You are on page 1of 42

PRINCIPLE OF CHORD

(ตัวสําคัญของคอรด)

Chord Maj. Min. Maj. Dom. Min. Aug Min.7th Dim.


tipe 6th. 6th. 7th. 7th. 7th. 7th. Lovered 7th.
5th.
Chord 6 6 7 b7 b7 b7 b7 bb7
5 5 5 5 5 #5 b5 b5
Tomula 3 b3 3 3 b3 3 b3 b3
1 1 1 1 1 1 1 1

Chord C6 C-6 C∆ C7 C-7 C+7 C-7(b5) Cº7


Symbol

INTERVAL
(ขั้นคู)

Aug
2 1
3 Major 4
6 Minor Perfect 5
7 8
Dim.

ขั้นคู 2, 3, 6, 7, เปน Major และ Minor ขั้นคู 1, 4, 5, 8, เปน Perfect


ขั้นคูที่ต่ํากวา Major ครึ่งเสียงเปน Minor ต่ํากวา Minor เปน Dim.
ขั้นคูที่สูงกวา Major ครึ่งเสียงเปน Aug.
ขั้นคูที่สูงกวา Perfect ครึ่งเสียงเปน Aug.
ขั้นคูที่ต่ํากวา Perfect ครึ่งเสียงเปน Dim.

DIATONIC CHORD PROGRESSION


(อันดับที่ของ คอรด)

1
INVERSION CHORD
(การกลับขั้นคูของคอรด)
Ex.

การทําแบบฝกหัด ใหเอา Diatonic Chord Progression มาทํา ดังตัวอยาง

CHORD DOMINANT MOTION


( 1, 2, 3, & 4 )
Dominant Motion I : สูตร V I

Dominant Motion II : สูตร II V I

2
CIRCLE OF DOMINANT

Dominant Motion III : สูตร V7/V V7/V V7/V V7/I I

3
Dominant Motion IV : สูตร I V7/II II V7/I

PATTERN (1, 2, 3, & 4)

PATTERN I : สูตร I VI II V I

PATTERN II : สูตร I bIIIº7 II V I

PATTERN III : สูตร I #Iº7 II V I

4
PATTERN IV : สูตร I V7/IV IV IV- I

CADENCE
1. I IV I
2. I IV I V I
3. I IV V I

ANALYSE CHORD
Ex.

CHORD PROGRESSION
(กฎการใชคอรด)
Chord Progression คือ คอรดที่จัดไวเปนรูป : มีกฎการใชดังนี้
1. ทุกคอรดจะตามหลังคอรด I ได แตตองเปนไปตามกฎ
2. หลังจากไดกําหนดคอรด I แลว การใชตองเปนไปตามกฎ จะเปน Key เดียวกัน หรือ
Modulate (เปลี่ยนคีย) ออกไป Key อื่นก็ตาม ตองอยูในกฎ

5
3. ถา Modulate จาก Chord I ไป Key อื่นๆแลวจะตองนึกถึงกฎของ Dominant
motion, Pattern และ Cadence
4. จะมี Chord I สองคอรดติดตอกันไมได นอกจาก Chord IV ของ Scale เทานั้น
เพราะวา Chord IV เปน Chord Cadence

CADENTIAL COMBINATIONยอ(Cad.Com)
(กลุมคอรดที่เขากันได)

1. F6 C
2. F6 F-6 C
3. F6 F-6 G7 C
4. F-6 C
5. F-6 G7 C
6. F6 G7 C

SUBSTITUTION CHORD
(การใชคอรดแทน)
สูตร.
1. III-7 ใชแทน I
2. bVII7 ใชแทน IV-(6)
3. bII7 ใชแทน V7
4. II-7 ใชแทน IV(6)
5. II-7(b5) ใชแทน IV-6 ( หามใชแทนใน Pattern )

Ex.
----------------- Dom.III --------------------
E7 A7 D7 G7 C
Bb7 Eb7 Ab7 Db7 C
s. s. s. s.

