30 m. ,TD = 60 ms.
 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse
4. 230kV กรณีสื่อสารช่องเดียวกัน 3 Poles Trip (Teleprotection ของ Distance คงเดิม)
 เปิดใช้ POTT ของ DEF(Time=0) ใน LP1 หรือ LP2 หรือ 21P ด้วยการ Wiring ในส่วนของ DEF
เพิ่ม
 ให้ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot , DEF Pilot
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
 ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse
5. 230kV กรณีสื่อสารแยกช่อง 1 Pole Trip (Teleprotection ของ Distance คงเดิม)
 เปิดใช้ POTT ของ DEF(Time=150) ใน LP1 หรือ LP2 หรือ 21P ให้ Trip 3 Poles
 ให้ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
 ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse
6. 230kV กรณีสื่อสารช่องเดียว1 Pole Trip (Teleprotection ของ Distance คงเดิม)
 แจ้งเพิ่มช่องสื่อสารสําหรับ DEF
 เปิดใช้ POTT ของ DEF(Time=150) ใน LP1 หรือ LP2 หรือ 21P ให้ Trip 3 Poles
 ให้ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
 ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse
 การปรับปรุงในเบื้องต้นระหว่างรอสื่อสาร(ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม)
- เปลี่ยน Trip Scheme เป็น 3 Poles Trip
- เปิดใช้ POTT ของ DEF(Time=0) ใน LP1 หรือ LP2 หรือ 21P ด้วยการ Wiring ในส่วน
ของ DEF เพิ่ม
- ให้ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot , DEF Pilot
- เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน
- เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot
- ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
- ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse
7. 500kV Teleprotection ของ Distance คงเดิม
 ใช้ POTT ของ DEF(Time=150) ใน LP1 , LP2 ให้ Trip 3 Poles คงเดิม
 ให้ Reclose ด้วย Zone1 , Distance Pilot คงเดิม
 เปิดใช้งาน Echo Breaker Open ของ Distance Pilot , DEF Pilot ทั้ง 2 ด้าน

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


22

 เปิดใช้งาน Current Reversal ของ Distance Pilot , DEF Pilot


 ค่า TP = 30 ms. ,TD = 60 ms.
 ใช้งาน Distance Reverse , DEF Reverse (คงเดิม)

4.6 Overcurrent Line Backup Relay (3 Phases+1 Ground ใช้สําหรับ Radial Line)
Phase Overcurrent Relay
- Minimum Pickup Current = 120% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ 120% Rating CT(เลือก
ค่าที่น้อย) และต้องมากกว่าค่า 3 Phase Fault Current ด้าน Low Side ของหม้อแปลงที่ Remote
End
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 450 ms. ที่ Maximum 3 Phase Fault Current ที่ 115 kV Remote
End Bus

Ground Overcurrent Relay


- Minimum Pickup Current = 30% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ 30% Rating CT (เลือกค่าที่
น้อย)
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 450 ms. ที่ Maximum Single Line to Ground Fault ที่ 115kV
Remote End Bus
- ถ้า หม้อแปลงที่ Remote End มี Vector Group เป็นแบบ Wye-Wye ให้ค่า Setting ของ Ground
Unit เท่ากับของ Phase Unit

4.7 Overcurrent Back up Relay (ใช้ป้องกัน Line กรณี De-Energize Remote Main Bus)
- ใช้ CT Ratio ตาม Thermal Rating ของสายส่ง
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Transformer Capacity (FOA Rating) ที่ Remote
Bus (กรณี Remote Bus มี Transformer เพียง 1 ชุด) หรือ 125% ของ Total Capacity ของ
Transformer (FOA Rating) ที่ Remote Bus กรณีที่ Remote Bus มี Transformer มากกว่า 1
ชุด และทั้ง 2 กรณี จะต้องไม่เกิน Thermal Limit ของสายส่ง
- Time Dial ให้ Set Operating Time เท่ากันกับ High Side Overcurrent Relay ของ
Transformer ที่ Remote Bus

4.8 Reclosing relay ทั้งด้าน Charge Line และ Loop Line


- ใช้ Single Shot Reclosing
 Dead Time (1 Pole Reclose) สําหรับ 115, 230, 500kV = 1.0 sec.
 Dead Time (3 Poles Reclose) สําหรับ 115, 230kV = 1.0 sec.
 Dead Time (3 Poles Reclose) สําหรับ 500kV = 1.0 sec.
 Reclaim Time = 15.0 sec. (หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ Breaker)
กรณีที่ Reclosing Relay ตําแหน่งอยู่ติดกับ Power Plant ให้ใช้
 Dead Time (3 Poles Reclose) = 10.0 sec.
 Reclaim Time = 30.0 sec.
กรณีที่ Reclosing Relay ใช้งานร่วมกับ Scheme พิเศษ ให้ลด Dead Time ให้ทํางานเร็วกว่า
Operating Time ของ scheme พิเศษ โดย Dead Time ไม่น้อยกว่า 0.5, 0.35, 0.3 วินาที สําหรับ 500, 230
และ 115 kV ตามลําดับ เช่น กรณี 27SD ตั้ง Time เท่ากับ 0.5 วินาที ให้ ตั้ง Dead Time 0.35 วินาที หรือ
กรณีค่า Time ของ Load Shedding เท่ากับ 1.2 วินาที ให้ Set Dead Time 0.7 วินาที เป็นต้น

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


23

4.9 Function ของ Reclosing Relay


- ให้ Pilot Zone และ Zone 1 ของ Distance Relay สามารถสั่ง Reclose ได้
- ให้ Zone 1 และ Zone 2 Radial Line (เฉพาะ Line ของ กฟผ.) ของ Distance Relay สามารถสั่ง
Reclose ได้ ยกเว้นกรณีที่ Remote Substation มี High Speed Grounding Switch ให้
Reclose เฉพาะ Zone 1 เท่านั้น
4.10 Synchro-check Relay
- Minimum Voltage for Sync-check = 80%Un(Phase to Ground)
- Live Voltage Check = 80% Un
- Dead Voltage Check = 30% Un
- Voltage Difference = 20% Un
- Phase Angle Difference = 45o
- Slip Frequency = 200 mHz
- Synch-check Time Delay = 200 msec. (กรณี Slip Frequency ที่ต้อง Check ด้วย Phase
Angle Difference ต้องตั้ง Synch-check Time ตาม Recommendation)
- Synch-check Window, Spring Charge Window และ Manual Close Inhibit Time ตั้งเวลา
เท่ากับ Reclaim Time
- แสดงค่า PT Ratio ที่ใช้ และจะต้องระบุ Function ที่เลือกใช้งาน พร้อมทั้งระบุการ Set Switch
ต่างๆ ของ Relay ด้วย
- การเลือก Function ว่าเป็น Charge Line หรือ Loop Line ให้พิจารณาตําแหน่งของ Relay ที่ใกล้
Power Plant มากกว่า ให้ใช้ Function Loop Line
- กรณี Loop 2 line แบบ radial ให้ Setting ดังนี้
 ด้าน Source = BHLD + Synch.
 ด้าน Load = BDLH + Synch.

