You are on page 1of 57

มีความสุขกับหุ้นปั นผล by หมีส้ม เล่มที 4

“ลงทุนหุ้นปันผลด้วยความเข้าใจ ถ่ายทอดความมังคังสู่ลูกหลาน”

1|P a ge
ขอขอบคุณ

คุณพ่อธีรชิต กับคุณแม่นารีรัตน์ หอมโกศล ทีให้ ชีวิตและเลียงดูจนเติบใหญ่

คุณย่าลมัย และคุณยายละม้ าย สําหรับความรักทีมอบให้

พีชายและญาติพีน้ องทังหลาย ทีทําให้ ได้ เติบโตและมีชีวิตทีอบอุ่นไม่เดียวดาย

คุณนุชา สีบญ
ุ เรือง เจ้ านายทีไว้ ใจในตัวผมเสมอ

ศาสตราจารย์ ดร.กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ, คุณธนานันต์ ชาติยานนท์ ทีมอบความรู้ให้

ดร.นิเวศน์ เหมวชิวรากร สําหรับหนังสือ “ตีแตก กลยุทธ์ การเล่นหุ้นในภาวะวิกฤต”

คุณณภัทร วิรัตน์เกษม สําหรับกําลังใจ

คุณพีรวิช กาญจนาพงศ์กุล, คุณวีระพงษ์ อุดมเลิศประเสริฐ, คุณชรินทร์ ศิริอนันต์ชัย, คุณอาทิตย์ วรนาวิน

คุณกษิ ดิศ เหมาคมและคุณนวะรัตน์ พึงโพธิ สภ สําหรับมิตรภาพทีดีเสมอมา..

คุณเยินยอ สาระนาคและคุณแอนดรูว์ โหสกุล สําหรับคําปรึกษาด้ านบัญชีและการเงิน

คุณปรี ชา สุพรรณวิบูล ทีช่วยตรวจสอบหนังสือต่างๆของผม ก่อนทีจะเผยแพร่เสมอมา

และสุดท้ ายขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านทีให้ เกียรติสละเวลาสนใจผลงานของผม

2|P a ge
สารบัญ

บทนํา หน้ าที 4

บทนํา (เวอร์ ชันหมีส้ม) หน้ าที 5

บทที 1 โครงสร้ างธุรกิจและจุดคุ้มทุน (Break Even Point) หน้ าที 7

บทที 2 โครงสร้ างกําไรและต้ นทุนคงที หน้ าที 9

บทที 3 กําไรขันต้ น (Gross profit) และอัตรากําไรขันต้ น (Gross profit margin) หน้ าที 12

บทที 4 ค่ าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร (Sale, general and administration cost - SG&A) หน้ าที 15

บทที 5 กําไรก่ อนหักภาษี ดอกเบียและค่ าเสือมราคา (Earning Before Interest, Tax, Depreciation
and Amortization - EBITDA) หน้ าที 19

บทที 6 ค่ าเสือมราคาและค่ าตัดจําหน่ าย (Depreciation and Amortization) หน้ าที 22

บทที 7 ต้ นทุนทางการเงิน (Finance costs) หน้ าที 26

บทที 8 กําไรสุทธิ (Net profit) และอัตรากําไรสุทธิ (Net profit margin) หน้ าที 29

บทที 9 ผลตอบแทนต่ อส่ วนของผู้ถอื หุ้น (Return on Equity - ROE) ,ผลตอบแทนต่ อสินทรั พย์
(Return on Asset - ROA) และสัดส่ วนหนีสินต่ อทุน (Debt on Equity - D/E) หน้ าที 32

บทที 10 ตรวจสุขภาพหุ้นผ่ านงบกําไรขาดทุน หน้ าที 37

บทที 11 งบดุลหรื องบแสดงฐานะทางการเงิน หน้ าที 39

บทที 12 สินทรั พย์ ในงบการเงิน หน้ าที 41

บทที 13 หนีสินในงบการเงิน หน้ าที 44

บทที 14 สรุ ปเรื องของงบดุล หน้ าที 46

บทที 15 งบกระแสเงินสด หน้ าที 48

บทที 16 วิธีการอ่ านงบกระแสเงินสด หน้ าที 51

บทที 17 ปั จจัยทีมีผลต่ องบการเงิน หน้ าที 55

บทที 18 บทสรุ ปของหนังสือเล่ มนี หน้ าที 57

3|P a ge
บทนํา

ก่อนอืนผมมีความยินดีเป็ นอย่างยิงทีหนังสือ “มีความสุขกับหุ้นปั นผล by หมีส้ม” เล่มที 4 ได้ ถูกเขียนขึนจนเสร็ จ


สินแล้ ว ซึงในใจผมเองนี คิดว่าครอบคลุมกับสิงทีผมต้ องการจะถ่ายทอด “เก็บไว้ ในรู ปของหนังสือ” ได้ จนครบถ้ วนแล้ ว
โดยช่วงทีผ่า นมา ผมก็ไ ด้ รับกําลังใจและได้ คุยกับผู้คนมากมายทีได้ “แวะเวียน” เข้ ามาคุยกันในเพจ “หมีส้ม” ซึงทําให้
ผมได้ รับประสบการณ์ใหม่ๆ และทําให้ ร้ ูว่าจะต้ องเขียนอย่างไร ให้ สามารถ “คลายความสงสัย” ของผู้อ่านลงไปได้

