You are on page 1of 60

การผลิตและใช้ แก๊ สเชื้อเพลิงจากเชื้อเพลิงแข็ง (GASIFIER)

เพือ่ เป็ นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม


ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับระบบแก๊สซิไฟเออร์
กระบวนการของเตาแก๊สซิไฟเออร์
การออกแบบ และสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์

การประยุกต์ใช้เตาแก๊สซิไฟเออร์
ไปแล ้วไปลับ ไม่หวนกลับคืนมา ใชไ่ หม?

เป็ นอดีตไปแล ้ว
บทนํา

ก๊าซแอลพีจี กระบวนการก๊าซซิ ฟิเคชัน่


เชื้อเพลิง ก๊าซเชื้อเพลิง
แข็ง
โปรดิวเซอร์ ก๊าซ
 ความต้องการใช้มากขึ้น

 แนวโน้มราคาสูงขึ้น

 ปริมาณทีม
่ ีจาํ กัด
 ไม่สามารถผลิตทดแทนได้
กระบวนการเปลี่ยนรูปเชิงความร้อน
• ความร้อน
• ไอนํ้า
การเผาตรง กระแสไฟฟ้ า
• ผ


• ก๊าซชีวมวล
เชื้อเพลิ งชีวมวล กระบวนการเปลี่ยนรูป • ค่าความร้อนตํา่ -
ลิ
ผลิ ตก๊าซชีวมวล ต
เ ปานกลาง
ท สุ
 ไม้ ค ด
กระบวนการทาง
 วัสดุทางการเกษตร โ นํ้ามันสังเคราะห์, ท้า
ความร้อน กระบวนการไพโรไล •
 ขยะอิ นทรีย์ น ซีส ถ่านไม้
• ย

ล เชิ
ยี ง

ผลิตเมทานอล
• เมทานอล ลัง
งา

การเปลี่ยนรูปโดยความร้อน (Thermo-chemical conversion)
เป็ นการสลายพันธะเคมีของชีวมวลไปเป็ นแหล่งพลังงานทีอ่ ยูใ่ นรูป
ของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซ วิธกี ารเปลีย่ นรูปโดยความร้อนขึน้ อยูก่ บั
ชนิดหรือประเภทชีวมวลและเป้าหมายในการใช้งาน แบ่งได้ 3 วิธี

การเผาไหม้โดยตรง (Combustion Process)


การแยกสลายด้วยความร้อน (Pyrolysis or
Distillation Process)
การผลิตก๊าซ (Gasification Process)
การเผาไหม้โดยตรง (Combustion Process)
 เป็ นปฏิกิริยาเคมีระหว่างออกซิเจนกับคาร์บอนแล้วปลดปล่อยพลังงาน
ความร้อนออกมา สามารถนําไปใช้ประโยชน์ ได้ตามต้องการ
 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเผาไหม้คือ CO2 และ H2O
 การเผาไหม้ ชี ว มวลนั น้ มี ก ระบวนการการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ มี ค วาม
ซับซ้อน โดยการเผาไหม้นัน้ จะเกิดกระบวนการทําให้เชื้อเพลิงแข็งเกิด
การเปลี่ยนรูปเป็ นก๊าซก่อนและค่อยเกิดการเผาไหม้กา๊ ซ
 จะได้ความร้อนในลักษณะเปลวไฟ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และ นํ้า
ก๊าซชีวมวล คือ อะไร
ก๊าซชีวมวล (Biomass gas) คือ ก๊าซที่ได้จากกระบวนการแก๊สซิฟเคชั่น
(Gasification) โดยมีชีวมวลเปนเชื้อเพลิง (บางครั้ง เรียก producer gas หรือ
syngas)

ชีวมวล ก๊าซชีว
มวล

วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์
Gasification

11
GASIFICATION
กระบวนการก๊าซซิ ฟิเคชัน่
กระบวนการก๊ าซซิฟิเคชั่น เตาก๊ าซซิไฟเออร์
เชื้อเพลิงแข็ง สารออกซิไดเซอร์ Gasifier Type

