You are on page 1of 49

โครงสรางทางธรณีวิทยา (Geological Structures)

ที่พบในหินเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
เนื่องจากมีแรงมากระทํา
แรงที่กระทํา ไดแก แรงโนมถวงและแรงทางเทคโทนิกส
ที่เกิดจากการพาความรอนภายในโลก
ธรณีภาคชัน้ นอก ฐานธรณีภาค แมนเทิล

PLATE TECTONICS
แรง กระทํากอใหเกิดความเคน (Stress) ในมวลหิน
แรงกระทํ
ทําใหหินเกิดความเครียด (Strain)
โดย การยืดตัว หดตัว หรือบิดโคงงอ
โดยการยื

•ในที่สุดหินอาจเกิด รอยแตก (Fracture)


• และเลื่อนออกจากกันจนกลายเปน รอยเลื่อน (Fault)
• บางครั้งอาจโคงงอเปน รอยคดโคง (Fold)

S. Singharajwarapan
แรงเคน หมายถึง แรงที่กระทําตอตัวหิน
ปกติแรงเคนที่กระทําตอตัวหินจะไมเทากันทุกทิศทาง

• แรงบีบอัด (Compresional Stress)


• แรงดึง (Tensional Stress)
• แรงเฉือน (Shear Stress)
วัตถุ ที่อยูภายใต หนวยแรง จะเกิด ความเครียด
พฤติกรรมเชิงกลของหิน คือ การตอบสนองตอ stress ที่กระทํา
แบงออกไดหลายแบบ
เชน การแตก (fracturing)
หรือ การไหลโดยไมแตก (flow)
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ชนิดของหินและสภาวะแวดลอมทางกายภาพของ
การแปรรูป ไดแก ความดัน อุณหภูมิ และอัตราการเกิดความเครียด
Failure: การที่วัตถุไม
ส า ม า ร ถ ต า น ท า น ต อ
applied stress ไดอีกตอไป
Stress (σ) โดยจะแสดงออกในรูปของ
fracture หรือ flow อยาง
Ductile failure ตอเนื่อง
Fracturing
Brittle failure
Fracturing
5 10
Strain (ε)
Mechanical behavior อธิบายไดโดยพิจารณาความสัมพันธระหวาง
หนวยแรงกับความเครียด (stress-strain relationship)

Elastic

Plastic Viscous

Behaviors of Ideal Materials


S. Singharajwarapan
1. Elastic Behavior
เมื่ออยูภายใต stress วัตถุจะเกิด strain แบบทันทีทันใด เมื่อ applied stress หายไป strain จะ
หายไปดวย และ strain ที่เกิดขึ้นจะเปนสัดสวนโดยตรงกับ applied stress

2. Plastic Behavior
เมื่ออยูภายใต stress วัตถุจะเกิด strain ก็ตอเมื่อ applied stress มากกวา yield stress และวัตถุ
จะไมกลับคืนสูสภาพเดิมแมวา applied stress จะหายไป

3. Viscous Behavior
วัตถุจะเกิดการไหล (flow) ภายใต applied stress การไหลจะชาหรือเร็ว ขึ้นกับความตานทานภายใน
ของวัตถุ เรียกวา ความหนืด (viscosity) ของวัตถุ ปกติเปนพฤติกรรมของของไหล (fluid) แตของแข็ง
อาจไหลไดภายใตสภาพที่มีความดันและอุณหภูมิสูง หรือ เกิดความเครียดในอัตราที่ชามาก ๆ
ลักษณะการวางตัว
ของหินตะกอน
หินตะกอนมีลักษณะ
เปนชั้น (bedding)
เนื่องจากการตกทับถม
เรียงกันของตะกอน
แตละชั้น (bed)
แนววางตัวและมุมเอียง
(Strike and dip)

STRIKE

DIP
แนววางตัวและมุมเอียง
(Strike and dip)
รอยคดโคง (Folds)