4.11 Overvoltage หรือ Overfluxing Relay (สําหรับ Line 500kV)


- Setting Curve ของ Overfluxing Relay ให้ต่ํากว่า Capability Curve ของอุปกรณ์ที่ Weak ที่สุด
(อาจจะเป็น Surge Arrester หรือ CVT) โดยมี Time Margin ประมาณ 1.0-2.0 sec. โดยแยก Set
ตามประเภทอุปกรณ์ ดังนี้

4.11.1 Power Transformer


ตัวอย่างการ Setting Overfluxing Relay ของ Power Transformer
TOSHIBA ALSTOM
Overfluxing Relay Time Overfluxing Relay Time
Time Limit (sec.) Time Limit (sec.)
Limit (%) Setting (sec.) Limit (%) Setting (sec.)
110 Continuous - 110 Continuous -
115 Not Mentioned 6000 115 Not Mentioned 6000
120 60 58 120 60 58
125 20 18 125 30 28
130 10 8 130 18 16
135 5.2 5 135 6.3 6
140 3.4 3 140 2.5 2
150 2 1.5 150 1 0.8
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
24

4.11.2 Transmission Line 1-3 วงจร


ให้ Setting ต่ํากว่า Overvoltage Withstand ของ อุปกรณ์ High Voltage ต่างๆในสายส่ง คือ Surge Arrester,
Shunt Reactor, CVT. โดยให้มี Grading Time 1-2 sec. ในแต่ละวงจร
ตัวอย่างการ Setting Overvoltage Relay ของ Transmission Line

Step No. Line #1 Line #2 Line #3


Pickup (%) Time (sec.) Pickup (%) Time (sec.) Pickup (%) Time (sec.)
1 120 60 120 58 120 56
2 125 30 125 39 125 28
3 130 5 130 4 130 3
Note: Relay ที่ต้อง Setting เป็น แบบ Curve ให้ตั้งค่าของ Curve เพื่อ Match กับค่าที่เป็น Step ทั้ง 3 Steps
ตัวอย่าง ข้อมูล Overvoltage Withstand
Duration Overvoltage Withstand in % of 500kV
(sec.) Power Tx. Surge Arrester Shunt Reactor CVT
60 126 138 131 156*
30 - 140 - -
18 136 - - -
10 - 145 147 137**
5 - 148 - -
1 157 157 - -
Reference: Proposal Data TOV Curve EGAT's ANSI C93.1-1990,
of IPP-S1-T และ Siemens Specification Table3 Base on
RB-EHVS1-T No.3EP3 Surge No.382, Clause 1550kV SIL
Arrester 5.8:
Overexcitation
* Power-frequency Withstand Voltage 1 minute (dry) 780kV
** Power-frequency Withstand Voltage 10 second (wet) 685kV
4.12 Current Supervisory Relay (สําหรับ Line 230kV Scheme KDAR)
- ใช้ CT Ratio ตาม Thermal Rating ของสายส่ง
- Minimum Pickup Current = 50% ของ Maximum 3 Phase Fault Current Contributed to
Remote Bus (Fault ที่ Remote Bus)
- AC.Circuit ใช้เฉพาะ phase ทั้ง 3 phase
- DC.Circuit ให้ตัดเฉพาะ Phase Distance Relay ทุก Zone และ Pilot (เนื่องจากถ้ามีปัญหาให้
Ground Relay ยังคง Protect Line ได้)

4.13 Stub Protection


Phase Overcurrent Relay
- Minimum Pickup Current = 120% Rating ของอุปกรณ์ ทั้งต้องตรวจสอบว่า Relay ต้องทํางาน
เมื่อเกิด Fault
- Operating Time = 100 ms. (Definite Time)
- Block Instantaneous Unit
Ground Overcurrent Relay

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


25

- Minimum Pickup Current = 30% Rating ของอุปกรณ์และตรวจสอบว่า Relay ต้องทํางานเมื่อ


เกิด Fault
- Operating Time = 100 ms. (Definite Time)
- Block Instantaneous Unit
Part II (สายส่งเชื่อมโยง กฟผ. – กฟภ. – กฟน.)
หลักเกณฑ์การออกแบบระบบป้องกันสายส่งเชื่อมโยง 69, 115kV กฟผ. – PEA
กรณี รูปแบบการเชื่อมโยง ระบบป้องกัน การเชื่อมต่อ จุด การจัดซื้อ
เชื่อมต่อ
1 สายส่งระยะทาง ‹ 1 km -87L (Include Optical Fiber Joint Box ต่างฝ่ายต่างจัดซื้อ
หรือ SIR ≥ 4 21) - 87L Direct Optical ในพื้นที่ โดยฝ่ายที่ซื้อได้ก่อน
- 67/67N Interface ของ กฟผ. จะแจ้งรายละเอียด
- DTT - DTT ผ่าน Remote (ใกล้รั้ว) (ยี่ห้อ รุ่น Ordering
- 79/25* I/O Number) ให้อีกฝ่าย
ทราบ
2 - สายส่งที่เชื่อมต่อแบบ - 21P with Optical Fiber (ผ่าน ไม่มี ต่างฝ่ายต่างจัดซื้อ
Radial Line Teleprotection Teleprotection
- สายส่งระยะทาง > 1 km - 67/67N Equipment)
หรือ SIR ‹ 4 - DTT
- มีการ Feed Fault เข้าจุด - 79/25*
เกิด Fault ของสายส่งได้ทั้ง
สองด้าน
*79/25 กรณีสายส่งเป็น Overhead Line เท่านั้น

กรณีที่ 1 การจัดซื้ออุปกรณ์ระบบป้องกัน ที่มีประเด็นในเรื่องที่จะให้ฝ่ายหนึ่งซื้อของ 2 ชุด แล้วโอนให้อีกฝ่าย


หนึ่งนั้น กฟผ. ได้ไปตรวจเช็คระเบียบการจัดซื้อแล้วไม่สามารถทําได้ ดังนั้นจะใช้ระบบการจัดซื้อเหมือนเดิม คือ ต่างฝ่าย
ต่างจัดซื้อ โดยฝ่ายที่ซื้อได้ก่อนจะแจ้งรายละเอียดให้อีกฝ่ายทราบ
กรณีที่ 2 ใช้ 21P with Teleprotection : ให้ออกแบบเตรียมไว้สําหรับการติดตั้งอุปกรณ์ Teleprotection ซึ่ง
จะถูกติดตั้งเมื่อ
 ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ขอเข้าขนานระบบที่ PEA; SPP จะเป็นฝ่ายรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
ทั้งหมดเกี่ยวกับอุปกรณ์ Teleprotection รวมถึงรับผิดชอบการติดตั้งด้วย
 PEA ทําการ Close Loop ภายในสถานีไฟฟ้าของ PEA และแจ้งให้ กฟผ. ทราบ เพื่อ
จัดซื้อและติดตั้งอุปกรณ์ Teleprotection โดยต่างฝ่ายต่างรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง
หลักเกณฑ์การออกแบบระบบป้องกันสายส่งเชื่อมโยง 230 kV กฟผ. – กฟน.
กรณี รูปแบบการ ระบบป้องกัน การเชื่อมโยง จุดเชื่อมต่อ การจัดซื้อ
เชื่อมโยง
1 รั้วติดกันและ -87LB(Low lmpedance) Control Outdoor 87LB จัดซื้อโดย กฟผ.
สามารถดึง - 67/67LN Cable Marshalling
Cable ได้ - DTT Panel ในพื้นที่ของ
กฟผ. (ใกล้รั้ว)
2 สายส่งทั่วไป - Main 1 87LP1 Optical Fiber Joint Box ในพื้นที่ ต่างฝ่ายต่างจัดซื้อ
(Include 21+85) (Direct Optical ของ กฟผ. (ใกล้รั้ว) โดย กฟผ.จะแจ้ง
- Main 2 21P2 Interface) รายละเอียดของ
(21+85, 67N+85) 87LP1, 21P2
- DTT (ผลิตภัณฑ์รุ่น และ
Ordering Number
ให้ทราบ)