สํา หรั บ “วัต ถุป ระสงค์ ” ของหนัง สือ ทัง 4 เล่มนัน ก็ ชัด เจน ก็ คื อ “การมุ่ง ลงทุน ในหุ้นปั น ผล ในช่ ว งเวลาที
เหมาะสม และถือไว้ ตราบเท่าทีมันยังเป็ นหุ้นทีดี” ซึงผมเชือว่าเป็ นสิงทีมีความจําเป็ นจะต้ องให้ “เงินออมทํางานให้ เรา”
เพราะภายใต้ สถานการณ์ ที “หนี ท่ ว มโลก” นี สวัสดิก ารของประเทศก็ จะลดตําลงทุก วัน และเราเองก็ต้ อ งสํา รองเงิ น
ให้ มากขึ น เพื อรองรั บ กั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยที สูง ขึ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ งค่ า ใช้ จ่ า ยที สํ า คั ญ คื อ “ค่ า เล่ า เรี ย นบุ ต ร” และ
“ค่ารักษาพยาบาลของคนในครอบครัว” ซึงลําพังการฝากเงินในธนาคาร อาจจะยังไม่เพียงพอ

ผมขอแนะนําว่า “การลงทุน” นัน เหมื อนกับการทีหัดทําสิงใหม่ๆ ซึงแม้ ว่าจะยากในช่วงแรก แต่ก็ จะชํานาญ


ไปเอง หากเรายังคงปฏิบตั ิอย่างต่อเนือง ซึงการลงทุนก็เช่นกัน ทีต้ องมี “ก้ าวแรก” คําถามในใจของท่านผู้อ่านบบางท่าน
ก็อาจจะสงสัยว่า “การลงทุนในหุ้น” เป็ นสิงที “ดี” หรือ “ควรทํา” จริงหรือ.. ผมจึงขอยกตัวอย่างให้ ฟังดังนีครับ

เราจะพบได้ ว่าการบริ หารการเงินส่วนบุคคลหรื อในระดับประเทศทีประสบความสําเร็ จ ก็ล้วนแล้ วแต่นําเงิ นไป


ลงทุนให้ เกิดดอกออกผลทังสิน บางประเทศทีมีความเจริญรุ่งเรือง ก็มีการตังกองทุนของประเทศขึนมาเพือไปลงทุนนําเงิน
ทีได้ กลับมาพัฒนาประเทศ (แต่อาจจะยังไม่เหมาะกับประเทศไทยถ้ ายังไม่แก้ ปัญหา “คอร์ รัปชัน”) นอกเหนือไปจากนี
เราก็ยัง ไม่เ ห็ น “เศรษฐี ” หรื อ “ผู้มี อัน จะกิ น ” ท่ า นใดที ฝากเงิ นเอาไว้ แ ค่ ในธนาคาร เพราะโดยมากก็ จ ะมีกิ จ การหรื อ
มี ที ดิ น เอาไว้ “เก็ บ กิ น ” แทบทังสิน จึง เป็ นเหตุผล ที เราจะต้ อ งนํ า “เงิ น ออม” ออกมาลงทุน เพื อให้ ไ ด้ เ ป็ นเจ้ า ของ
“กิจการทีดี” และได้ ดอกผลจากการเติบโตของกิจการ แทนทีจะเป็ นเพียง “เจ้ าหนีของธนาคารทีได้ ดอกเบียน้ อยทีสุด”

หนังสือทังสีเล่มนี จึงถูกเขียนขึนมา และหวังว่าจะเป็ น “ความรู้ เบืองต้ น” ของผู้อ่านทุก ท่านทีจะได้ ใช้ ต่อยอด


ความรู้ ไปสู่ห นัง สือ การลงทุน เล่ ม อื นๆ ต่ อ ไป โดยผมมี ค วามยิ น ดี แ ละเป็ นเกี ย รติ เ ป็ นอย่ า งยิ งที เป็ นส่ว นหนึ งในการ
“เรียนรู้เกียวกับการลงทุนหุ้นปั นผล” ของทุกท่าน

สุดท้ ายนี ผมขอขอบพระคุณ ผู้ซึงอยู่เ บืองหลังของหนัง สือ “มี ความสุข กับ หุ้นปั นผล by หมี ส้ม” เล่มที 4 นี
ได้ แ ก่ เ จ้ า นา ยข อ งผม “คุ ณ นุ ช า สี บุ ญ เ รื อ ง ” ที ได้ ใ ห้ คว า มไ ว้ ว า งใ จใ น ตั ว ผม แ ละ ใ ห้ โอ กา ส ใ น กา ร
“กลันกรองและตรวจทาน"”งบการเงินของบริษัทในเครื อทังแปด ทีมีโครงสร้ างธุรกิจและการประกอบกิจการทีแตกต่างกัน
รวมไปถึงงบการเงินรวมของเครือ ทีทําให้ ผมได้ มีความรู้มากพอทีจะเขียนหนังสือเล่มนีขึนมาจนสําเร็จได้