เผาไหม้บางส่ วน Fixed Bed Fluidized Bed Entrained Bed


Advantage : High thermal efficiency
Updraft Disadvantage : High tar,
ก๊าซเชื้อเพลิง
Advantage : Low tar
Downdraft Disadvantage : Small scale
CO + CH4 + H2
Crossdraft
ข้อดี ข้อดี ข้อดี
-ได้ปริมาณก๊าซเชื้อเพลิงสูงกว่า -Start up ได้รวดเร็ว - ทาร์ปนเปื้ อนตํา่
ข้อเสีย ข้อเสีย ข้อเสีย
-มีทาร์ปนเปื้ อนสูง -ค่าความร้อนก๊าซเชื้อเพลิงตํา่ กว่า - ตําแหน่งคอขอดอาจอุดตัน
Gasification คือ การเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็ง โดยใช้ปริ มาณ
อากาศที่นอ้ ยกว่าทางทฤษฎี ซึ่งจะทําให้เกิดการเผาไหม้ไม่
สมบูรณ์ จนสามารถทําให้เกิดก๊าซที่เผาไหม้ได้ ได้แก่
ก๊าซ CO, H2, CH4
Fuel
GASIFICATION PROCESS
Drying

 1. Drying zone (อบแห้ง)


 2. Pyrolysis zone or Distillation
zone (กลันสลาย)
่ Air Air

 3. Combustion zone or Hearth


zone (เผาไหม้)
 4. Reduction zone (ร◌ีดกั ชัน่
หรือ gasification)
Ash
100-200oC

200-600oC

900-1400oC

600-900oC
คุณสมบัติของเชื้อเพลิง สําหรับ GASIFICATION

1. Moisture content

2. Fuel size

3. Volatile matter

4. Bulk Density

5. Ash
18
1. MOISTURE CONTENT (ความชื้น)

ความชืน้ จะช่วยเพิม่
ไฮโดรเจนในขบวนการเผา
ไหม้ แต่ หากมีมากเกินไป จะ
ทําให้ประสิทธิภาพการเกิด
ก๊าซน้อยลง และ ค่าความร้อน
ก๊าซจะตํ่าลง
2. FUEL SIZE (ขนาดของชีวมวล)

 ขนาดของชีวมวลมีผลต่อ ความดันตก
คร่อม ในเตา (มีผลต่อ การไหลของก๊าซใน
เตาและขนาดของพัดลม)
้ ที่ผิวในการทําปฏิกิริยา
 มีผลต่อ พืน
 ขนาดที่ เหมาะสม คือ ประมาณ 2-3 ซม.

www.erdi.or.th
20
3. Bulk Density (ความหนาแน่ นรวม)

 โดยทัวไป
่ ควรมีความหนาแน่ น หรือ
นํ้าหนัก รวม ประมาณ 1200 kg/m3 สําหรับ
เตา fixed bed และ จุประมาณ 50-75% ของ
ปริมาตรเตา

21
4. Ash (ขี้เถ้า)

 เชื้อเพลิงที่มีขีเ้ ถ้า มาก เช่น แกลบ (ประมาณ


20%) หรือ ใยทลายปาล์ม ควรออกแบบระบบ
กําจัดขีเ้ ถ้าให้เหมาะสม

22
การออกแบบ และสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์
อุปกรณ์ การทดลอง

190 cm

เตาผลิตก๊าซเชื้อเพลิงแบบไหลลง
กะลาปาล์มขนาด 1.0-1.5 cm
ป้ อนเชื้อเพลิง 50 kg/ครั้งทดสอบ
ต้นแบบเตาแก๊สซิไฟเออร์
ต้นแบบเตาแก๊สซิไฟเออร์
1. ลักษณะของอุณหภูมภิ ายในเตาก๊ าซซิไฟเออร์

2. องค์ ประกอบและค่ าความร้ อนของก๊ าซเชื้อเพลิง

3. อัตราการผลิตก๊ าซเชื้อเพลิง อัตราการผลิตความร้ อน และประสิ ทธิภาพของเตา


ก๊ าซซิไฟเออร์
1. ลักษณะของอุณหภูมภิ ายในเตาก๊ าซซิไฟเออร์

2. องค์ ประกอบและค่ าความร้ อนของก๊ าซเชื้อเพลิง

3. อัตราผลิตก๊ าซเชื้อเพลิง อัตราผลิตความร้ อนและประสิ ทธิภาพของเตาก๊ าซซิไฟเออร์


