You are on page 1of 90

คู่มือการตรวจคุณภาพการซ่อมทํามอเตอร์

น.อ.ประจักษ์ พูลสวัสดิ
หน.ไฟฟ้ า กองควบคุมคุณภาพ
อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ
กุมภาพันธ์ 2550
2

คํานํ า

ในคู่มอื ฯเล่มนี* จะนําเสนอการตรวจคุณภาพการซ่อมทํามอเตอร์ ซึง/ โดยทัว/ ไปแล้วมอเตอร์ทเ/ี ข้ารับการซ่อมทําใน


โรงงานส่วนมากจะเป็ นมอเตอร์กระแสสลับ และการซ่อมทํามอเตอร์ในอดีตทีผ/ ่านมาพบว่า เมือ/ ซ่อมเสร็จแล้วนําไป
ติดตัง* ในเรือพอใช้ไปได้ไม่นานก็เสียอีก ส่วนใหญ่คือขดลวดไหม้ ทัง* นี*อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การซ่อมทําหรือ
การติดตัง* ทีไ/ ม่ได้มาตรฐาน รวมทัง* ไม่มกี ารตรวจสอบระบบควบคุมมอเตอร์เมือ/ นําไปติดตัง* ที/เรือ เป็ นต้น ทําให้ตอ้ ง
เสียเวลา รวมทัง* งบประมาณในการซ่อมทําโดยไม่จาํ เป็ น ส่งผลกระทบต่อภารกิจของกองทัพเรือ ดังนัน* การแก้ปญั หา
ในเบื*องต้น คือ การซ่อมทํามอเตอร์ในโรงงานให้มมี าตรฐานและผ่านการตรวจคุณภาพตามเกณฑ์ทก/ี าํ หนด ย่อมเป็ น
สิง/ ทีร/ บั ประกันได้ว่ามอเตอร์ทไ/ี ด้ตอ้ งมีประสิทธิภาพ สามารถทีจ/ ะนําไปติดตัง* และใช้งานได้เป็ นอย่างดี
การตรวจคุณภาพการซ่อมทํามอเตอร์ทจ/ี ะกล่าวถึงในคู่มอื ฯ นี* เป็ นการซ่อมทําเฉพาะมอเตอร์กระแสสลับ
เท่านัน* โดยเนื*อหามีดว้ ยกันทัง* หมด 3 บท โดยในบทที/ 1 กล่าวถึงโครงสร้างและขัน* ตอนการซ่อมทํามอเตอร์ บทที/ 2
จะกล่าวถึงการพันขดลวด ส่วนในบทที/ 3 กล่าวถึงการโอเวอร์ฮอล และในตอนท้ายของคู่มอื ฯ นัน* จะอธิบายถึง
รายละเอียดและขัน* ตอนในการวัดค่าทางไฟฟ้ าตลอดจนแบบฟอร์มต่างๆ รวมทัง* เกณฑ์และมาตรฐานที/ใช้ในการตรวจ
และทดสอบคุณภาพของมอเตอร์
แผนกไฟฟ้ าฯ ขอขอบคุณข้าราชการ ซึง/ ประกอบด้วย น.ท.มานิตย์ ปรางศรี ร.อ.สมชาย ญาณรักษา
ร.อ.มานะชัย คําแย้ม พ.จ.อ.สุนทร ศรีสวัสดิ พ.จ.อ.รัตน์ไกร นิลคง พ.จ.อ.เอนกพงษ์ พานเจิม จ.อ.ทีระวัตร
ศรีสวัสดิ ที/ได้ช่วยกันจัดทําคู่มอื ฯ เล่มนี*จนสําเร็จ
การจัดทําคู่มอื ฯ เล่มนี*เป็ นเพียงจุดเริ/มต้นในการทีจ/ ะพัฒนาการซ่อมทํามอเตอร์ของอู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช
ให้มคี ุณภาพได้ตามมาตรฐาน อีกทัง* สามารถใช้เป็ นเอกสารอ้างอิงได้ ถ้ามีขอ้ ผิดพลาดประการใดกรุณาแจ้งให้ผูจ้ ดั ทํา
ทราบจะเป็ นพระคุณยิง/

น.อ.ประจักษ์ พูลสวัสดิ
หน.ไฟฟ้ า กองควบคุมคุณภาพ
อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรือ
กุมภาพันธ์ 2550
3

สารบัญ

เรื/อง หน้า

คํานํา 2
สารบัญ 3
สารบัญตาราง 5
สารบัญภาพ 6
บทที/ 1 โครงสร้างและขัน* ตอน 8
บทที/ 2 การพันขดลวด 19
บทที/ 3 การโอเวอร์ฮอล 40
รายการอ้างอิง 56
ภาคผนวก 57
ก แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ 58
ก.1 แบบฟอร์มบันทึกผลการตรวจคุณภาพมอเตอร์ 61
ก.2 แบบฟอร์มการพันขดลวด 62
ก.3 แบบฟอร์มการทดสอบแกนเหล็ก 63
ข เกณฑ์การทดสอบค่าทางไฟฟ้ า 64
ข.1 การตรวจสอบและทดสอลหลังถอด 64
ข.2 การเทสรัน 65
ข.3 เกณฑ์การทดสอบความสัน/ สะเทือน 66
ข.4 กรณีพนั ขดลวดใหม่ 67
ข.5 เกณฑ์การทดสอบค่าฉนวนกรณี โอเวอร์ฮอล 68
ข.6 กรณีโอเวอร์ฮอล 69
ข.7 เกณฑ์การทดสอบทางไฟฟ้ าก่อนประกอบ 70
ค.วิธกี ารวัดค่าทางไฟฟ้ า 71
ค.1 การวัด POWER FACTOR 71
ค.2 การวัดกระแสไฟฟ้ า 74
ค.3 การวัดแรงดันไฟฟ้ า 75
ค.4 การวัดความต้านทานฉนวน 76
4

ค.5 การวัดค่า PI 78
ค.6 การเปรียบเทียบเสิรจ์ 80
ค.7 การทดสอบศักย์สูงกระแสตรง 86
ค.8 วิธที ดสอบค่าความต้านทานฉนวน 88
ค.9 วิธกี ารวัดกระแสไฟฟ้ าโดยใช้ CLAMP METER 90
5

สารบัญตาราง

ข.1 แรงดันทดสอบหลังถอด 64
ข.2 แรงดันทดสอบก่อนเทสรัน 65
ข.3.1 เกณฑ์การวัดเสียงแบริ/ง 66
ข.3.2 เกณฑ์การวัดความสัน/ สะเทือน 66
ข.4 เกณฑ์การทดสอบกรณีพนั ขดลวดใหม่ 67
ข.5 เกณฑ์การทดสอบค่าฉนวนกรณี โอเวอร์ฮอล 68
ข.6 เกณฑ์การพิจารณากรณีโอเวอร์ฮอล 69
ข.7 แรงดันทดสอบก่อนประกอบ 70
ค.4 เกณฑ์ค่าความต้านทานฉนวน 76
ค.5.1 แรงดันทดสอบในการวัดค่า PI 79
ค.5.2 เกณฑ์การทดสอบค่า PI 79
ค.6 แสดงฟังก์ชนั ในการทดสอบเสิรจ์ 81
ค.8 พิกดั แรงดันในการทดสอบความต้านทานฉนวน 89
6

สารบัญภาพ

1.1 แผนผังการซ่อมทํามอเตอร์ 9
1.2 พื*นทีป/ ฏิบตั งิ านในโรงงาน 10
1.3 การเทสรัน 12
1.4 การวัดระยะห่างระหว่างดรเตอร์และเฮาส์ซง/ิ 14
2.1 ขัน* ตอนการพันขดลวดใหม่ 19
2.2 บริเวณทีพ/ นั ขดลวดและทดสอบ 21
2.3 การรื*อขดลวด 21
2.4 วงจรการทดสอบแกนเหล็ก 22
2.5 การวัดอุณหภูมบิ นแกนเหล็ก 23
2.6 การทดสอบแกนเหล็ก 23
2.7 การซ่อมและทดสอบแกนเหล็ก 23
2.8 การพ่นวานิชแดง 25
2.9 ลักษณะของขดลวดใหม่ 25
2.10 การลงขดลวดใหม่ 26
2.11 การทดสอบค่าทางไฟฟ้ า 26
2.12 การอบไล่ความชื*น 27
2.13 การจุ่มแช่วานิช 28
2.14 การหา BALANCE 30
2.15 การประกอบโรเตอร์และสเตเตอร์ 32
2.16 การทดสอบขัน* สุดท้าย 34
2.17 การทดสอบที/ NO LOAD 35
2.18 การทําสีและบรรจุ 37
2.19 การส่งมอบ 38
3.1 ขัน* ตอนการโอเวอร์ฮอล 40
3.2 การวัดระยะห่างระหว่างดรเตอร์และเฮาส์ซง/ิ 41
3.3 การล้างทําความสะอาด 43
3.4 การอบแห้ง 44
3.5 การจุ่มแช่วานิช 45
7

3.6 การหา BALANCE 47


3.7 การประกอบโรเตอร์และสเตเตอร์ 49
3.8 การทดสอบที/ NO LOAD 51
3.9 การทําสีและบรรจุ 54
3.10 การส่งมอบ 55
ค.1.1 POWER FACTOR METER แบบใช้ AC 1 φ 72
ค.1.2 POWER FACTOR METER แบบใช้ AC 3 φ 73
ค.2 CLAMP ON MULTI METER 74
ค.3 วิธวี ดั แรงดันไฟฟ้ า 75
ค.4 อุณหภูมขิ องความต้านทานฉนวน 77
ค.5.1 ลักษณะโมเลกุลของฉนวน 78
ค.5.2 การวัดค่าความต้านทานฉนวน 78
ค.5.3 ความต้านทานฉนวนที/ 1 นาทีและที/ 10 นาที 79
ค.6.1 ลักษณะ SURGE TEST 80
ค.6.2 สัญญาณเสิรจ์ 81
ค.6.3 การช็อตของขดลวด 82
ค.6.4 รูปคลืน/ ของขดลวดทีด/ ี 83
ค.6.5 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Short single winding 83
ค.6.6 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Short partial ground 83
ค.6.7 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Solid ground coil 84
ค.6.8 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Solid turn-to-turn short 84
ค.6.9 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Coil-to-coil short 84
ค.6.10 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Phase-to-phase short 85
ค.6.11 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Group-to-group short 85
ค.6.12 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Reverse coil 85
ค.7 การทดสอบ Hipot 86
ค.8.1 ถอดสายไฟฟ้ าป้ อนเข้าอุปกรณ์ 88
ค.8.2 ถอดสายไฟฟ้ าที/ต่อระหว่างขดลวด 88
ค.8.3 ต่อมาตรวัดเมกกะโอห์ม 89
ค.9 การวัดกระแสไฟฟ้ าโดยใช้ Clamp on meter 90
8

บทที 1
โครงสร้างและขัน% ตอน

โดยทัว/ ไปแล้วอุปกรณ์ไฟฟ้ าที/ซ่อมทําในโรงงานของกรมอู่ทหารเรือ ส่วนมากเป็ นอุปกรณ์ทต/ี ดิ ตัง* ในเรือและส่วนใหญ่


จะเป็ นมอเตอร์ (AC motor) ซึง/ การซ่อมทําส่วนใหญ่ จะเป็ นการพันขดลวดใหม่และโอเวอร์ฮอล โดยในการซ่อมทํา
จะอาศัยประสบการณ์ในการทํางานของช่าง หรือไม่ก็ทาํ ตามความเคยชินทีม/ มี านานแล้ว โดยที/ไม่มรี ูปแบบหรือ
ข้อกําหนด รวมทัง* มาตรฐานที/ใช้ในการตรวจและทดสอบคุณภาพการซ่อมทํา จึงทําให้ไม่สามารถรับประกันได้ว่า
มอเตอร์ทซ/ี ่อมทําเสร็จแล้วจะมีคุณภาพมากหรือน้อยเพียงใด
ในบทนี*จะกล่าวถึงโครงสร้างและขัน* ตอนการซ่อมทํามอเตอร์ ตัง* แต่การรับมอเตอร์ทย/ี กขึ*นมาจากเรือ
มายังโรงงานเพือ/ ดําเนินการซ่อมทํา โดยจะแยกเป็ น 2 ส่วน คือ
1. การโอเวอร์ฮอล (Overhauling)
2. การพันขดลวดใหม่ (Rewinding)
พิจารณาแผนผังโครงสร้างและขัน* ตอนการซ่อมทํามอเตอร์ในรูปที/1.1 สามารถสรุปขัน* ตอนในการซ่อมทํามอเตอร์ดงั นี*
1. การรับมอเตอร์ ในขัน* ตอนนี*จะกล่าวถึงการรับมอเตอร์เข้ามาในโรงงานตามใบสัง/ งาน เพือ/ ดําเนินการซ่อม
ทําต่อไป
2. การตรวจสภาพทางกายภาพ เป็ นการตรวจสอบสภาพของมอเตอร์ว่าสามารถเทสรันได้หรือไม่ กล่าวคือ
ถ้าเทสรันให้ดาํ เนินการเทสรัน แต่ถา้ เทสรันไม่ได้ให้ทาํ การถอดแยกชิ*น
3. การเทสรัน เป็ นการตรวจสอบค่าเกณฑ์ต่างๆ ของมอเตอร์ ถ้าผ่านเกณฑ์ให้ทาํ การโอเวอร์ฮอล แต่ถา้ ไม่
ผ่านให้ทาํ การถอดแยกชิ*น
4. การถอดแยกชิ*น ในขัน* ตอนนี*จะทําเมือ/ มอเตอร์เทสรันไม่ได้หรือเทสรันไม่ผ่าน
5. การตรวจสอบและทดสอบสภาพหลังถอด เป็ นการตรวจและทดสอบสภาพมอเตอร์ทงั* ทางกลและไฟฟ้ า
หลังจากได้ถอดแยกชิ*นแล้ว รวมทัง* ประเมินสภาพและกําหนดขอบเขตของงานทีจ/ าํ เป็ นต้องดําเนินการซ่อม
6. การพันขดลวดใหม่ ในขัน* ตอนนี*จะกล่าวถึงในบทที/ 2
7. การโอเวอร์ฮอล ในขัน* ตอนนี*จะกล่าวถึงในบทที/ 3

ซึง/ ในแต่ละขัน* ตอนมีรายละเอียดดังต่อไปนี*


9

รูปที/ 1.1 แผนผังการซ่อมทํามอเตอร์


10

รูปที/ 1.2 พื*นทีป/ ฏิบตั งิ านในโรงงาน

1. รับมอเตอร์
วัตถุประสงค์
เพือ/ รับมอเตอร์เข้าซ่อมทําตามใบสัง/ งาน
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
-
วิธีการปฏิบตั งิ าน
1.1 นํามอเตอร์ทจ/ี ะดําเนินการซ่อมทําไปไว้ในบริเวณทีจ/ ดั เตรียม ดังรูปที/ 1.2
1.2 จัดวางมอเตอร์ให้สามารถตรวจสอบสภาพทางกายภาพได้
1.3 มอบหมายงานให้ช่างหรือผูร้ บั ผิดชอบในการดําเนินการ
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
11

2. ตรวจสอบสภาพทางกายภาพ
วัตถุประสงค์
เพือ/ ทําการตรวจสอบสภาพทางกายภาพหรือชิ*นส่วนอุปกรณ์ของมอเตอร์ในบริเวณทีร/ บั เข้า ก่อนทีจ/ ะทําการถอดแยก
ชิ*นหรือเทสรันต่อไป
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, เวอร์เนีย, ฟุตเหล็กหรือกล้องถ่ายรูป
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.1 ตรวจสอบใบสัง/ งานว่าถูกต้องและระบุชดั เจนตรงกับมอเตอร์ จากนัน* จดเนมเพลทและรายละเอียดต่างๆ
ของมอเตอร์
2.2 ตรวจสอบสภาพและลักษณะโดยทัว/ ไปหากมีช* ินส่วนทีซ/ บั ซ้อนควรถ่ายรูปแนบกับแบบฟอร์ม
2.3 วัดและบันทึกตําแหน่งของคัปปลิ*ง, มูเลย์หรือเฟื อง เทียบกับตําแหน่งปลายเพลา (เช่น เสมอเพลา เพลา
ลึก 5.2 mm เพลาโผล่ 2.5 mm เป็ นต้น)
2.4 ตรวจสอบสภาพชิ*นส่วนต่างๆของมอเตอร์ว่ามีการแตกหัก, ชํารุด หรือเสียหายหรือไม่ อย่างไร หากมี
ชิ*นส่วนทีเ/ สียหายบรรยายได้ไม่ชดั เจนอาจถ่ายรูป แล้วแนบกับใบงานเพือ/ อ้างอิงต่อไป
2.5 บันทึกผลการตรวจสอบสภาพทางกายภาพทัง* หมด ลงในแบบฟอร์ม
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

3. การเทสรัน
วัตถุประสงค์
เพือ/ ทําการทดสอบสภาพมอเตอร์ในขณะรัน เพือ/ ประเมินสภาพทัง* ทางด้านไฟฟ้ าและทางกล ก่อนการถอดแยกชิ*น
สําหรับมอเตอร์ทไ/ี ม่แน่ใจ และต้องการทราบว่ามีความผิดปกติอย่างหนึ/งอย่างใดหรือไม่ เช่น มอเตอร์สนั / หรือมีเสียง
ผิดปกติเป็ นต้น การทดสอบนี*จะทําเมือ/ เห็นว่าเหมาะสมและมอเตอร์ตอ้ งอยู่ในสภาพทีส/ ามารถจะทําการเทสรันได้
เท่านัน*
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
โวลท์มเิ ตอร์, แอมมิเตอร์, มัลติมเิ ตอร์, เมกเกอร์ , มิลลิโอห์มมิเตอร์ , เครื/องเสิรจ์ , เครื/องวัดรอบ,เครื/องวัดความ
สัน/ /เสียงแบริ/ง, เทอร์โมมิเตอร์ และหูฟงั เสียงแบริ/ง
12

รูปที/ 1.3 การเทสรัน


วิธีการปฏิบตั งิ าน
หมายเหตุ : การเทสรันจะทําได้เมือ/ มอเตอร์อยู่ในสภาพทีเ/ ทสรันได้เท่านัน* มิฉะนัน* ให้ขา้ มไปขัน* ตอนการถอดแยกชิ*น
3.1 ตรวจสอบทางกายภาพพื*นฐานว่าสามารถหมุนเพลาได้คล่องไม่ตดิ ขัด
3.2 ตรวจสอบสภาพการหล่อลืน/ ของแบริ/งว่าเพียงพอแล้ว
3.3 ตรวจสอบทีเ/ กี/ยวข้องกับไฟฟ้ า เช่น คอมมิวเตเตอร์, แปรงถ่าน, สลิปริง และสายลีดส์ว่าอยู่ในสภาพ
เป็ นทีน/ ่าพอใจและไม่เป็ นอุปสรรคในการเทสรัน รวมทัง* ขดลวดอยู่ในสภาพทีไ/ ม่มรี ่องรอยเสียหายหรือรอยช็อต (กรณี
ทีเ/ ห็นขดลวด)
3.4 เมือ/ สภาพทางกายภาพเป็ นทีน/ ่าพอใจให้ทาํ การทดสอบขดลวด ดังรูปที/ 1.3 ดังต่อไปนี*
•วัดความต้านทานขดลวด( Winding Resistance)
•วัดค่าฉนวน (Megger) ของขดลวดทุกชุดด้วยแรงดันทดสอบ และ ค่าฉนวนตํา/ สุดทีย/ อมรับ
ได้ก่อนการเทสรัน
•ทดสอบการ Surge Test (กรณี ท/ที าํ ได้) ด้วยแรงดันทดสอบ
3.5 ถ้าผลการทดสอบเป็ นทีน/ ่าพอใจจึงเริ/มทําการเทสรันดังนี*
•ถ้าเป็ น AC Induction Motor จ่ายแรงดัน 25% - 50% ของแรงดันพิกดั
•ถ้าเป็ น AC Synchronous Motor สตาร์ทและรันแบบซิงโครนัสมอเตอร์
3.6 หลังจาก Start up ตามข้างต้นแล้วให้ตรวจสอบโดยทันทีว่ามอเตอร์หมุนได้โดยไม่มเี สียงผิดปกติทงั*
ทางกลและไฟฟ้ า หากมีเสียงหรือสิง/ ผิดปกติให้ หยุด ทดสอบทันที
3.7 ตรวจสอบให้แน่ใจว่ากระแสและแรงดันอยู่ในระดับทีป/ กติ สําหรับ AC 3 เฟส ตรวจสอบความสมดุล
ของกระแสและแรงดัน
3.8 หากผลการทดสอบทีแ/ รงดันตํา/ เป็ นทีน/ ่าพอใจ ให้เปลีย/ นแรงดันจนถึงแรงดันพิกดั (ถ้าทําได้) และ
ตรวจสอบสภาพการทํางานว่าปกติหรือไม่
• หากผิดปกติให้ หยุด ทันที
13
•ตรวจสอบพิกดั ของแหล่งจ่ายไฟว่าสามารถจ่ายได้ถงึ แรงดันพิกดั หรือไม่ สําหรับมอเตอร์ตวั
ใหญ่อาจต้องการโวลต์หรือกระแสเกินทีแ/ หล่งจ่ายจะจ่ายได้ ในกรณีน* ีให้จ่ายเท่าทีจ/ ่ายได้ โดยไม่เกินกําลังของ
แหล่งจ่าย (ไม่ควรเกิน 80% ของพิกดั )
3.9 ถ้าผลการทดสอบข้างต้นเป็ นทีน/ ่าพอใจ ให้วดั แรงดัน, กระแส, ความเร็วรอบ, ค่าความสัน/ สะเทือน,
SPM, อุณหภูมขิ องแบริ/งและขดลวดหรือเฟรม
3.10 ลดแรงดันลงตํา/ สุดและตัดไฟจากมอเตอร์
3.11 ตรวจสอบข้อมูลและผลการเทสรันกับเกณฑ์ทย/ี อมรับได้ เพือ/ ประเมินผลการทดสอบต่อไป หากผล
การทดสอบใดที/เกินจากทีย/ อมรับได้ ควรระบุให้ชดั เจนเพือ/ จะได้ดาํ เนินการแก้ไขซ่อมแซมต่อไป
3.12 บันทึกผลการทดสอบ
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.2