วรชิต หอมโกศล
5 ตุลาคม 2557

4|P a ge
บทนํา (เวอร์ ชัน หมีส้ม)

หมีส้มเข้ าใจว่าเล่มนีน่าจะเป็ นเล่มสุดท้ ายแล้ ว เพราะเนือหาค่อนข้ างครบถ้ วนแล้ ว (แต่ก็ไม่แน่นะ ถ้ ามีความรู้


อะไรมาเพิ มเติ ม ก็ อ าจจะเขี ย นต่ อ ) ที ว่ า ครบถ้ วนก็ คื อ มาเติ ม เต็ ม หนัง สือ อี ก สามเล่ม โดยทั งสีเล่ม นี ก็ ไ ด้ บ รรจุ ใ น
เรื องของ “แนวคิ ด ในการลงทุน หุ้น ปั น ผล” “แนวคิ ด เกี ยวกับ จัง หวะและระยะเวลาในการเข้ า ลงทุน หุ้น ปั น ผล” และ
“วิธีการเลือกสรรและตรวจสุขภาพหุ้นปั นผล” ซึงจากทีเราได้ เรี ยนรู้ กันมา ก็จะเห็นได้ ว่าไม่ใช่เรื องยากทีจะทําความเข้ าใจ
แต่เป็ นเรืองทีต้ องใช้ เวลาศึกษา และเมือศึกษาแล้ วเราก็ต้องทําการ “ปฎิบตั ”ิ

เพราะการศึกษาเรืองอะไรก็ตาม จะเห็นผลได้ อย่างเป็ นรู ปธรรมก็ต้องเรี ยนรู้ จากการ “ปฏิ บัติ” และสิงทีเรากําลัง
จะเรียนรู้กนั ก็คือ “เรียนรู้การลงทุน” เพราะว่าเราต้ องเรียนรู้ทีจะวางเงินไปอยู่ในจุดทีมันสามารถ “งอกเงย” เพิมขึนมาได้ ก็
อย่างทีเรารู้กนั ว่า การฝากเงินไว้ เฉยๆ ทําให้ เงินด้ อยค่าลงไปทุกที

ดังนันหลังจากทีเพือนๆ ได้ เริมมีแนวคิดในการลงทุนหุ้นปั นผลแล้ ว ก็อย่าได้ ช้า รีบแบ่งเงินสักก้ อนหนึง อาจจะสัก


5,000 - 10,000 บาท เพือมาทดลองลงทุน หุ้น ปั น ผล และดูผลตอบแทนของมัน โดยอาจจะเที ย บกับ อีก บัญชี ห นึง
ซึงเป็ นบัญชี เงิ นฝากประจํ า ก็ไ ด้ จะได้ “รู้ ดํา รู้ แ ดง” กัน ไปเลยว่ าอะไรให้ ผลตอบแทนที ดีก ว่ ากัน แต่ ทังนีทังนันต้ องอยู่
ภายใต้ แ นวทางการลงทุน ใน “หุ้น ที มี ข นาดของกิ จ การใหญ่ โ ตและปั น ผลสมํ าเสมอ” ด้ ว ยนะ ทํ า ไมต้ อ ง “ใหญ่ โ ต”
ก็เพราะเงินของเราจะได้ ปลอดภัย เพราะได้ ลงทุนในกิจการทีเข้ มแข้ งถึงขนาดทีว่า “ผูกขาดทางธุรกิจ” หรื อถ้ าใครยังไม่ชัวร์
หรือยังไม่กล้ าลงทุนเอง ก็แนะนําให้ ลงทุนผ่าน “กองทุนรวม” ก็ได้ ครับ

ทีนีก็ เชือว่าหมีชักจูง มาขนาดนี คงต้ องสนใจลงทุนใน “หุ้น หรื อ กองทุน ” กันบ้ า งล่ะนะ.. และสิงหนึงทีจะต้ อ ง
ทํ า ความเข้ า ใจกัน ไว้ ด้ ว ยก็ คื อ “การปลูก พื ช ยัง ต้ อ งรอให้ ง อก” ฉัน ใดก็ ฉัน นัน “การลงทุน ในหุ้น ที ดี ก็ ต้ องใช้ เ วลาให้
ออกดอกออกผล” เช่นเดียวกัน ซึงหากเราลงทุนในหุ้นทีมีขนาดใหญ่โต กิจการทีมันคง เราก็จะกลายเป็ น “เจ้ าของรายจิว”
ทีได้ มี ค วามสุข กับ การเก็ บ ดอกออกผลที เติบ โตของกิจ การตลอดไป และสิงที สํา คัญต่ อ มาก็ คื อ “ส่ง มอบความมันคง
และมังคังนี ไปสูล่ กู หลานได้ โดยง่าย”