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


26

หลักเกณฑ์การออกแบบระบบป้องกันสายส่งเชื่อมโยง 69, 115 kV กฟผ. – กฟน.


กรณี รูปแบบการ ระบบป้องกัน การเชื่อมโยง จุดเชื่อมต่อ การจัดซื้อ
เชื่อมโยง
1 รั้วติดกันและ -87LB(Low Control Outdoor 87LB จัดซื้อโดย กฟผ.
สามารถดึง lmpedance) Cable Marshalling
Cable ได้ - 67/67LN Panel ในพื้นที่
- DTT ของ กฟผ. (ใกล้
รั้ว)
2 สายส่งที่ - 21P (Basic) ไม่มี ไม่มี ต่างฝ่ายต่างจัดซื้อ
เชื่อมต่อแบบ - 67L/67LN
Radial Line

3 สายส่งทุกชนิด - 87L (Include 21) Optic Fiber Joint Box ใน ต่างฝ่ายต่างจัดซื้อ


นอกเหนือจาก - 67L/67LN Cable (87L พื้นที่ของ กฟผ. โดย กฟผ.จะแจ้ง
กรณี 1 และ 2 - DTT Direct Optical (ใกล้รั้ว) รายละเอียดของ 87L
Interface) (ผลิตภัณฑ์รุ่น และ
Ordering Number
ให้ทราบ)

หลักเกณฑ์การ Setting Relay ดังนี้


1. Distance Relay
1.1) PEA Radial line
a) กรณีที่ สฟ. PEA มีระบบป้องกัน Distance Relay อยู่ด้วย
ตัวอย่าง

EGAT PEA Loading


Transformer
Section I

PEA Loading
Transformer
21
Section II

67
21

PEA Loading
67 Transformer
Section III

21

67

1. Distance Relay สฟ. EGAT


- ถ้า Section I ระยะทางสั้นมากๆ ให้ Setting ดังนี้
 Zone 1 = ค่าที่สามารถ Set ได้ของ Zone 1
 Zone 2 = 100% of Section I + 50% of Section II (Line สั้น) และต้องมากกว่า
120% of Section I
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
27

 Zone 3 = 100% of Section I + 120% of Section III (Line ยาว)


 ค่า Zone 2, Zone 3 ต้องไม่เกิน 40% Impedance ของหม้อแปลงตัวที่ใกล้สุดและขนาด
ใหญ่สุดของ PEA
 Time Zone 1 = 150 ms.
 Time Zone 2 = 300 ms.
 Time Zone 3 = 600 ms.
- ถ้า Section I ระยะทางสั้นพอควร ให้ Setting ดังนี้
 Zone 1 = 85% of Section I
 Time Zone 1 = Instantaneous
 Zone 2 = 100% of Section I + 50% of Section II (Line สั้น) และต้องมากกว่า
120% of Section I
 Zone 3 = 100% of Section I + 120% of Section III (Line ยาว)
 ค่า Zone 2, Zone 3 ต้องไม่เกิน 40% Impedance ของหม้อแปลงตัวที่ใกล้สุดและขนาด
ใหญ่สุดของ PEA
 Time Zone 2 = 300 ms.
 Time Zone 3 = 600 ms.

2. Distance Relay สฟ. PEA


- Time Zone 1 = Instantaneous
- Time Zone 2 = 300 ms. (ถ้า Section II เป็น Line สั้น แล้วทําให้ Reach Zone 2 ของ EGAT
ทับซ้อนกับ Reach Zone 2 ของ PEA ให้ Operating Time Zone 2 = 150 ms.)
- Time Zone 3 = 600 ms.
b) กรณีที่ สฟ. PEA ไม่มีระบบป้องกัน Line
ตัวอย่าง

1. Distance Relay สฟ. EGAT


- Zone 1 = 85% of (Section I+II)
- Zone 2 = 100% of (Section I+II) + 20% Impedance ของ Loading Transformer ที่ Remote
End, กรณีที่มีการ Tap Transformer หลายที่ให้ Set Zone 2 = 120% of (Section I+II) แต่ไม่
เกิน 80% Impedance ของ Loading Transformer ตัวแรก
- Zone 3 = 100% of (Section I+II) + 40% Impedance ของ Loading Transformer ที่ Remote
End, กรณีที่มีการ Tap Transformerหลายที่ให้ Set Zone 3 = 120% of (Section I+II) แต่ไม่เกิน
80% Impedance ของ Loading Transformer ตัวแรก
- Time Zone 1 = Instantaneous
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
28

- Time Zone 2 = 300 ms.


- Time Zone 3 = 600 ms.

c) กรณีที่ สฟ. PEA มีการ Tap หม้อแปลง และมีระบบป้องกัน Line


ตัวอย่าง

1. Distance Relay สฟ. EGAT


- Zone 1 = 85% of (Section I+II)
- Time Zone 1 = Instantaneous
- Zone 2 = 100% of (Section I+II) + 50% of Section III (Line สั้น)
- Zone 3 = 100% of (Section I+II) + 120% of Section IV (Line ยาว)
- ค่า Zone 2, Zone 3 ต้องไม่เกิน 40% Impedance ของหม้อแปลงตัวที่ใกล้สุดและขนาดใหญ่สุด
ของ PEA
- Time Zone 2 = 300 ms.
- Time Zone 3 = 600 ms.