6
การใช SUBSTITUTION CHORD
1. คอรด III-7 ใชแทน I ได แตใชแทนคอรด I ซึ่งเปนคอรดสุดทายของเพลงไมได
2. ทุกๆคอรด I จะใชตามคอรด III-7 ที่ใชแทนคอรด I ไมได
3. คอรด III-7 ที่ใชแทนคอรด I จะใชแทนไมไดเมื่อ I เปน Melody หรือเปน Root
Ex.

ADD CHORD
(คอรดแทรก)
สูตร.
1. II/V7/I V7 I
D-7 G7 C

2. II/V7/II II II
E-7 A7 D-7

3. II/V7/IV V7 IV
G-7 C7 F

4. II/V7/V V7/V V7
A-7 D7 G7
7
MODULATION (Modulate)
(การเปลี่ยนบันไดเสียง)
การเขียนเพลงโดยมากถาจะใหมีรสชาด หรือเพิ่มสีสรรใหสวยงามขึ้น
ควรใชการเปลี่ยน Key จาก Key หนึ่งออกไปอีก Key หนึ่ง การ
เปลี่ยนKeyนี้ควรถือกฎขอที่ 4 ของการใชคอรด Progression (กฎ
การใช Chord Progression)
Ex.

CHORD TO FOLLOW
REASON
คอรดตาม
G7 C V7/I
C7 V7/V
C-7 V7/II
C7 V7/IV

8
E-7 V7/I(s.)
Gb7=F#7 V7/I(s.)
Gb7 V7/V(s.)
D IV7/I(Blues)
Gb-7 V7/I(s.)

CHORD PRECEDE
REASON
คอรดนํา คอรดตาม
C D-7 I/II
Ebº7 bIIIº7/II
A7 V7/II
C# º7 ©Iº7/II
A-7 VI/II
E-7 I/II(s.)
Eb7 V7/II(s.)
Eb IV/I(s.)
F I/VI
D7 V7/II(แทรก)
B7 V7s./Is.

9
NON CHORD TONE

( ใหตัดเสียงที่อยูใกล Melody ออก )

Ex.

10
ANTICIPATION
คือ ตัวโนตสั้นๆ จังหวะ (Beat) เปนจังหวะยก สวนมากเปนโนตตัวเขบ็ดหนึ่งชั้น หรือ
สองชั้น
ถาเปนจังหวะเร็ว ยอมใหใชตัวดําได แตตองมี Tie โนต ถาไมใช Tie โนต หองตอไป
จะตองเปนจังหวะหยุด แตมีคอรดใหมเขียนไว เชน

Ex.

11
APPROACH
Approach : มีอยู 3 ชนิด คือ 1. DIATONIC APPROACH
2. CROMATIC APPROACH
3. DIMINISH APPROACH

DIATONIC APPROACH
-คือตัวโนตที่เปน Non Chord Tone เขาหา Chord Tone เปนโนตสั้นๆ
เชน
เขบ็จ 1 ชั้น หรือ 2 ชั้น ตัวดําใหทําไดในจังหวะเร็ว เพื่อหลีกการซ้ําเสียง
Ex.

CHROMATIC APPROACH
-คือการทําให Harmony เปนครึ่งเสียงเหมือน Melody
Ex.

12
DIMINISH APPROACH

-การทําคือ VOICE N.Ch.T. เปน Diminish แต N.Ch.T. จะตองเปนตัว


ที่ 2, 4, b6, และ 7 ของ Scale จึงทําได เชน.-

2 4 b6 7

หลักสําคัญในการทํา APPROACH คือ.-


1. ใหทํา Chord Tone กอน
2. เลือก Approach

Ex.