สุด ท้ า ยนี ถ้ า ยัง ไม่ ชัว ร์ จ ริ ง ๆ ก็ ข อให้ รอ “วิ ก ฤตการณ์ ท างเศรษฐกิ จ ครั งใหญ่ ” ที ทํ า ให้ ห้ ุน ตกลงมามากกว่ า
30% - 50% ของจุดสูงสุด และดําเนินการตามสูตรสําเร็จของหมีส้ม ดังนี

ขันตอนแรก เก็บเงินสดไว้ รอ “วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจหรือการเมือง” ทีจะมีเข้ ามาเรือยๆ ในรอบ 5-10 ปี

ขันตอนทีสอง พอเห็นแล้ วว่ามีวิกฤตหุ้นตกลงมา 30-50% ให้ นังทับมือไว้ รอจนดัชนีห้ นุ ไม่ตกลงไปมากกว่าเดิม


(อย่าไปรับมีด รอให้ ตกถึงพืนก่อน) โดยอาจจะใช้ วิธีทีได้ เขียนอธิบายไปแล้ วช่วงท้ ายของหมีส้มเล่มที 1

ขันตอนทีสาม เข้ าลงทุนในหุ้นที “ปั นผลสมําเสมอ เป็ นกิจการขนาดใหญ่ทีมีเงินสดเยอะ และหนีสินน้ อย”

5|P a ge
ขั นตอนสุ ด ท้ ายก็ คื อ หลัง จากลงทุ น ไปแล้ ว เราก็ ต้ องหมั นตรวจสอบสุข ภาพกิ จ การ ว่ า เงิ น ปั นผลที ได้
ยัง อยู่ ใ นอั ต ราที เราพอใจหรื อ ไม่ ถ้ าพอใจแล้ ว ก็ ไ ม่ ต้ องทํ า อะไร แต่ ถ้ าไม่ พ อใจ หรื อ ว่ า “เงิ น ปั น ผลต่ อ หุ้น ลดลง”
อันนีเราก็ต้องพิจารณาเปลียนไปลงทุนในหุ้นตัวอืน

สุดท้ ายนีก็หวังว่าหนังสือทังสีเล่มทีได้ เขียนขึนมา จะมีประโยชน์กบั ทุกท่านบ้ าง ไม่มากก็น้อยครับ..

หมีส้ม

6|P a ge
บทที 1 โครงสร้ างธุรกิจและจุดคุ้มทุน (Break Even Point)

ผมอยากจะเริมต้ นเล่มนี โดยการอธิบายเรื องง่ายๆ ทีใช้ ในการประกอบธุรกิจ (รวมถึงการวิเคราะห์ ธุรกิจ) ให้ ได้
รับทราบกันสักหน่อย โดยทีผมคิดว่ายังไม่ อยากพูดถึงคําว่า “บัญชี” มากนัก เพราะผมเชือว่า ความเข้ าใจเรื องธุรกิจจะ
นําไปสูก่ ารเรียนรู้ด้านบัญชีทีง่ายขึน ผมคิดว่าผมใช้ วิธีสร้ างเหตุการณ์ขนมาอธิ
ึ บาย น่าจะเข้ าใจง่ายกว่าเนอะ..

สมมติว่าผมอยากขายหมูปิงก็แล้ วกัน ผมควรจะต้ องทําอะไรบ้ าง.. ผมก็คงจะเหมือนคนทัวไป ทีพอเห็นโอกาสใน


การประกอบธุรกิจแล้ วก็อยากเข้ าไปลองดู ซึงในเหตุการณ์ทีสมมตินี ผมได้ ทราบว่าราคาหมูปิงขายทีราคาไม้ ละ 7 บาท..

ผมควรจะตัด สิน ใจอย่ างไร.. เริ มต้ นมาผมก็ค งจะต้ องดูว่ า ผมสามารถทํ าหมูปิ งออกมาขายได้ ทีต้ นทุนไม้ ละ
เท่าไหร่ อันนีล่ะ มันก็คือ “ต้ นทุนขาย” โดยนิยามก็คือ ต้ นทุนของสินค้ าหรือบริการทีเราเอามาส่งถึงมือลูกค้ านันเอง ถ้ าเป็ น
สินค้ าพวกซือมาขายไป เช่น เครืองใช้ ไฟฟ้า ต้ นทุนขายก็อาจจะเป็ น “ราคาทีซือ + ค่าขนส่ง” เท่านันเอง แต่ของผมมันเป็ น
หมูปิงนีสิ ต้ นทุนมันมีอะไรบ้ างนะ