4. การถอดแยกชิ%น
วัตถุประสงค์
เพือ/ ทําจัดทําแนวทางในการถอดมอเตอร์แยกชิ*นส่วน รวมทัง* การมาร์คและระบุช* นิ ส่วนต่างๆ เพือ/ ช่วยเป็ นข้อมูลใน
การประกอบกลับคืนและการตรวจสอบหลังจากได้มอเตอร์แล้ว ขัน* ตอนต่างๆนี*เป็ นขัน* ตอนพื*นฐานสําหรับมอเตอร์ทม/ี ี
โครงสร้างมาตรฐานทัว/ ไปเท่านัน* หากมอเตอร์ทม/ี โี ครงสร้างพิเศษ ซับซ้อนควรจะใช้ทกั ษะและความชํานาญในการถอด
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, เวอร์เนีย, ฟุตเหล็ก, ฟิ ล เลอร์เกจ, เทเปอร์เกจ, พลาสติกเกจ, เมกเกอร์, ไดอัลเกจ
วิธีการปฏิบตั งิ าน
4.1 ก่อนถอดตรวจสอบดูว่ามอเตอร์ได้ทาํ การเทสรันเป็ นทีเ/ รียบร้อยแล้ว (กรณี ทจ/ี าํ เป็ นต้องเทสรันก่อน)
4.2 มาร์คตําแหน่งคู่ประกอบ (Match Mark) บนชิ*นสวนคู่ประกอบต่าง ๆ เช่น ฝามอเตอร์กบั เฟรม, ฝา
ประกับแบริ/งกับฝามอเตอร์, เทอร์มนิ อลบอร์ด กับเฟรม และ ฝาปิ ดต่าง ๆ เป็ นต้นเพือ/ ให้แน่ใจว่าเมือ/ ประกอบส่งคืน
แล้วจะได้ตาํ แหน่งเดิม
4.3 กรณีสลีฟแบริ/ง
•ให้ถ่ายนํา* มันออกจากอ่าง ตรวจดูสภาพนํา* มันแล้วบันทึกผล
•วัดระยะเคลียร์แรนซ์ของแบริ/ง และ ข้อมูลในส่วนแบริ/งทัง* สองด้านแล้วบันทึกผล
•วัดระยะช่องว่างระหว่าง สเตเตอร์ กับ โรเตอร์ (Air Gap) ทัง* สองด้าน ดังรูปที/ 1.4 (ถ้าโครงสร้าง
มอเตอร์มชี ่องว่างให้วดั ได้) แล้วบันทึกผล
14

รูปที/ 1.4 การวัดระยะระหว่างโรเตอร์และเฮ้าส์ซง/ิ

4.4 ถอดคัปปลิ*ง (ถ้ามี) และใบพัดออก ก่อนถอดตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้วดั และบันทึกระยะ และตําแหน่ง


ไว้แล้ว
4.5 คลายน๊อตยึดฝาประกับทัง* สองด้าน ถอดฝาประกับนอกด้านขับ พร้อมชิ*นส่วนทีย/ ดึ ติดกับเพลา เช่น
แหวนล็อคแบริ/ง ปลอกกันจารบีออก ถอดฝามอเตอร์ (เฮ้าส์ซ/งิ ) ด้านขับออก
•ขณะถอดฝาออกระวังอย่าให้โรเตอร์กระแทกกับสเตเตอร์ สังเกตปลายแกนเหล็กของ
สเตเตอร์และโรเตอร์ อยู่ในแนวเดียวกันหรือตรงกันหรือไม่
4.6 ถอดฝาปะกับนอกด้านตรงข้ามด้านขับพร้อมชิ*นส่วนทีย/ ดึ ตัวเพลาออก แล้วถอดฝามอเตอร์ออก ระวัง
อย่าให้กระแทกกับสเตเตอร์
4.7 ขณะถอดให้สงั เกตและตรวจสอบลักษณะการติดตัง* ควรถ่ายรูปถ้าจําเป็ น
• สําหรับมอเตอร์ทม/ี โี ครงสร้างแบริ/ง แบบ Antifriction (บอล หรือ เอ็นยู) หากด้านหนึ/งเป็ นเอ็นยู
และ อีกด้านหนึ/งเป็ นบอล โดยทัว/ ไปเอ็นยูจะอยู่ดา้ นขับ และ บอลจะอยู่ดา้ นตรงข้ามด้านขับ การถอดจะถอดฝาด้าน
ขับก่อน แต่หากด้านเอ็นยูอยู่ดา้ นตรงข้ามด้านขับและบอลอยู่ดา้ นขับ การถอดจะถอดด้านตรงข้ามด้านขับก่อน
4.8 กรณีท/ตี อ้ งเปลีย/ นแบริ/งใหม่ ให้ถอดแบริ/งออกทัง* สองด้าน อาจใช้ความร้อนช่วยถ้าจําเป็ น
•ให้ป้องกันขดลวดขณะถอดแบริ/ง กรณี ท/รี ะยะแบริ/งใกล้เคียงและอาจเป็ นอันตรายกับขดลวดขณะ
ถอดได้ ให้ทาํ การชักโรเตอร์ออกก่อนแล้วจึงถอดแบริ/ง
4.9 ชักโรเตอร์ออกด้วยเครื/องมือและอุปกรณ์ทเ/ี หมาะสมกับขนาดและนํา* หนักของโรเตอร์ ระวังอย่าให้เกิดการ
ขูดขีด หรือ กระแทกขณะชักโรเตอร์ออก
4.10 ทําความสะอาดเบื*องต้นเท่าทีจ/ าํ เป็ นเพือ/ ให้สามารถทําการตรวจสอบและทําการวัดขนาดต่าง ๆได้
4.11 หลังจากทีต/ รวจสอบเรียบร้อยแล้ว
•ปกปิ ดและป้ องกันชิ*นส่วน ผิวทีส/ าํ คัญ เช่นผิวเพลาบริเวณสลีฟแบริ/ง เพือ/ ป้ องกันการกระแทกขณะ
ขนย้ายและจัดเก็บ
•เก็บชิ*นส่วนต่างๆในที/ทเ/ี ตรียมไว้
15
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

5. การตรวจสอบและทดสอบสภาพหลังถอด
วัตถุประสงค์
เพือ/ ทําการตรวจสอบและทดสอบสภาพมอเตอร์ทงั* ทางกลและไฟฟ้ าหลังจากได้ถอดแยกชิ*นแล้ว รวมทัง* ประเมินสภาพ
และกําหนดขอบเขตของงานทีจ/ าํ เป็ นต้องดําเนินการซ่อม
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
เวอร์เนีย, ไมโครมิเตอร์วดั นอก/ใน, ไดอัลเกจ, สายตา,เมกเกอร์, มิลลิโอห์มมิเตอร์, เครื/องเสิรจ์ , มัลติมเิ ตอร์
วิธีการปฏิบตั งิ าน
การตรวจสอบทางกล
5.1 ก่อนการตรวจสอบต้องทําความสะอาดผิวงานทีจ/ ะตรวจสอบ
5.2 ตรวจสอบและบันทึกสภาพของชิ*นส่วนต่าง ๆ เพือ/ ตรวจดูความเสียหาย สึกหรอ และความผิดปกติ
ของชิ*นงานด้วยสายตาเบื*องต้น
สเตเตอร์
• ตัวเฟรมมอเตอร์
• แกนเหล็กและลิม/ รองสล๊อต
• ฝามอเตอร์และเบ้าแบริ/ง
• ฝาปะกับแบริ/งนอก / ใน และหัวอัดจารบี
• ฝาครอบคอยล์ (ถ้ามี)
โรเตอร์และเพลา
• บาร์และเอ็นริง
• แบนดิง, ตัวยึดล็อคต่างๆ
• ผิวชาฟและร่องลิม/
• ผิวคอมมิวหรือสลิปริง
แบริงและชิ%นส่วน
• เบอร์แบริ/งและชนิดรัง
• ชีลต่าง ๆ ยางกันฝุ่น
• ปลอก / จานกันจารบี
• แหวนล๊อคสปริงฟรีโหลด
• กันรุน
16
• ร่องรอยการหล่อลืน/ ทีพ/ บ
• ปริมาณจารบีนาํ* มันทีพ/ บ
ชุดซองถ่านและแปรงถ่าน (กรณี ดีซี และสลิปริงมอเตอร์)
• ตรวจดูสภาพความสมบูรณ์และร่องรอยการอาร์ค
• แปรงถ่านและสายลีดส์แปรงถ่าน
• ซองถ่านและสปริงกดถ่าน
• แขนซองถ่าน (Brush Ringing)
5.3 ตรวจดูความฟิ ตของชิ*นส่วนประกอบที/สาํ คัญ โดยการวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเบ้าแบริ/งทัง* 2 ด้าน
• กรณี สลีฟแบริ/ง วัดความโตรูในของแบริ/ง (Bore ID)
• รูคปั ปลิง, มูเลย์, เฟื อง
• ผิวชาฟบริเวณแบริ/ง
• ผิวชาฟบริเวณคัปปลิง
5.4 กรณีท/ไี ม่สามารถวัดค่ารันเอาท์ (Run-Out) ของเพลาบนตัวมอเตอร์ได้ ให้ทาํ การวัดบนแท่นบาลานซ์
แทน โดยใช้ตาํ แหน่งรองรับทีเ/ หมาะสมและผิวกลมเรียบ
5.5 บันทึกผลการตรวจสอบ
การตรวจสอบทางไฟฟ้ า
5.6 หลังจากถอดแยกชิ*นให้ตรวจสอบสภาพด้วยสายตา เพือ/ ประเมินสภาพขดลวด แกนเหล็ก และชิ*นส่วน
อื/นๆทีเ/ กี/ยวกับไฟฟ้ าดังนี*
• ขดลวด ตรวจสอบสภาพความเสียหายลักษณะตําแหน่ง และขนาดของจุดช็อต ร่องรอย
ความผิดปกติทวั / ไป
• แกนเหล็ก ตรวจดูร่องรอยการเสียดสี รอยช็อตทีแ/ กนเหล็ก สีแกนเหล็กทีอ/ าจเปลีย/ น
เนื/องจากความร้อน, แกนเหล็กเคลือ/ นจากจุดเดิมหรือไม่
• โรเตอร์ ตรวจสอบขดลวด / โรเตอร์บาร์ , เอ็นริง ดูสภาพรอยเชื/อม มีรอยแตกร้าว ขาด
หรือหลวม
• สายลีดส์ ตรวจสอบความเป็ นฉนวนของสายลีดส์
• อุปกรณ์อนๆ ื เช่น ถ่าน แปรงถ่าน, สลิปริง , คอมมิว ดูสภาพความเสียหาย หรือความ
ผิดปกติอ/นื ๆ
• บันทึกผลการการตรวจสอบ
5.7 การทดสอบขดลวดด้วยการวัดค่าต่าง ๆดังนี*
• ความต้านทานขดลวด (Widing Resistance) ขดลวดทุกชุด
• ความต้านทานฉนวน (Megger) ขดลวดทุกชุด
• ทดสอบเสิรจ์ (Surge Test)
• บันทึกผลการทดสอบ
17
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.1
18

สรุป

ในบทนี*ได้กล่าวถึงขัน* ตอนการซ่อมทํามอเตอร์ในภาพรวม กล่าวคือ แยกการซ่อมทําเป็ น 2 ประเภท คือการพัน


ขดลวดใหม่และการโอเวอร์ฮอล (พิจารณาจากรูปที/ 1.1) ซึง/ มีทงั* หมด 7 ขัน* ตอน โดยในการซ่อมทําจะอธิบายตัง* แต่
ขัน* ตอนการรับมอเตอร์เข้าซ่อมทําในโรงงานแล้วจึงแยกการซ่อมทํามอเตอร์ว่าจะพันขดลวดใหม่หรือโอเวอร์ฮอลโดยใช้
เกณฑ์และมาตรฐานต่างๆตามที/ระบุไว้ในแต่ละขัน* ตอน สามารถแสดงเป็ นขัน* ตอนในการซ่อมทํามอเตอร์โดยเรียง
ตามลําดับได้ดงั นี*

โอเวอร์ฮอล

พันขดลวดใหม่
• กรณีเทสรันได้

• กรณีเทสรันไม่ได้

สําหรับการพันขดลวดใหม่และโอเวอร์ฮอลจะกล่าวถึงในบทต่อไป
19

บทที 2
การพันขดลวด
ในบททีผ/ ่านมาเราได้กล่าวถึงโครงสร้างและขัน* ตอนการซ่อมทํามอเตอร์ โดยแยกเป็ นการโอเวอร์ฮอลและการพัน
ขดลวดใหม่ ซึง/ มีเกณฑ์และมาตรฐานในการกําหนดหรือแยกว่ามอเตอร์ตวั นัน* ๆจะรับการซ่อมทําแบบใด ในบทนี*จะ
กล่าวถึงขัน* ตอนการพันขดลวดใหม่ ซึง/ เกิดจากขดลวดเดิมไหม้เสียหาย หรือขดลวดไม่อยู่ในสภาพทีจ/ ะใช้งานได้ เช่น
สภาพฉนวนตํา/ กว่าเกณฑ์ท/กี าํ หนด ดังนัน* เราจะต้องทําการเปลีย/ นและพันขดลวดใหม่ โดยมีขนั* ตอนดังรูปที/ 2.1

รูปที/ 2.1 ขัน* ตอนการพันขดลวดใหม่


20
ซึง/ มีรายละเอียดดังต่อไปนี*
2.1 รับมอเตอร์, เก็บข้อมูลขดลวด, รื%อขดลวด, ทําความสะอาดแกนเหล็ก
วัตถุประสงค์
เพือ/ ทําการกําหนดแนวทางในการรับมอเตอร์, เก็บข้อมูลขดลวด, รื*อขดลวด, ทําความสะอาดแกนเหล็ก ก่อนทีจ/ ะ
ดําเนินการ พันขดลวดตามขัน* ตอนต่อไป
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
คีมตัดลวด, กระดาษทรายหยาบ, นํา*
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.1.1 นํามอเตอร์ทจ/ี ะดําเนินการพันขดลวดไปไว้ในบริเวณทีจ/ ดั เตรียมตามใบสัง/ งานดังรูปที/ 2.2
2.1.2 ตรวจสอบชิ*นงานของมอเตอร์ว่าตรงกับใบสัง/ งานจริง ตรวจสอบรายละเอียด ลักษณะและขอบเขตของ
งานให้ชดั เจน
2.1.3 มอบหมายงานให้ช่างหรือผูร้ บั ผิดชอบเพือ/ ดําเนินการต่อไป
2.1.4 เก็บข้อมูลก่อนการพันขดลวดดังนี*
• เก็บข้อมูลชิ*นส่วนอุปกรณ์ท/ตี ดิ มาเช่น เทอร์มนิ อลบอร์ด, บ๊อกซ์, ฮีทเตอร์และลักษณะการ
ติดตัง* เดิมก่อนการถอด ถ่ายรูปถ้าจําเป็ น และมาร์คคู่ประกบ บันทึกข้อมูล
• เขียนเลขทีใ/ บสัง/ งานหรือแขวนป้ ายบนชิ*นส่วนอุปกรณ์นนั* ถอดแล้วนําไปเก็บบนชัน*
2.1.5 บันทึกความเสียหายของขดลวด ถ่ายรูปถ้าจําเป็ น รวมทัง* ข้อสังเกต หรือข้อควรระวังในขณะพันขดลวด
(ถ้ามี)
2.1.6 เก็บข้อมูลการพันขดลวดจากของเดิม ตามรายละเอียดในใบข้อมูลของขดลวดของมอเตอร์ตวั นัน* เช่น
ข้อมูลของลวด, การต่อวงจร, สายลีดส์, การมาร์คสายระยะต่างๆ , ชนิดของฉนวนเดิม เป็ นต้น สเก็ตการต่อวงจร
หรืออื/นๆ
2.1.7 ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลอีกครัง* กรณี สงสัยข้อมูลใดให้ตรวจสอบกับหัวหน้างานหรือ
ผูช้ ่วย
2.1.8 ทําการรื*อขดลวดเก่าออก อาจใช้เครื/องมือหรือมือตามความเหมาะสม ระวังอย่าให้ร่องสล๊อตบิดเสียรูป
หรือเสียหายตามรูปที/ 2.3
2.1.9 ลอกฉนวนเก่าออกให้ใช้ความร้อนจากเปลวแก๊สช่วยเท่าทีจ/ าํ เป็ นอย่าให้ฉนวนระหว่างแกนเหล็กเสียหาย
2.1.10 ขัดร่องสล๊อตด้วยกระดาษทรายหยาบ แต่งปากสล๊อตพร้อมทําความสะอาดแกนเหล็ก
2.1.11 ถ้าแกนเหล็กมีร่องรอยการช็อต ให้ทาํ การทดสอบแกนเหล็ก (Loop test) แต่ถา้ ไม่มใี ห้ทาํ การพ่นวานิช
แดงต่อไป
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
21

รูปที/ 2.2 บริเวณทีพ/ นั ขดลวดและทดสอบ

รูปที/ 2.3 การรื*อขดลวด

2.2 Loop Test หรือ Core loss test


วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการทดสอบแกนเหล็ก (Loop Test) เพือ/ ทีจ/ ะหาจุดร้อนทีเ/ กิดขึ*นในแกนเหล็ก
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
Voltage Supply, โวลท์มเิ ตอร์, แอมมิเตอร์, มัลติมเิ ตอร์, เครื/องวัดอุณหภูม,ิ ฟุตเหล็ก, ขดลวดตัวนํา
วิธีการปฏิบตั งิ าน
ในขัน* ตอนนี*จะทําการทดสอบแกนเหล็กก็ต่อเมือ/ ตรวจพบรอยช็อตบนแกนเหล็ก (ประเมินด้วยสายตา) และถ้าไม่มี
รอยช็อตให้นาํ แกนเหล็กไปพ่นวานิชแดงต่อไป
2.2.1 จด Nameplate และบันทึกรายละเอียดต่างๆของมอเตอร์ทจ/ี ะทดสอบแกนเหล็กลงในแบบใน
ภาคผนวก ก.
2.2.2 นําแกนเหล็กซึง/ มีโครงสร้างดังรูปที/ 2.4 มาวัดค่าต่างๆ (หน่วยเป็ น มิลลิเมตร) ดังนี*
22
• ความยาวของแกนเหล็ก (L)
• เส้นผ่านศูนย์กลางภายในแกนเหล็ก (D1)
• ความลึกของร่องสล๊อต (S)
• ความหนาของแกนเหล็ก (B)

รูปที/ 2.4 วงจรการทดสอบแกนเหล็ก

2.2.3 กําหนดแรงดันและความถี/ทใ/ี ช้ในการทดสอบ แล้วคํานวณหา Loop turns, Estimated Amperes,


Core weight บันทึกผลในแบบฟอร์มภาคผนวก ก.3 จากนัน* จึงเลือกขนาดของขดลวดตัวนําจากกระแสทีค/ าํ นวณได้
2.2.4 กําหนดจุดทีจ/ ะวัดอุณหภูมบิ นแกนเหล็ก โดยในการวัดอุณหภูมจิ ะต้องวัดตลอดความยาวของแกน
เหล็ก และกําหนดจุดวัดจุดอื/นอีกประมาณ 3-5 จุด ตามรูปที/ 2.5
2.2.5 พันขดลวดตัวนํารอบแกนเหล็กโดยมีจาํ นวนรอบทีพ/ นั ตามทีค/ าํ นวณได้ตามข้อ 2.2.3 และมีลกั ษณะ
การพันดังรูปที/ 2.6
2.2.6 จ่ายแรงดัน, กระแสและความถีใ/ นข้อ 2.2.3 จากแหล่งจ่าย แล้ววัดอุณหภูมขิ องแกนเหล็กตามจุดที/
กําหนดในข้อ 2.2.5 บันทึกผล
2.2.7 เปรียบเทียบอุณหภูมทิ ว/ี ดั ระหว่างจุดโดยอุณหภูมเิ ฉลีย/ ประมาณ 40-50 Cและค่าแตกต่างของ
อุณหภูมจิ ุดวัดจุดเดียวกันไม่เกิน 5 C
2.2.8 ถ้าอุณหภูมทิ ว/ี ดั เกินจากที/กาํ หนด ให้ทาํ การรื*อแกนเหล็กเพือ/ เปลีย/ นแกน แล้วเคลือบและอัดแกนเหล็ก
ใหม่โดยจะต้องให้ขนาดของแกนเหล็กเท่าเดิม ดังรูปที/ 2.7
23

รูปที/ 2.5 การวัดอุณหภูมบิ นแกนเหล็ก

รูปที/ 2.6 การทดสอบแกนเหล็ก

รูปที/ 2.7 การซ่อมและอัดแกนเหล็ก


24
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการและมีรอยช็อตบนแกนเหล็ก
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

2.3 การพ่นวานิ ชแดง


วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการพ่นวานิชแดงหลังจากทีผ/ ่านการรื*อและการทดสอบแกนเหล็ก และทําความสะอาด
เรียบร้อยแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
วานิชแดง
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.3.1 ในการพ่นวานิชแดงทีแ/ กนเหล็ก ให้ทาํ การเคลือบด้วยการสเปรย์วานิชแดงลงไปบนชิ*นงานดังรูปที/ 2.8
เมือ/ สเปรย์ทวั / ชิ*นงานแล้วให้ปล่อยไว้ให้แห้งเอง และเมือ/ แน่ใจว่าวานิชแดงแห้งสนิท ถ้ายังไม่มกี ารประกอบให้ทาํ การ
ห่อหุม้ ด้วยพลาสติก และนําเก็บในทีจ/ ดั เก็บ
2.3.2 ชิ*นส่วนอะไหล่ต่างๆให้เคลือบด้วยการทาลงไปบนชิ*นงานที/ตอ้ งการ แล้วปล่อยให้แห้งเอง เมือ/ แน่ใจว่า
วานิชแดงแห้งสนิท ถ้ายังไม่มกี ารประกอบให้ทาํ การจัดเก็บในทีท/ /จี ดั เตรียมไว้ เพือ/ ดําเนินการขัน* ต่อไป
2.3.3 สําหรับมอเตอร์แรงสูง 6.6 กิโลโวล์ต ไม่ตอ้ งพ่นวานิชแดงที/แกนเหล็ก มอเตอร์เฮอร์มาติกหรือคอม
เพลสเซอร์ให้พ่นด้วยวานิชใสแทน