13
การ VOICE ใน CONCERT SCORE 4 แนว

SCORE

14
TRANSPOSE จาก CONCERT SCORE
-TRUMPET, CLARINET, TENOR, เปนเครื่องมือ Bb (บีแฟล็ต)
จะตอง TRANSPOSE ขึ้นไปคู 2 เมเจอร
-ALTO, BARITONE SAX, เปนเครื่อง Eb (อีแฟล็ต) ตอง
TRANSPOSE ขึ้นไปคู 6 เมเจอร
-TROMBONE เลนตัวโนตใน SCORE
-FLUTE เลนใน SCORE (เปนเครื่อง C เหมือน PIANO,ORGAN,GUITAR)

UNISON TONE คือระดับเสียงที่เทากัน

Ex. จง TRANSPOSE โนตตอไปนี้ ใหเปน TENOR และ ALTO

15
-TRANSPOSE ให BARITONE
-ขึ้นไปคู 6 เมเจอร แลวบันทึกในกุญแจซอล-แลวยกขึ้นไปเปนคู 8 เชน.-

-TRANSPOSE ให TRUMPET และ CLARINET

16
TENSION OF DOMINANT 7th. CHORD
TENSION : คือโนตที่อยูนอกเหนือ Chord
Tone มักจะมีใชกันมากใน
Dominant 7th.Chord เชน C7

ตัว Melody เปน Tension เชน.-

ถา Melody ไมไดเปน Tension แตตองการใหมี Tension ใน Chord


Dom. นั้น เชน.-

(Law) กฎการใช TENSION ใน Chord Dom.7th.

1. ใช 9 แทน 1 ใน Chord Dom.7th.ทุกๆ Chord นอกจาก 1 เปน Melody


- เชน.

2. ใช 9 ใน Dom.7th. อาจใช b9 ได แตการใช b9 นี้จะใชกันมากในตอนจบ


ประโยคเพลง หรือ ตอนจบบทเพลง และควรจะใชใน V7/I, V7/II, V7/V,
ไมรวม Sub. Chord เชน

17
3. ถา Melody เปน 9 หรือ 1 ก็ตามและอยูใน Chord Dom.7th. เราจะใช #5
ดวยก็ได ในตอนจบประโยคเพลง หรือจบบทเพลง และควรใชใน V7/I,

V7/II, V7/V, โดย Voice ดังนี้ Melody เปน 1

Melody เปน 9
4. ถา Melody เปน #9 ใน Dom.7th.ใหใช b13 หรือ #5 รองรับ เชน.-

หรือ

5. ถา Melody เปน b13 ใน Dom.7th.ใหใช b9 รองรับ เชน.

*ถา Chord Maj.6 หรือ Min.6 มี 9 เปน Melody ใหใช 7 หรือ 6 รองรับ

หมายเหตุ ถา b9 เกิดในหองใหนก็ตามจะตอง Voice ตัวตอไปเปน b9 จนกวาจะ


เปลี่ยน Chord ใหม ฉนั้นการใช b9 ควรใชเปนตัวสุดทายของ Chord
สรุป. ของการ Voice Chord Dom.7th.
-ถา Melody เปน 13 ตัดตัวที่ 5 ทิ้งไป
-ถา Melody เปน #11 ตัดตัวที่ 3 ทิ้งไป
-ถา Melody เปน 9 ตัดตัวที่ 1 ทิ้งไป

ตัวอยางของ TENSION

18
ALTERED TENSION
ALTERED: เราจะใชในโอกาสพิเศษ ในเมื่อ Melody เปน Tension และตัว
Harmony ยังเปน Tension เขาไปอีก ใชใน Chord Dom.7th.

สรุป Melody เปน 9 b9 #9 b13 13 (b13เทากับ#5)

ใหใช b13 รองรับ ใหใช b9 รองรับ

TENSION CHART
Chord Tension Remark
9–1 ใช 9 แทน 1
Maj.6
1 7 -6 ใช 7 แทน 6
9–1 9 แทน 1
2 Min.6 7–6 7 แทน 6
th
13 – 5 13-b13 แทน 5
3 Dom.7 #11 – 3 11-#11 แทน 3
9 – 1 9 b9 #9 แทน 1
th
11 – b3 11 แทน b3
Min.7
4 9–1 9 แทน 1
#11 – 3 #11 แทน 3
Aug.7th
5 9–1 9 แทน 1
1 เสียงเต็ม จาก
th
Dim.7 Chord Tone ใช
6 แทนกันได