ผมพบว่าต้ นทุนของหมู 1 ไม้ ประกอบไปด้ วยค่าใช้ จ่ายทีมีทงผั


ั นแปร (ไปตามรายได้ ) และค่าใช้ จ่ายคงที

ค่าใช้ จ่ายผันแปร ได้ แก่ ค่า เนือหมู 2 บาทต่อไม้ , ค่าซ๊ อสหมัก 0.50 บาทต่อไม้ ค่าไม้ เสียบ 0.20 บาทต่อไม้
และค่ า ถุง พลาสติ ก +ค่ า นํ าแข็ ง แช่ เ ย็ น +ค่ า ถ่ า น รวม 0.30 บาทต่ อ ไม้ รวมเป็ นต้ นทุน ผั น แปรทังสิ น 3 บาทต่ อ ไม้
ซึงจะสังเกตได้ ว่า ค่าใช้ จ่ายผันแปร (ไปตามรายได้ ) มันจะขึนลงไปตามยอดขาย และค่าใช้ จ่ายคงที ได้ แก่ ค่าคนปิ งหมู
วันละ 400 บาท และค่ารถไปซือของอีก 100 บาท รวมค่าใช้ จ่ายคงที 500 บาทต่อวัน

นันหมายความว่า ต้ นทุนขายของผมอยู่ที 3 บาทต่อไม้ + 500 บาทต่อวัน นันเอง ซึงถ้ าหากราคาขายอยู่ทีไม้ ละ


7 บาท เท่ากับว่าถ้ าไม่นบ
ั ค่าใช้ จ่ายคงที 500 บาท เท่ากับว่า ผมจะมีกําไรในเบืองต้ น 7-3 บาท หรื อ 4 บาทต่อไม้ นันเอง
ดังนันถ้ าจะให้ ค้ มุ กับต้ นทุนคงที 500 บาทข้ างต้ น ผมก็ต้องขายอย่างน้ อยวันละ 125 ไม้ น่ะสิ ซึงจริงๆแล้ วยังไม่ใช่ครับ..

เพราะสิงทีเราเห็นข้ างบน เป็ นเพียงต้ นทุนขายซึงแสดงถึงกําไรขันต้ นเท่านัน เรายังมีต้นทุนอืนๆ อยู่อีก ซึงได้ แก่
ค่าเช่าแผง วันละ 100 บาท ค่าบริ หารจัดการของเราเอง วันละ 200 บาท ค่าโต๊ ะและเตาปิ ง ซือมารวมกัน 8000 บาท
ซึงคนขายบอกว่าใช้ ได้ ปีนึง ผมตีว่าใช้ แค่ 200 วันก็พอ ก็ตกวันละ 40 บาท (อันนีคือค่าเสือมราคานันเอง แต่เพือไม้ ให้ งง
เด๋ว เราอธิ บ ายในบทอืนนะ) แล้ วก็ต้ นทุนเงิ นทีกู้มาลงทุน เสียดอกเบียวันละ 60 บาท รวมเป็ นต้ นทุนอืนๆ ทังสินอยู่ที
400 บาท (100 + 200 + 40 + 60)

ทีนี ผมเอาต้ น ทุน ขายมารวมกับต้ น ทุน ค่า บริ ห ารจัด การ ก็ จะได้ แก่ ไม้ ละ 3 บาท + 900 บาท (ต้ น ทุน ขาย
500 บาท + ต้ นทุนค่าบริหารจัดการ 400 บาท) ดังนัน ถ้ าผมจะขายให้ ถงึ จุดทีคุ้มทุน หรือ “เจ๊ า” ในแต่ละวัน ผมก็ต้องขาย

ให้ ได้ 900 / 4 = 225 ไม้ นนเอง


ั นันหมายความว่าตังแต่ไม้ ละ 226 เป็ นต้ นไป ผมถึงจะมีกําไรครับ..

7|P a ge
ถ้ าหากผมมีเวลาขายเฉพาะช่วงเช่า คือ ตังแต่ 6-10 โมงเช้ า เป็ นเวลา 4 ชัวโมง นันหมายความว่า ผมต้ องขาย
ให้ ได้ ชัวโมงละ 55 ไม้ หรือตกเฉลียประมาณนาทีละไม้ .. เอ้ อ!! เป็ นไปได้ นะ เพราะปิ งทีเยอะ หลายไม้

ผมนํ า เสนอประเด็ น นี เข้ ามา เพราะบางธุ ร กิ จ นั น ในทางต้ นทุ น กํ า หนดว่ า จะต้ อ งขายให้ ได้ นาที ล ะชิ น
แต่ความสามารถในการผลิต ใช้ เวลาถึง 2 นาทีในการผลิต 1 ชิน ซึงนันก็หมายความว่า ยอดขายจะไม่มีทางเจ้ ามาบรรจบ
กับ จุ ด คุ้ มทุน ตั งแต่ แ รกแล้ ว ซึ งถ้ า เกิ ด เหตุ ก ารณ์ นี นั นคื อ เราต้ องปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิต แต่ ก็ อ ย่ า งว่ า นะครั บ
“ทุกปั ญหาก็มีทางออก แต่ทกุ ทางออกก็มีปัญหาต้ องแก้ เช่นกัน” (ซึงเดียวเราจะกล่าวถึงในบทต่อๆไป)

แต่ บทนี เราก็จ ะทราบแล้ ว ว่ า โครงสร้ างของธุ รกิ จ หมูปิ ง มี อะไรบ้ าง และต้ อ งขายเท่ า ไหร่ ถึงจะเริ มมีกํ า ไร..
เราเริมมีเข็มทิศในการตัดสินใจแล้ วล่ะ ก่อนทีจะไปถึงบทต่อไป ผมอยากให้ ทุกคนลองคิดตามไปว่า ต้ นทุนตรงจุดไหนเป็ น
ต้ นทุนทีเป็ นสัดส่วนทีสูง หรือต้ นทุนไหนเราจะทําให้ มนั ลดลงได้ บ้าง เดียวบทหน้ าเราค่อยมาคุยกันต่อนะ..