2. Distance Relay สฟ. PEA: Set เหมือนกับข้อ a.2


Note: กรณีที่ สฟ. PEA มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มความยาวสายส่ง หรือขนาดหม้อแปลงจะต้องแจ้งพร้อม
กับให้ข้อมูลต่างๆ เพื่อทําการปรับปรุง Setting Relay ที่ สฟ. EGAT ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


29

1.2) PEA with Tele-protection


กรณีมีการ Loop Line หรือ มี SPP ต่อเข้าระบบ PEA

EGAT PEA PEA


Line No. 1

Section I Section II Section III Section IV

21 PEA

Loading Loading Section V


Transformer 1 Transformer 2

PEA PEA
Line No. 2

ให้ใช้หลักการตามแนวทางมาตรฐาน Setting Protective Relay หัวข้อ Line Protection โดยมีตัวอย่าง Setting


Relay ด้าน กฟผ. ดังนี้
- Zone 1 = 85% of Section (I + II + III), Time Zone 1 = Instantaneous
- Zone 2 = 100% of Section (I + II + III) + 50% of Section IV (Line สั้น) และต้องมากกว่า 120%
of Section (I + II + III), Time Zone 2 = 300 ms.
- Zone 3 = 100% of Section (I + II + III) + 120% of Section V (Line ยาว), Time Zone 3 = 600
ms.
- ค่า Zone 2, Zone 3 ต้องไม่เกิน 40% Impedance ของหม้อแปลงตัวที่ใกล้สุดและขนาดใหญ่สุดของ
PEA

หมายเหตุ
- Reach Zone 2, Zone 3 ต้องตรวจสอบโดยใช้ Program OneLiner ว่าไม่เกิด Underreach เนื่องจากผลการ
Infeed Current จากหม้อแปลง (Vector Group เป็น Wye/Wye) ที่ Tapในสายส่ง
- Teleprotection Scheme ใช้แบบ PUTT ยกเว้นกรณีสายส่งสั้น (น้อยกว่า 20 km.) ให้ใช้แบบ POTT
- Directional Earth Fault (DEF) with Teleprotection ให้ใช้ได้เฉพาะหม้อแปลงที่ Tap ในสายส่งมี Vector
Group เป็น Delta/Wye ไม่สามารถใช้กับหม้อแปลงที่มี Vector Group เป็น Wye/Wye
- ระบบป้องกันของหม้อแปลงที่ Tap ในสายส่งจะต้องเป็นแบบ High Speed ซึ่งมีทั้ง Transformer Differential
Relay และ Circuit Breaker

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


30

1.3) PEA with Circuit Switcher

อุปกรณ์ Circuit Switcher(CS) ประกอบด้วยระบบป้องกัน Distance Relay และ Directional


Overcurrent Relay ให้พิจารณา Setting Distance Relay ของ กฟผ ดังนี้
a). Distance Relay สฟ. EGAT ถ้า Section I ระยะทางสั้นมากๆ ให้ Setting ดังนี้
Zone 1 = 100% of Section I + 80% of Zone1CS (II)
Zone 2 = 100% of Section I + 80% of Zone2CS (II)
Zone 3 = 100% of Section I + 80% of Zone3CS (II)
Operating Time Zone 1 = 150 ms.
Operating Time Zone 2 = 450 ms.
Operating Time Zone 3 = 750 ms.

b). Distance Relay สฟ. EGAT ถ้า Section I ระยะทางสั้นพอควร ให้ Setting ดังนี้
Zone 1 = 85% of Section I
Zone 2 = 100% of Section I + 80% of Zone1CS (II)
Zone 3 = 100% of Section I + 80% of Zone2CS (II)
Zone 4 = 100% of Section I + 80% of Zone3CS (II)
Operating Time Zone 1 = Instantaneous
Operating Time Zone 2 = 150 ms.
Operating Time Zone 3 = 450 ms.
Operating Time Zone 4 = 750 ms.

2. Setting Directional Overcurrent Relay สําหรับ 115 kV Line PEA ดังนี้


สฟ.EGAT
2.1 กรณีที่ 1 มีสถานีไฟฟ้าของ PEA มารับและมีระบบป้องกัน
 Phase Directional Overcurrent Relay (67)
- ค่า RCA Maximum Torque 60 องศา
- Minimum Pickup Current = 120% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ 120% Rating
CT (เลือกค่าที่น้อยและต้องมากกว่าประมาณ 120% ของ Maximum Fault Current
ด้าน Low Side ของหม้อแปลงตัวที่ใกล้สุดและขนาดใหญ่สุดของ PEA) ตรวจสอบว่า
Relay ต้องไม่ทํางานเมื่อเกิด Fault ด้าน Low Side ของหม้อแปลง และต้องทํางานเมื่อ
เกิด Fault ที่ปลายทาง 115 kV Line PEA ที่ไกลสุด
- Operating Time = 900 ms. (Definite Time)
- Block Instantaneous Unit

 Ground Directional Overcurrent Relay (67N)


- ค่า Directional Pickup 3V0 = 5%
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
31

- ค่า Directional Pickup 3I0 = 5%


- ค่า RCA Maximum Torque 60 องศา
ถ้าหม้อแปลงของ PEA มี Vector Group เป็น Delta/Wye
- Minimum Pickup Current = 30% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ 30% Rating CT
(เลือกค่าที่น้อย)
- Operating Time = 900 ms. (Definite Time)
- Block Instantaneous Unit
ถ้าหม้อแปลงของ PEA มี Vector Group เป็น Wye/Wye ให้ค่า Setting ของ Ground Directional
Current Relay เท่ากับ Phase Directional Overcurrent Relay
 กรณีเกิด VT fail ให้ relay ทํางานเป็น Non-directional ได้ โดยมีค่า Setting เท่าเดิม
สฟ.PEA : Directional Overcurrent Relay ตั้งค่า Operating Time = 400 ms. (Definite Time)

Part III (สายส่งจ่ายไฟรูปแบบอื่นๆ)


1. Zone Setting รองรับ T-terminal จ่ายไฟชั่วคราว
- ใช้งาน Zone1, 2, 3
- ให้มี Teleprotection POTT สําหรับ Zone Pilot และ DEF โดยด้านรับของ POTT ต้องรับจากทั้ง
สองฝั่งพร้อมกัน
- ให้มี DTT โดยใช้ Zone1 ส่งสัญญาณ
- ใช้งาน 3 PoleS Trip
- การ Setting แสดงดังตัวอย่างตามรูป

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


32

2. Zone Setting รองรับสายส่ง Bypass จ่ายไฟชั่วคราวกรณีฉุกเฉิน เช่น น้ําท่วม เป็นต้น


2.1 Bypass สายส่งจ่ายไฟ Solid เข้า Transformer

- Zone1 = 85% Line I, 0 sec.


- Zone2 = 100% Line I + 80% Transformer, 0.35 sec.
- Zone3 = 100% Line I + 110% Transformer, 1.0 sec.
- Setting ค่า Phase DEF = 200% Transformer, 1.0 sec. โดยไม่คํานึงการ Coordinate กับ PEA,
MEA
- Setting ค่า Ground DEF = 50% Rating Transformer, 1.0 sec. (รองรับการจ่าย Unbalance ที่
มากขึ้น)

2.2 Bypass สายส่งจ่ายไฟ Solid เข้า line PEA, MEA

bypass line
A
B
Section I Section II

115kV Line to PEA , MEA


21

- Zone1 = 85% Line I+II, 0 sec.


- Zone2 = 120% Line I+II, 0.35 sec.
- Zone3 = 150% Line I+II, 1.0 sec.

