You are on page 1of 8

สังคมแบบดัง้ เดิม – ความเป็ นอยูแ่ บบเรียบง่าย

- ครอบครัว, ความใกล้ชด ิ , มิตรภาพ


- จารีตประเพณี
- การแลกเปลีย ่ น
- ดัง้ เดิม
- นิสยั
- ขีเ้ กียจ เฉื่อยชา
- ศาสนา
- การเข้าสังคม
- ของส่วนรวม
สังคมทันสมัย – ความเป็ นอยูใ่ นปัจจุบน

- ความสัมพันธ์แบบต่างคนต่างอยู่
- พันธะสัญญา
- การซื้อขายแลกเปลีย ่ น
- นวัตกรรม
- ความคิดใหม่ๆ
- ความคืบหน้า
- เรือ
่ งทางโลก
- ความโดดเดีย ่ ว ปัจเจกชน
- ของส่วนบุคคล
ความทันสมัย ปัจจัยหลักของทฤษฎีวา่ ด้วยความทันสมัย
1. ความทันสมัย คือ
กระบวนการโดยรวมทีไ่ ม่สามารถกลับคืนได้
เริม
่ ต้นด้วยการเปลีย่ นแปลงโดยสิน ้ เชิงในสองส่วน
(อุตสาหกรรม และ ประชาธิปไตย) ยุโรป
แต่ในปัจจุบน ั อาจจะรวมถึงทั่วโลก
2. ความทันสมัยคือ การเปลีย ่ นแปลงทางประวัตศ ิ าสตร์
เป็ นผลมาจากสังคมแบบดัง้ เดิมสูส ่ งั คมทันสมัย
เป็ นผลมาจากการข้อขัดแย้งอย่างรุนแรงหรือข้อแตกต่าง
กันอย่างสุดขัว้ ระหว่างสังคมแบบดัง้ เดิมและแบบทันสมัย
3. ในแบบดัง้ เดิมหรือเรียกว่าประเทศโลกทีส ่ าม
จะมีการเด่นชัดในเรือ ่ ง ทัศนคติสว่ นตัว คุณค่า และ
บทบาทหน้าที่ ทีส่ ามาถบ่งชี้ถงึ การให้เหตุผล
หน้าทีท ่ จี่ าเพาะเจาะจง กระจัดกระจาย
โดยจะก่อให้เกิดอุปสรรคสาหรับการไปสูค ่ วามทันสมัย
4. ในแบบทันสมัยหรือ
สังคมแถมยุโรปฝั่งคาบสมุทรแอตแลนติก
จะมีความเด่นชัดในเรือ่ งทางโลกวิสยั ความเป้ นปัจเจกชน
และคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ และบทบาทหน้าที่
จะส่งเสริมการเกิดความทันสมัย
5. ความทันสมัย
้ ภายนอกทีม
อาจจะเกิดกระบวนการทีเ่ กิดขึน ่ ากหรือน้อยก็
ตามในสังคมทีจ่ ะรวมถึงปัจจัยทัง้ หมด
6. สังคมจะเปลีย่ นแปลงเป็ นความทันสมัย
ในสังคมทีแ่ ตกต่างกันโดยจะแทนทีส ่ งิ่ ทีเ่ หมือนๆกันในแ
นวทางแบบระนาบ
ความทันสมัย
- ความทันสมัยจะเป็ นแนวทางหลักในปี 1950 และ 1960
- โดยจะเจาะจงหลักๆที่
สังคมทีไ่ ม่ใช่สงั คมตะวันตกและสังคมทีเ่ อกเทศ
ทีก
่ าลังพัฒนา
- ตัวชี้วด
ั หลักคือ ทฤษฎีความทันสมัยแบบดัง้ เดิม
- ทฤษฎีตา่ งๆจะเน้นถึงปัญหาสองแบบคือ
การเติบโตทางเศรษกิจ
และการสร้างขนบธรรมเนียมอย่างมีประสิทธิภาพ
- ความทันสมัยกล่าวถึงประวัตศ ิ าสตร์มหัพภาค
และการเลีย่ นแปลงทางสังคม
- ทฤษฎีความทันสมัยประกอบด้วย สังคมขนาดใหญ่
ไม่ใช่ทฤษฎีมาร์ก
และทฤษฎีสหวิทยาการด้านการเปลีย่ นแปลงทางสังคม
- ปัจจัยทีส
่ าคัญจะอยูท
่ ป
ี่ จั จัยทางสังคมวัฒนธรรม
และปัจจัยภายนอกของประเทศทีด
่ อ
้ ยพัฒนา