8|P a ge
บทที 2 โครงสร้ างกําไรและต้ นทุนคงที

จากบทที แล้ ว เราพอรู้ คร่ า วๆ แล้ ว ล่ะ ว่ า จุด คุ้ม ทุน มัน อยู่ที เท่า ไหร่ ต้ อ งขายหมูปิ งกี ไม้ แต่ ทีนี เนี ย ผมเองก็
อยากจะแสดงให้ เ ห็ น ว่ า การที เราขายของไปเรื อยๆ นัน ยอดขายที สูง อาจจะไม่ ไ ด้ ห มายถึง กํ า ไรที สูง ที สุด เสมอไป
เอ๊ ะ!! นีผมกําลังหมายถึงอะไรนะ.. คือ ผมอยากจะกล่าวถึงต้ นทุนทีเป็ น “ความเสียง” ของกิจการ นันก็คือ “ต้ นทุนคงที”
ซึงอันทีจริงแล้ ว มันไม่ได้ คงที แต่มนั เพิมขึนแบบเป็ นขันๆ เพือให้ เกิดความเข้ าใจ ผมคงต้ องนอกเรืองสักนิดน่าจะดี..

อันนีไม่เกียวกับหมูปิงเลยนะ.. สมมติผมซือรถกระบะมาคันหนึง เพือส่งสินค้ า รถกระบะของผมคันนีจุสินค้ าได้


500 กล่อ ง ถ้ า หากว่ าต้ น ทุน ตังแต่ ค่า ผ่ อ นรถไปจนถึง ค่า เชื อเพลิง ค่ า สึกหรอ ไปยัง ลูก ค้ า อยู่ที เทียวละ 1,500 บาท
ดัง นัน หากผมเอาของไปส่ง ให้ กับ ลูก ค้ า ถ้ า ผมไปแค่ 100 กล่อ ง อาจจะดูไ ม่ ค้ ุ ม เพราะค่ า ขนส่ง ต่ อ กล่ อ งจะอยู่ ที
1500/100 คือกล่องละ 15 บาท แต่ถ้าไปส่ง 300 กล่อง ก็จะกลายเป็ นต้ นทุนกล่องละ 1500/300 คือกล่องละ 5 บาท
ก็อาจจะพอถูไถ แต่ถ้าไปส่งได้ 500 กล่อง อันนีเยียม.. ไปแล้ วคุ้ม เพราะค่าขนส่งจะอยู่ที 1500/500 คือกล่องละ 3 บาท

ประเด็นก็ คือ เราทราบว่าความสามารถในการขนส่ง (Capacity) อยู่ทีเที ยวละ 500 กล่อง ถ้ าหากว่า ลูกค้ า
สังสินค้ า 600 กล่องล่ะ ต้ นทุนจะเป็ นเท่าไหร่ เพราะผมไปเทียวเดียวไม่หมด ค่าขนส่งจะเบิล กลายเป็ น 2 เทียว คือ 3,000
บาท และค่าขนส่งจะกลายเป็ น 3000/600 หรื อกล่องละ 5 บาททันที สิงทีผมนําเสนอให้ เห็นก็คือ ต้ นทุนคงที มันไม่ ได้
“คงที” แต่มันเพิมเป็ นลําดับขัน ด้ วยเหตุผลนีจึงทําให้ ผ้ ปู ระกอบการต้ องมาวัดดวงเวลา “ขยายโรงงาน” เพือทําให้ ธุรกิจ
เติบโตยังไงล่ะ และเราก็มีให้ เห็นมาสมําเสมอว่า กิจการบางกิจการทียืนหยัดมาได้ หลายสิบปี กลับต้ องล้ มละลายเพราะ
ขยายกําลังการผลิตแล้ วไม่ถงึ จุดคุ้มทุน ลากให้ สว่ นเดิมทีมีกําไรขาดทุนลงไปด้ วย

ทีนีเรากลับมาทีร้ านหมูปิงของเรากันดีกว่า เราก็จะรู้ ว่าต้ นทุนของเราทีคงที ก็น่าจะเป็ น 500 บาท คือค่าไปซือ