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
25

รูปที/ 2.8 การพ่นวานิชแดง

2.4 การพันขดลวดและทดสอบ
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการพันขดลวดใหม่และทดสอบเบื*องต้นก่อนนําขดลวดไปเคลือบวานิช
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
ขดลวด, โวลท์มเิ ตอร์, แอมมิเตอร์, มัลติมเิ ตอร์, เมกเกอร์ ,มิลลิโอห์มมิเตอร์ ,เครื/องเสิรจ์
วิธีการปฏิบตั งิ าน

รูปที/ 2.9 ลักษณะของขดลวดใหม่

2.4.1 เตรียมฟอร์มของลวด ดังรูปที/ 2.9 และฉนวนต่างๆตามข้อมูลทีบ/ นั ทึกในภาคผนวก ก.1


2.4.2 ก่อนลงขดลวด ให้ยนื ยันนับจํานวนขดลวดอีกครัง* แล้วจึงลงขดลวดและต่อวงจรต่อไปดังรูปที/ 2.10
26

รูปที/ 2.10 การลงขดลวดใหม่


2.4.2 ในระหว่างการพันขดลวดให้ทาํ การทดสอบตามรายการทีร/ ะบุทกุ ขัน* ตอน หากขัน* ตอนใดผลการ
ทดสอบไม่ผ่าน ให้แจ้ง หรือรายงานให้หวั หน้างานทราบ เพือ/ กําหนดแนวทางแก้ไขและป้ องกันต่อไป
2.4.3 หลังจากใส่ขดลวดแล้วให้ตรวจสอบสภาพด้วยสายตา เพือ/ ประเมินสภาพขดลวด, แกนเหล็ก และ
ชิ*นส่วนอื/นๆที/เกี/ยวข้องกับการทดสอบ
2.4.4 ทดสอบขดลวดด้วยการวัดค่าต่าง ๆดังรูปที/ 2.11 ดังนี*
• ความต้านทานขดลวด (Widing Resistance) ขดลวดทุกชุด
• ความต้านทานฉนวน (Megger) ขดลวดทุกชุด
• ทดสอบเสิรจ์ (Surge Test)
2.4.5 บันทึกผลการทดสอบ
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.4

รูปที/ 2.11 การทดสอบค่าทางไฟฟ้ า


27
2.5 การอบไล่ความชื%นและทดสอบขดลวด
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการอบไล่ความชื*นหลังจากทีพ/ นั ขดลวดและทดสอบเสร็จแล้ว ซึง/ เป็ นการอบมอเตอร์เพือ/ ไล่
ความชื*นและปล่อยให้เย็นตัวลงหลังจากนัน* จึงทดสอบขดลวด
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
ตูอ้ บ
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.5.1 นํามอเตอร์เข้าเตาอบเพือ/ ไล่ความชื*นดังรูปที/ 2.12 ดังนี*
• มอเตอร์แรงตํา/ (<1000 V) อบที/ 80-100°C
- ขนาดไม่เกิน 200 kW อบ 1-2 ชัว/ โมง
- ขนาดเกิน 200 kW อบ 2-4 ชัว/ โมง
• มอเตอร์แรงดันสูง (3.3 kV- 6.6 kV ) ซึง/ มีเรซินในขดลวดแล้วอบที/ 120-140°C
- ระยะเวลาในการอบ 12 ชัว/ โมง
2.5.2 หลังจากอบแห้งแล้วรอให้ขดลวดเย็นตัวลงแล้วทําการทดสอบขดลวด (Megger) ขดลวดทุกชุด ก่อนทํา
การเคลือบ

รูปที/ 2.12 การอบไล่ความชื*น


เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
28
2.6 การเคลือบวานิ ช
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการเคลือบวานิชด้วยการจุ่มแช่ หลังจากทีอ/ บแห้งแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, เมกเกอร์, เทอร์โมมิเตอร์, ถังแช่วานิช
วิธีการปฏิบตั งิ าน
หลังจากทีอ/ บมอเตอร์เพือ/ ไล่ความชื*นและปล่อยให้เย็นตัวลงแล้วให้วดั ค่าเมกเกอร์
การเคลือบวานิ ชด้วยการจุม่ แช่ (DIP)
2.6.1 ทําการปิ ดหรือป้ องกันชิ*นส่วนที/ไม่ตอ้ งการให้สมั ผัสวานิช เช่น สายลีดส์ ,หลักเทอร์มนิ อล ,เนมเพลท
2.6.2 ยกและเคลือ/ นย้ายมอเตอร์โดยใช้สลิงและสเก็นทีม/ ขี นาดเหมาะสมและปลอดภัย ดังรูปที/ 2.13
2.6.3 นํามอเตอร์ลงจุ่มแช่ในถังวานิชให้นาํ* ยาท่วมส่วนทีเ/ ป็ นขดลวด
2.6.4 แช่ท* งิ ไว้จนกว่าฟองอากาศจะหมด
2.6.5 หากระดับวานิชไม่ท่วมขดลวดทัง* หมดให้ทาํ การพลิกกลับด้านมอเตอร์ หรือหมุนโรเตอร์ให้ส่วนทีย/ งั ไม่
สัมผัสวานิชอยู่ดา้ นล่าง
2.6.6 นํามอเตอร์ข*นึ จากถังวานิช
2.6.7 ล้างคราบวานิชในส่วนทีไ/ ม่ตอ้ งการให้วานิชแห้งติดกันด้วย ไซลีน เช่น สายลีดส์ เนมเพลท ผิวเพลา
บริเวณแบริ/ง บริเวณฉนวน สลิปริง เป็ นต้น

รูปที/ 2.13 การจุ่มแช่วานิช

การเคลือบวานิ ชด้วย VPI (Vacuum Pressure Impregnation)


กรณี ท/ตี อ้ งการเคลือบวานิชด้วยวิธวี พี ไี อ
2.6.8 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าขนาดของมอเตอร์สามารถลงในถังวีพไี อได้ จึงนํามอเตอร์ลงในถังให้อยู่ใน
ตําแหน่งทีเ/ หมาะสมและมัน/ คงแล้วปิ ดฝาให้สนิท
29
2.6.9 ทําการเดินปัมสุ
F ญญากาศ (Vacumm) เพือ/ ดูดอากาศออกจากมอเตอร์และถังจนกระทัง/ ความดัน
ในถังอยู่ในเกณฑ์ท/กี าํ หนด แช่ท* งิ ไว้ประมาณ 1 ชัว/ โมง เปิ ดนํา* ยาเรซินเข้าถัง VPI เช็คระดับจนให้นาํ* ยาท่วมขดลวด
ปิ ดวาล์วจากถังนํา* ยา อัดอากาศแห้งเข้าถัง จนกระทัง/ ได้ความดันที/ 4-6 บาร์ ทิ*งไว้ให้ขดลวดแช่ในนํา* ยาทีค/ วามดัน
ดังกล่าว 1-2 ชัว/ โมง ตามขนาดของมอเตอร์ ค่อยๆเปิ ดวาล์วเพือ/ ให้นาํ* ยาไหลย้อนกลับคืนสู่ถงั นํา* ยาจนหมด ค่อยๆ
ปล่อยอากาศที/มคี วามดันออก เปิ ดฝาแล้วยกมอเตอร์ข* นึ จากถังวีพไี อ ล้างคราบนํา* ยา

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

2.7 การอบแห้งและขูดวานิ ชส่วนเกิน


วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการอบแห้งและขูดวานิชส่วนเกินหลังจากทีเ/ คลือบวานิชแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
เตาอบ มีดขูด
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.7.1 หลังจากผ่านขัน* ตอนการเคลือบวานิชแล้ว นํามอเตอร์เข้าเตาอบอุณหภูมิ 120 °C- 140°C ระยะเวลา
ในการอบ ขึ*นอยู่กบั ขนาดของมอเตอร์
• มอเตอร์ขนาดเล็ก – ขนาดกลาง (ไม่เกิน 1000 kW) ใช้เวลาในการอบ 8-10 ชม.
• มอเตอร์ขนาดใหญ่ (>1000 kW) ใช้เวลาในการอบ 10-15 ชม.
2.7.2 เมือ/ ทําการอบแห้งแล้วให้ทาํ การตรวจสอบให้แน่ ใจว่า วานิชทุกส่วน แห้งสนิทดีแล้วจึงนํามอเตอร์ออก
จากเตาอบและทําการขูดวานิชส่วนเกินออก
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
_
30
2.8 หาสมดุลโรเตอร์และเปลียนแบริง
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการหาบาลานซ์โรเตอร์ ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ซึง/ จะมีผลต่อระดับความสัน/ สะเทือนของมอเตอร์
ขณะใช้งาน
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, ฟุตเหล็ก, ตลับเมตร, เวอร์เนีย, ไดอัลเกจ, เครื/องชัง/ นํา* หนัก, ชุดควบคุมและแสดงผลการบาลานซ์
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.8.1 ตรวจสอบรายละเอียดของโรเตอร์ แล้วบันทึกในแบบฟอร์ม
2.8.2 ตรวจสอบค่า Rotor Approx weight, Service speed, Balancing speed และพิกดั มาตรฐานใน
การบาลานซ์พร้อมสเก็ตช์ภาพโรเตอร์

รูปที/ 2.14 การหา Balance

2.8.3 เมือ/ ได้ค่า Balancing speed และ grade ทีใ/ ช้บาลานซ์ นําค่าทีไ/ ด้ไปหาค่า Max Permissible
unbalance weight จากกราฟ standard ทีใ/ ช้ Balancing และคํานวณหานํา* หนัก Unbalance สูงสุดทีย/ อมรับได้
(Max Permissible unbalance weight) ทัง* สองด้าน
2.8.4 ทําการตรวจเช็คหน้าสัมผัสของเพลา ตําแหน่งทีจ/ ะวางบนแท่น balance มี 2 กรณี
•ใช้ตาํ แหน่งแบริ/งของเพลาทัง* สองด้านต้องทําการใส่แบริ/งในตําแหน่งเดิมก่อนนําขึ*นแท่น Balance
•ใช้ตาํ แหน่งฝาปะกับหรือตําแหน่งอื/นที/เห็นว่าเหมาะสมให้เช็คหน้าสัมผัสด้วยสายตาและการสัมผัส
ถ้าหน้าสัมผัสไม่เรียบให้ทาํ การปรับแต่งให้เรียบโดยการใช้กระดาษทรายเบอร์ 150
2.8.5 ถ้าโรเตอร์มใี บพัด, คัปปลิ*ง, เกียร์, มูเลย์ ให้ประกอบเข้ากับเพลาในตําแหน่งเดิมก่อนทําการ Balance
กรณี ทไ/ี ม่มี คัปปลิ*ง, เกียร์, มูเลย์ ติดมาให้ตดั เหล็กใส่ร่องลิม/ ให้เสมอกับความสูงของร่องลิม/
2.8.6 ตรวจเช็คความโตของตําแหน่งทีจ/ ะวางโรเตอร์บนแท่น Balance และเช็คระยะห่างตําแหน่งทีจ/ ะวางโร
เตอร์บนแท่น Balance เพือ/ ปรับตําแหน่งแท่นให้สามารถวางโรเตอร์ได้พอดี
2.8.7 เมือ/ นําโรเตอร์ข* นึ แท่น Balance เรียบร้อยแล้ว ให้ทาํ การยึดโรเตอร์ติดกับเพลาของเครื/อง Balance
และเช็คระยะ A, B, C และรัศมี R1, R2 แล้วบันทึกผล
31
2.8.8 เช็คค่า Run Out ของเพลาที/ตาํ แหน่งต่างๆบันทึกค่าในฟอร์ม
2.8.9 ทําการเดินเครื/อง Balance และอ่านค่านํา* หนัก Unbalance เริ/มต้นและมุมทัง* 2 ด้าน
2.8.10 ทําการใส่หรือเอานํา* หนักออกตามทีร/ ะบุจากเครื/อง กรณีใส่นาํ* หนักควรยึดให้แข็งแรง
2.8.11 เดินเครื/อง Balance เพือ/ หาค่านํา* หนัก Unbalance และใส่หรือนํานํา* หนักออกจนกว่าค่าจะอยู่ใน
เกณฑ์มาตรฐาน
2.8.12 บันทึกผลการ Balance ตามแบบฟอร์มในภาคผนวก ก.2

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

2.9 การตรวจสอบและทดสอบก่อนประกอบ
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางในการตรวจสอบและทดสอบขดลวดรวมทัง* ชิ*นส่วนต่างๆหลังจากทีซ/ ่อมแล้วก่อนการประกอบ
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
เมกเกอร์, เครื/องเสิรจ์ , ไมโครมิเตอร์วดั นอกวัดใน, เวอร์เนีย, มัลติมเิ ตอร์
วิธีการปฏิบตั งิ าน
การตรวจสอบทางกล
2.9.1 ตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ*นส่วนต่างๆ เช่น ขดลวด ,แกนเหล็ก, วานิช ,ลิม/ , สายลีดส์, ตัววัด
อุณหภูม,ิ โรเตอร์, นํา* หนักทีใ/ ส่บาลานซ์ ,ผิวเพลา, สลิปริง ,คอมมิวเตเตอร์, แบริ/ง และชิ*นส่วนประกอบอื/นๆ
2.9.2 ตรวจวัดขนาดของเพลาบริเวณแบริ/ง เบ้าแบริ/ง ปลายเพลา
2.9.3 ตรวจสอบเบอร์แบริ/งใหม่ว่าถูกต้อง และตรวจสอสภาพว่าหมุนคล่องไม่มรี อยสนิม
2.9.4 บันทึกผล
การตรวจสอบทางไฟฟ้ า
2.9.5 วัดค่าเมกเกอร์ของขดลวด ซองถ่าน ก่อนประกอบ เกณฑ์ตามภาคผนวก ข.7
2.9.6 กรณี ดีซมี อเตอร์ให้เสิรจ์ เทส อาร์เมเจอร์ก่อนการประกอบ
2.9.7 ตรวจสอบฮีทเตอร์ตวั วัดอุณหภูมติ ่างๆ
2.9.8 บันทึกผล
32
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.7

2.10 ประกอบมอเตอร์
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการประกอบมอเตอร์ลงั จากผ่านการตรวจและทดสอบแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, ฟุตเหล็ก, เวอร์เนีย, ฟิ ลเลอร์เกจ, เทเปอร์เกจ, พลาสติกเกจ, เมกเกอร์

วิธีการปฏิบตั งิ าน

รูปที/ 2.15 การประกอบโรเตอร์และสเตเตอร์

2.10.1 จัดเตรียมชิ*นส่วนอุปกรณ์ เครื/องมือทีจ/ ะใช้ในการประกอบมอเตอร์ พร้อมทัง* จัดเตรียมพื*นทีส/ าํ หรับ


การประกอบให้พร้อม
2.10.2 ตรวจดูช* นิ ส่วนขดลวดและผิวสัมผัสทีส/ าํ คัญของชิ*นงานต่างๆว่าได้ผ่านการตรวจสอบมาแล้ว
2.10.3 ป้ องกันผิวทีส/ าํ คัญเช่นผิวคอมมิวเตเตอร์ ผิวสลิปริง ด้วยการห่อกระดาษแข็ง
2.10.4 เสียบโรเตอร์ดว้ ยเครื/องมือและอุปกรณ์ทเ/ี หมาะสมกับขนาด และนํา* หนักของโรเตอร์ ให้ดา้ นขับ
(DE)อยู่ดา้ นขับ (DE) ของสเตเตอร์ขณะเสียบโรเตอร์ใช้ความระมัดระวังอย่าให้เกิดการกระแทก หรือเสียดสีอย่าง
รุนแรงซึง/ อาจทําให้แกนเหล็กหรือขดลวดเสียหาย และจัดแนวปลายแกนเหล็กของโรเตอร์ให้ตรงกับสเตเตอร์
2.10.5 แบริ/งชนิด บอล /โรลเลอร์ ให้ฮีทแบริ/ง โดยเครื/องมือเหนี/ยวนําความร้อนทีท/ าํ ให้อณ
ุ หภูมวิ งในไม่เกิน
100 ◌C۫ ห้ามใช้ความร้อนจากแก๊สโดยเด็ดขาด
33
2.10.6 ใส่ฝาประกับในแบริ/งให้ตรงกับด้านขับ (DE) หรือด้านตรงข้ามด้านขับ (NDE) โดยสังเกตจากจุด
มาร์ค จากนัน* ให้ทาจารบีบางๆลงบนผิวชาร์ฟ บริเวณแบริ/งใส่แบริ/งที/ ฮีทแล้วเข้าเพลาให้ได้ตาํ แหน่งทีถ/ กู ต้องซึง/ โดย
ปกติแล้วแบริ/งจะยันบ่าโดยให้ตวั เลชเบอร์แบริ/งหันออกด้านนอก
2.10.7 เมือ/ แบริ/งเย็นตัวแล้วใส่จารบีให้แบริ/ง (กรณี ทเ/ี ป็ นแบริ/งแบบเปิ ด) ด้วยชนิดและปริมาณที/กาํ หนด
2.10.8 กรณี ทม/ี อเตอร์มซี องถ่าน ให้ตดิ ตัง* ชุดซองถ่านเข้ากับฝาของมอเตอร์ (ปกติจะอยู่ตรงข้ามด้านขับ
(NDE)) สังเกตจุดมาร์กคู่ประกบเพือ/ รักษาตําแหน่งของนิวตรอนให้ตรงตามเดิม ปรับเลือ/ นซองถ่านให้มรี ะยะห่าง
จากผิวคอมมิวเตเตอร์หรือสลิปริงให้มากที/สุดก่อน เพือ/ สะดวกในการประกอบฝาของมอเตอร์เข้ากับเฟรม
2.10.9 ประกอบชิ*นส่วนทีส/ มั ผัสกับแบริ/ง เช่นแหนบบล็อค ปลอกกันจารบี หรืออื/นๆทีอ/ ยู่บนเพลาสังเกต
ระยะและตําแหน่งให้ถกู ต้อง
2.10.10 เช็คดูบา่ ของฝาเฮาส์ซง/ิ และบ่าของเฟรมว่าไม่มรี อยเบลอ หรือคราบวานิชติดอยู่ จากนัน* ให้ใส่ฝา
เฮาส์ซง/ิ ด้านทีต/ รงกันกับเฟรมมอเตอร์โดยสังเกตจุดมาร์ค ขณะใส่ฝาเฮาส์ซง/ิ ควรใช้สตัดเกลียวร้อยผ่านรูเพือ/ หา
ตําแหน่งของฝาประกับในแบริ/งด้วย
2.10.11 ยึดน็อตฝามอเตอร์ แล้วกวดน็อตให้สมํา/ เสมอจนแน่น
2.10.12 ใส่จารบีเข้าฝาประกับนอกของแบริ/งด้วยจารบีชนิดเดียวกันกับทีใ/ ส่ในแบริ/ง ปริมาณที/ใส่ประมาณ
ครึ/งหนึ/งของช่องว่างฝาประกับ ขณะใส่ฝาประกับสังเกตตําแหน่ งจุดมาร์คบนฝาประกับและบนเฮาส์ซง/ิ ให้ตรงกัน
2.10.13 ประกอบฝาด้านทีเ/ หลือด้วยวิธเี ดียวกัน
•กรณี แบริ/งเป็ นแบริ/งชนิดสลีฟแบริ/ง (Sleeve Bearing) โดยปกติแบริ/งทีจ/ ะประกอบหลังจากใส่
ฝามอเตอร์เข้าไปก่อนแล้ว ขณะใส่ฝามอเตอร์ระวังอย่าให้กระแทกผิวชาฟ
2.10.14 ประกอบแบริ/งเข้าเฮาส์ซง/ิ ด้านที/ตรงกัน โดยยกเพลาลอยขึ*นเล็กน้อย แล้วค่อยๆใส่แบริ/งซีกล่างให้
ค่อยๆเลือ/ นลงตามผิวโค้งประกอบแบริ/งซีกบนตัวล็อคและฝาปิ ดบนเพือ/ ตรวจสอบแนวรอยนัง/ ของเพลาบนผิวแบบบิท
•ปกติแบริ/งที/ไม่ได้ทาํ แรบบิท (Rabbet) มาใหม่ และมีรอยแนวนัง/ เดิมทีน/ ่ าพอใจอยู่แล้ว ก็ไม่
จําเป็ นต้องทําการปรับหรือขูดแรบบิทอีก
•หากรอยแนวนัง/ แรบบิทไม่น่าพอใจ ให้ทาํ การขูดจุดสูงเพือ/ ปรับจุดสัมผัสแนวรอยนัง/ แนวรอยนัง/
ควรเป็ นแถบตรงจุดตํา/ สุดของแรบบิท กว้างประมาณ 1-2 นิ*ว เนื*อทีข/ ดู จุดสัมผัสไม่ควรตํา/ กว่า 75% ของแถบ
(แถบรอยนัง/ บนแรบบิทที/กว้างเกินไปอาจทําให้แบริ/ง ร้อนขณะทํางานได้)
2.10.15 วัดแบริ/ง เคลียร์แรนซ์ดว้ ยพลาสติกเกจ และ ฟิ ลเลอร์เกจ
•วัด Air Gap ระหว่างสเตเตอร์และโรเตอร์
•กรณีแบริ/งมีฉนวนให้ทดสอบค่าความต้านทานฉนวนของแบริ/ง ค่าทีไ/ ด้ตอ้ งสูงกว่า 3000 โอห์ม
•บันทึกผลลงในแบบฟอร์ม
2.10.16 ตรวจสอบและติดตัง* แหวนวักนํา* มัน (Oil Ring) แหวนต้องหมุนได้อสิ ระ ขอบด้านในต้องเรียบไม่
มีรอยสะดุด หากพบให้ใช้ตะไบละเอียดลบออก เวลาประกอบแหวน (ชนิดผ่าซีก) หัวสกรูตอ้ งไม่ยน/ื ออกมาด้านนอก
และรอยต่อระหว่างซีกบนซีกล่างต้องเรียบเสมอกันและไม่สะดุด
2.10.17 ประกอบชิลด์กนั นํา* มันและวัดระยะเคลียแรนซ์ให้เหมาะสม
2.10.18 ให้แน่ใจว่ารอยต่อของฝาครอบแบริ/งได้ทาปะเก็นเหลวชนิดทนนํา* มันทิ*งไว้แล้วประกอบส่วนทีเ/ หลือ
34
2.10.19 หมุนเพลาเพือ/ ให้แน่ใจว่าไม่มกี ารเสียดสีหรือมีความฝื ดทีผ/ ดิ ปกติ
2.10.20 เข้าสายลีดส์ภายในช่องซองถ่านตามตําแหน่งมาร์คเดิม
2.10.21 ตรวจสอบความเรียบร้อยโดยทัว/ ไปรวมทัง* ความแน่นของน็อตยึดต่างๆ
2.10.22 กรณีมอเตอร์มคี ลัปปลิงหรือมูเล่ยม์ าด้วยให้ใส่กลับคืนหลังจากการทํา No load Test Run แล้ว
2.10.23 เมือ/ การประกอบผ่านแล้วให้ตดิ ต่อหัวหน้าช่าง เพือ/ นําแท่นทดลองมาทดลองต่อไป