ที่อตั ราส่ วนสมมูล 0.27

จุ10
ด20เตา
min
minเริก๊่ มาซสามารถจุ
มีค60วันmin เก็ดบติตัดวไฟ
อย่างก๊100
าซไปวิ
minเคราะห์
ก๊าซไม่สามารถจุดติดไฟ
1200

1000
Temperature ( C)
o

800

600

400
T1 (Drying zone)
T2 (Pyrolysis zone)
200 T3 (Combustion zone)
T4 (Reduction zone)
T5 (Ash pit)
0
0 20 40 60 80 100 120

Time (min)

อุณหภูมิภายในเตาก๊าซซิ ไฟเออร์เทียบกับเวลา
ไม่ผ่านระบบทําความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิง ผ่านระบบทําความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิง
950-
1100oC

400-
700oC
150-
250- 400oC
300oC
45-50oC

ER ER ER ER ER
0.18 0.22 0.27 0.29 0.32

อุณหภูมิเฉลี่ยภายในเตาก๊าซซิไฟเออร์ที่อตั ราส่ วนสมมูล 0.18-0.32


1. ลักษณะของอุณหภูมภิ ายในเตาก๊ าซซิไฟเออร์

2. องค์ ประกอบและค่ าความร้ อนของก๊ าซเชื้อเพลิง

3. อัตราผลิตก๊ าซเชื้อเพลิง อัตราผลิตความร้ อนและประสิ ทธิภาพของเตาก๊ าซซิไฟเออร์


1.ก๊าซ N2 = 55.84-63.84%
70
2.ก๊าซ CO = 23.24-29.77%
60
3.ก๊าซ H2 = 6.99-9.41%
4.ก๊าซ CH4 = 1.37-2.02%
5.ก๊าซ CO2= 1.99-2.83%
50
Gas composition (%)

40
6.ก๊าซ O2 = 0.43-2.44%
30
N2
20 CO
H2
CH4
10 CO2
O2
0
.16 .18 .20 .22 .24 .26 .28 .30 .32 .34

Equivalence ratio

องค์ประกอบของก๊าซเชื้อเพลิงที่อตั ราส่ วนสมมูล 0.18-0.32


HHVGas = 5.66MJ/Nm3

6 40

Gas composition (% volume)


5
Higer heating value (MJ/Nm )
3

30

CO = 29.77%
3 20
H2 = 8.36%
2

10 HHVGas
1 CO
CH4= 2.02% H2
CH4
0 0
.16 .18 .20 .22 .24 .26 .28 .30 .32 .34

Equivalence ratio ER = 0.27


ค่าความร้อนของก๊าซเชื้อเพลิงที่อตั ราส่ วนสมมูล 0.18-0.32
การประยุกต์ใช้เตาแก๊สซิไฟเออร์
การนําก๊าซชีวมวลไปใช้งาน
 การนําเอาก๊ าซเชื้อเพลิงชี วมวลสามารจําแนกออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ
ดังนี้
 1.การนํามาใช้ สําหรับผลิตความร้ อน
 2.การนํามาใช้ เป็ นเชื้อเพลิงเครื่องยนต์
 3.การนําไปผ่ านกระบวนการแปรสภาพเป็ นเชื้อเพลิงเหลว
การนําก๊าซชีวมวลไปใช้งาน

ใช้เป็ นเชื้อเพลิงใน
เครือ่ งยนต์
ใช้เผาไหม้
เป็ นความร้อน

ใช้ดดั แปลงเป็ น
นํ้ามันเชื้อเพลิง
สังเคราะห์ (BTL)
ตัวอย่างการใช้งาน GASIFIER โรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์