19
ตัวอยางการ Voice Altered Tension

MELODIC TENSION
Melodic Tension คือ Tension ที่เปน Melody เชน D เปน Melody ของ C7 หรือ F# เปน
Melody ของ C7

อยูใน Key C ทั้งหมด

1 10
I Maj 6 C6 VI-7 A-7
2 11
I Min 6 C-6 V7/I G7
3 12
II-7 D-7In minor
bII7(subV7) Db7
4 13
II-7(b5) D-7(b5)In Min.
bVII7(sub IV-) Bb7
5 14
II-7(b5) D-7(b5)In Maj V7/V D7

20
6 III-7 E-7
15
V7/V(subV7/V) Ab7
7 IV Maj6 F6
16
V7/II A7
8 17
IV Min6 F-6 V7/II(subV7/II) Eb7
9
IV7 Blues F7

BACK GROUND
หลักการเขียน Back Ground : เราไดเรียนผานมาในเรื่อง Harmonization และ
เทคนิคตางๆที่ใชกับ Chord และใสเสียงประสานกับ Melody
ในขั้นนี้จะกลาวถึงการใชหลักเกณทในการเขียน Back Ground ซึ่งเปนสวนสําคัญของ
Arranger (การเรียบเรียงเสียงประสาน) การเขียน Back Ground คือการเขียน Melody
ใหมใหเขากับ Chord เดิมที่มีอยู หรือดัดแปลง Melody เดิมใหเปน Back Ground สิ่ง
สําคัญที่สุดคือ ตองเขาใจ Melody เดิมและ Chord เดิมใหดี ฉนั้นควรเลน Melody และ
Chord เดิมใหซึมซาบเสียกอน

รายละเอียดตางๆที่จะใชในการแตง Back Ground

1. เมื่อ Melody กําลังวิ่ง Back Ground จะตองหยุด หรือ Sustian


2. เมื่อ Melody Sustian. หรือหยุด Back Ground จะตองวิ่ง
3. ถา Melody กับ Back Ground move (วิ่ง) ดวยกันทั้งคูในเวลาเดียวกัน
Back Ground ควรจะตองหางจาก Melody เปนคู 3 ขางลาง หรือ ขางบนก็ได
4. Back Ground เกิดขึ้นจาก Chord Tone, Tension, และ Approach
ตางๆ
5. Back Ground ที่เราสรางขึ้น จะตองอธิบายได และควรสัมพันธกับ Melody เดิม

21
Ex.

DROP 2 VOICING & RANGE


-ตามปกติระดับเสียง ( RANGE ) ของเครื่องมือตางๆนั้น ไดกําหนดความพอดีไวดังนี้.-

ในบางครั้งการ Voice เสียงประสานอาจพบระดับเสียงที่สูงเกินไป แกไขไดโดยวิธี Drop 2


ควรทําเมื่อ Melody สูงๆ หรือเพื่อกลีกเลี่ยงการซ้ําเสียง
วิธีการ Drop 2 คือ เมื่อจะ Voice เสียงประสานตัวต่ํา ใหยกเสียงประสานตัวที่ 2 มาไวที่
Root (ตัวต่ําสุด) และเสียงประสานตัวที่ 3 เลื่อนมาไวเปนตัวที่ 2 จะใช Tension ก็ไดตามที่เห็น
ควร เชน .-

ตัวอยางวิธีการทํา Drop 2

22
RHYTHM
ในเพลง Popular เปนเพลงที่เรียบรอย เชน.-

แตในจังหวะ Swing หรือ Jazz Rhythm จะเปน Syncopation เชน.-

ฉนั้น เพื่อมิใหเกิดความเขาใจผิด กับการเรียกชื่อจังหวะตางๆ ที่ใชตัวโนตดังกลาว จึงไดกําหนดใช