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

2.11 การทดสอบขัน% สุดท้าย


วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการทดสอบมอเตอร์ขนั* สุดท้ายและทําการเทสรันที/ No load หลังจากทีซ/ ่อมบริการแล้ว และเกณฑ์
พิจารณาผลการทดสอบ เพือ/ ให้แน่ใจว่ามอเตอร์อยู่ในสภาพทีจ/ ะนําไปใช้งานได้ต่อไป
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
โวลต์มเิ ตอร์, แอมมิเตอร์, มัลติมเิ ตอร์, เมกเกอร์ ,มิลลิโอห์มมิเตอร์ ,เครื/องเสิรจ์ ,เทอร์โมมิเตอร์
เครื/องวัดความสัน/ สะเทือน, เครื/องวัดรอบ

รูปที/ 2.16 การทดสอบขัน* สุดท้าย


35

รูปที/ 2.17 การทดสอบที/ No load

วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.11.1 ตรวจสอบทางกายภาพว่ามอเตอร์สามารถหมุนได้คล่องไม่ตดิ ขัด สภาพทัว/ ไปเรียบร้อย ทัง* ภายใน
ช่องคอมมิวเตเตอร์หรือสลิปริง
2.11.2 ตรวจสอบดูว่ามีการหล่อลืน/ แบริ/งด้วยจารบีหรือนํา* มันเพียงพอหรือไม่
2.11.3 ทําการทดสอบขดลวดดังรูปที/ 2.16 ดังนี*
•ทดสอบความต้านทานขดลวด ( Winding Resistance )
•ค่าความต้านทานฉนวน ( Insulation Resistance )
•ทดสอบการเสิรจ์ ( Surge Test )
2.11.4 ทดสอบอุปกรณ์อ/นื ๆที/ตดิ มากับมอเตอร์
•ตัววัดอุณหภูมขิ ดลวด ให้ทาํ การทดสอบค่าความต้านทานและค่าความเป็ นฉนวน
•ฮีทเตอร์ ให้ทาํ การทดสอบค่าความต้านทานและค่าความเป็ นฉนวน
• ตัววัดอุณหภูมแิ บริ/งให้ทดสอบค่าความต้านทาน
•ไดโอด (กรณีเป็ น Generator) ให้ทดสอบการนําไฟฟ้ าและขัว* ของไดโอด
2.11.5 เมือ/ การทดสอบขัน* ต้นผ่านเป็ นทีน/ ่าพอใจจึงเริ/มทําการเทสรัน โดยต่อสายไฟจากแหล่งจ่าย ให้
ถูกต้องตามชนิดของมอเตอร์ติดแผ่นสะท้อนเพือ/ วัดความเร็วรอบทีเ/ พลาของมอเตอร์
2.11.6 เริ/มจ่ายไฟเพื/อให้มอเตอร์เริ/มหมุนที/ความเร็วรอบตํา/ ๆก่อน
•สังเกตเสียง เมือ/ มอเตอร์เริ/มหมุนต้องไม่มเี สียงดังผิดปกติ
•ตรวจสอบกระแสให้อยู่ในเกณฑ์ปกติและสมดุล
•หากมีเสียงผิดปกติหรือกระแสสูงหรือตํา/ ผิดปกติให้หยุดเดินเครื/องทันที
2.11.7 ถ้าหากผลการหมุนทีค/ วามเร็วรอบตํา/ เป็ นทีน/ ่าพอใจ
•กรณี แบริ/ง NU :ให้รนั ทีร/ อบตํา/ ทิ*งไว้ประมาณ 10 นาที
•กรณีสลีฟแบริ/ง: ให้สงั เกตแหวนวักนํา* มันว่าหมุนได้อสิ ระและวักนํา* มันมาหล่อลืน/ แบริ/งได้ปกติ
2.11.8 เพิม/ แรงดันที/จ่ายจนแรงดันพิกดั (ถ้าทําได้) ตรวจสอบการทํางานของขดลวดว่าปกติหรือไม่
2.11.9 หากพบว่าผิดปกติให้หยุดเดินเครื/องทันที
36
2.11.10 กรณีมอเตอร์ตวั ใหญ่ ให้ตรวจสอบกระแสและพิกดั ของแหล่งจ่ายไฟไม่ควรเกิน 80% ของ
พิกดั แหล่งจ่ายไฟ
2.11.11 เพิม/ แรงดันจนจนความเร็วรอบคงทีว/ ดั ค่าแรงดัน กระแส ความเร็วรอบ ความสัน/ สะเทือน เสียง
แบริ/ง (กรณีบอลและโรลเลอร์แบริ/ง) อุณหภูมขิ องแบริ/งและเฟรม
2.11.12 ประเมินผลจากค่าทีว/ ดั ได้
2.11.13 สําหรับ AC 3 เฟส ปกติไม่มเี กณฑ์ทแ/ี น่นอนขึ*นอยู่กบั ขนาด จํานวนโพล (Pole) และชนิดการใช้
งานของมอเตอร์
2.11.14 เปอร์เซนต์ของกระแส Unbalance ของ AC 3 เฟส ทีโ/ นโหลดไม่เกิน 10% ของค่าเฉลีย/
2.11.15 ระดับความสัน/ สะเทือน ใช้เกณฑ์ในภาคผนวก ก.3
2.11.16 เสียงของแบริ/งสําหรับกรณี แบริ/งบอลและโรลเลอร์ และแบริ/งใหม่มคี ่าความเร็วพิกดั
-DBc < 10 (DBN)
-DBM < 10(DBN)
2.11.17 อุณหภูมขิ องแบริ/งสําหรับมอเตอร์ทวั / ๆไปไม่ควรเกิน 10°C
2.11.18 ระยะเวลาการเทสรันในเกณฑ์เบื*องต้นดังนี*
2.11.19 สลีฟแบริ/ง ระยะเวลาในการทดลอง > 1 ชัง/ โมง
2.11.20 บอลหรือโรเลอร์แบริ/ง ระยะเวลาในการทดลอง > 15-30 นาที (ตามขนาดของมอเตอร์)
2.11.21 มอเตอร์ ระยะเวลาในการทดลอง 5-10 นาที
2.11.22 บันทึกผล

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.4

2.12 การทําสี
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการทําสีบนตัวมอเตอร์หลังจากที/ได้ทาํ การซ่อมเสร็จแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สี
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.12.1 ตรวจสอบว่าสีทจ/ี ะใช้เป็ นสีเดิมหรือสีทต/ี อ้ งการหรือไม่
2.12.2 จัดเตรียมสี เครื/องมือและอุปกรณ์ทจ/ี าํ เป็ นต้องใช้ในการทําสี
37
2.12.3 เตรียมผิวชิ*นงานเพือ/ ขจัดผิวมอเตอร์ทไ/ี ม่เรียบ และคราบจารบีหรือนํา* มันออก
2.12.4 ป้ องกันชิ*นส่วนทีไ/ ม่ตอ้ งการให้สี พ่นทับ
• ผิวเพลา
• กระจกใส, พลาสติกใสตาแมว (Sight glass), ทีด/ ูระดับนํา* มัน
• หัวอัดจารบี
• ชื/อหรือเบอร์เครื/องจักรทีต/ ดิ อยู่บนมอเตอร์
• คัปปลิ*ง ,มูเลย์ (ยกเว้นบริเวณทีม/ สี เี ดิมอยู่แล้ว) , ลูกยาง
• จุดสําหรับต่อสายกราวด์ (ถ้ามี)
• น็อตสําหรับปรับระดับอะไลเมนท์
• จุดอื/นๆทีเ/ ห็นสมควร
2.12.5 ผสมสีกบั ทินเนอร์ในอัตราส่วนทีเ/ หมาะสมและวางหรือแขวนชิ*นงานเพือ/ ความสะดวกในการพ่นสี
2.12.6 ทําการพ่นสีลงบนชิ*นงานให้ละอองสีกระจายสมํา/ เสมอจนกระทัง/ สีจบั ทัว/ ถึง (ขณะพ่นสีให้เปิ ดเครื/องดูด
ละอองสีดว้ ย)
2.12.7 ตรวจสอบความเรียบร้อยและทัว/ ถึงของสีทพ/ี ่นอีกครัง*
2.12.8 ลอกกระดาษทีต/ ิดในข้อ 2.12.4 ออกจากชิ*นงาน
2.12.9 เก็บความเรียบร้อยของงานและนําป้ ายและนําป้ ายระบุเลขทีง/ านติดทีต/ วั มอเตอร์
2.12.10 นํามอเตอร์ไปตัง* บริเวณทีจ/ ดั ไว้เพือ/ รอให้สแี ห้ง และรอตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนส่งงาน

รูปที/ 2.18 การทําสีและบรรจุ


เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
38
2.13 ตรวจสอบความเรียบร้อยขัน% สุดท้ายและส่งมอบ
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการตรวจสอบความเรียบร้อยขัน* สุดท้ายก่อนส่งคืนมอเตอร์
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา
วิธีการปฏิบตั งิ าน
2.13.1 นําใบสัง/ งานมาตรวจสอบรายละเอียดอีกครัง*
2.13.2 ตรวจสอบความเรียบร้อยภายนอก เช่น น็อตทุกตัวแน่นหรือไม่ สายลีดส์ (สภาพฉนวน) อยู่ในสภาพ
ดีหรือไม่ ทีเ/ ฟรมมีรอยมาร์คหรือไม่ ถ้ามีให้ทาํ การลบออก ถ้ามีปญั หาควรแจ้งหัวหน้าช่างเพือ/ ดําเนินการแก้ไขต่อไป
2.13.3 ห่อมอเตอร์พร้อมอะไหล่ท/ตี อ้ งส่งคืน (ถ้ามี) พร้อมรายละเอียดการซ่อมทําและการทดสอบมอเตอร์
ทัง* หมดตามเอกสารท้ายบท ดังรูปที/ 2.18
2.13.4 ส่งมอบมอเตอร์เพือ/ ดําเนินการต่อไป ดังรูปที/ 2.19

รูปที/ 2.19 การส่งมอบ

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทุกตัวทีซ/ ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
39

สรุป

ในบทนี*ได้กล่าวถึงขัน* ตอนการพันขดลวดใหม่ซง/ึ มีสาเหตุจากขดลวดไหม้เสียหายหรือสภาพของฉนวนไม่สมบูรณ์ และ


มีค่าความต้านทานฉนวนตํา/ กว่าเกณฑ์ทก/ี าํ หนดซึง/ พบว่าในแต่ละขัน* ตอนนัน* มีความสําคัญและบางขัน* ตอนจําเป็ นต้อง
ทําการตรวจและทดสอบคุณภาพให้ผ่านเกณฑ์ก่อนทีจ/ ะดําเนินการในขัน* ตอนต่อไป ทัง* นี*เพือ/ ให้มอเตอร์ทซ/ี ่อมทําเสร็จ
แล้วมีคุณภาพและได้มาตรฐาน สามารถนําไปติดตัง* และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
40

บทที 3
การโอเวอร์ฮอล
ในบทนี*จะกล่าวถึงขัน* ตอนการโอเวอร์ฮอล ซึง/ เป็ นขัน* ตอนที/ต่อเนื/องจากบทที/ 1 นัน/ คือ มอเตอร์ทจ/ี ะทําโอเวอร์ฮอลนัน*
ขดลวดยังอยู่ในสภาพที/ใช้งานได้ดี กล่าวคือค่าความต้านทานฉนวนอยู่ในเกณฑ์ทก/ี าํ หนด โดยมี ขัน* ตอนในการซ่อม
ทําดังรูปที/ 3.1 มีรายละเอียดดังนี*

รูปที/ 3.1 ขัน* ตอนการโอเวอร์ฮอล


41

3.1 รับมอเตอร์และถอดมอเตอร์แยกชิ%น
วัตถุประสงค์
เพือ/ ทําการรับมอเตอร์เข้าทําการโอเวอร์ฮอลในบริเวณทีจ/ ดั เตรียมไว้ และจัดทําแนวทางในการถอดมอเตอร์แยกชิ*น
รวมทัง* การมาร์คและระบุช* ินส่วนต่างๆ เพือ/ ช่วยเป็ นข้อมูลในการประกอบกลับคืนและการตรวจสอบหลังจากได้
มอเตอร์แล้ว ขัน* ตอนต่างๆนี*เป็ นขัน* ตอนพื*นฐานสําหรับมอเตอร์ทม/ี โี ครงสร้างมาตรฐานทัว/ ไปเท่านัน* หากมอเตอร์ทม/ี ี
โครงสร้างพิเศษ ซับซ้อน ควรจะใช้ทกั ษะและความชํานาญในการถอด
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, เวอร์เนีย, ฟุตเหล็ก, ฟิ ลเลอร์เกจ, เทเปอร์เกจ, พลาสติกเกจ, เมกเกอร์, ไดอัลเกจ
วิธีการปฏิบตั งิ าน
3.1.1 นํามอเตอร์ทจ/ี ะทําการโอเวอร์ฮอลไปไว้ในบริเวณทีจ/ ดั เตรียมไว้
3.1.2 จัดวางมอเตอร์ให้สามารถดําเนินการได้อย่างสะดวก
3.1.3 มอบหมายงานให้ช่างหรือผูท้ เ/ี กี/ยวข้องดําเนินการต่อไป
3.1.4 ก่อนถอดตรวจสอบดูว่ามอเตอร์ได้ทาํ การเทสรันเป็ นทีเ/ รียบร้อยแล้ว
3.1.5 มาร์คตําแหน่งคู่ประกอบ (Match Mark) บนชิ*นสวนคู่ประกอบต่างๆ เช่นฝามอเตอร์กบั เฟรม,
ฝาประกับแบริ/งกับฝามอเตอร์, เทอร์มนิ อลบอร์ดกับเฟรมและ ฝาปิ ดต่าง ๆ เป็ นต้นเพือ/ ให้แน่ใจว่าเมือ/ ประกอบส่งคืน
แล้วจะได้ตาํ แหน่งเดิม
3.1.6 กรณีสลีฟแบริ/ง
•ให้ถ่ายนํา* มันออกจากอ่าง ตรวจดูสภาพนํา* มันแล้วบันทึกผล
•วัดระยะเคลียร์แรนซ์ของแบริ/ง และ ข้อมูลในส่วนแบริ/งทัง* สองด้านแล้วบันทึกผล
•วัดระยะช่องว่างระหว่าง สเตเตอร์ กับ โรเตอร์ (Air Gap) ทัง* สองด้านถ้าโครงสร้างมอเตอร์มี
ช่องว่างให้วดั ได้ แล้วบันทึกผล

รูปที/ 3.2 การวัดระยะระหว่างโรเตอร์และเฮ้าส์ซง/ิ


42
3.1.7 ถอดคัปปลิ*ง (ถ้ามี) และใบพัดออก ก่อนถอดตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้วดั บันทึกระยะ และ
ตําแหน่งไว้แล้ว
3.1.8 คลายน๊อตยึดฝาประกับทัง* สองด้าน ถอดฝาประกับนอกด้านขับ พร้อมชิ*นส่วนทีย/ ดึ ติดกับเพลา เช่น
แหวนล็อคแบริ/ง ปลอกกันจารบีออก ถอดฝามอเตอร์ (เฮ้าส์ซง/ิ ) ด้านขับออก
•ขณะถอดฝาออกระวังอย่าให้โรเตอร์กระแทกกับสเตเตอร์ สังเกตปลายแกนเหล็กของสเตเตอร์และ
โรเตอร์ อยู่ในแนวเดียวกัน / ตรงกันหรือไม่
3.1.9 ถอดฝาปะกับนอก ด้านตรงข้าม ด้านขับ พร้อมชิ*นส่วนทีย/ ดึ ตัวเพลาออกแล้วถอดฝามอเตอร์ออก
ระวังอย่าให้กระแทกกับสเตเตอร์
3.1.10 ขณะถอดให้สงั เกตและตรวจสอบลักษณะการติดตัง* ควรถ่ายรูปถ้าจําเป็ น
•สําหรับมอเตอร์ทม/ี โี ครงสร้างแบริ/ง แบบ Antifriction (บอล หรือ เอ็นยู) หากด้านหนึ/งเป็ น
เอ็นยู และ อีกด้านหนึ/งเป็ นบอล โดยทัว/ ไปเอ็นยูจะอยู่ดา้ นขับ และ บอลจะอยู่ดา้ นตรงข้ามด้านขับ การถอดจะถอด
ฝาด้านขับก่อน แต่หากด้านเอ็นยูอยู่ดา้ นตรงข้ามด้านขับและบอลอยู่ดา้ นขับ การถอดจะถอดด้านตรงข้ามด้านขับก่อน
3.1.11 กรณี ทต/ี อ้ งเปลีย/ นแบริ/งใหม่ ให้ถอดแบริ/งออกทัง* สองด้าน อาจใช้ความร้อนช่วยถ้าจําเป็ น
•ให้ป้องกันขดลวดขณะถอดแบริ/ง กรณี ทร/ี ะยะแบริ/งใกล้เคียงและอาจเป็ นอันตรายกับขดลวด
ขณะถอดได้ ให้ทาํ การชักโรเตอร์ออกก่อนแล้วจึงถอดแบริ/ง
3.1.12 ชักโรเตอร์ออกด้วยเครื/องมือและอุปกรณ์ทเ/ี หมาะสมกับขนาดและนํา* หนักของโรเตอร์ ระวังอย่าให้
เกิดการขูดขีด หรือ กระแทกขณะชักโรเตอร์ออก
3.1.13 ทําความสะอาดเบื*องต้นเท่าทีจ/ าํ เป็ น เพือ/ ให้สามารถทําการตรวจสอบและทําการวัดขนาดต่าง ๆได้
3.1.14 หลังจากที/ตรวจสอบเรียบร้อยแล้วให้ดาํ เนินการ
•ปกปิ ดและป้ องกันชิ*นส่วน ผิวทีส/ าํ คัญ เช่นผิวเพลาบริเวณสลีฟแบริ/ง เพือ/ ป้ องกันการ
กระแทกขณะขนย้ายและจัดเก็บ
•เก็บชิ*นส่วนต่างๆในทีท/ /เี ตรียมไว้
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
43

3.2 ล้างทําความสะอาดและอบแห้ง
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการล้างทําความสะอาดขดลวด ชิ*นส่วนอะไหล่ สําหรับมอเตอร์ท/ที าํ การโอเวอร์ฮอล ตลอดจนการ
อบแห้งหลังจากล้างทําความสะอาด

เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
แปรงขัด, นํา* , สารซักฟอก, เตาอบ
วิธีการปฏิบตั งิ าน

รูปที/ 3.3 การล้างทําความสะอาด

3.2.1 ก่อนล้างทําความสะอาดควรเช็คให้แน่ ใจว่าได้ทาํ การวัด และบันทึกค่าการตรวจสอบหลังการถอด


เรียบร้อยแล้ว
3.2.2 ตรวจดูช* นิ งานที/จะล้างว่ามีช* นิ ส่วนทีอ/ าจเสียหายหรือเสือ/ มสภาพขณะทําการล้างได้หรือไม่
3.2.3 วางชิ*นงานบนที/ตงั* ให้เหมาะสม กรณีโรเตอร์ อาจตัง* ไว้บนขาตัง* ที/มจี ดุ รองรับผิวเพลาทีอ/ ่อนเพือ/ ป้ องกัน
ผิวเพลาโดยเฉพาะบริเวณจุดแบริ/ง
3.2.4 กรณีมคี วามสกปรก จารบี หรือ ฝุ่น จํานวนมากสะสมอยู่ทช/ี * นิ งานควรขจัดออกก่อนโดยใช้ผา้ เช็ด
แปรงขัด หรือลมเป่ า เพือ/ ให้ทาํ ความสะอาดได้งา่ ยขึ*น
3.2.5 กรณีการทําความสะอาดด้วยการฉีดนํา* ล้าง ก่อนการฉีดนํา* ล้างควรตรวจสอบสภาพของขดลวดและ
ฉนวนอีกครัง* เพือ/ สังเกตรอยแตก (Crack) หรือสภาพเปื/ อยยุ่ยของฉนวนว่ามีหรือไม่ ควรระวังอย่าให้ปลายหัวฉีดเข้า
ใกล้ขดลวดมากเกินไป (ไม่ควรตํา/ กว่า 2 นิ*วโดยประมาณ)
3.2.6 ฉีดล้างคราบสกปรกโดยรอบให้ทวั / ก่อนแล้วจึงฉีดนํา* ร้อนล้างคราบ กรณีมคี ราบไขมันหรือสิง/ สกปรกที/
นํา* ไม่สามารถล้างออกได้ ให้ผสมสารซักฟอกในอัตราส่วนที/เหมาะสม ทิ*งไว้ให้ข*นึ ฟองจนกระทัง* ฟองแตกแต่ไม่เกิน
5 นาที สําหรับชิ*นส่วนทีไ/ ม่ใช่ขดลวดสามารถใช้ปริมาณสารซักฟอกมาขึ*นได้
44
3.2.7 ชะล้างด้วยนํา* และ นํา* ร้อน ให้ทวั / จนแน่ใจว่าคราบสารซักฟอกไม่หลงเหลือแล้วระยะเวลาในการฉีด
นํา* ฉะล้างไม่ควรเกิน 5 เท่าของระยะเวลาแช่ฟอง
3.2.8 ตรวจสอบดูความสะอาด หากไม่พอใจ อาจทําความสะอาดใหม่อกี ครัง* สําหรับคราบเหนียวทีย/ งั
หลงเหลืออยู่เมือ/ เป่ าลมแล้วอาจใช้นาํ* ยาโซเวนท์ เช่น LEC ทําความสะอาดอีก
3.2.9 หลังทําความสะอาดเสร็จ ใช้ลมเป่ าคราบนํา* ออก เพือ/ ให้การอบเร็วขึ*น
3.2.10 นําชิ*นงานเข้าเตาอบ ชิ*นส่วนทีไ/ ม่จาํ เป็ นต้องอบหรือไม่สามารถทนความร้อนได้ เช่น เทอร์มนิ อล
พลาสติก หรือฝาครอบพลาสติก ให้ถอดออก
3.2.11 นํามอเตอร์เข้าตูอ้ บโดยทีอ/ ณุ หภูมแิ ละระยะเวลาในการอบขึ*นอยู่กบั ขนาดของมอเตอร์ ดังรูปที/ 3.4
โดยมีเกณฑ์ในการอบคือ
สําหรับกรณีฉีดล้างด้วยนํา*
•อุณหภูมขิ องชิ*นงานขณะอบ 100°C -130°C แนะนําที/ 120°C
•ระยะเวลาในการอบ
• มอเตอร์ขนาดเล็ก – ขนาดกลาง (ไม่เกิน 1000 KW):10-15 ชัว/ โมง
• มอเตอร์ขนาดใหญ่ (มากกว่า 1000 KW): 15-24 ชัว/ โมง
สําหรับกรณีใช้โซเวนท์ทาํ ความสะอาด
•อุณหภูมใิ นการอบอบ 80°C - 100°C
•ระยะเวลาในการอบ 2-4 ชัว/ โมง
3.2.12 เมือ/ อบแห้งแล้ว จึงนํามอเตอร์ออกจากเตา เพือ/ ดําเนินการในขัน* ตอนต่อไป