กําลังการผลิต 120,000 ตัน/ปี


ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน จากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน หรื อบีโอไอ ( BOI )
ส่ งออกไปจําหน่ายยังประเทศเกาหลี จีน ญี่ปุ่น ปากีสถาน บังคลาเทศ ลาว อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย
ฯ และยังมีตวั แทนจําหน่ายในต่างประเทศ
ท่ ออบแห้ งปุ๋ ยทีใ่ ช้ เชื้อเพลิงเป็ นแก๊ ส LPG

Dryer

Burner
การออกแบบ และสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์
 ระบบผลิตก๊ าชเชื ้อเพลิงที่ออกแบบให้ กบ
ั ทางบริ ษัทฯนี ้ ประกอบไปด้ วย
แบบเตาผลิตก๊ าชเชื ้อเพลิงแบบไหลลงขนาด 300 kW

แบบเตาเผาผลิตก๊ าชเชื ้อเพลิงแบบไหลลง


การออกแบบ และสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์

 มีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 840 mm. สูง 2570 mm. โดยประกอบด้ วย


ส่วนประกอบ 5 ส่วน คือ
 ส่วนของช่องเก็บเชื ้อเพลิง(Hopper)มีขนาดบรรจุโดยประมาณที่ 400 kg
 ส่วนของโซนไพโรซิส(Pyrolysis chamber)
 ห้ องเผาไหม้ (Reaction chamber)
 ส่วนของรี ดก ั ชัน่ โซน (Reduction chamber) และ
 ห้ องเก็บเถ้ า (Ash chamber) โดยได้ ทําการออกแบบเตาผลิตก๊ าซ
เชื ้อเพลิงให้ สามารถเผาไหม้ เชื ้อเพลิงได้ โดยประกอบด้ วยส่วนประกอบ
4 ส่วนคือ
ผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงานระหว่างการสร้ างเตาผลิตก๊ าซเชื ้อเพลิงแบบไหลลง


การสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์

ห้ องปฏิกริ ิยา (Reaction chamber)

ห้ องถ่ ายเถ้ า (Ash chamber)

ช่างกําลังเชื่อมหน้ าแปลนกับชุดผลิตก๊ าซเชื ้อเพลิงเข้ าด้ วยกัน


การสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์

ช่องจุดนําเชื ้อเพลิงเชื ้อเพลิง

ช่องทางออกของก๊ าซเชื ้อเพลิง

ช่างกําลังตรวจสอบระยะความ ช่องจุดนําเชื ้อเพลิงและท่อ


ถูกต้ องหลังการเชื่อมหน้ าแปลน ทางออกของก๊ าซเชื ้อเพลิง
การสร้างเตาแก๊สซิไฟเออร์

ห้ องไพโรไลซิส
(Pyrolysis chamber)

ช่องป้อนเชื ้อเพลิง

ห้ องไพโรไลซิส (Pyrolysis chamber) ซึง่ ลักษณะของคอคอดซึง่ เป็ นส่วนประกอบในโซน


เป็ นถังเก็บเชื ้อเพลิงสําหรับป้อนให้ กบั เตา ห้ องปฏิกิริยา (Reaction chamber)
ผลิตก๊ าซเชื ้อเพลิง
การทดสอบเตาแก๊สซิไฟเออร์

ก๊ าซที่ได้ จากเตาผลิตก๊ าซเชื ้อเพลิง

เตาแก๊ สซิไฟเออร์ ที่ติดตังกั


้ บระบบเตา
อบปุ๋ยเพื่อทดแทนหัวเผาก๊ าซแอลพีจี
ผลการดําเนินงาน

การติดตังระบบที
้ ่ทดแทนหัวเผาแอลพีจีเดิม

การติดตังระบบแก๊
้ สซิไฟเออร์ เข้ ากับเตาอบปุ๋ย
การใช้แก๊สซิ ไฟเออร์ร่วมกับ LPG สําหรับการอบแห้ง ถัว่ เหลือง และข้าวโพด

Exhaust gas analyzer

Producer gas

Thermocouple

LPG Air
เปรี ยบเทียบลักษณะเปลวไฟ
โปรดิวเซอร์ ก๊าซ 100% ก๊ าซแอลพีจี 50%
โปรดิวเซอร์ก๊าซ 30 kW โปรดิวเซอร์ก๊าซ 15 kW + แอลพีจี 15 kW
เปรี ยบเทียบอุณหภูมิเปลวไฟ