ระบบใหม ดังตอไปนี้.-
ตัวโนต ตัวหยุด
e เทากับ 1 Beat Q

q เทากับ 2 Beat P

q. เทากับ 3 Beat PQ

h เทากับ 4 Beat –
h. เทากับ 6 Beat _P

w เทากับ 8 Beat —

ผูเรียบเรียงเสียงประสาน หรือนักแตงเพลงก็ตาม ตองทําตามกฎของการเขียนโนต ที่ในจังหวะ


Swing หรือ Jazz เพื่อใหผูเลนปฎิบัติไดงาย หรืออานไดถูกตอง มีกฎเกณฑของการเขียน 3 ขอดังนี้

23
1. การเขียนเพลง (ตัวโนต) จะเปนตัวโนตหรือตัวหยุดก็ตามในจังหวะ 4/4 อยาซอนจังหวะที่ 3
หรือ Beat ที่ 5 เปนอันขาด ใน Bar หนึ่ง เราจะใช Imagine Bar Line

2. เมื่อมีตัวโนตเขบ็ตเรียงกัน 2 ตัว หรือมากกวาขึ้นไป ซึ่งเกิดเปนกรุปเราตอง Beam เชน

  อยางไรก็ตามอยา Beam ขามตัวโนต

ตัวอยางการ Imagine Barline


การ Beam ที่ผิด การเขียนที่ถูกตอง การ Beam ที่ผิด การเขียนที่ถูกตอง

3. การเขียนโนตตองทิ้งชองไฟในหองใหสวยงาม และ เปนระเบียบ เชน.-

24
DELEYED RESOLUTION
คือ. Chord Tone ที่ถูก Approach ทั้งขางลางขางบน มีอยูดวยกัน 4 แบบ คือ .-
1. CHRO. CHRO
2. CHRO. DIM
3. DIM. DIM
4. DIM. CHRO

แบบที่ 1. CHRO. CHRO

แบบที่ 2. CHRO. DIM

แบบที่ 3. DIM. DIM

แบบที่ 4. DIM. CHRO

25
ALTERNATE VOICING

-มีใวใหโอกาสผูใช เวลา Melody เปนตัวที่ 1 ใน Chord Dom.7th. ไมวาจะเปนโนตตัว


ยาวหรือตัวสั้นก็ตาม ใหใช Alternate Voice ได การใช Alternate ก็คือ Voice ลงมา
โดยไมตองมี b7 แตใหใช b9 รองรับ เชน.-

Range ของ b9 ไมควรใหต่ํากวา F

ถา b9 จําเปนตองต่ํากวา F ใหใช 9 แทน เชน.-

26
DOUBLE CHROMATIC APPROACH

คือ Chromatic Note 2 ตัว Approach เขาหา Chord Tone ในทางเดียวกัน ในแบบ
ตางๆ เชน.-

1. In Minor

2. In Major

3. In Dom. 7th.

27
THE RHYTHM SECTION
1. JAZZ DRUMS ประกอบดวย
BASS DRUM คํายอ ( B.D.)
SNARE DRUM คํายอ (S.D.)
CYMBAL คํายอ (Cym)
TOM-TOM คํายอ (T.T.)
LARG TOM (FLOOR) TOM คํายอ (L.T. or F.T.)

RIM SHOT คํายอ ( R.S.)


BRUSHES คํายอ (Br.)
STICK คํายอ (St.)
ROLL ( รัว )

-การเขียนโนตกลองใหรัว ควรมีโนตสุดทายที่ไมรัวอยูดวย เชน.-


ขอควรจํา : สําหรับผูเลนกลอง หนาที่ของกลองคือ ใหจังหวะที่สม่ําเสมอ เพื่อใหเปนพื้นฐานใหกับ
เครือ่ งดนตรีอื่นๆในดานจังหวะ ฉนั้น ควรเลนอยางธรรมดาเพื่อรักษาจังหวะใหแนนและมั่นคง
นอกจากผูเขียนจะเขียนใหเลนพลิกแพลง ตามเครื่องมืออื่นๆ หรือให Fill in เปนตน