รูปที/ 3.4 การอบแห้ง


เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทร/ี บั การโอเวอร์ฮอลและชิ*นส่วนมอเตอร์ท/ตี อ้ งทําความสะอาด
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
45

3.3 การเคลือบวานิ ช
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการเคลือบวานิชด้วยการจุ่มแช่ หลังจากทีอ/ บแห้งแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, เมกเกอร์, เทอร์โมมิเตอร์, ถังแช่วานิช
วิธีการปฏิบตั งิ าน
หลังจากทีอ/ บมอเตอร์เพือ/ ไล่ความชื*นและปล่อยให้เย็นตัวลงแล้วให้วดั ค่าเมกเกอร์
การเคลือบวานิ ชด้วยการจุ่มแช่ (DIP)
3.3.1 ทําการปิ ดหรือป้ องกันชิ*นส่วนที/ไม่ตอ้ งการให้สมั ผัสวานิช เช่น สายลีดส์ ,หลักเทอร์มนิ อล ,เนมเพลท
3.3.2 ยกและเคลือ/ นย้ายมอเตอร์โดยใช้สลิงและสเก็นทีม/ ขี นาดเหมาะสมและปลอดภัย ดังรูปที/ 3.5
3.3.3 นํามอเตอร์ลงจุ่มแช่ในถังวานิชให้นาํ* ยาท่วมส่วนทีเ/ ป็ นขดลวด
3.3.4 แช่ท* งิ ไว้จนกว่าฟองอากาศจะหมด
3.3.5 หากระดับวานิชไม่ท่วมขดลวดทัง* หมดให้ทาํ การพลิกกลับด้านมอเตอร์ หรือหมุนโรเตอร์ให้ส่วนทีย/ งั ไม่
สัมผัสวานิชอยู่ดา้ นล่าง
3.3.6 นํามอเตอร์ข*นึ จากถังวานิช
3.3.7 ล้างคราบวานิชในส่วนทีไ/ ม่ตอ้ งการให้วานิชแห้งติดกันด้วย ไซลีน เช่น สายลีดส์ เนมเพลท ผิวเพลา
บริเวณแบริ/ง บริเวณฉนวน สลิปริง เป็ นต้น

รูปที/ 3.5 การจุ่มแช่วานิช

การเคลือบวานิ ชด้วย (VPI) Vacuum Pressure Impregnation


กรณีทต/ี อ้ งการเคลือบวานิชด้วยวิธวี พี ไี อ
3.3.8 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าขนาดของมอเตอร์สามารถลงในถังวีพไี อได้ จึงนํามอเตอร์ลงในถังให้อยู่ใน
ตําแหน่งทีเ/ หมาะสมและมัน/ คง แล้วปิ ดฝาให้สนิท
46
3.3.9 ทําการเดินปัมสุ F ญญากาศ (Vacuum) เพือ/ ดูดอากาศออกจากมอเตอร์และถังจนกระทัง/ ความดันใน
ถังอยู่ในเกณฑ์ทก/ี าํ หนด แช่ท* งิ ไว้ประมาณ 1 ชัว/ โมง เปิ ดนํา* ยาเรซินเข้าถัง VPI เช็คระดับจนให้นาํ* ยาท่วมขดลวด ปิ ด
วาล์วจากถังนํา* ยา อัดอากาศแห้งเข้าถัง จนกระทัง/ ได้ความดันที/ 4-6 บาร์ ทิ*งไว้ให้ขดลวดแช่ในนํา* ยาที/ความดัน
ดังกล่าว 1-2 ช◌ั ◌่ วโมง ตามขนาดของมอเตอร์ ค่อยๆเปิ ดวาล์วเพือ/ ให้นาํ* ยาไหลย้อนกลับคืนสู่ถงั นํา* ยาจนหมด
ค่อยๆปล่อยอากาศทีม/ คี วามดันออก เปิ ดฝาแล้วยกมอเตอร์ข* นึ จากถังวีพไี อ ล้างคราบนํา* ยา
การเคลือบวานิ ชแดง
3.3.10 ส่วนทีเ/ ป็ นขดลวดของสเตเตอร์และโรเตอร์ รวมทัง* แกนเหล็กให้ทาํ การเคลือบด้วยการสเปรย์วานิช
แดงลงไปบนชิ*นงาน เมือ/ สเปรย์ทวั / ชิ*นงานแล้วให้ปล่อยไว้ให้แห้งเอง และเมือ/ แน่ใจว่าวานิชแดงแห้งสนิท ถ้ายังไม่มี
การประกอบให้ทาํ การห่อหุม้ ด้วยพลาสติก และนําเก็บในทีจ/ ดั เก็บ
3.3.11 ชิ*นส่วนอะไหล่ต่างๆให้เคลือบด้วยการทาลงไปบนชิ*นงานที/ตอ้ งการ แล้วปล่อยให้แห้งเอง เมือ/ แน่ใจ
ว่าวานิชแดงแห้งสนิท ถ้ายังไม่มกี ารประกอบให้ทาํ การจัดเก็บในทีท/ จ/ี ดั เตรียมไว้ เพือ/ ดําเนินการขัน* ต่อไป
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
3.4 การอบแห้งและขูดวานิ ชส่วนเกิน
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางสําหรับการอบแห้งและขูดวานิชส่วนเกินหลังจากทีเ/ คลือบวานิชแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
เตาอบ, มีดขูด
วิธีการปฏิบตั งิ าน
3.4.1 หลังจากผ่านขัน* ตอนการเคลือบวานิชแล้วนํามอเตอร์เข้าเตาอบอุณหภูมิ 120°C-140°C ระยะเวลา
ในการอบ ขึ*นอยู่กบั ขนาดของมอเตอร์
• มอเตอร์ขนาดเล็ก – ขนาดกลาง (ไม่เกิน 1000 kW) ใช้เวลาในการอบ 8-10 ชม.
• มอเตอร์ขนาดใหญ่ (>1000kW) ใช้เวลาในการอบ 10-15 ชม.
3.4.2 เมือ/ ทําการอบแห้งแล้วให้ทาํ การตรวจสอบให้แน่ใจว่า วานิชทุกส่วน แห้งสนิทดีแล้วจึงนํามอเตอร์
ออกจากเตาอบและทําการขูดวานิชส่วนเกินออก
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-
47

3.5 หาสมดุลโรเตอร์และเปลียนแบริง
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการหาสมดุลโรเตอร์ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ซึง/ จะมีผลต่อระดับความสัน/ สะเทือนของมอเตอร์
ขณะใช้งาน
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, ฟุตเหล็ก, ตลับเมตร, เวอร์เนีย, ไดอัลเกจ, เครื/องชัง/ นํา* หนัก, ชุดควบคุมและแสดงผลการบาลานซ์
วิธีการปฏิบตั งิ าน
3.5.1 ตรวจสอบรายละเอียดของโรเตอร์แล้วบันทึกในแบบฟอร์ม
3.5.2 ตรวจสอบค่า Rotor Approx weight, Service speed, Balancing speed และพิกดั มาตรฐานในการ
บาลานซ์ พร้อมสเก็ตช์ภาพโรเตอร์

รูปที/ 3.6 การหา Balance

3.5.3 เมือ/ ได้ค่า Balancing speed และ grade ที/ใช้บาลานซ์ นําค่าทีไ/ ด้ไปหาค่า Max Permissible
unbalance weight จากกราฟ standard ทีใ/ ช้ Balancing และคํานวณหานํา* หนัก Unbalance สูงสุดทีย/ อมรับได้
(Max Permissible unbalance weight) ทัง* สองด้าน
3.5.4 ทําการตรวจเช็คหน้าสัมผัสของเพลา ตําแหน่งที/จะวางบนแท่น balance มี 2 กรณี
•ใช้ตาํ แหน่งแบริ/งของเพลาทัง* สองด้านต้องทําการใส่แบริ/งในตําแหน่งเดิมก่อนนําขึ*นแท่น Balance
•ใช้ตาํ แหน่งฝาปะกับหรือตําแหน่งอื/นที/เห็นว่าเหมาะสม ให้เช็คหน้าสัมผัสด้วยสายตาและการสัมผัส
ถ้าหน้าสัมผัสไม่เรียบให้ทาํ การปรับแต่งให้เรียบโดยการใช้กระดาษทรายเบอร์ 150
3.5.5 ถ้าโรเตอร์มใี บพัด, คัปปลิ*ง, เกียร์, มูเลย์ ให้ประกอบเข้ากับเพลาในตําแหน่งเดิมก่อนทําการ Balance
กรณี ทไ/ี ม่มี คัปปลิ*ง, เกียร์, มูเลย์ ติดมาให้ตดั เหล็กใส่ร่องลิม/ ให้เสมอกับความสูงของร่องลิม/
3.5.6 ตรวจเช็คความโตของตําแหน่งทีจ/ ะวางโรเตอร์บนแท่น Balance และเช็คระยะห่างตําแหน่งทีจ/ ะวาง
ดรเตอร์บนแท่น Balance เพือ/ ปรับตําแหน่งแท่นให้สามารถวางโรเตอร์ได้พอดี
48
3.5.7 เมือ/ นําโรเตอร์ข*นึ แท่น Balance เรียบร้อยแล้ว ให้ทาํ การยึดโรเตอร์ตดิ กับเพลาของเครื/อง
Balance และเช็คระยะ A, B, C และรัศมี R1, R2 แล้วบันทึกผล
3.5.8 เช็คค่า Run Out ของเพลาทีต/ าํ แหน่งต่างๆบันทึกค่าในฟอร์ม
3.5.9 ทําการเดินเครื/อง Balance และอ่านค่านํา* หนัก Unbalance เริ/มต้นและมุมทัง* 2 ด้าน
3.5.10 ทําการใส่หรือเอานํา* หนักออกตามทีร/ ะบุจากเครื/อง กรณีใส่นาํ* หนักควรยึดให้แข็งแรง
3.5.11 เดินเครื/อง Balance เพือ/ หาค่านํา* หนัก Unbalance และใส่หรือนํานํา* หนักออกจนกว่าค่าจะอยู่ใน
เกณฑ์มาตรฐาน
3.5.12 บันทึกผลการ Balancing

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

3.6 การตรวจสอบและทดสอบก่อนประกอบ
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางในการตรวจสอบและทดสอบขดลวดรวมทัง* ชิ*นส่วนต่างๆหลังจากทีซ/ ่อมแล้วก่อนการประกอบ
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
เมกเกอร์, เครื/องเสิรจ์ , ไมโครมิเตอร์วดั นอกวัดใน, เวอร์เนีย, มัลติมเิ ตอร์
วิธีการปฏิบตั งิ าน
การตรวจสอบทางกล
3.6.1 ตรวจสอบความเรียบร้อยของชิ*นส่วนต่างๆ เช่น ขดลวด แกนเหล็ก วานิช ลิม/ สายลีดส์ ตัววัด
อุณหภูมิ โรเตอร์ นํา* หนักทีใ/ ส่บาลานซ์ ผิวเพลา สลิปริง คอมมิวเตเตอร์ แบริ/ง และชิ*นส่วนประกอบอื/นๆ
3.6.2 ตรวจวัดขนาดของเพลาบริเวณแบริ/ง เบ้าแบริ/ง ปลายเพลา
3.6.3 ตรวจสอบเบอร์แบริ/งใหม่ว่าถูกต้อง และตรวจสอสภาพว่าหมุนคล่องไม่มรี อยสนิม
3.6.4 บันทึกผล
การตรวจสอบทางไฟฟ้ า
3.6.5 วัดค่าเมกเกอร์ของขดลวด ซองถ่าน ก่อนประกอบ เกณฑ์ตามภาคผนวก ก.6
3.6.6 กรณี ดีซมี อเตอร์ให้เสิรจ์ เทสอาร์เมเจอร์ก่อนการประกอบ
3.6.7 ตรวจสอบฮีทเตอร์ตวั วัดอุณหภูมติ ่างๆ
3.6.8 บันทึกผล
49
เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.7

3.7 ประกอบมอเตอร์
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการประกอบมอเตอร์หลังจากทีต/ รวจและทดสอบก่อนการประกอบแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา, ฟุตเหล็ก, เวอร์เนีย, ฟิ ลเลอร์เกจ, เทเปอร์เกจ, พลาสติกเกจ, เมกเกอร์
วิธีการปฏิบตั งิ าน

รูปที/ 3.7 การประกอบโรเตอร์และสเตเตอร์

3.7.1 จัดเตรียมชิ*นส่วนอุปกรณ์ เครื/องมือทีจ/ ะใช้ในการประกอบมอเตอร์ พร้อมทัง* จัดเตรียมพื*นทีส/ าํ หรับ


การประกอบให้พร้อม
3.7.2 ตรวจดูช* นิ ส่วน ขดลวด และผิวสัมผัสทีส/ าํ คัญของชิ*นงานต่างๆว่าได้ผ่านการตรวจสอบมาแล้ว
3.7.3 ป้ องกันผิวทีส/ าํ คัญเช่นผิวคอมมิวเตเตอร์ ผิวสลิปริง ด้วยการห่อกระดาษแข็ง
3.7.4 เสียบโรเตอร์ดว้ ยเครื/องมือและอุปกรณ์ทเ/ี หมาะสมกับขนาดและนํา* หนักของโรเตอร์ ให้ดา้ นขับ
(DE)อยู่ดา้ นขับ (DE) ของสเตเตอร์ขณะเสียบโรเตอร์ใช้ความระมัดระวังอย่าให้เกิดการกระแทกหรือเสียดสีอย่าง
รุนแรงซึง/ อาจทําให้แกนเหล็กหรือขดลวดเสียหาย และจัดแนวปลายแกนเหล็กของโรเตอร์ให้ตรงกับสเตเตอร์
3.7.5 แบริ/งชนิด บอล /โรลเลอร์ ให้ฮที แบริ/ง โดยเครื/องมือเหนี/ยวนําความร้อนที/ทาํ ให้อณ
ุ หภูมวิ งในไม่เกิน
100 ◌C۫ ห้ามใช้ความร้อนจากแก๊สโดยเด็ดขาด
50
3.7.6 ใส่ฝาประกับในแบริ/งให้ตรงกับด้านขับ (DE) หรือด้านตรงข้ามด้านขับ (NDE) โดยสังเกตจากจุด
มาร์ค จากนัน* ให้ทาจารบีบางๆลงบนผิวชาร์ฟ บริเวณแบริ/งใส่แบริ/งทีฮ/ ีทแล้วเข้าเพลาให้ได้ตาํ แหน่งทีถ/ กู ต้องซึง/ โดย
ปกติแล้วแบริ/งจะยันบ่าโดยให้ตวั เลชเบอร์แบริ/งหันออกด้านนอก
3.7.7 เมือ/ แบริ/งเย็นตัวแล้วใส่จารบีให้แบริ/ง (กรณี ทเ/ี ป็ นแบริ/งแบบเปิ ด) ด้วยชนิดและปริมาณทีก/ าํ หนด
3.7.8 กรณี ทม/ี อเตอร์มซี องถ่าน ให้ตดิ ตัง* ชุดซองถ่านเข้ากับฝาของมอเตอร์ (ปกติจะอยู่ตรงข้ามด้านขับ
(NDE) ) สังเกตจุดมาร์กคู่ประกบเพือ/ รักษาตําแหน่งของนิวตรอนให้ตรงตามเดิม ปรับเลือ/ นซองถ่านให้มรี ะยะห่างจาก
ผิวคอมมิวเตเตอร์หรือสลิปริงให้มากทีส/ ุดก่อนเพือ/ สะดวกในการประกอบฝาของมอเตอร์เข้ากับเฟรม
3.7.9 ประกอบชิ*นส่วนที/สมั ผัสกับแบริ/ง เช่นแหนบบล็อค ปลอกกันจารบีหรืออื/นๆทีอ/ ยู่บนเพลาสังเกตระยะ
และตําแหน่งให้ถกู ต้อง
3.7.10 เช็คดูบา่ ของฝาเฮาส์ซง/ิ และบ่าของเฟรมว่าไม่มรี อยเบลอ หรือคราบวานิชติดอยู่จากนัน* ให้ใส่ฝาเฮาส์
ซิง/ ด้านที/ตรงกันกับเฟรมมอเตอร์โดยสังเกตจุดมาร์ค ขณะใส่ฝาเฮาส์ซง/ิ ควรใช้สตัดเกลียวร้อยผ่านรูเพือ/ หาตําแหน่ง
ของฝาประกับในแบริ/งด้วย
3.7.11 ยึดน็อตฝามอเตอร์ แล้วกวดน็อตให้สมํา/ เสมอจนแน่น
3.7.12 ใส่จารบีเข้าฝาประกับนอกของแบริ/งด้วยจารบีชนิดเดียวกันกับทีใ/ ส่ในแบริ/ง ปริมาณที/ใส่ประมาณ
ครึ/งหนึ/งของช่องว่างฝาประกับ ขณะใส่ฝาประกับสังเกตตําแหน่ งจุดมาร์คบนฝาประกับและบนเฮาส์ซง/ิ ให้ตรงกัน
3.7.13 ประกอบฝาด้านทีเ/ หลือด้วยวิธเี ดียวกัน
• กรณีแบริ/งเป็ นแบริ/งชนิดสลีฟแบริ/ง (Sleeve Bearing) โดยปกติแบริ/งทีจ/ ะประกอบหลังจากใส่
ฝามอเตอร์เข้าไปก่อนแล้ว ขณะใส่ฝามอเตอร์ระวังอย่าให้กระแทกผิวชาฟ
3.7.14 ประกอบแบริ/งเข้าเฮาส์ซง/ิ ด้านที/ตรงกัน โดยยกเพลาลอยขึ*นเล็กน้อยแล้วค่อยๆใส่แบริ/งซีกล่างให้
ค่อยๆเลือ/ นลงตามผิวโค้งประกอบแบริ/งซีกบนตัวล็อคและฝาปิ ดบนเพือ/ ตรวจสอบแนวรอยนัง/ ของเพลาบนผิวแบบบิท
• ปกติแบริ/งทีไ/ ม่ได้ทาํ แรบบิท (Rabbet) มาใหม่ และมีรอยแนวนัง/ เดิมทีน/ ่าพอใจอยู่แล้ว ก็ไม่
จําเป็ นต้องทําการปรับหรือขูดแรบบิทอีก
• หากรอยแนวนัง/ แรบบิทไม่น่าพอใจ ให้ทาํ การขูดจุดสูงเพือ/ ปรับจุดสัมผัสแนวรอยนัง/ แนวรอย
นัง/ ควรเป็ นแถบตรงจุดตํา/ สุดของแรบบิท กว้างประมาณ 1-2 นิ*ว เนื*อทีข/ ดู จุดสัมผัสไม่ควรตํา/ กว่า 75 % ของแถบ
(แถบรอยนัง/ บนแรบบิทที/กว้างเกินไปอาจทําให้แบริ/ง ร้อนขณะทํางานได้)
3.7.15 วัดแบริ/ง เคลียร์แรนซ์ดว้ ยพลาสติกเกจ และ ฟิ ลเลอร์เกจ
• วัด Air Gap ระหว่างสเตเตอร์และโรเตอร์
• กรณีแบริ/งมีฉนวนให้ทดสอบค่าความต้านทานฉนวนของแบริ/งค่าทีไ/ ด้ตอ้ งสูงกว่า 3000 โอห์ม
• บันทึกผลลงในแบบฟอร์ม
3.7.16 ตรวจสอบและติดตัง* แหวนวักนํา* มัน (Oil Ring) แหวนต้องหมุนได้อสิ ระ ขอบด้านในต้องเรียบไม่มี
รอยสะดุด หากพบให้ใช้ตะไบละเอียดลบออก เวลาประกอบแหวน (ชนิดผ่าซีก) หัวสกรูตอ้ งไม่ยน/ื ออกมาด้านนอก
และรอยต่อระหว่างซีกบนซีกล่างต้องเรียบเสมอกันและไม่สะดุด
3.7.17 ประกอบชิลด์กนั นํา* มันและวัดระยะเคลียแรนซ์ให้เหมาะสม
3.7.18 ให้แน่ใจว่ารอยต่อของฝาครอบแบริ/งได้ทาปะเก็นเหลวชนิดทนนํา* มันทิ*งไว้ แล้วประกอบส่วนทีเ/ หลือ
51
3.7.19 หมุนเพลาเพือ/ ให้แน่ใจว่าไม่มกี ารเสียดสีหรือมีความฝื ดทีผ/ ดิ ปกติ
3.7.20 เข้าสายลีดส์ภายในช่องซองถ่านตามตําแหน่งมาร์คเดิม
3.7.21 ตรวจสอบความเรียบร้อยโดยทัว/ ไปรวมทัง* ความแน่นของน็อตยึดต่างๆ
3.7.22 กรณีมอเตอร์มคี ลัปปลิงหรือ มูเล่ยม์ าด้วยให้ใส่กลับคืนหลังจากการทําเทสรันที/ No load แล้ว
3.7.23 เมือ/ การประกอบผ่านแล้วให้ตดิ ต่อหัวหน้าช่าง เพื/อนําแท่นทดลองมาทดลองต่อไป