2.3 Bypass สายส่งจ่ายไฟ Solid เข้า line EGAT (Setting รองรับ Line A-C ข้าม B)

bypass line
A C
B
Section I Section II

21 Section III

Loading
Transformer
- Zone1= 85%Line(I+II)
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
33

- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section (I+II) + 50% Line Impedance ของ Section
III เลือก Line ที่สั้นที่สุด ทั้งนี้ต้องมากกว่า 120% Line Impedance Section(I+II) ถ้าน้อยกว่า
120% Line Impedance ของ Section(I+II) ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ
Section(I+II)
- กรณี Line ที่สั้นที่สุดของ Section III เป็น Parallel Line เลือก
- Zone 2 = 100% Line Impedance ของ Section(I+II) + 40% Line Impedance ของ Section III
Line ที่สั้นที่สุด ทั้งนี้ต้องมากกว่า 120% Line Impedance ของ Section(I+II), ถ้าน้อยกว่า 120% Line
Impedance ของ Section(I+II) ให้เลือก Zone 2 = 120% Line Impedance ของ Section(I+II)
- Zone 3 = 100% Line Impedance ของ Section(I+II) + 120% Line Impedance ของ Section III
Line ที่ยาวที่สุด
- Operating Time Zone 1 = Instantaneous
- Zone 2 = 350 ms.
- Zone 3 = 1.0 sec.

2.4 รองรับกรณี De-Energize Remote Main Bus

ใช้งาน Distance Group2 โดยเปิดใช้งาน ดังนี้


 ให้มี Forward Zone เพิ่มต่างหาก โดย Zone1, 2, 3 setting ใช้งานปกติ
 เปิด Zone4 (หรือ Zone5) = 100 % Line + 105% Loading Transformer, 3 sec.
 กรณี Loading transformer ชนิด Delta Wye ให้ใช้โปรแกรม OneLiner ตรวจสอบ Reach
 เปิดใช้งาน Overcurrent Relay
- Minimum Pickup Current = 150% ของ Transformer Capacity (FOA Rating) ที่
Remote Bus (กรณี Remote Bus มี Transformer เพียง 1 ชุด) หรือ 125% ของ Total
Capacity ของ Transformer (FOA Rating) ที่ Remote Bus กรณีที่ Remote Bus มี
Transformer มากกว่า 1 ชุด และทั้ง 2 กรณี จะต้องไม่เกิน Thermal Limit ของสายส่ง
- Time Dial ให้ Set Operating Time เท่ากันกับ High Side Overcurrent Relay ของ
Transformer ที่ Remote Bus

4.2 Line Current Differential Relay


- แสดงการ Setting ตาม Recommendation ของผู้ผลิต
- กรณีสายส่งยาว หรือเป็น Under Ground Cable ให้เปิดใช้งานฟังก์ชั่น Compensation of Line
Charging Current

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


34

5. Breaker Failure and End Fault Protection


- Operating Time = 200 ms.(230, 500kV)
= 300 ms. (69,115kV)
- CT Ratio ให้เลือกตามระบบป้องกันหลัก สําหรับ CT ของ Breaker ที่ใช้ร่วมกันสองอุปกรณ์
(Breaker ตัวกลาง หรือ Ring Bus เป็นต้น) ให้เลือก CT Ratio ค่าน้อย
5.1 Breaker Failure Relay สําหรับ Line
- Current Detector ใช้ A-C-G หรือ A-B-C-G สําหรับ 3 Poles Trip และใช้ Current Detector A-
B-C สําหรับ 1 Pole Trip
- Current Phase Pickup = 100% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ Rating CT (เลือกค่าที่น้อย)
โดย Relay จะต้องทํางานที่ 50% ของ Maximum 3 Phase Fault Current Contributed to
Remote Bus (Minimum Fault) เมื่อเกิด 3 Phase Fault ที่ Remote Substation ถ้า Relay
ไม่ทํางานที่ค่านี้ให้เลือก Phase Current = 100% Minimum Fault
- Current Ground Pickup = 30% Thermal Limit ของสายส่ง หรือ Rating CT (เลือกค่าที่น้อย) โดย
Relay จะต้องทํางานที่ 50% ของ Maximum Single Line to Ground Fault Current Contributed
to Remote Bus (Minimum Fault) เมื่อเกิด Single Line to Ground Fault ที่ Remote Substation
ถ้า Relay ไม่ทํางานที่ค่านี้ ให้เลือก Ground Current = 100% Minimum Fault

5.2 Breaker Failure Relay สําหรับ Transformer


- Current Detector ใช้ A-C-G หรือ A-B-C-G
- Current Phase Pickup = 100% Rated Current ของ Transformer
- Current Ground Pickup = 30% Rated Current ของ Transformer
ยกเว้นกรณี Reserve Transformer ที่จ่ายอยู่ใน Bay เดียวกับสายส่งที่มี Capacity ต่างกันมากๆ ซึ่งไม่
สามารถ Setting โดยใช้ Rated ได้ ให้ Setting โดยคํานึงเมื่อเกิด Minimum Fault ด้าน Low Voltage ของ Reserve
Transformer แล้ว Relay ยังคงทํางานได้ (หมายเหตุ : จากเหตุการณ์ สฟ.แม่เมาะ3 เมื่อ 29 มีนาคม 2560)

5.3 Breaker Failure Relay สําหรับ Capacitor Bank


- Current Detector ใช้ A-C-G หรือ A-B-C-G
- Current Phase Pickup = 50% Rated Current ของ C-Bank
- Current Ground Pickup = 30% Rated Current ของ C-Bank
หมายเหตุ : ปรับปรุงค่า Pickup Phase Current ของ Capacitor Bank เพื่อให้ Breaker Failure Relay
สามารถทํางานได้เมื่อ Capacitor Bank Trip ด้วย Unbalance Relay หรือ Overvoltage Relay

5.4 Breaker Failure Relay สําหรับ Shunt Reactor


- Current Detector ใช้ A-C-G หรือ A-B-C-G
- Current Phase Pickup = 100% Rated Current ของ Shunt Reactor
- Current Ground Pickup = 30% Rated Current ของ Shunt Reactor

5.5 Breaker Failure Relay สําหรับ Bus Coupler Breaker และ Bus Section Breaker
Current Detector ใช้ A-C-G หรือ A-B-C-G
- CT Ratio ให้เลือกค่า Maximum CT Ratio
- Current Phase Pickup = 100% Rating CT
- Current Ground Pickup = 30% Rating CT
กรณีใช้ Bus Coupler Breaker เป็น Tie Breaker ให้ Setting เท่ากับ Breaker Fail ของสายส่งที่น้อยที่สุด

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


35

5.6 End Fault Protection


มีเฉพาะในระดับแรงดัน 500 kV สามารถเปิดในตัว Breaker Failure Protection หรือใช้ Relay แยก
ต่างหาก ให้ Trip ลง Breaker Failure Protection Tripping and Lockout (86BF) ยกเว้นในวงจรของ Breaker
ตัวกลางในการจัดเรียงบัสแบบ Breaker and A Half ให้ Trip ลง End fault Protection Tripping and Lockout
Relay (86EF)

- Enable Time ของ Contact 52b เท่ากับ 200 msec.