โครงสรางที่เกิดจากการคดโคงของชั้นหิน เปนการแปร
รูปแบบเหนียวของหิน (Ductile deformation)
เนื่องจากถูกบีบอัด (compression)
Fold hinge
Fold axis

Fold limb

Axial plane
ชนิดของรอยคดโคง (Folds)

• รอยคดโคงรูปประทุนคว่ํา (Anticline)
• รอยคดโคงรูปประทุนหงาย (Syncline)

Anticline Syncline
รูปทรงและการวางตัวของ folds ทั้ง syncline และ anticline
ชนิดของรอยคดโคง
(Type of Folds)

Symmetrical Fold Asymmetrical Fold

Overturned Fold Isoclinal Fold Recumbent Fold


ชนิดของรอยคดโคง
(Type of Folds)
Axial Plane

Asymmetrical Overturned Fold


(Km 577 Paholyothin Hwy, Lampang)
Isoclinal Fold
Sirikit Dam, Uttaradit)
S. Singharajwarapan
Recumbent Fold
(Bhumipol Dam, Tak)
แผนที่ธรณีวิทยา (Geologic Map)
Geological Map
SCALE 1:10,000
รอยเลื่อน (Fault)

โครงสรางทีเกิ
่ เกิดจาก
การแตกของหิน
และมีการเคลื่อนที่ของหิ
ของหิน
ออกจากกันตามแนวรอยแตก
เปนการแปรรูปแบบเปราะ
(Brittle deformation)
Types of faults: Normal, thrust and strike-slip faults
Normal fault
เชียงใหม

แผนภูมแ
ิ สดงโครงสรางธรณีวิทยาของแองเชียงใหม
Thrust fault
รอยเลื่อนยอน (Thrust
Fault) ในชัน
้ หินทีโ่ ผล
ขางถนน (Nevada,
USA)
30 meters

Strike-slip fault (San Andreas fault, California,USA)


รอยเลื่อนแนวระดับ
(Strike-slip Fault)
ในชัน
้ หินที่โผลขางถนน
(กาญจนบุรี)
แผนที่แสดงรอย
เลื่อนที่สําคัญของ
ประเทศไทย
เขื่อนแมกวง
รอยเลื้อนแมทา

เชียงใหม

LANDSAT TM7: รอยเลื่อนแมทา (Mae Tha Fault)


รอยแตก (Joints)
โครงสรางที่เกิดจากการแตกของหิน แตไมมก
ี ารเคลื่อนทีข
่ องหิน เปน
การแปรรูปแบบเปราะ (Brittle deformation)
รอยแตก (Joints) ในชัน ้ หินทราย (sandstone bed)
ที่ อ. น้ําปาด จ. อุตรดิตถ
รอยชัน
้ ไมตอ
 เนือ
่ ง
(Unconformities)
Erosional
Surface Angular Unconformity

Erosional Disconformity
Surface

Erosional
Nonconformity
Surface
หินตะกอน
Erosion
Surface
หินตะกอน

การเกิด Angular Unconformity


หินตะกอน
Erosion
Surface

หินตะกอน

การเกิด Disconformity
หินตะกอน
Erosion
Surface

หินอัคนี หรือ หินแปร

การเกิด Nonconformity
เฟลดสปาร (FELDSPAR)
เปนกลุม แรทมี่ มี ากที่สดุ ในเปลือกโลก (64%)
เปนแรที่ยุงยากและมีสวนประกอบเปลี่ยนแปลงเปนชวงกวาง
โพแทสเซียมเฟลดสปาร K(Si3Al)O8
มีแรที่มีสูตรเดียวกันแตผลึกตางรูปอยูสามตัว คือ
ออรโทเคลส ไมโครไคลน และ ซานิดีน

แพลจิโอเคลส (Plagioclase)
มีชวงสวนประกอบเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง (Solid
Solution) จาก อะนอรไทต [Ca(Si2Al2)O8] ไปเปน >>
แอลไบต [Na(Si3Al)O8]
เฟลดสปารพบมากทั้งในเปลือกโลกสวนทวีปและมหาสมุทร

You might also like