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

3.8 การทดสอบขัน% สุดท้าย


วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการทดสอบมอเตอร์ขนั* สุดท้ายและทําการเทสรันที/ No load หลังจากทีซ/ ่อมบริการแล้ว และเกณฑ์
พิจารณาการทดสอบ เพือ/ ให้แน่ ใจว่ามอเตอร์อยู่ในสภาพทีจ/ ะนําไปใช้งานได้ต่อไป
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
โวลต์มเิ ตอร์, แอมมิเตอร์, มัลติมเิ ตอร์, เมกเกอร์ ,มิลลิโอห์มมิเตอร์ ,เครื/องเสิรจ์ ,เทอร์โมมิเตอร์

รูปที/ 3.8 การทดสอบที/ No load


วิธีการปฏิบตั งิ าน
3.8.1 ตรวจสอบทางกายภาพว่ามอเตอร์สามารถหมุนได้คล่องไม่ตดิ ขัด สภาพทัว/ ไปเรียบร้อย ทัง* ภายใน
ช่องคอมมิวเตเตอร์หรือสลิปริง
3.8.2 ตรวจสอบดูว่ามีการหล่อลืน/ แบริ/งด้วยจารบีหรือนํา* มันเพียงพอหรือไม่
3.8.3 ทําการทดสอบขดลวดดังรูปที/ 3.8 ดังนี*
52
• ทดสอบความต้านทานขดลวด( Winding Resistance )
• ค่าความต้านทานฉนวน ( Insulation Resistance )
• ทดสอบการเสิรจ์ ( Surge Test )
3.8.4 ทดสอบอุปกรณ์อ/นื ๆที/ตดิ มากับมอเตอร์
• ตัววัดอุณหภูมขิ ดลวด ให้ทาํ การทดสอบค่าความต้านทานและค่าความเป็ นฉนวน
• ฮีทเตอร์ ให้ทาํ การทดสอบค่าความต้านทานและค่าความเป็ นฉนวน
• ตัววัดอุณหภูมแิ บริ/งให้ทดสอบค่าความต้านทาน
• ไดโอด (กรณีเป็ น Generator) ให้ทดสอบการนําไฟฟ้ าและขัว* ของไดโอด
3.8.5 เมือ/ การทดสอบขัน* ต้นผ่านเป็ นทีน/ ่าพอใจ จึงเริ/มทําการเทสรัน โดยต่อสายไฟจากแหล่งจ่ายให้ถกู ต้อง
ตามชนิดของมอเตอร์ ติดแผ่นสะท้อนเพือ/ วัดความเร็วรอบทีเ/ พลาของมอเอตร์
3.8.6 เริ/มจ่ายไฟเพือ/ ให้มอเตอร์เริ/มหมุนที/ความเร็วรอบตํา/ ๆก่อน
• สังเกตเสียง เมือ/ มอเตอร์เริ/มหมุนต้องไม่มเี สียงดังผิดปกติ
• ตรวจสอบกระแสให้อยู่ในเกณฑ์ปกติและสมดุล
• หากมีเสียงผิดปกติหรือกระแสสูงหรือตํา/ ผิดปกติให้หยุดเดินเครื/องทันที
3.8.7 ถ้าหากผลการหมุนทีค/ วามเร็วรอบตํา/ เป็ นทีน/ ่าพอใจ
• กรณี แบริ/ง NU :ให้รนั ที/รอบตํา/ ทิ*งไว้ประมาณ 10 นาที
• กรณี สลีฟแบริ/ง : ให้สงั เกตแหวนวักนํา* มันว่าหมุนได้อสิ ระและวักนํา* มันมาหล่อลืน/ แบริ/งได้ปกติ
3.8.8 เพิม/ แรงดันทีจ/ ่ายจนแรงดันพิกดั (ถ้าทําได้) ตรวจสอบการทํางานของขดลวดว่าปกติหรือไม่
3.8.9 หากพบว่าผิดปกติให้หยุดเดินเครื/องทันที
3.8.10 กรณีมอเตอร์ตวั ใหญ่ ให้ตรวจสอบกระแสและพิกดั ของแหล่งจ่ายไฟไม่ควรเกิน 80% ของพิกดั
แหล่งจ่ายไฟ
3.8.11 เพิม/ แรงดันจนจนความเร็วรอบคงทีว/ ดั ค่าแรงดัน กระแส ความเร็วรอบความสัน/ สะเทือน เสียงแบริ/ง
(กรณี บอลและโรลเลอร์แบริ/ง) อุณหภูมขิ องแบริ/งและเฟรม
3.8.12 ประเมิณผลจากค่าทีว/ ดั ได้
3.8.13 AC 3 เฟส ปกติไม่มเี กณฑ์ทแ/ี น่นอนขึ*นอยู่กบั ขนาด จํานวนโพล (Pole) และชนิดการใช้งานของ
มอเตอร์
3.8.14 เปอร์เซนต์ของกระแส Unbalance ของ AC 3 เฟส ทีโ/ นโหลดไม่เกิน 10% ของค่าเฉลีย/
3.8.15 ระดับความสัน/ สะเทือน ใช้เกณฑ์ในภาคผนวก ก
3.8.16 เสียงของแบริ/งสําหรับกรณี แบริ/งบอลและโรลเลอร์ และแบริ/งใหม่มคี ่าความเร็วพิกดั
-DBc < 10(DBN)
-DBM < 10(DBN)
3.8.17 อุณหภูมขิ องแบริ/งสําหรับมอเตอร์ทวั / ๆไปไม่ควรเกิน 10°C
3.8.18 ระยะเวลาการเทสรันในเกณฑ์เบื*องต้นดังนี*
3.8.19 สลีฟแบริ/ง ระยะเวลาในการทดลอง > 1 ชัง/ โมง
53
3.8.20 บอลหรือโรเลอร์แบริ/ง ระยะเวลาในการทดลอง > 15-30 นาที (ตามขนาดของมอเตอร์)
3.9.21 มอเตอร์ ระยะเวลาในการทดลอง 5-10 นาที
3.8.22 บันทึกผล

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
แบบฟอร์มการตรวจคุณภาพมอเตอร์ ในภาคผนวก ก
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
เอกสารในภาคผนวก ข.6

3.9 การทําสี
วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการทําสีบนตัวมอเตอร์หลังจากที/ได้ทาํ การซ่อมเสร็จแล้ว
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สี
วิธีการปฏิบตั งิ าน
3.9.1 ตรวจสอบว่าสีท/จี ะใช้เป็ นสีเดิมหรือสีทต/ี อ้ งการหรือไม่
3.9.2 จัดเตรียมสี เครื/องมือและอุปกรณ์ทจ/ี าํ เป็ นต้องใช้ในการทําสี
3.9.3 เตรียมผิวชิ*นงานเพือ/ ขจัดผิวมอเตอร์ทไ/ี ม่เรียบ และคราบจารบีหรือนํา* มันออก
3.9.4 ป้ องกันชิ*นส่วนทีไ/ ม่ตอ้ งการให้สี พ่นทับ
• ผิวเพลา
• กระจกใส, พลาสติกใสตาแมว (Sight glass), ทีด/ ูระดับนํา* มัน
• หัวอัดจารบี
• ชื/อหรือเบอร์เครื/องจักรที/ติดอยู่บนมอเตอร์
• คัปปลิ*ง ,มูเลย์ (ยกเว้นบริเวณทีม/ สี เี ดิมอยู่แล้ว) , ลูกยาง
• จุดสําหรับต่อสายกราวด์ (ถ้ามี)
• น็อตสําหรับปรับระดับอะไลเมนท์
• จุดอื/นๆทีเ/ ห็นสมควร
3.9.5 ผสมสีกบั ทินเนอร์ในอัตราส่วนทีเ/ หมาะสมและวางหรือแขวนชิ*นงานเพือ/ ความสะดวกในการพ่นสี
3.9.6 ทําการพ่นสีลงบนชิ*นงาน โดยให้ละอองสีกระจายสมํา/ เสมอ จนกระทัง/ สีจบั ทัว/ ถึง(ขณะพ่นสีให้เปิ ด
เครื/องดูดละอองสีดว้ ย)
3.9.7 ตรวจสอบความเรียบร้อยและทัว/ ถึงของสีทพ/ี ่นอีกครัง*
3.9.8 ลอกกระดาษทีต/ ิดในข้อ 3.9.4 ออกจากชิ*นงาน
54
3.9.9 เก็บความเรียบร้อยของงานและนําป้ ายและนําป้ ายระบุเลขทีง/ านติดทีต/ วั มอเตอร์
3.9.10 นํามอเตอร์ไปตัง* บริเวณทีจ/ ดั ไว้เพือ/ รอให้สแี ห้ง และรอตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนส่งงานต่อไป

รูปที/ 3.9 การทําสีและบรรจุ

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

3.10 ตรวจสอบความเรียบร้อยขัน% สุดท้ายและส่งมอบ


วัตถุประสงค์
เพือ/ กําหนดแนวทางการตรวจสอบความเรียบร้อยขัน* สุดท้ายก่อนส่งคืนมอเตอร์
เครืองมือวัด/ทดสอบทีจําเป็ น
สายตา
วิธีการปฏิบตั งิ าน
3.10.1 นําใบสัง/ งานมาตรวจสอบรายละเอียดอีกครัง*
3.10.2 ตรวจสอบความเรียบร้อยภายนอก เช่น น็อตทุกตัวแน่ นหรือไม่ สายลีดส์ (สภาพฉนวน) อยู่ใน
สภาพดีหรือไม่ ทีเ/ ฟรมมีรอยมาร์คหรือไม่ ถ้ามีให้ทาํ การลบออก ถ้ามีปญั หาควรแจ้งหัวหน้าช่างเพือ/ ดําเนินการแก้ไข
ต่อไป
3.10.3 ห่อมอเตอร์พร้อมอะไหล่ท/ตี อ้ งส่งคืน (ถ้ามี) พร้อมรายละเอียดการซ่อมทําและการทดสอบมอเตอร์
ทัง* หมดตามเอกสารท้ายบท ดังรูปที/ 3.9
3.10.4 ส่งมอบมอเตอร์เพือ/ ดําเนินการต่อไป ดังรูปที/ 3.10
55

รูปที/ 3.10 การส่งมอบ

เอกสารทีใช้บนั ทึกข้อมูล
-
ความถีในการตรวจสอบ
มอเตอร์ทกุ ตัวที/ซ่อมหรือบริการ
ข้อกําหนดทางด้านการตรวจสอบ
-

สรุป

ในบทนี*ได้กล่าวถึงขัน* ตอนการโอเวอร์ฮอล โดยมอเตอร์ตอ้ งผ่านการเทสรันเรียบร้อยแล้ว (ผ่านเกณฑ์) และ


ขดลวดยังอยู่ในสภาพที/ใช้งานได้ดหี รืออาจจะเคลือบวานิชเสริมอีกครัง* ก็ได้ การโอเวอร์ฮอลเป็ นเพียงการถอดมอเตอร์
เพือ/ ล้างทําความสะอาดและผ่านขัน* ตอนต่างๆดังที/กล่าวมาแล้วเท่านัน* มอเตอร์ไม่ได้เสียหายอะไร และพบว่าบาง
ขัน* ตอน เหมือนกับขัน* ตอนในการพันขดลวด
56

รายการอ้างอิง

1. บริษทั ยูเซอร์วสิ เซส (ระยอง) จํากัด, ``เอกสารการซ่อมทํามอเตอร์", ๒๕๔๘.


2. EASA Guide , ``The Effect of Repair/Rewinding on motor Efficiency", England UK, ๒๕๔๘.
3. IEEE Standard 43-2000: IEEE Recommend Practice for Testing Insulation Resistance of Rotating
Machinery. Institute of Electrical and Electronics Engineers, Inc. New York, NY, 2000.
4. IEEE Standard 522-1992: IEEE Guide for Testing Turn-To-Turn Insulation on Form-Wound Stator
Coil for Alternating-Current Rotating Electric Machines. Institute of Electrical and Electronics
Engineers, Inc. New York, NY, 1992.
5. Standard Publication 60034-8: Rotating Electrical Machines, Part 8: Terminal Markings and
Direction of Rotation of Rotating Machines .International Electrotechnical Commission. Geneva,
Switzerland, 1972; second impression, 1990.
6. Standard Publication 60136: Dimensions of Brushes and Brush-holders for Electric Machinery.
International Electrotechnical Commission. Geneva, Switzerland, second edition, 1986.
7. IEEE Standard 4-1995: Standard Techniques for High-Voltage Testing. Institute of Electrical
and Electronics Engineers, Inc. New York, NY, 1995.
8. IEEE Standard 95-1977: IEEE Recommended Practice for Insulation Testing of Large AC Rotating
Machinery with High Direct Voltage. Institute of Electrical and Electronics Engineers, Inc. New
York, NY, 1977; reaffirmed 1991.
9. IEEE Standard 1068-1996:IEEE Recommended Practice for the Repair and Rewinding of Motors for
the Petroleum and Chemical Industry. Institute of Electrical and Electronics Engineers, Inc. New
York, NY, 1977; reaffirmed 1997.
10. ISO 1940-1: Mechanical Vibration – Balance Quality Requirements of Rigid Rotors. International
Organization for Standardization. Geneva, Switzerland, 1986.
11. ISO 1940-2: Determination of Permissible Residual Unbalance. International Organization for
Standardization. Geneva, Switzerland, 1997.
12. NEMA Standards MG 1-1998: Motors and Generators. National Electrical Manufacturers
Association. Rosslyn, VA; 1998.
13. Electrical Apparatus: Let’s Solve Your Problem II. Barks Publications, Chicago, Inc. 1999.
57

ภาคผนวก
58
ภาคผนวก ก
แบบฟอร์มบันทึกผลการตรวจคุณภาพการซ่อมทํามอเตอร์

บันทึกผลการตรวจคุณภาพ
การซ่อมทํามอเตอร์

Tag. No.:xxxxx
ชืdอมอเตอร์ :
หมายเลขใบสัdงงาน:
หัวเรืd องใบสัdงงาน:
วันทีdรับ:
วันทีdแล้วเสร็ จ:
พิกดั มอเตอร์
Type: Ser No:
Power: kW. Volt: V. Phase: φ
Amp: A. Freq: Hz.
Insulation Class: Cos θ : RPM:

กองควบคุมคุณภาพ
อู่ราชนาวีมหิ ดลอดุลยเดช กรมอู่ทหารเรื อ
Last update: Nov-06
59

หัวเรื/องใบสั/ งงาน: หมายเลขใบสั/ งงาน:


กองควบคุมคุณภาพ
วันที/ : ช่ างผู้รับผิดชอบ:
อู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช อร.
ตรวจสภาพทางกายภาพ
1. เพลา ยาว …………… ลึก …………… เสมอ มีลิdม ไม่มีลdิม
2. การหมุนของเพลา ได้ ไม่ได้
3. การหล่อลืdนของแบริd ง ผ่าน ไม่ผา่ น
4. ตรวจสอบสภาพคอมมิวเตเตอร์ สภาพดี เสืd อมสภาพ
5. ตรวจสอบสภาพแปรงถ่าน สภาพดี เสืd อมสภาพ
6. ตรวจสอบสภาพสลิปริ ง สภาพดี เสืd อมสภาพ
7. ตรวจสอบสภาพสายลีดส์ สภาพดี เสืd อมสภาพ
8. ตรวจสอบสภาพขดลวด สภาพดี เสืd อมสภาพ(ไหม้)
9. ตรวจสอบการเทสรัน ได้ ไม่ได้
การเทสรัน
Insulation Test at: ………V.DC In Time …… Min
U-V: ………….MΩ U-W :…………MΩ V-W:.. .….........MΩ
Resistance Test at:………………..°C
U-V: ………….MΩ U-W :…………MΩ V-W:.. .….........MΩ
Surge Test at: ……………. KV Good Fail DA:……………. PI:……………
Running Test
L1:……………A. At ………….V.AC
L2:……………A. At ………….V.AC
L3:……………A. At ………….V.AC
Connection ………… Speed …………RPM
Vibration Test:
Drive End Nondrive End
VER: ………….mm/s VER: ………….mm/s
HOR: ………….mm/s HOR: ………….mm/s
AX:………… ..mm/s AX:………… ..mm/s
Bearing Test
Drive End Nondrive End
dBM: ………… dBM :…………
dBC: …………. dBC :………….
dBI: …………. dBI :………….
Bore Diameter of Bearing end Shield DE………………..mm. NDE……………………mm.
Shaft Diameter at Bearing Journal DE………………..mm. NDE……………………..mm.
Rotor Unbalance Check DE………………..g. NDE…………………….g.
ผลการเทสรัน ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ได้เทสรัน
หมายเหตุ:
60

DELIVERED RECORD

ภาพมอเตอร์ ซ่อมทําเสร็จแล้ ว
Insulation Test at:………..V.DC In Time:……….Min
U-V: ………….MΩ U-W :…………MΩ V-W:.. .….........MΩ
Resistance Test at: ……..°C
U-V: ………….MΩ U-W :…………MΩ V-W:.. .….........MΩ
Surge Test AT: 1000 V Good Fail DA:……….PI:…………
Running Test
L1:……………A. At ………….V.AC
L2:……………A. At ………….V.AC
L3:……………A. At ………….V.AC
Connection ………… Speed …………RPM
Vibration Test:
Drive End Nondrive End
VER ………….mm/s VER ………….mm/s
HOR ………….mm/s HOR ………….mm/s
AX………… ..mm/s AX………… ..mm/s
Bearing Test
Drive End Nondrive End
dBM ………… dBM …………
dBC …………. dBC ………….
dBI …………. dBI ………….
Bore Diameter of Bearing end Shield DE………………..mm. NDE…………………mm.
Shaft Diameter at Bearing Journal DE………………..mm. NDE………………….mm.
Rotor Unbalance Check DE………………..g. NDE…………………g.
หมายเหตุ:

QC BY ……………………. APPROVED BY ……………………………..


61
ก.1 แบบฟอร์มการพันขดลวด
ชื/อเรือ: ชื/อมอเตอร์:
วันที:/ หมายเลขใบสัง/ งาน:
Type: 3 phase 1 phase
Brand: Type: Ser No:
Power : Volt:
Amp: Freq :
RPM: Cosθ:
Description Original Rewound To
จํานวนสล๊อต
จํานวนขดลวดทัง* หมด
จํานวนขดลวดต่อกรุป๊
ระยะสแปน
จํานวนรอบในหนึ/งขดลวด
จํานวนขดลวดตัวนําทีใ/ ช้
ขดลวดตัวนํา
วงจรการต่อ
จํานวนสายไฟทีอ/ อกมาใช้งาน
ความยาวคอล์ย DE
ความยาวคอล์ย NDE
ด้านออกหัวสาย
สายหรีด เบอร์/ความยาว
นํา* หนักลวด
ตัวเช็คอุณหภูมิ
ความยาวของแกนเหล็กสเตเตอร์
เส้นผ่านศูนย์กลาง สเตเตอร์
สาเหตุของการไหม้

ผูร้ * อื ลวด: ผูท้ พ/ี นั ขดลวด: :


62
ก.2 แบบฟอร์มการหาสมดุลโรเตอร์

ชื/อเรือ: ……………………….. หัวเรื/องใบสัง/ งาน:……………………………


วันที/ ………./………/………. หมายเลขใบสัง/ งาน:………………………….
Type:……………………………… Ser No:……………………
Power :…………………………… Volt……………….
Amp:…………………………….. Freq……………………..
Insulation Class:…………………. Cosθ:………………….. RPM:……………..
Rotor:  AC  DC  GEN  BLOVO  BLOVO-PUMP
DRAWING

DxBxL = ………………… mm.


A = ……………. B = ………………… C = ………………….
R1 = ……………… R2 = ………………..

CHECK RESD.WEIGHT ON DE. RESD.WEIGHT ON NDE.


WEIGHT (g) ANGLE(C°) WEIGHT (g) ANGLE(C°) SPE
INCOMMING CHECK
ED
FINAL SET UP

………RPM

Tested By ………………….. QC By ………………………………..