- Delay Tripping Time เท่ากับ 50 msec. (กรณีใช้ End Fault ใน Bay Transformer พบสถานะ
Contact 52b ทํางานช้ากว่า Main Contact ของ Circuit Breaker ทําให้ Inrush Current เข้า
Relay ก่อนที่จะ Disable ฟังก์ชั่น)

5.7 Operating Time of Pole Disagreement (62PD)


- 3 Poles Breaker = 150 ms.
- 1 Pole Breaker = 1.5 sec.(230 kV)เพื่อ Coordinate กับ Dead Time 1 Pole ของ Recloser
Relay
- 1 Pole Breaker = 2.5 sec. (500 kV) เพื่อให้สอดคล้องการทํางาน Recloser แบบ
Master/Follower
6. Capacitor Protection
- ต้องมีข้อมูลต่างๆได้แก่ C-Bank Rating, การจัด C-Unit Series และ Parallel กี่ Unit, แต่ละ C-Unit มีขนาด
การจัด Series และ Parallel อย่างไร, เป็น External หรือ Internal Fuse เพื่อใช้ในการคํานวณค่า Setting
- Unbalance Relay สําหรับ C bank 115,230 kV ต้องเป็น Current Relay แบบ Harmonic Filtering
6.1 Capacitor Bank 22, 33 kV
Overvoltage Relay
- Voltage Pickup = 110% Rated Voltage (ให้ระบุด้วยว่า Rated Voltage เป็นชนิด Line to
Line Voltage หรือ Line to Ground Voltage)
- Operating Time = 5.0 sec.
- สําหรับใน Transformer หรือ Bus เดียวกันที่มี C-bank ติดตั้งใช้งานหลาย Step ให้ Setting
Time แต่ละ Step โดยเริ่มจาก Step 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 เป็น 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 sec.
ตามลําดับ (Margin Step Time = 1.0 sec.) ถ้ามี Step ของ C-Bank เกิน Step ที่ 7 ให้เริ่ม
Setting Time ของ Step ที่ 8, 9, 10….เป็น 5, 6, 7 sec. ตามลําดับใหม่.
- เมื่อ Tap Setting ไม่ตรงกับค่า 110% Rated Voltage ให้ Set Tap ถัดไปแต่จะต้องอยู่
ระหว่าง 110-115% Rated Voltage หรือ Calibrate ให้เริ่มทํางานที่ค่า 110% Rated
Voltage(กรณีที่เป็น Electromechanical Relay)

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


36

- กรณีที่เป็น Inverse Time Characteristic ให้ Set ค่า Minimum Pickup = 110% Rated
Voltage และค่า Dial ให้มีเวลาทํางานเท่ากับ 5.0 sec. ที่ Voltage 1.1 เท่าของ Minimum
Pickup

หมายเหตุ
อุปกรณ์ Capacitor มีคุณสมบัติด้าน Overvoltage คือ 110% Rated Voltage ทนได้ต่อเนื่องและ 120%
Rated Voltage ทนได้ 10 Minutes.

Unbalance Relay
- PT Ratio(22 or 33 kV/ 3 ) /110 V
- การตั้ง Voltage Pickup ให้ใช้หลักเกณฑ์ External Fuse ขาด 1 เส้นและ C-Unit
Overvoltage < 110% Rated Voltage ของ C-Unit
- Operating Time = 5.0 sec.
ค่ามาจากการคํานวณหรือแนะนําจากบริษัทผู้ผลิต ที่ Set Time Delay ถึง 5.0 sec. เนื่องจากต้องรอให้ MEA,
PEA Clear Fault ก่อน
Unbalance Relay
1. 60CH (Input เป็น AC Voltage จาก PT 22kV/110V. 3 Phases ต่อแบบ Open Delta)
- Operating Time = 100 ms.
2. 60CL (Input เป็น AC Voltage จาก Neutral PT 22 or 33 kV/3 /110V)
- Operating Time = 300 ms.
- การตั้ง Voltage Pickup ของ 60CH และ 60CLให้ใช้หลักเกณฑ์ External Fuse
ขาด 1 เส้นและ C-Unit Overvoltage < 110% Rated Voltage ของ C-Unit
- การตั้งค่า Voltage Pickup ของ 60CH เป็นครึ่งหนึ่งค่า 60CL

6.2 Capacitor Bank 69-115 kV


Overvoltage Relay ใช้ Criteria เดียวกับ Overvoltage Relay สําหรับ 22-33 kV C-Bank Protection
Overcurrent Phase Relay ใช้ CT Ratio 150% ของ C-Bank Capacity
1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 130% Rated Current ของ C-Bank
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current
15 เท่า ของ Rated Current โดยให้ Relay Operating Time < 300 ms. (เพื่อให้
Overcurrent Relay ทํางานได้เร็วกว่า Remote Backup Protection (Time
Zone2 = 500 ms.) และ Relay ต้องไม่ทํางานผิดพลาด เนื่องจาก Inrush Current
เมื่อมีการ Energize C-Bank หรือ Back to Back Discharge ของ C-Bank
2. Instantaneous Unit
- Current Pickup = 50% ของ Maximum Fault Current ที่ Bus (กรณีที่ 50% ของ
Maximum Fault Current มีค่าน้อยกว่า 15 เท่าของ Rated Current ของ C-Bank
ให้ Set Current ของ Instantaneous Unit = 15 เท่าของ Rated Current ของ C-
Bank) กรณีไม่สามารถ Setting ตามค่าคํานวณ ให้พิจารณาเลือก CT Ratio ให้สูงขึ้น
ได้ หากปรับแล้วยัง Setting ค่าไม่ได้ให้ Block

หมายเหตุ
ค่า Minimum Fault Current คาดว่าจะมีค่ามากกว่า 50% ของ Maximum Fault Current และค่าที่ Set
15 เท่า จากประสบการณ์คาดว่าสูงกว่า Inrush Current และกรณีเกิด Back to Back Discharge ของ C-Bank.

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


37

Overcurrent Ground Relay


1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 30% Rated Current ของ C-Bank
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current
50% ของ Maximum Single Line to Ground Fault Current ที่ Bus โดยให้
Relay Operating Time < 300 ms.
- Block Instantaneous Unit

Unbalance Relay
กรณี C-bank ต่อเป็นชนิด Double Wye Unground
- Step Alarm Operating Time = 5.0 sec.
- Step Trip Operating Time = 50 msec. (ตามมาตรฐาน IEEE Recommend Instantaneous
เมื่อรวม Tripping Time ของ Breaker ไม่ให้เกิน100 msec.)
การตั้งค่า Current Step Tripให้ Setting ใช้ Criteria ดังนี้ คือ
- C-Unit Overvoltage < 110% Rated Voltage ของC-Unit
- C-Element Overvoltage < 150 % Rated Voltage ของC-Element
ค่ามาจากการคํานวณโดยใช้ Program ส่วนค่า Current Step Alarm ให้ Set ค่าประมาณครึ่งหนึ่งของ Step Trip และ
ค่า Unbalance Current ที่วัดได้ ที่ Normal Condition ต้อง < 10% ของ Tripping Value Setting ของ 60C
- 60C1, 60C2 ให้ Setting Step Alarm และ Step Trip เหมือนกันทั้งสองชุด

หมายเหตุ
กรณี HV C-Bank ต่อกับ Bus ที่เป็นสถานีไฟฟ้าปลายทาง จะต้องมี Undervoltage Release Relay ค่า
Voltage Setting = 20% Rated Voltage, Operating Time 500 ms. เพื่อป้องกันการ Reclose และเกิด Short
Circuit เพราะ Capacitor Terminal จะมี Residual Voltage ดังนั้น Line Protection ที่ต้นทางจะต้องมี Dead Time
ของ Reclosing Relay = 1.0 sec.