28
2.STRING BASS

-PIZZICATO (PIZZ) = ใชนิ้วดีด, -ARCO = ใชคนั สี

RANGE ของ BASS อยาใหต่ํากวา และอยาใหสูงกวา

29
3. GUITAR
ตัวอยางเสียงแตละสาย ของ Guitar

ตัวอยางการเขียนโนตให Guitar

4. PIANO

30
CHART FORM
-รูปแบบของการเขียนเพลงลงใน Chart No.1 ( 4 x 4 ) มีดังนี้ คือ.-

-INTRODUCTION

-ENDING

CHART No.1 ( 4x4 )

-กอนเขาอักษร B ตองมี Interlude (Intro ครั้งที่ 2) 2 – 4 Bars กอนเขาเสมอ

*อักษรที่อยูเหนือเสนกั้นหอง ( Barline ) เรียกวา Rehearsal Letter (อักษรสําหรับซอม)

31
CONCERTED VOICING
คือการเขียน หรือ VOICING BRASS SECTION + SAX. SECTION และ
RHYTHM SECTION เขาดวยกัน บางทีเราอาจใชคําวา ENSEMBLE ก็ได
ฉนั้นรวมความแลวการใช Concerted Voicing นี้ก็เพื่อใหวงดนตรีทั้งวง เลนไป
ในทางเดียวกันทุกๆ SECTION

CONCERTED VOICING แบงออกเปน 2 แบบ คือ.-

1. CONSTANT COUPLING ( ตัวเดิม )


2. VARIABLE COUPLING ( ใชเปลี่ยนตัวได )

1. CONSTANT COUPLING

1. ให Voice Brass Section เขาดวยกันใหดีเสียกอน จะเปนแบบ Close


หรือ Open ก็ตาม
2. ALTO 1st. ใหเอา Melody ตัวใดตัวหนึ่ง ของ Trumpet 1st.,2nd.,3rd.
มาเปน Melody ของ ALTO 1.st. ตองใหเปน Melody ตลอด
3. เมื่อเลือกเสียงให Alto 1st. ไดแลว ให Voive พวก Sax. Section แบบ
Close หรือแบบ Open ก็ได
4. ถาเลือกเอา Melody ใน Trumpet 1st. มาเปน Alto 1st. ใหลด Alto
ลง 1 Octave
ตัวอยางการ Voice ใหกับ Brass

32
2. VARIABLE COUPLING วิธีทํามีดังนี้.-

1. Voice Brass Section Close หรือ Open ก็ได


2. ให Alto 1st. เอาโนตตัวใดตัวหนึ่งของ Brass Section มาเปน Melody จะ
เลือกเอาจาก Trumpet 1st. สัก 2, 3 ตัว แลวไปเอาจาก Trumpet 2nd. บางก็ได และจะ
กลับมาเอาจาก Trumpet 1st. อีกบางก็ได
3. เมื่อเลือก Melody ให Alto 1st. ไดแลว ให Voice Sax. Section ไดเลย

Ex.

33
LOW INTERVAL LIMITS
คือการกําจัดการเขียนโนตที่ต่ําสุด เพื่อใหเกิดเสียงประสานที่นุมนวล ใหดูตามหลักขางลางนี้.-

วิธีหา Low Interval Limits คือให Voice ลงมา ถาตัวลางสุดเปน Root ก็ใชไดเลย
แตถาไมใชตัว Root ของคอรด ใหเอาตัว Root จริงใสไวขางลาง และดูวาไดขั้นคูอะไร แลวเอา
มาเทียบกับตัวอยางที่ใหไว เชน.-

Ex.