ก.3 แบบฟอร์มการทดสอบแกนเหล็ก
KW: CORE LOSS TEST FROM
RPM MFR. FRAME TYPE PHASE Hz.
HP:
VOLTS AMPS MODEL SERIAL NO.
CORE DIMENSION Length less air ducts Inside diameter Slot depth Back – Iron depth POWER SUPPLY FOR TESTING
Inch mm L= D1 = S= B= Vs = Volt f = Hz.
Use this section when core dimensions are in MILLIMETERS
Mean Dia. D D1 + (2 x S) + B = + (2 x )+ = mm Mean Dia. D
Loop Turns 180000 x Vs = 180000 x = Loop Turns
fxLxB x x
Estimated Amperes 1.1 x D = 1.1 x = Estimated Amperes
Loop Turns
Core Weight * DxLx B= x x x = lb Core Weight
43821 43821
*Note: Weight calculation is based on back – iron only, and does not include teeth.
LEAD Size AWG 18 16 14 12 10 8 6 4 3 2 1 1/0 2/0 3/0 4/0 LEAD
WIRE Amperes* 18 22 25 30 40 50 70 90 105 120 140 155 185 210 235 SIZE
SELECTI
ON Metric 1.0 1.5 2.5 4.0 6.0 10 16 25 25 35 50 50 70 95 120
2
Size(mm )
*Note: If estimated amperes fall between table’s values, use next higher value for selection of lead wire or cable.
o o
CORE TEMPERATURES F C Use only meters that read true RMS value. CORE W2
TEST = =
METER READING ASSESSMENT W1
DATA
Ambient At start At end Rise Time Elapsed (minutes) Volts Amps Watts Disposition of core: Use Repair Scrap
Before stripping W1 Watts/lb** Watts/kg**
After stripping W2 Watts/lb** Watts/kg**
ภาคผนวก ข
เกณฑ์การทดสอบค่าทางไฟฟ้ า
ภาคผนวก ข.1 การตรวจสอบและทดสอบหลังถอด
ตารางที ข.1: แรงดันทดสอบหลังถอด
แรงดันพิกดั ของ การทดสอบค่าฉนวน การทดสอบเสิรจ์
เครื/องจักร แรงดันทดสอบ ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้ แรงดันทดสอบ
AC สเตเตอร์
220 V 500 V 2 MΩ 700 V
380 V 500 V 2 MΩ 800 V
500 V 500 V 2 MΩ 1000 V
660 V 500 V 2 MΩ 1100 V
3300 V 2500V 5 MΩ 3800 V
6600 V 5000 V 10 MΩ 7000 V
AC โรเตอร์
≤ 1000 V 500 V 2 MΩ แรงดันพิกดั +500 V
> 1000 V 1000 V 5 MΩ แรงดันพิกดั +500 V

DC Machine
≤ 1000 V 500 V 2 MΩ แรงดันพิกดั +500 V

หมายเหตุ: สําหรับ AC Machine ผลการทดสอบเสิรจ์ กราฟต้องสมดุลทัง* 3 เฟส


2.ค่าความต้านทานของขดลวด สําหรับมอเตอร์ AC 3 เฟส จะต้องสมดุล และค่าความคลาดเคลือ/ นไม่เกิน 5% จาก
ค่าเฉลีย/
3.ผลการดร๊อปขดลวด (Winding Drop Test) ทัง* DC สเตเตอร์ และซิงโครนัสโรเตอร์
• DC Voltage drop: แรงดันที/แตกต่างกันของขดลวดแต่ละโพล ควรจะไม่เกิน 5% ถือว่ายอมรับได้
• AC Voltage drop:แรงดันทีแ/ ตกต่างกันของขดลวดแต่ละโพล ควรจะไม่เกิน 10% ถือว่ายอมรับได้
4. ผลการทดสอบ Core loss test อุณหภูมเิ ฉลีย/ ทีย/ อมรับได้ควรจะไม่เกิน 40-50 ºC ถ้ามีจดุ ร้อน (Hot spot) เกิน
10 ºC ควรดําเนินการแก้ไขโดยการสลับแกนหรือเปลีย/ นแกน
5. การทดสอบพีไอ (PI: Polarization Index) ควรจะ ≥ 2
หมายเหตุ: เกณฑ์การประเมินผลดังกล่าวเป็ นเพียงแนวทางเบื*องต้นเท่านัน* จําเป็ นต้องใช้หลายอย่างพิจารณา
ประกอบด้วย กรณีท/ไี ม่พบความเสียหายของขดลวดชัดเจน แต่ผลการวัดมีค่าทีแ/ ย่กว่าเกณฑ์ขา้ งต้น ก็อาจไม่ได้
หมายความว่าขดลวดนัน* ใช้ไม่ได้ การแนะนําการซ่อมแซมให้พจิ ารณาผลหลายๆค่า กรณี ทส/ี ภาพฉนวนยังปกติ แค่
สกปรกหรือชื*น อาจแนะนําให้ทาํ การโอเวอร์ฮอล
65
ภาคผนวก ข.2 เกณฑ์การเทสรัน
ตารางที ข.2: แรงดันทดสอบก่อนทีจ/ ะดําเนินการเทสรัน
แรงดันพิกดั ของ การทดสอบค่าฉนวน การทดสอบเสิรจ์
เครื/องจักร แรงดันทดสอบ ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้ แรงดันทดสอบ
AC สเตเตอร์
220 V 500 V 20 MΩ 700 V
380 V 500 V 20 MΩ 800 V
500 V 500 V 20 MΩ 1000 V
660 V 500 V 20 MΩ 1100 V
3300 V 2500V 100 MΩ 3800 V
6600 V 5000 V 100 MΩ 7000 V
AC โรเตอร์
≤ 1000 V 500 V 20 MΩ แรงดันพิกดั +500 V
> 1000 V 1000 V 20 MΩ แรงดันพิกดั +500 V

DC Machine
≤ 1000 V 500 V 2 MΩ แรงดันพิกดั +500 V

หมายเหตุ: สําหรับ AC Machine ผลการทดสอบเสิรจ์ กราฟต้องสมดุลทัง* 3 เฟส


1. ค่าความต้านทานของขดลวด สําหรับมอเตอร์ AC 3 เฟส จะต้องสมดุล และค่าความคลาดเคลือ/ นไม่เกิน
5% จากค่าเฉลีย/
2. กระแส No Load
• AC 3 เฟส กระแสควรอยู่ระหว่าง 20 - 40% สําหรับมอเตอร์ 2-4 โพล กระแสทัง* 3 เฟสควรสมดุลกัน
และค่าความคลาดเคลือ/ นไม่เกิน 10% จากค่าเฉลีย/
กรณี DC มอเตอร์
1. เมือ/ ทํากาจ่ายแรงดันที/ขดลวดฟิ ลด์ (Shunt field) ทีแ/ รงดันพิกดั และจ่ายกระแสให้อาร์เมเจอร์เมือ/ ความเร็ว
เท่าที/ความเร็วพิกดั กระแสของอาร์เมเจอร์ควรมีค่าประมาณ 2 - 5% ของกระแสพิกดั
2. เมือ/ ทํากาจ่ายแรงดันของอาร์เมเจอร์เท่ากับแรงดันพิกดั และทําการจ่ายแรงดันทีข/ ดลวดฟิ ลด์ จนได้ความเร็ว
เท่าความเร็วพิกดั แรงดันของขดลวดฟิ ลด์จะมีค่าประมาณ 60 - 70% ของแรงดันพิกดั
66
ภาคผนวก ข.3 เกณฑ์การทดสอบความสัน/ สะเทือน
ตารางที/ ข.3.1:เกณฑ์การวัดเสียงแบริ/งจากเครื/อง SPM (Shock Pulse Meter)
ค่าทีว/ ดั ได้จากเครื/อง SPM ผลการตรวจสอบ
0- 20 ดีมาก
21- 35 ควรทีจ/ ะแก้ไข
>35 ต้องแก้ไข
ตารางที/ ข.3.2:เกณฑ์การวัดความสัน/ สะเทือน
ระดับความสัน/ การแบ่งระดับของเครื/องจักรหมุนตามพิกดั
ย่านการทดสอบ ค่าความสัน/ (mm/s) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4

0.28
0.45 0.28 A
0.71 0.45 A
0.71 A
1.12 B
1.12 A
1.8 B
1.8
2.8 C B
2.8
4.5 C B
4.5
7.1 C
7.1
11.2 11.2 C
18 18
D
28 28
45 45 D D D
71

ระดับ1: มอเตอร์ขนาดมากกว่า 20 HP ติดตัง* บนฐานเหล็กที/สร้างขึ*นมีการสัน/ ไหวเล็กน้อย


ระดับ 2: มอเตอร์ขนาด 20- 100 HP ติดตัง* บนฐานเหล็กทีส/ ร้างขึ*นมีการสัน/ ไหวเล็กน้อย
มอเตอร์ขนาด 100- 400 HP ติดตัง* บนฐานหล่อแน่นมีการสัน/ ไหวน้อยมาก
ระดับ 3: มอเตอร์ขนาดมากกว่า 400 HP ติดตัง* บนฐานหล่อแน่นมีการสัน/ ไหวน้อยมาก
ระดับ 4: มอเตอร์ขนาดมากกว่า 100 HP ติดตัง* บนฐานเหล็กที/สร้างขึ*นมีการสัน/ ไหวเล็กน้อย
คุณภาพมาตรฐาน ISO 3945
A = ดีมาก B = พอใช้
C = ควรจะแก้ไข D = ต้องแก้ไข
67
ภาคผนวก ข.4 กรณีพนั ขดลวดใหม่
ตารางที/ ข.4: เกณฑ์การทดสอบกรณีพนั ขดลวดใหม่
แรงดันพิกดั แรงดันทดสอบ Minimum Surge voltage DC Hi pot DC Hi pot
(Megger Voltage ) Megger value (ก่อน Dip) (หลัง Dip)
(10 sec) (60sec)

สเตเตอร์
380 V 1000 V 100 MΩ 1800 V - -
500 V 1000 V 100 MΩ 2000 V - -
660 V 1000 V 100 MΩ 2400 V - -
3300 V 2500 V 100 MΩ 7600 V 7600 V 13000 V
6600 V 5000 V 100 MΩ 10000 V 14000 V 24000 V
โรเตอร์
ทุกแรงดัน 1000 V 100 MΩ 2U+1000 V - -
พิกดั

DC Machine
≤ 300 V 500 V 50 MΩ 2U+1000V - -
> 300 V 1000 V 50 MΩ 2U+1000 V - -

หมายเหตุ:
การทํา Hi – Pot ให้ทาํ หลังอบแล้ว อุณหภูมลิ วดไม่เกิน 40°C และค่าเมกเกอร์ มากกว่า 100 MΩ เท่านัน*
68
ภาคผนวก ข.5 เกณฑ์การทดสอบค่าฉนวนกรณี โอเวอร์ฮอล หลังจากทําความสะอาด เคลือบวานิช และ อบแห้ง
ตารางที/ ข.5: เกณฑ์การทดสอบค่าฉนวนกรณีโอเวอร์ฮอล
แรงดันพิกดั แรงดันทดสอบ ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้
AC สเตเตอร์
220 V 500 V 50 MΩ
380 V 500 V 100 MΩ
500 V 500 V 100 MΩ
660 V 500 V 100 MΩ
3300 V 2500 V 100 MΩ
6600 V 5000 V 100 MΩ

AC โรเตอร์
แรงดันทุกพิกดั 1000 V 1 MΩ/(kV+1 MΩ)

DC อาร์เมเจอร์
< 300 V 500 V 50 MΩ
≥ 300V 1000 V 50 MΩ

DC ฟิ วส์
< 300 V 500 V 50 MΩ
≥ 300 V 1000 V 50 MΩ

ซองถ่าน
< 300 V 500 V 10 MΩ
≥ 300 V 1000 V 10 MΩ
69
ภาคผนวก ข.6 กรณี โอเวอร์ฮอล

การโอเวอร์ฮอล (Overhaul)
•ค่าเมกเกอร์ (Megger) ตอนมา
•สภาพของขดลวดและฉนวน ตอนมา

ตารางที/ ข.6:เกณฑ์การพิจารณาและวิธกี ารโอเวอร์ฮอล


สภาพตอนมา วิธกี ารโอเวอร์ฮอล

< 100 MΩ หรือขดลวดฉนวนเก่า สตีม อบ ดิบF


100 MΩ แต่ < 1000 MΩ สตีม อบ -
> 1000 MΩ แต่สกปรก
> 1000 MΩ แต่ค่อนข้างสะอาด LEC อบ -
> 1000 MΩ สะอาด - อบ -
กรณีพเิ ศษ ระบุโดยหัวหน้างาน

ค่าเมกเกอร์หลังการโอเวอร์ฮอล
•ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้ 100 MΩ
•ค่าทีด/ นี ่าพอใจ >1000 MΩ
70
ภาคผนวก ข.7 เกณฑ์การทดสอบทางไฟฟ้ าก่อนการประกอบ
1. แรงดันทดสอบและค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้ก่อนทีจ/ ะดําเนินการประกอบ
ตรารางที/ ข.7: แรงดันทดสอบก่อนทีจ/ ะดําเนินการประกอบ
การทดสอบค่าฉนวน
แรงดันพิกดั ของ โอเวอร์ฮอล พันขดลวดใหม่ ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้
เครื/องจักร แรงดัน ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้ แรงดัน ค่าตํา/ สุดที/ โอเวอร์ฮอล พันขดลวดใหม่
ทดสอบ ทดสอบ ยอมรับได้
AC สเตเตอร์
220 V 500 V 50 MΩ 500 V 100 MΩ 840 V 1400 MΩ
380 V 1000 V 100 MΩ 1000 V 100 MΩ 1000 V 1800 MΩ
500 V 1000 V 100 MΩ 1000 V 100 MΩ 1200V 2000 MΩ
660 V 1000 V 100 MΩ 1000V 100 MΩ 1400 V 2400 MΩ
3300 V 2500 V 100 MΩ 2500 V 100 MΩ 4500 V 7600 MΩ
6600V 5000 V 100 MΩ 5000 V 100 MΩ 8400 V 1000 MΩ

โรเตอร์ทกุ แรงดัน
พิกดั 1000 V 1 MΩ/(kV+1 MΩ) 1000 V 100 MΩ 0.6(2U+1000) V 2U+1000 V

DC แมชชีน
ทุกแรงดันพิกดั 1000 V 50MΩ 1000 V 50 MΩ 0.6(2U+1000) V 2U+1000 V

หมายเหตุ:
•ผลการเสิรจ์ ทีย/ อมรับได้กราฟจะต้องสมดุลกัน
•กรณีเครื/องจักรใหญ่และแรงดันพิกดั สูงๆ เครื/องทดสอบไม่สามารถจ่ายแรงดันหรือกระแสได้เท่าที/ตอ้ งการ ให้
ใช้แรงดันเท่าทีเ/ รื/องจ่ายได้โดยไม่เกินพิกดั ของเครื/อง (Over Load)
2.การเช็คค่าฉนวนของฮีทเตอร์ ใช้แรงดันทดสอบ 500Vdc ค่าจากเมกเกอร์ไม่ควรตํา/ กว่า 2 MΩ
3.ค่าการทดสอบค่าพีไอ ( PI = Polarization Index) ค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้คือ ≥ 2
71
ภาคผนวก ค
วิธีการวัดค่าทางไฟฟ้ า
ภาคผนวก ค.1 การวัดค่า Power Factor
Power Factor คือ อัตราส่วน ระหว่างกําลังไฟฟ้ าที/ใช้จริง (Watt) กับ กําลังไฟฟ้ าปรากฏ หรือกําลังไฟฟ้ าเสมือน (VA) ซึง/
ค่าทีด/ ีทส/ี ุด คือ มีอตั ราส่วนทีเ/ ท่ากัน (จะมีค่าเป็ นหนึ/ง) แต่ในความเป็ นจริงแล้วไม่สามารถทําได้ เพราะค่า Power Factor
เปลีย/ นแปลงไปตามการใช้ Load ซึง/ Load ทางไฟฟ้ ามีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
1. Load ประเภท Resistive หรือ ความต้านทาน จะมีค่า Power Factor = 1ได้แก่ หลอดไฟฟ้ าแบบไส้ เตารีดไฟฟ้ า หม้อหุง
ข้าว เครื/องทํานํา* อุ่น เป็ นต้น
2. Load ประเภท Inductive หรือ ความเหนี ยวนํ า จะมีค่า Power Factor ไม่เป็ นหนึ/ง อันได้แก่ เครื/องใช้ไฟฟ้ าที/
ใช้ ขดลวดเช่น มอเตอร์และเครื/องปรับอากาศ เป็ นต้นและ Load ประเภทนี* จะทําให้ ค่า Power Factor ล้าหลัง
(Lagging) และถ้าต้องการ ปรับปรุงค่า Power Factor ทําได้โดยการนํา Load ประเภทให้ค่า Power Factor นําหน้า
(Leading) อย่างเช่น ชุดCapacitor Bank เข้าไปในชุดควบคุมไฟฟ้ า
3. Load ประเภท Capacitive หรือ Load ทีม/ ตี วั เก็บประจุ (Capacitor) เป็ นองค์ประกอบ Load ประเภทนี*จะมีใช้
น้อยมาก จะมีค่า Power Factor นําหน้า (Leading) คือกระแสจะนําหน้าแรงดัน จึงนิยมนํา Load ประเภทนี*มาปรับปรุงค่า
Power Factor ของระบบทีม/ คี ่า Power Factor ล้าหลัง

ข้อดี ของการปรับปรุง ค่า Power Factor


•กระแสไฟฟ้ าที/ไหลในวงจรไฟฟ้ าลดลง
•หม้อแปลง และสายเมนไฟฟ้ า สามารถรับ Load เพิม/ ได้มากขึ*น
•ลดกําลังงานสูญเสียในสายไฟฟ้ าลง
•ลดแรงดันไฟฟ้ าตก
•เพิม/ ประสิทธิภาพระบบไฟฟ้ าทัง* ระบบ

กําลังไฟฟ้ า มีดว้ ยกัน 3 อย่างคือ


• กําลังไฟฟ้ าจริง มีหน่วยเป็ น วัตต์ (Watt)
• กําลังไฟฟ้ าแฝง มีหน่วยเป็ น วาร์ (VAR)
• กําลังไฟฟ้ าปรากฏ มีหน่วยเป็ น โวลท์แอมป์ (VA)

สูตร การคํานวณค่าทางไฟฟ้ ากระแสสลับ

kW × 1000
A= (1 Phase)
V × PF

kW × 1000
A= (3 Phase)
1.732 × V × PF

•หมายเหตุ (V คือแรงดันไฟฟ้ า , A คือค่ากระแสไฟฟ้ า , KW คือกําลัง , PF คือค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ )


72
สูตรคํานวณค่า Power Factor ของไฟ Single Phase คือ

Power Factor = กําลังไฟฟ้ าทีใ/ ช้จริง มีหน่วยเป็ น (Watt) / กําลังไฟฟ้ าปรากฏ มีหน่วยเป็ น (VA)

W
Power factor =
VA
สูตรคํานวณค่า Power Factor ของไฟ 3 Phase คือ

Power Factor = กําลังไฟฟ้ าทีใ/ ช้จริง มีหน่วยเป็ น (Watt) / กําลังไฟฟ้ าปรากฏ มีหน่วยเป็ น (VA)(1.732)

W
Power factor =
1.732 × VA

วิธีการวัดค่า Power Factor


ในการวัดค่า Power factor นัน* จะมีเครื/องมือ Power factor Meter อยู่ 2 แบบ คือ แบบทีส/ ามารถใช้กบั ไฟ Single
Phase และ แบบที/สามารถใช้กบั ไฟ 3 Phase ได้ ดังรูปที/ ค.1.1

รูปที/ ค.1.1 Power factor Meter แบบทีใ/ ช้กบั ไฟ AC Single Phase


73

รูปที/ ค.1.2 Power factor Meter แบบทีใ/ ช้กบั ไฟ AC 3 Phase

ขัน% ตอนการวัดค่า Power Factor โดยใช้ Power Factor Meter


1.ก่อนทําการวัด Power factor นัน* ควรตรวจสอบในระบบก่อนว่ามีการจ่ายไฟมาที/โหลดหรือไม่ คือ
ตรวจสอบก่อนว่าอุปกรณ์ท/เี ราต้องการวัดค่านัน* มีการทํางานอยู่หรือไม่ ถ้ากําลังทํางานอยู่ให้ปิดก่อนทีจ/ ะติดตัง*
เครื/องมือวัด
2. ในการวัดค่า Power factor ของไฟ Single Phase นัน* ให้ใช้สายสีดาํ วัดสายนิวตรอน และสายสีแดงวัด
ทีส/ ายไลน์
หลังจากนัน* ให้ทาํ การเริ/มเดินระบบและอ่านค่า Power factor ที/ได้จากการวัด
3. ในการวัดค่า Power factor ของไฟ 3 Phase นัน* เราต้องทําการวัดทัง* สามเส้นพร้อมกัน L1, L2, L3
โดยใช้ สายวัด A วัดทีสาย L1, สายวัด B วัดทีสาย L2 , สายวัด C วัดทีสาย L3 หลังจากนัน* ให้ทาํ การเริ/มเดิน
ระบบและอ่านค่า Power factor ทีไ/ ด้จาก Power factor Meter และค่าทีว/ ดั ได้ไม่ควรตํา/ กว่า 0.7
74
ภาคผนวก ค.2 การวัดกระแสไฟฟ้ า

รูปที ค.2 CHAMP ON MULTI METER

คือเครื/องวัดทีส/ ามารถวัดได้ทงั* กระแสไฟฟ้ าที/ย่านวัด 0-600 แอมแปร์ (Ampere) ,แรงดันไฟฟ้ าทีย/ ่านวัด 0-600
โวลต์ (Volt)และค่าความต้านทานทีย/ ่านวัด 0-2000โอห์ม (Ohm)
ข้อควรระวัง
1. ระวังการกระชากของกระแสไฟฟ้ าขณะสตาร์ทของมอเตอร์ ควรตัง* ย่านการวัดให้อยู่ตาํ แหน่ งสูงสุด
2. ระวังการเลือกย่านการวัดควรตัง* ย่านวัดให้ตรงกับการใช้งาน เช่น ถ้าวัดกระแสไฟฟ้ าควรตัง* ทีย/ ่านการวัด
กระแสไฟฟ้ า ถ้าวัดแรงดันไฟฟ้ าควรตัง* ที/ย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ า เป็ นต้น
3. ขณะวัดกระแสไฟฟ้ าโดยเครื/องวัด Champ On Multi Meter อยู่นนั* ไม่ควรทําการวัดแรงดันไฟฟ้ าหรือค่า
ความต้านทานร่วมกัน
75
ภาคผนวก ค.3: การวัดแรงดันไฟฟ้ า
1. นําสายวัดมาเสียบเข้าช่องเสียบสําหรับวัดแรงดันไฟฟ้ า คือสายสีแดงเสียบช่อง VOLT และสายสีดาํ
เสียบช่อง COM
2. ตัง* ย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ าโดยให้ตงั* ทีย/ ่านทีส/ ูงที/สุด
3. ทําการวัดแรงดันไฟฟ้ าโดยวัดคร่อมอุปกรณ์ทท/ี าํ การวัด เช่น ถ้าเป็ นไฟเฟสเดียวให้วดั ที/สาย Line กับ
สาย Neutral ถ้าเป็ นไฟสามเฟสให้วดั ทีส/ าย L1-L2 ,L1-L3 ,L2-L3 เป็ นต้น
4. อ่านค่าแรงดันไฟฟ้ าทีว/ ดั ได้หากแรงดันไฟฟ้ าทีอ/ ่านได้นนั* มีค่าทีน/ อ้ ยมากให้ลดย่านการวัดลงมายัง
ตําแหน่งทีส/ ามารถอ่านค่าได้ชดั เจน

รูปที ค.3 วิธกี ารวัดแรงดันไฟฟ้ า


76
ภาคผนวก ค.4: การวัดค่าความต้านทานฉนวน
Spot Reading Test
เป็ นการทดสอบเบื*องต้น เพือ/ นําค่าทีไ/ ด้ไปพิจารณาว่าควรทีจ/ ะจ่ายไฟเข้าขดลวดหรือไม่ ซึง/ ใช้เวลาในการทดสอบ
60 วินาที ที/ 400 C ค่าทีย/ อมรับได้สาํ หรับการทดสอบแบบ Spot Reading Test ตามมาตรฐาน
IEEE.STD.43 – 2000.Table 3 ได้กาํ หนดค่าความต้านทานฉนวนตํา/ สุดทีย/ อมรับได้นนั* จะแปรเปลีย/ นค่าตามปี ท/ี
ผลิตและประเภทของเครื/องจักรและเป็ นค่าทีก/ าํ หนดใช้เป็ นแนวทางในการพิจารณาการจ่ายไฟให้กบั ขดลวดเท่านัน*