6.3 Capacitor Bank 230 kV


กรณีที่มีการต่อแบบ Bridge Wye Grounded
Overvoltage Relay
- ใช้ Criteria เดียวกันกับ Overvoltage Relay สําหรับ 22-33 kV C-Bank Protection
- Overcurrent Phase Relay ใช้ CT Ratio 150% ของ C-Bank Capacity
1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 130% Rated Current ของ C-Bank
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current 15
เท่า ของ Rated Current โดยให้ Relay Operating Time < 200 ms. (เพื่อให้
Overcurrent Relay ทํางานได้เร็วกว่า Remote Backup Protection (Time Zone2 =
350 ms.) และ Relay ต้องไม่ทํางานผิดพลาด เนื่องจาก Inrush Current เมื่อมีการ
Energize C-Bank หรือ Back to Back Discharge ของ C-Bank

2. Instantaneous Unit
- Current Pickup = 50% ของ Maximum Fault Current ที่ Bus (กรณีที่ 50% ของ
Maximum Fault Current มีค่าน้อยกว่า 15 เท่าของ Rated Current ของ C-Bank ให้
Set Current ของ Instantaneous Unit = 15 เท่าของ Rated Current ของ C-Bank)
กรณีไม่สามารถ Setting ตามค่าคํานวณ ให้พิจารณาเลือก CT Ratio ให้สูงขึ้นได้ หากปรับ
แล้วยัง Setting ค่าไม่ได้ให้ Block
กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01
38

Overcurrent Ground Relay


Time Delay Unit
- Current Pickup = 30% Rated Current ของ C-Bank
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current
50% ของ Maximum Single Line to Ground Fault Current ที่ Bus โดยให้ Relay
Operating Time < 200 ms. กรณีไม่สามารถ Setting ตามค่าคํานวณ ให้พิจารณาเลือก
CT Ratio ลดลงได้(โดยต้องตรวจสอบ CT Requirement) หากปรับแล้วยัง Setting ค่า
ไม่ได้ให้เปลี่ยน Relay เป็นรุ่นที่มี Range รองรับ
- Block Instantaneous Unit
Unbalance Relay ใช้หลักการเดียวกับ Unbalance Relay สําหรับ 115kV

ในกรณีที่มีการออกแบบขนาด C-Bank ใหม่โดยเปลี่ยน Reactor จากเดิม Inrush Current Limiting Reactor


เป็น Harmonic Blocking Reactor ซึ่งมีขนาด Impedance 6% ของ C-Bank และมีการเพิ่มจํานวน C-Unit ในระบบ
230kV จากเดิม 20 Series เป็น 22 Series ในระบบ 115kV จากเดิม 10 Series เป็น 11 Series มีผลทําให้ขนาด
MVAR Generated เป็นค่าดังนี้
1. C-Bank Rating 262.93kV, 79.2 MVAR, Reactor 52.371 Ohm ใช้กับระบบ 230kV จะมี MVAR
Generated เป็น 64.5 MVAR
2. C-Bank Rating 131.46kV, 52.8 MVAR, Reactor 19.639 Ohm ใช้กับระบบ 115kV จะมี MVAR
Generated เป็น 43 MVAR
3. C-Bank Rating 131.46kV, 39.6 MVAR, Reactor 26.186 Ohm ใช้กับระบบ 115kV จะมี MVAR
Generated เป็น 32.2 MVAR
4. C-Bank Rating 131.46kV, 26.4 MVAR, Reactor 39.278 Ohm ใช้กับระบบ 115kV จะมี MVAR
Generated เป็น 21.5 MVAR
5. C-Bank Rating 131.46kV, 13.2 MVAR, Reactor 78.557 Ohm ใช้กับระบบ 115kV จะมี MVAR
Generated เป็น 10.7 MVAR
จึงต้องมีการปรับปรุงมาตรฐาน Setting Overcurrent Relay สําหรับ C-Bank ใหม่ดังนี้
สําหรับ Capacitor Bank 230 kV
Overcurrent Phase Relay
1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 130% Rated Current MVAR Generated
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current 6
เท่า Rated Current MVAR Generated โดยให้ Relay Operating Time < 200 ms.
(เพื่อให้ Overcurrent Relay ทํางานได้เร็วกว่า Remote Backup Protection และ
Relay ต้องไม่ทํางานผิดพลาด เนื่องจาก Inrush Current เมื่อมีการ Energize C-Bank
หรือ Back to Back Discharge ของ C-Bank และตรวจสอบว่าเมื่อเกิด Fault ระหว่าง
Reactor กับ Capacitor แล้ว Relay ต้องทํางานได้
2. Instantaneous Unit
- Current Pickup = 8 เท่าของ Rated Current Rated Current MVAR Generated
ตรวจสอบว่าเมื่อเกิด Fault ระหว่าง Reactor กับ Capacitor แล้ว Overcurrent Relay
ต้องทํางานได้

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


39

Overcurrent Ground Relay


1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 30% Rated Current MVAR Generated
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current 6
เท่า Rated Current MVAR Generated โดยให้ Relay Operating Time < 200 ms.
- Block Instantaneous Unit

สําหรับ Capacitor Bank 115 kV


Overcurrent Phase Relay
1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 130% Rated Current MVAR Generated
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current 6
เท่า Rated Current MVAR generated โดยให้ Relay Operating Time < 300 ms.
(เพื่อให้ Overcurrent Relay ทํางานได้เร็วกว่า Remote Backup Protection และ
Relay ต้องไม่ทํางานผิดพลาด เนื่องจาก Inrush Current เมื่อมีการ Energize C-Bank
หรือ Back-to-Back Discharge ของ C-Bank และตรวจสอบว่าเมื่อเกิด Fault ระหว่าง
Reactor กับ Capacitor แล้ว Relay ต้องทํางานได้
2. Instantaneous Unit
- Current Pickup = 8 เท่าของ Rated Current Rated Current MVAR Generated ต้อง
ตรวจสอบว่าเมื่อเกิด Fault ระหว่าง Reactor กับ Capacitor แล้ว Overcurrent Relay
ต้องทํางานได้

Overcurrent Ground Relay


1. Time Delay Unit
- Current Pickup = 30% Rated Current MVAR generated
- Time Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า
Current 6 เท่า Rated Current MVAR Generated โดยให้ Relay Operating Time <
300 ms.
- Block Instantaneous Unit