ของและค่าแรงคนปิ ง หมายความว่า ยังไงผมก็ต้องโดน 500 บาททุกวัน ผมต้ องใช้ 500 บาทนีให้ ค้ มุ ค่าทีสุด แต่ก็อย่างที
เราทราบกัน คนเองก็มีข้อจํากัดในการทํางาน ถ้ าผมสมมติว่าคนปิ งหมูของเรา สามารถปิ งได้ วันละ 300 ไม้ ล่ะ อันนีคือ
แบบว่าปิ งไม่หยุดเลยนะ และต้ องปิ งในช่วงพีคของเวลาทีขายดีทีสุดด้ วย.. หน้ าตาของโครงสร้ างกําไรของผม จะเป็ นยังไง
ล่ะทีนี (เผือไม่ให้ งง ผมขอให้ ค่าดอกเบียกับค่าเช่าแผงคงทีไว้ แบบว่าแผงใหญ่มาก ไม่ต้องเช่าเพิม เอาเท่าเดิมไปก่อนนะ)

เพือให้ เกิดความเข้ าใจมากขึน เรามาดูตารางกันดีกว่า ซึงผมได้ รวมภาษี เข้ าไปด้ วยเพือความสมจริ ง (พอดูตาราง
เสร็จ ก็ลองเอาโครงสร้ างไปเทียบในงบกําไรขาดทุนของบริ ษัทในตลาดหลักทรัพย์ ดูก็ได้ นะ) ทีนี Pattern ของตารางทีผม
นํ า มาให้ ดูนี ผมจะใช้ แบบนี ไปเรื อยๆ เพื อให้ เ กิ ด ความเคยชิ น แต่ ผมจะปรั บ เปลียนตัว เลขไปตามรู ป แบบธุ รกิ จ กั บ
อุตสาหกรรมทียกตัวอย่างในแต่ละบท การได้ เห็นตารางบ่อยๆ จะทําให้ เกิดการซึมซับและความเคยชินช่วยให้ เกิดความ
เข้ าใจมากขึนนะครับ..

9|P a ge
จากตารางทีแสดงอยู่ ในบทนีผมอยากจะให้ ดูเฉพาะในส่วนของกําไรขันต้ น ซึงเป็ นพืนฐานของกิจการเสียก่อน
เพราะถ้ าหากกําไรขันต้ น “ไม่เกิดขึน” เราก็เริมต้ นธุรกิจไม่ได้ ซึงเราจะสังเกตได้ ว่าต้ นทุนคงทีมีผลต่อกําไรขันต้ น การขาย
สินค้ าได้ มากไม่ได้ หมายความว่าจะมีกําไรทีสูงกว่าเสมอไป ทังนีกิจการร้ านหมูปิงของเรา หากเพิมยอดขายจาก 300 ไม้
เป็ น 400 ไม้ เราจําเป็ นจะต้ องจ้ างคนมาปิ งเพิมทันที ทําให้ การขายหมูปิงจาก 300 ไม้ ไปที 400 ไม้ อาจจะไม่มีกําไร
เพิมขึน แต่ว่าพอไม้ ที 401 เป็ นต้ นไป ถึงจะเริมมีกําไรทีสูงขึน เพราะว่าเราใช้ ต้นทุนคงทีได้ ค้ มุ ค่ามากขึน

ซึงกิ จ การหมูปิงของเราค่ อนข้ า งโชคดี ที ต้ น ทุนของคนปิ งไม่สูง เมื อเที ย บกับ ต้ น ทุน ขายอืนๆ (คิ ด ดูง่ ายๆ ว่ า
เราจ่าย 300 บาท ปิ งได้ เต็มที 300 ไม้ แสดงว่าต้ นทุนการปิ งถ้ าใช้ งานเต็มที ก็คือไม้ ละ 1 บาท (400 บาท / 300 ไม้ )
และอาจจะสูงได้ ถึง 3-4 บาท หากขายได้ น้อยหรื อขายไม่ไ ด้ เลย (400 บาท / 100 ไม้ ลองดูใ นตารางสิ ว่าถ้ าขายได้
แค่ 100 ไม้ เราขาดทุนเลยนะ)

กิจ การหมูปิ งมีต้ นทุนค่ าแรงเพีย ง 25-50% ของต้ นทุนขายทังหมด บางกิ จการเช่ น กิจ การการ์ เ ม้ น ต์ ใ นอดี ต
ต้ น ทุน ค่า แรงงานอาจสูงได้ ถึง 50-70% ของต้ น ทุน ขาย ซึงทํา ให้ มีผลกระทบมาก (เราอาจจะได้ นํา ตารางมาปรับ กับ
อุตสาหกรรมอืนๆ กันในบทต่อๆ ไป)

แต่บทนีเอาเป็ นว่าอยากให้ ทําความรู้จกั กับ “ต้ นทุนคงที” ว่าคือ หนึงในความเสียงในการลงทุนกิจการก็แล้ วกัน


ซึงต้ นทุนคงที ยังคงมีอยู่ในรายการอืนๆ ด้ วยนะ ไม่ว่าจะเป็ นในส่วนของ “ค่าเสือมราคา” “ค่าดอกเบีย” หรื อ “ค่าบริ หาร
จัดการ” และอีกมากมาย และเราก็ต้องไม่ลืมว่า “ต้ นทุนคงที” มันอาจจะไม่ ได้ “คงที” ไปซะทีเดี ยว แต่มันจะคงทีไปถึง

10 | P a g e
จุดๆหนึงทีมันต้ องขยาย และต้ นทุนคงที เมือลงทุนไปแล้ ว ก็จะกลายเป็ นว่า “ไม่ทําไม่ขาย ก็ต้องจ่ายอยู่ดี” เป็ นไฟท์ บังคับ
บทนีเอาเท่านีก่อนแล้ วกัน..