ตารางที/ ค.4: เกณฑ์ค่าความต้านทานฉนวน


ค่าความต้านทานฉนวน ประเภทที/ทดสอบ
ตํา/ สุด
IR1 min = kV + 1 For most windings made before about 1970 ,all field windings and others not
described below
IR1 min = 100 For most DC armature and AC windings built after 1907 (form – wound coils)
IR1 min = 5 For most machines with random – wound stator coils and form – wound coils
rated below 1 kV

Note:
•IR1min is the recommended minimum insulation resistance in megohms at 40 ◌ํ C of the entire
machine winding.
•kV is the rated machine terminal to terminal voltage in rms kV
77
กราฟแสดงค่าสัมประสิทธิของอุณหภูม(ิ K t )

100

ที องศา

Coefficient Kt
10 Kt = 16

ที องศา Kt = 0.25
0.1

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 140

Winding Temperatuer (Degree Celsius)

รูปที/ ค.4 แสดงอุณหภูมขิ องความต้านทานฉนวน

ผลของอุณหภูมทิ ม/ี ผี ลต่อค่าความต้านทานฉนวนทีอ/ ณ


ุ หภูมิ 400° C ( R40 °C) ทีอ/ ณ
ุ หภูมติ ่าง ๆ
R40 °C = K t × Rm
เมือ/ R40 °C = ค่าความต้านทานฉนวนที/อณ ุ หภูมิ 400° C
Kt = ค่าสัมประสิทธิทีไ/ ด้จากตารางกราฟ
Rm = ค่าความต้านทานฉนวน ณ อุณหภูมทิ /ที าํ การวัด
ตัวอย่างการคํานวณ
วัดค่าความเป็ นฉนวนได้ 120 MΩ ทีอ/ ณ ุ หภูมิ 800°C อยากทราบว่ามอเตอร์จะมีค่าความเป็ นฉนวนเท่าใดที/
อุณหภูมิ 400°C และที/ 200°C
จากสูตร R40 °C = K t × Rm
จากกราฟทีอ/ ณ
ุ หภูมิ 800° C และ 200° C
จะได้ K t = 16 และ 0.25 ตามลําดับ

แทนค่า R40 °C = 16 x 120 = 1920 MΩ


1920
แทนค่า Rm ( R40 °C) = = 7680 MΩ Ans.
0.25

สรุปผลของอุณหภูมิทมีี ผลต่อความต้านทานฉนวน

•อุณหภูมทิ เ/ี พิม/ ขึ*นทุก ๆ 10 องศา ค่าความต้านทานฉนวนจะลดลงไปครึ/งหนึ/ง


•อุณหภูมทิ ล/ี ดลงทุก ๆ 10 องศา ค่าความต้านทานฉนวนจะเพิ/มขึ*นเท่าตัว
78
ภาคผนวก ค.5: การวัดค่า PI (Polarization Index Test)
Polarization index (PI) แปลว่าดัชนีการกลับขัว* ซึง/ หมายถึงการนําการกลับขัว* ของโมเลกุลของฉนวน ทีเ/ กิดจาก
การจ่ายแรงดันให้กบั ฉนวนในขณะทดสอบมาพิจารณา ดังรูปที/ ค.5.1 การทดสอบนี* เป็ นการทดสอบขยายผลการ
ทดสอบความต้านทานฉนวนจะใช้เครื/องมือวัดค่า PI ลักษณะดังรูปที/ ค.5.2 โดยการอ่านค่าความต้านทานฉนวน 2 ค่า
คือค่าทีเ/ วลา1 นาที และ 10 นาที นับตัง* แต่เริ/มป้ อนแรงดันให้กบั ฉนวนดังรูปที/ ค.5.3 แล้วนํามาหาดรรชนีความ
ต้านทานฉนวน(Polarization index: PI)

รูปที ค.5.1 ลักษณะโมเลกุลของฉนวนทีย/ งั ไม่จ่ายแรงดัน รูปซ้าย)และลักษณะโมเลกุลของฉนวนทีจ/ ่ายแรงดัน(รูปขวา)

รูปที ค.5.2 แสดงลักษณะการวัดค่าความต้านทานฉนวน


79

รูปที ค.5.3 ค่าความต้านทานฉนวนที/ 1 นาที และที/ 10 นาที

IR(10 min)
PI =
IR(1 min)
โดยที/
PI คือ ดรรชนีความต้านทานฉนวน
IR (10 min) คือ ค่าความต้านทานฉนวนที/ 10 นาที
IR (1 min) คือ ค่าความต้านทานฉนวนที/ 1 นาที
โดยค่าแรงดันทีใ/ ช้ทดสอบเมือ/ เทียบกับพิกดั แรงดันของมอเตอร์เป็ นดังตารางที/ ค.5.1
ตารางที ค.5.1 ค่าแรงดันทีใ/ ช้ทดสอบในการวัดค่า PI
พิกดั แรงดันมอเตอร์ (AC) แรงดันทดสอบ (DC)
<1000 500
1,000-2,500 500-1,000
2,501-5,000 1,000-2,500
5,001-12,000 2,500-5,000
>12,000 5,000-10,000

จากนัน* นําค่า PI ทีไ/ ด้ไปเทียบค่าในตารางที/ ค.5.2 ซึง/ แสดงค่าตํา/ สุดทีย/ อมรับได้สาํ หรับการทดสอบแบบ PI Test ตาม
มาตรฐาน IEEE 43-2000 ได้กาํ หนดค่า PI ตํา/ สุดทีย/ อมรับได้อา้ งอิงกับชนิดของฉนวนเครื/องจักร

ตารางที ค.5.2 เกณฑ์การทดสอบค่า PI


คลาสของฉนวน ค่า PI
A 1.5
B 2.0
F 2.0
H 2.0
80
ภาคผนวก ค.6: การเปรียบเทียบเสิรจ์
เป็ นการทดสอบการช็อตเทิรน์ ของคอยล์เป็ นหลัก โดยอาศัยหลักการของการดิสชาร์จของแรงดันทีอ/ ยู่ในคาปาซิสเตอร์
ไปยังขดลวดทําให้เกิดสัญญาณเสิรจ์ ขึ*น และมีการเปลีย/ นแปลงรูปร่างขึ*นอยู่กบั ค่าอินดักแตนท์ของขดลวด

รูปที/ ค.6.1 ลักษณะของ Surge test

จากรูปที/ ค.6.1ส่วนประกอบของ Surge test ประกอบด้วย


หมายเลข 1 คือ PRINTER PORT ใช้เชื/อมต่อกับ PRINTER
หมายเลข 2 คือ AUX PORT ใช้สาํ หรับทดสอบแรงดันสูงขนาด 30 kV (Power pack)
หมายเลข 3 คือ LINE IN ใช่ต่อกับไฟ AC POWER
หมายเลข 4 คือ ON/OFF ใช้สาํ หรับเปิ ด/ปิ ด เครื/อง
หมายเลข 5 คือ FUNCTION KEYS ใช้สาํ หรับบันทึกข้อมูล การเรียกข้อมูลทีบ/ นั ทึก การลบรวมทัง* การพิมพ์
หมายเลข 6 คือ CRT DISPLAY แสดงรายละเอียดการทดสอบ
หมายเลข 7 คือ OPEN GROUND WARNING LIGHT จะมีไฟแสดงเมือ/ เครื/องไม่ได้ต่อ GROUND
หมายเลข 8 คือ HIPOT TRIP WARNING LIGHT จะมีไฟสีแดงปรากฏเมือ/ DC HIPOT trip ในวงจรโดยเครื/อง
จะหยุดทดสอบจนกว่าจะกดปุ่ม TEST อีกครัง*
หมายเลข 9 คือ ปุ่มปรับความสว่างของจอ
หมายเลข 10 คือ ปุ่มปรับตําแหน่งของรูปคลืน/ ให้ ขึ*น/ลง
หมายเลข 11 คือ ปุ่มปรับตําแหน่งของรูปคลืน/ ให้เลือ/ นทางซ้าย-ขวา
หมายเลข 12 คือ ปุ่มเลือกฟังก์ชนั ในการทํางาน เช่น ทดสอบความต้านทานแต่ละเฟส, ทดสอบ HIPOT, Auxiliary
Power pack (30 kV)
หมายเลข 13 คือ ปุ่มปรับ VOLTS/DIV
81
หมายเลข 14 คือ ปุ่มปรับ SECONDS/DIV
หมายเลข 15 คือ ปุ่มแสดงการทํางานเมือ/ จ่ายแรงดันทดสอบ
หมายเลข 16 คือ ปุ่มเพิม/ แรงดันทดสอบประมาณ 1000 V/second
หมายเลข 17 คือ ปุ่มเพิม/ แรงดันทดสอบประมาณ 33.3 V/second
หมายเลข 18 คือ ปุ่มลดแรงดันทดสอบประมาณ 250 V/second
หมายเลข 19คือ ปุ่มทดสอบซึง/ อาจใช้ FOOTSWITH ช่วย
หมายเลข 20 คือ ปุ่มเลือกการทดสอบ แสดงรายละเอียดตามตาราง
ตารางที/ ค.6: แสดงฟังก์ชนั ในการทดสอบเสิรจ์
Switch Position Test Lead#1 Test Lead#2 Test Lead#3 Ground
Surge Lead 1 Hot Ground Ground Ground
Surge Lead 2 Ground Hot Ground Ground
Surge Lead 3 Ground Ground Hot Ground
Hipot Hot Open Open Ground
All Leads Ground Ground Ground Ground Ground

หมายเลข 21 คือ FOOTSWITCH ใช้แทนปุ่มทดสอบได้ในกรณีทไ/ี ม่ตอ้ งการกดปุ่มทดสอบเป็ นเวลานานๆ


หมายเลข 22 คือ สายทีใ/ ช้ในการทดสอบ Test Lead#1, Test Lead#2, Test Lead#3 (สีแดง) และ Ground (สีดาํ )
หมายเลข 23 คือ สายทีใ/ ช้ทดสอบความต้านทาน
ลักษณะของสัญญาณเสิรจ์

รูปที ค.6.2 แสดงสัญญาณเสิรจ์


แกนตัง* เป็ นขนาดแรงดัน (Volt/div) แกนนอนเป็ นเวลา ( µs /div)
82
วิเคราะห์ความเสียหายของขดลวด
การทดสอบเสิรจ์ เป็ นวิธกี ารตรวจหาความผิดพร่องของฉนวนระหว่างรอบของขดลวด โดยการพิจารณาเวลาในการไต่
ระดับ (rise time) และกระแสอิมพัลส์ทจ/ี ่ายให้ขดลวด โดยขนาดของแรงดันหรือแอมปลิจูดของรูปคลืน/ จะลดลงเมือ/
inductance ลดลง โดยคํานวณจาก
di
V =L
dt
โดยที/กระแสจะแปรตามเวลา และความเหนี/ยวนํา (L) ของขดลวดขึ*นอยู่กบั จํานวนรอบของขดลวดและชนิดของแกน
เหล็กทีพ/ นั อยู่ โดยความถี/ของรูปคลืน/ หาได้จาก
1
f =
2π LC
จากสมการจะพบว่า เมือ/ ความเหนี/ยวนําลดลงความถีจ/ ะเพิม/ ขึ*น
การพิจารณาความผิดพร่องของขดลวด
เมือ/ ฉนวนเสียหาย เช่นเกิดการช็อตขึ*นภายใน ส่วนมากรูปแบบการช็อตของขดลวดจะปรากฏดังรูปที/ ค.6.3

รูปที/ ค.6.3 แสดงการช็อตของขดลวดแบบต่างๆ


ซึง/ เมือ/ เราใช้เครื/องทดสอบเสิรจ์ รุ่น D12R จะปรากฏกราฟดังต่อไปนี*
83

รูปที/ ค.6.4 รูปคลืน/ ขดลวดทีด/ ี

รูปที/ ค.6.5 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Shorted single winding

รูปที/ ค.6.6 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Short partial ground


84

รูปที/ ค.6.7 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Solid ground coil

รูปที/ ค.6.8 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Solid turn-to-turn short

รูปที/ ค.6.9 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ coil-to-coil short


85

รูปที/ ค.6.10 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ phase-to-phase short

รูปที/ ค.6.11 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Group-to-group short

รูปที/ ค.6.12 รูปคลืน/ ของขดลวดที/ Reverse coil


86
ภาคผนวก ค.7: การทดสอบศักย์สูงกระแสตรง (High Potential Test)
Hipot Test มีช/อื เต็มว่า High Potential Test เป็ นการทดสอบคุณภาพหรือความสามารถของระบบฉนวนทัง* หมดของ
อุปกรณ์ทต/ี อ้ งการทดสอบ ว่าสามารถทนต่อสภาวะแรงดันสูงซึง/ มีโอกาสเกิดได้ในระบบแหล่งจ่ายไฟและถูกจ่ายเข้า
มายังขดลวดของอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ลักษณะทัวไปของการนํ าไปใช้งาน
•เป็ นการทดสอบคุณภาพหรือความสามารถของระบบฉนวนทัง* หมดของอุปกรณ์ท/ตี อ้ งการทดสอบว่าสามารถทน
ต่อสภาวะแรงดันสูงซึง/ มีโอกาสเกิดได้ในระบบแหล่งจ่ายไฟและถูกจ่ายเข้ายังขดลวดของอุปกรณ์ไฟฟ้ า
• การทดสอบ Hi-Pot test เป็ นการทดสอบแบบผ่านหรือไม่ผ่าน (Go & No-Go)
•Hi-Pot test มีการทดสอบด้วยกัน 2 วิธี
- AC Hi-Pot test
- DC Hi-Pot test
•ในการทดสอบจะนิยมกระทํากันเฉพาะขดลวดใหม่หรือมีการพันใหม่เนื/องจากค่าแรงดันที/สูงจะไปกระทําให้เกิด
ค่าแรงเครียดให้แก่ฉนวนของขดลวด
• การทดสอบด้วยวิธี AC Hi-Pot Test เป็ นการทดสอบแบบทําลาย ถ้าการทดสอบไม่ผ่านจะทําให้เกิดการ
เสียหายแก่ฉนวนได้

AC Voltage V
mA
High Voltage Motor Test
Over Current
Contactor
รูปที ค.7 วงจรแสดงการทดสอบ Hi-Pot Test
การทดสอบด้วยวิธี AC Hi-Pot test
•แรงดันทีใ/ ช้ทดสอบ = 2 เท่าของแรงดันแหล่งจ่าย + 1000V ( 2U + 1000 ) ถ้าหากมอเตอร์เก่าจะใช้แค่ 65%
•การทดสอบจะแบ่งการทดสอบออกเป็ นขัน* ๆ แต่ละขัน* มีค่าเท่ากัน และเวลาที/ใช้ในการทดสอบแต่ละขัน* เท่ากัน
คือ 1 นาที ตัวอย่างเช่นมอเตอร์ทม/ี แี รงดัน 6000 V
- จะมีแรงดันสูงสุดที/ทดสอบ = (2 × 6000) + 1000 = 13000 V
- แบ่งแรงดันเป็ นขัน* ๆ ขัน* ละ 1000 V จะได้ทงั* หมด 13 ขัน*
- ทดสอบแต่ละขัน* เช่น 1000 , 2000 , 3000 ...........13000 V
•จดบันทึกค่ากระแส และพล็อตดูแนวโน้ม หากค่า Slope ขึ*นชันมากให้หยุดการทดสอบเพราะมีโอกาสเกิดการ
เบรกดาวน์ได้
87
การทดสอบด้วยวิธี DC Hi-Pot Test
•แรงดันที/ใช้ทดสอบ = 2 เท่าของแรงดันแหล่งจ่าย+1000V และคูณด้วย 1.7 หรือ (2U + 1000) × 1.7
ถ้าหากมอเตอร์เก่าจะใช้แค่ 65%
•การทดสอบจะแบ่งการทดสอบออกเป็ นขัน* ๆ แต่ละขัน* มีค่าเท่ากัน และเวลาทีใ/ ช้ในการทดสอบแต่ละขัน* เท่ากัน
คือ 1 นาที ตัวอย่างเช่นมอเตอร์ทม/ี แี รงดัน 6000 V
- จะมีแรงดันสูงสุดที/ทดสอบ = ((2 × 6000) + 1000) × 1.7 = 22100 V
- แบ่งแรงดันเป็ นขัน* ๆ ขัน* ละ 1500 V จะได้ทงั* หมด 15 ขัน*
- ทดสอบแต่ละขัน* เช่น 1500, 3000, 4500 ...........22100V
•จดบันทึกค่ากระแส และพล็อตดูแนวโน้ม หากค่า Slope ขึ*นชันมากให้หยุดการทดสอบเพราะมีโอกาสเกิดการ
เบรกดาวน์ได้
การตรวจเช็คก่อนทําการวัด
•วัสดุต่างๆ รังหนู , ปลวก, มด ฯลฯ
•สิง/ สกปรกต่างๆ เช่น นํา* มันหล่อลืน/ , นํา* มันจาระบี, ฝุ่น, เกลือ, ทราย และความชื*น
•นํา* สิง/ สกปรกออกจากขดลวด
•อุปกรณ์ท/ปี ้ องกันการขยายตัวของขดลวด เช่น เชือกผูกหรือวัสดุท/ยี ดึ ตัวโรเตอร์
88
ภาคผนวก ค.8: วิธีการทดสอบค่าความต้านทานฉนวน
•ตัดสวิทซ์ไม่ให้เครื/องจักรทํางาน และติดป้ ายห้ามใช้สวิทซ์ควบคุม
•ตรวจหาความชื*นด้วยตาเปล่า
•กําหนดชิ*นส่วนทีจ/ ะทําการทดสอบ เช่น ขดลวดชุดสเตเตอร์ หรือ โรเตอร์ หรือ เอกซ์ไซต์เตอร์
• ดิสชาร์จประจุไฟฟ้ าออกจากขดลวด
•ถอดสายศูนย์ออกจากเฟรมเครื/อง (ดิน)

L1 U1
L2 V1
L3 W1

รูปที ค.8.1 ถอดสายไฟฟ้ าที/ป้อนเข้าอุปกรณ์ เช่น U1 ,V1 ,W1

•ถอดสายไฟฟ้ าทีเ/ ป็ น Sensing ให้กบั โวลเตจเรกกูเลเตอร์ปกติจะเป็ น 3 เฟส(ยกเว้นเครื/องทีเ/ ป็ น 1 เฟส)


ถอดสายไฟฟ้ าทีต่อกันระหว่างขดลวด U2, V2, W2

รูปที ค.8.2 ถอดสายไฟฟ้ าที/ต่อกันระหว่างขดลวด U2, V2, W2


ต่อสายมาตรวัดเมกกะโอห์ม
ต่อสายมาตรวัดเมกกะโอห์มสีแดง (+) เข้าทีข/ ดลวด U๑ และสีดาํ (-) เข้าทีแ/ ท่นเครื/องไม่มสี ที าไว้
89

รูปที ค.8.3 ต่อสายมาตรวัดเมกกะโอห์ม


ตัง% แรงดันไฟฟ้ าทีเครืองวัดดังนี%
ตารางที/ ค.8: พิกดั แรงดันทีใ/ ช้ทดสอบความต้านทานฉนวนของมอเตอร์
Winding Rated Voltage (V) Insulation Resistance Test Direct Voltage (V)
< 1000 < 1000
1000 – 2500 500– 1000
2501 – 5000 1000– 2500
5001 – 12000 2500 – 5000
>12000 5000 - 10000

•เปิ ดโวลต์ทม/ี าตรวัด


•บันทึกค่าฉนวนที/ 30 วินาที ,60 วินาที และ 10 นาที ลงในแบบฟอร์ม
•บันทึกค่าอุณหภูมบิ รรยากาศ, ค่าความชื*นที/ 30 วินาที, 60 วินาที และ 10 นาที ลงในแบบฟอร์ม
•ปิ ดแรงดันไฟฟ้ าทีม/ าตรวัด
HP:
POWER
KW:
SUPPLY FOR
TESTING
KW: 90
Vs = ภาคผนวก ค.9: วิธกี ารวัดกระแสไฟฟ้ า โดยใช้เครื/องมือวัด Clamp Meter Fluke Model 337
มีขนั* ตอนดังนี*
1. ตรวจเช็คย่านวัดของ Clamp Meter โดยให้อยู่ในตําแหน่งการวัดกระแสไฟฟ้ า
2. ทําการ Set Clamp Meter ให้มคี ่าเป็ น 0 ก่อนทําการวัดทุกครัง*
3. ตัง* ย่านการวัดกระแสของ Clamp Meter ให้อยู่ในตําแหน่งการวัดกระแสสูงสุด
4. ทําการวัดกระแสไฟฟ้ าโดยนํา Clamp Meter คล้องทีส/ ายไฟที/จ่ายให้กบั อุปกรณ์ (Load) เพียงเส้นใดเส้น
หนึ/ง ถ้าเป็ นไฟสามเฟสควรทําการคล้องทัง* สามสายแต่ทลี ะสาย เช่น L1,L2,L3 เป็ นต้น ตามตัวอย่าง

วิธกี ารวัดกระแสไฟฟ้ าทีถ/ กู ต้อง

วิธกี ารวัดกระแสไฟฟ้ าทีผ/ ดิ

รูปที/ ค.9 วิธกี ารวัดกระแสไฟฟ้ า โดยใช้เครื/องมือวัด Clamp Meter


ข้อควรระวังในการวัดกระแสไฟฟ้ า
1. ให้ระวังการกระชากของกระแสไฟฟ้ าขณะสตาร์ทมอเตอร์ ควรตัง* ย่านวัดให้อยู่ในตําแหน่งสูงสุด
2. ระวังการเลือกย่านการวัด ควรตัง* ย่านวัดให้ตรงกับการใช้งาน เช่น ถ้าต้องการวัดกระแสไฟฟ้ าควรเลือกการวัด
กระแสไฟฟ้ า ถ้าวัดแรงดันไฟฟ้ าควรเลือกการวัดแรงดันไฟฟ้ า เป็ นต้น
3. ขณะวัดกระแสไฟฟ้ า โดยใช้ Clamp Meter อยู่นนั* ไม่ควรทําการวัดแรงดันไฟฟ้ าหรือค่าความต้านทานร่วมกัน

You might also like