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


40

7. Reactor Protection
7.1 Phase Reactor Differential Relay
- ใช้หลักการ Setting เหมือนกับ Bus Differential Relay ชนิด High Impedance แต่ถ้าไม่สามารถ
เลือกใช้ CT Ratio Full Tap ได้เนื่องจากปัญหา Sensitivity ของ Relay ให้ใช้หลักการดังนี้
- เลือก CT Ratio ≥ 200% ของ Reactor Capacity
- Voltage Setting (Vs) ≥ 5*In(Rct. + 2*Rl)
- ต้องตรวจสอบ ค่า Voltage ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก Auto-transformer Effect ไม่ทําให้ Insulation ของ
อุปกรณ์ต่างๆเสียหาย

7.2 Neutral Reactor Restricted Earth Fault Relay


- ใช้หลักการ Setting เหมือนกับ Phase Reactor Differential Relay

7.3 Reactor Overcurrent Relay


- ใช้ CT Ratio 150% ของ Reactor Capacity
Phase Overcurrent Relay
- Minimum Pickup Current = 130% Rated Current ของ Reactor
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ที่ ค่า Current 10 เท่า
ของ Rated Current โดยให้ Relay Operating Time < 200 ms.
- Instantaneous Pickup Current = 50% ของ Maximum Fault Current ที่ Bus (กรณีที่
50% ของ Maximum Fault Current มีค่าน้อยกว่า 10 เท่าของ Rated Current ของ
Reactor ให้ Set Current ของ Instantaneous Unit = 10 เท่าของ Rated Current ของ
Reactor)

Ground Overcurrent Relay (สําหรับ 500kV)


- Minimum Pickup Current = 30% Rated Current ของ Reactor
- Time Characteristic ชนิด Very Inverse (VI) ให้ เลือก Time Dial ค่าที่ Relay นี้ไม่ทํางาน
เมื่อ สายส่งเกิด 1 Pole Trip และอยู่ในช่วงเวลา Dead Time 1 Pole Reclose โดยใช้ค่า
margin อย่างน้อย 0.5 sec
- แสดงการคํานวณค่า 3Io ขณะเกิด 1 Pole Open
- Instantaneous Block

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


41

8. Backup Protection of Power Plant


สรุปหลักการ Setting Protective Relay ด้านโรงไฟฟ้าที่ เป็น Backup Protection ให้กับระบบส่ง
พิจารณารูปประกอบ

1. Directional Phase/Ground Overcurrent Relay ติดตั้งในระบบสายส่งเชื่อมโยงระหว่างโรงไฟฟ้า (Power Plant


Bus) กับ สฟ.ของระบบส่ง (EGAT Bus) มีทิศทางมองไปยังระบบส่ง
1.1 Directional Phase Overcurrent Relay (67)
- Minimum Pickup Current = 130% Full Load Current ของกําลังผลิตทั้งหมด
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ ค่า Maximum Phase Current ไหลผ่าน Relay เมื่อเกิด
Phase Fault ที่ EGAT Bus

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


42

1.2 Directional Ground Overcurrent Relay (67N)


- Minimum Pickup Current = 30% Full Load Current ของกําลังผลิตทั้งหมด
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ ค่า Maximum Current 3I0 ไหลผ่าน Relay เมื่อเกิด
Ground Fault ที่ EGAT Bus (อาจจะเป็น 1-L-G Fault หรือ L-L-G Fault)

2. Generator Transformer Neutral Overcurrent Relay (51NT) เป็น Relay ที่ใช้ CT จาก Neutral ของ
Transformer
- Minimum Pickup Current = 30% Full Load Current of Transformer
- Time Characteristic ให้เป็นชนิด Normal Inverse
- Operating Time ประมาณ 1.5 sec. ที่ ค่า Maximum Current 3I0 ผ่าน Neutral ของ Transformer เมื่อเกิด
Ground Fault ที่ EGAT Bus (อาจจะเป็น 1-L-G Fault หรือ L-L-G Fault)

3. Generator Phase Distance Relay (21G) เป็น Generator Protection ชุดที่มีค่า Setting Reach เกินค่า
Impedance ของ Generator Transformer
- Operating Time = 1.5 sec. (Definite Time)
- ส่วน Distance Relay ของ Generator Protection ชุดที่ค่า Setting Reach ไม่เกินค่า Impedance ของ
Generator Transformer (โดยมี Safety Margin ไม่น้อยกว่า 20%) ให้ค่า Operating Time ตาม Calculation
Setting ของGenerator Protection

หมายเหตุ
1. เป็นผลสรุปจากการประชุมกองระบบป้องกัน เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2551 และปรับปรุง เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์
2552
2. เอกสารอ้างอิงจาก IEEE Std C37.102-1995 “IEEE Guide for AC Generator Protection”
3. Operating Time = 1.5 sec. มี Coordinate Time ประกอบด้วย Time Zone3 Distance Relay(1.0 sec.) +
Time Breaker Failure Relay(0.2 sec.) + Time Margin(0.3 sec.)
4. ค่า Fault Current ได้จากการใช้ Program ‘OneLiner’ (ติดต่อขอข้อมูลจาก กรป-ส.)
5. ใช้หลักการ Setting นี้สําหรับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมที่ต่ออยู่ในระบบส่งของกฟผ.

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01


43

9. Spacial Protection
ระบบป้องกันพิเศษเป็นระบบป้องกันที่ออกแบบติดตั้งขึ้นเพื่อใช้ป้องกัน ระบบไฟฟ้า เมื่อเกิดเหตุการณ์ผิดปกติขึ้น
โดยป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสียเสถียรภาพหรือจํากัดของความเสียหายที่เกิดขึ้น

9.1 Under Voltage Relay สําหรับ C-Bank at Remote Substation


- กรณีมี C-Bank ต่อกับ Bus ที่เป็นสถานีไฟฟ้าปลายทาง จะต้องมี Under Voltage Release Relay
- Voltage Pickup = 20% Rated Voltage
- Operating Time = 500 ms.
หมายเหตุ : Line Protection ที่ต้นทางจะต้องมี Dead Time ของ Reclosing Relay = 1.0 sec.

9.2 Under Voltage Relay สําหรับ Supervise Gen Shedding Scheme


- Voltage Pickup = 85% Rated Voltage
- Operating Time = Instantaneous

9.3 Under Voltage Load Shedding Relay


- Voltage Pickup = 85% Rated Voltage
- Operating Time = 3-7 sec.
หมายเหตุ : การการหน่วงเวลาอย่างน้อย 3 sec. เพื่อป้องกันไม่ให้ Under Voltage Relay ทํางานก่อนที่ Relay จะ Clear
Fault และ Recloser ทํางาน

9.4 Under Frequency Load Shedding Relay


- Frequency = Step 2-5
- Operating Time = 150 ms. ( Under Frequency Relay + Auxiliary Trip Relay )
- Under Voltage Block = 80% Rated Voltage

กองระบบป้องกัน ฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน มิถนุ ายน 2561 – rev01

You might also like