Temperature (oC)
1,400
0% LPG
1,350 10% LPG
1,300 20% LPG
1,250 30% LPG
40% LPG
1,200
50% LPG
1,150
1,100
1,050
1,000
1 3 4 6 7 9 10 12 13 15 16 18 19 21 22 24 25
Axial distance (cm)
เปรี ยบเทียบอุณหภูมิเปลวไฟตามสัดส่ วนการป้ อนก๊าซแอลพีจี
การใช้แก๊สซิไฟเออรสํ์ าหรับหลอมอลูมเิ นียม 

Case 1 LPG Case 2

Gasification 
Air 

Crucible Furnace Air 

Case 3 Gasification +LPG  
การใช้แก๊สซิไฟเออรสํ์ าหรับหลอมอลูมเิ นียม 

Flame temperature 
900

800 Max.Temp = 800 °C 


700
Temperature (°C) 

600 Max.Temp = 500 °C 


500
Gasification
400 Gasification+LPG
300

200

100

0
1 3 5 7 9 1113151719212325272931333537394143
Time (min) 

Maximum temperature difference = 300 °C  
การใช้แก๊สซิไฟเออรสํ์ าหรับหลอมอลูมเิ นียม 
อุปกรณ์ ผลิตไฟฟ้าด้ วยระบบแก๊ สซิฟิเคชั่น

หมายเลข อุปกรณ์ หน้ าที่

1 Computer เก็บข้อมูลในรู ปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์


แปลงสัญญาณที่รับจาก Thermocouple และส่ งค่าเป็ น
2 Data logger
ข้อมูลในรู ปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในคอมพิวเตอร์
3 Gasifier ผลิตก๊าซเชื้อเพลิง
4 Cyclone แยกฝุ่ นขนาดใหญ่ที่ปนอยูใ่ นก๊าซเชื้อเพลิง

5 Wet scrubber แยกฝุ่ นละเอียดและกําจัดนํ้ามันดินออกจากก๊าซเชื้อเพลิง

6 Gas cooler ลดอุณหภูมิของก๊าซเชื้อเพลิง


7 Gas filter บําบัดนํ้ามันดิน

8 High pressure blower สร้างแรงดูดระบบเพื่อดูดอากาศเข้าสู่หอ้ งเผาไหม้

9 Orifice meter วัดอัตราการไหลของก๊าซเชื้อเพลิง


10 Manometer วัดความดันตกคร่ อมอุปกรณ์ Orifice meter
11 Gas booster ลดความดันสูญเสี ยที่เกิดจาก Orifice plate
12 Proximity sensor วัดความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์
13 Dual fuel engine เปลี่ยนพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ า
14 Power meter วัดคุณลักษณะของไฟฟ้ าที่ได้จากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
15 Light Load จําลองโหลดให้กบั เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
ตัวอย่างอุปกรณ์

อุปกรณ์ จําลองโหลด
เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ วดั อัตราการไหล
เครื่องกําเนิดไฟฟ้าแบบเครื่องยนต์

ดิจิตอลมัลติมเิ ตอร์ สําหรับเก็บข้ อมูล

อุปกรณ์ วดั ความเร็วรอบของเครื่องยนต์ เครื่องวิเคราะห์ แก๊สไอเสี ย

เทอร์ โมคัปเปิ ล
การใช้แก๊สซิไฟเออรสํ์ าหรับครัวเรือน 
BURNERS EFFICIENCY METHOD FOR LPG

mwater  19kg
c p , water  4.18kJ / kg  K

Measuring
Measure fuel Boiling
the
tank before and temperature
after the
experiment
BURNERS EFFICIENCY METHOD FOR GASIFIER
Burners efficiency method for Producer Gas
mwater  19kg
c p , water  4.18kJ / kg  K

Grinded Coconut Boiling Measuring the


Shells 4.4kg as temperature
Biomass fuel
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

You might also like