34
4 WAY SPREADS
การ Voice แบบ Spreads นั้น เปนการ Voice อีกวิธีหนึ่ง แตกตางกับที่เรียนมา เราได
เรียนการ Voice แบบ 4 way Close มาแลว โดย Voice จาก Melody มาหา
Root หรือ Bass สวนการ Voice แบบ Spreads นั้นตรงกันขาม เราจะตอง Voice
จาก Root หรือ Bass ขึ้นไปหา Melody โดยยึดตารางการ Voice ดังนี้

ประโยชน ของการ Voice แบบนี้ คือ


1. ใชเปน Background ของ Sax. สําหรับ Brass Soli
2. ใชเปน Background สําหรับนักรอง
3. ใชเปน Background สําหรับเครื่องมือตางๆ Solo
4. เสียงที่ออกมาทําใหวงดนตรีแนน ทั้งมาง Harmony และ Rhythm

วิธี VOICE
1. ใหเขียน Baritone ตาม Root ของ Chord และคิด Rhythm ควบคูกันไป
2. Tenor 2nd. ใช 3, 5 หรือ 7 ตามตาราง
3. Tenor 1st. ใช 3, 5 หรือ 7 ตามตาราง
4. Alto ใช Chord Tone หรือ Tension ก็ได
5. ใช Smooth Voice Leading (เกลาเสียงตัวบน) เมื่อมีโอกาส
ขอหาม 1. สองเสียงจากขางลางไมควรเกินคู 10
2. ทุกๆสองเสียงระหวางเครื่องมือไมเกินคู 7
Ex.

35
Ex.

36
CONCERTED WITH SPREADS
เราไดเรียน Concerted และ Spreads มาแลว ตอไปนี้เปนตัวอยางของ Concerted
with Spreads คือการใช Concerted และในขณะเดียวกันก็ใช Spreads ดวย
วิธีทําเหมือนกับ Concerted คือเอา Line มาจาก Brass มาให Sax. Alto 1st.
แลว Voice Team Sax. โดยวิธี Spreads มีตัวอยางการ Voice ดังนี้.-

Ex.

TUTI WRITING
Tuti Writing คือการ Voice Brass Soli ใหเดน และมี Sax. Spreads เปน
Background ซึ่งมี Rhythm แตกตางจาก Brass Section และในโอกาสเดียวกันที่
Brass Section Sustain ก็ให Fill in Sax. Section ทันที

ประโยชนของ TUTI WRITING


: ใชมากในการ Soli ของ Brass และ Sax. Back up ให “Band” เสียงแนน
เหมือนกับ Concerted with Fill in

37
Ex. ( ตัวอยางการทํา Tuti Writing )

MIXED SOLI COMBINATION


คือการใชเครื่องมือตางๆมาผสมกัน แทนที่จะใช Sax. Section หรือ Brass Section
ตลอดไป ตามตารางขางลางนี้ ไดทดสอบเสียงของเครื่องมือตางๆที่มาผสมกันแลว ไดผลออกมาดี
มาก ไดใหวิธีทั้งหมด 9 วิธีดวยกัน คือ.-

1 2 3 4 5 6 7 8 9
Alto Trpt. Trpt. Trpt. Ten. Trom. Trom. Bari. Bari.
Ten. Ten. Alto Alto Alto Alto Ten. Alto Ten.
Trom. Trom. Ten. Ten. Ten. Ten. Ten. Ten. Ten.
Bari. Bari. Bari. Trom. Bari. Bari. Bari. Ten. Trom.

แบบที่ 1. วงดนตรี เชอรแมน นิยมใชมาก ทําแบบ Close Position


แบบที่ 2. & 3. ใชเปน Small Band ใน Big Band
แบบที่ 4. ใชทํา Background หรือ Spread Background
แบบที่ 5. สําหรับแบบนี้ นักรองประสานเสียง The Brothers Four ใชเปน
Background ในการรองประสานเสียง

แบบที่ 6. & 7. ใชแทน Trombone Soli ได แตตองเขียน Range ไมใหต่ํากวา

แบบที่ 8. & 9. ใชเปน Baritone Lead ไมควรให Lead ต่ํากวา


38
Ex.
แบบที่ 1. แบบที่ 2.

แบบที่ 3. แบบที่ 4.

แบบที่ 5. แบบที่ 6.

39
แบบที่ 7. แบบที่ 8.

แบบที่ 9.

40
41
42

You might also like