วิธีปฏิบตั ม ิ ีอท
ิ ธิพลมาจาก โครงสร้างการทางาน
รูปแบบการเปลีย่ นแปลง ลักษณะของสังคมทันสมัย แบบ B
1. สถาณะความสาเร็จในสังคมจากสิง่ ทีท ่ า
(ความสาเร็จส่วนตัว) ต่างจากข้อสันนิฐานเบื้องต้น
2. กลุม ่ คนทีเ่ ข้าสูค
่ วามสัมพันธ์แบบกว้าง
ตามความต้องการบางอย่าง เช่น
ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานแนะนาสินค้าในร้าน
และลูกค้า
ซึง่ เป็ นโครงสร้างการความต้องการแบบเฉพาะเจาะจง
3. การกระทาของปัจเจกชนทั่วไป
จากคุณค่าและหน้าทีโ่ ดยรวมในสังคมนัน ้ ๆ เช่น
คุณค่าทีเ่ ทียบเท่ากับข้อกฎหมาย
4. เครือ
่ งมือสร้างความสัมพันธ์สว่ นใหญ่จะขึน ้ อยูก
่ บั สิง่ ทีผ
่ ค
ู้
นสามารถทาให้เราในสถาณะการต่างๆ
(รวมถึงสิง่ ทีเ่ ราสามารถทาให้พวกเขา)
5. การเตรียมตนเองให้สามารถให้ความสาคัญในการแสวงห
าความสนใจของตัวเอง
แทนทีจ่ ะไปตามกลุม ่ อืน
่ ๆทีพ
่ วกเค้าอยู่

วิธีปฏิบตั ม
ิ ีอท
ิ ธิพลมาจาก โครงสร้างการทางาน
รูปแบบการเปลีย่ นแปลง ลักษณะของสังคมทันสมัย แบบ A
1. ลักษณะข้อสันนิฐานส่วนใหญ่ (มีผใู้ ห้ โดยเราเป็ นผูร
้ บั )
ในรูปแบบปกติ
สถานะของบุคคลใดบุคคลหนึ่งจะวัดจากลักษณะของครอ
บครัวทีเ่ ราเกิดและเติบโตมา
2. ลักษณะแตกต่างของบุคคลในการพัฒนาความสัมพันธ์ให้
เหมาะสมกับความต้องการส่วนใหญ่ เช่น แม่ และลูก
จะพอใจในความสัมพันธ์แบบการมีปฏิสมั พันธ์กน ั ในสังค
มและทางจิตใจ
3. กลุม
่ คนบางพวกจะปฏิบตั บ ิ างอย่างกับคนบางกลุม

โดยมีปจั จัยมาจากความสัมพันธ์โดยธรรมชาติ เช่น
คุณเชือ
่ ใจในครอบครัวของคุณ
แต่ไม่เชือ่ ใจคนแปลกหน้า

4. ความสัมพันธ์ทางด้านความรูส ้ กึ ส่วนใหญ่เกิดจากการ
(ความรัก ความเชือ ่ ใจ บุคคลทีใ่ กล้ชดิ เป็ นต้น)
โดยนอกเหนือจากสิง่ อืน ่ ๆ (ความสาพันธ์ทไี่ ม่มีรป ู อธรรม
เช่น สิง่ ทีผ
่ ค
ู้ นสามารถช่วยเราในสถาณะการณ์ ตา่ งๆ)
5. การเตรียมตนเองให้สนใจสังคมโดยรวมตามทีส ่ งั คมนัน
้ เ
ป็ นอยูแ
่ ทนทีจ่ ะสนใจในสิง่ ทีต
่ นเองต้องการ

You might also like