11 | P a g e
บทที 3 กําไรขันต้ น (Gross profit) และอัตรากําไรขันต้ น (Gross profit margin)

บทนี ผมจะขออธิบายถึงเรืองของกําไรขันต้ น หรือทีเราเรียกว่า Gross profit ซึงจากบททีก่อน เราพอทราบแล้ ว


ว่ากําไรขันต้ นก็คือการนํารายรับมาหักลบกับต้ นทุนขาย ซึงกําไรก้ อนนีทีได้ มา เราก็จะเอามาหักลบกับต้ น ทุนทีเหลือของ
เราอี ก ที ห นึง หรื อ ถ้ า ผมจะอธิ บ ายแบบตรงไปตรงมาก็ คื อ “กํ า ไรขันต้ น เกิ ดจากรายรั บ จากการขายมาลบกับ ต้ น ทุน
ซึงต้ นทุนตรงนี ถ้ าเราไม่ขาย เราก็ไม่มีต้นทุนตรงส่วนนี หรื อถ้ าเรายิงขายเพิม ต้ นทุนตรงนีก็ยิงเยอะ” แต่ผมว่าผมน่าจะ
อธิบายยังไม่ชดั เจนนะ ผมลองสมมติเรืองบางอย่างให้ มนั ง่ายขึนอีกนิด ซึงจริ งๆแล้ วเราก็จะพอทราบว่าไอ้ กําไรขันต้ นเนีย
มันอยู่กบั ชีวิตประจําวันของเราเพียงแต่เราไม่ร้ ูตวั ..

สมมติผมตกงาน ผมซึงเป็ นหัว หน้ า ครอบครัว ซึงมี รายจ่ายจิปาถะในบ้ า นเดือนละ 20,000 บาท แน่นอนว่ า
ครอบครั ว ผมจะต้ อ งดึง เงิ น เก็ บ ในครอบครัว ออกมาใช้ จ่า ย และวัน หนึงผมก็ มีบ ริ ษั ท มาเรี ยกไปสัมภาษณ์ ถึง 2 แห่ ง
แห่ ง แรกให้ เ งิ นเดื อนผม 25,000 บาท แต่ อยู่ใ กล้ บ้ า น ผมสามารถไปทํ า งานได้ โ ดยเสียค่ า ใช้ จ่ า ยทังสิน (ค่า เดิน ทาง
และค่าอะไรก็ตามที เกียวกับการไปทํางาน) เพีย ง 5,000 บาทต่อเดือ น ทําให้ ผมมีเงินเหลือเก็บมาใช้ จ่ายในครอบครั ว
20,000 บาทต่อเดือน ในขณะทีแห่งทีสองให้ เงินเดือนผม 30,000 บาท แต่ว่าไกลมาก ผมต้ องเสียค่าเดินทางเดือนละ
12,000 บาท ทําให้ ผมเหลือมาให้ ครอบครัวเพียง 18,000 บาท ถ้ ามองเฉพาะในด้ านของตัวเงิน แห่งแรกทีสร้ างรายรับ

ให้ ผมน้ อยกว่ากลับทําให้ ผมมีเงินส่งกลับมาทีบ้ านมากกว่าแห่งทีสอง

โอเคล่ะ .. ว่ าผมเลือ กทํา งานแห่ ง แรกแล้ ว ผมยังให้ แ ฟนผมจากทีเดิ ม เป็ นแม่ บ้ า น ให้ อ อกมาทํ างานอีก ด้ ว ย
แต่ทํางานใกล้ บ้าน สามารถนังมอเตอร์ ไซด์ไปทําได้ ทําให้ มีรายรับ 12,000 บาทต่อเดือน ในขณะทีค่าใช้ จ่ายในการทํางาน
ทังสิน เดือนละ 1,000 บาท ก็จะเหลือเก็บกลับมาทีครอบครัวเดือนละ 11,000 บาท ทีนีจากทีผมทํางานรวมกับของแฟน
ก็จะกลายเป็ นเงินเก็บเข้ ามาในครอบครัวทังสินเดือนละ 31,000 บาท (20,000+11,000) และถ้ าค่าใช้ จ่ายจิปาถะในบ้ าน
ยังไม่เ พิม (คือ ยัง มีค่า ใช้ จ่า ยในบ้ านเท่ าเดิ มคื อเดือ นละ 20,000 บาท) ครอบครัว ผมก็จ ะมี เงิ นเก็บ (หรื อ กํา ไรสะสม)
เพิมขึนเดือนละ 11,000 บาททีเดียว ซึงหากมองในแง่บริ ษัท ค่าใช้ จ่ายจิปาถะในบ้ าน ถ้ าเปรี ยบเทียบ ก็คือ ค่าใช้ จ่ายใน
การบริ หารจัดการ (Selling, General and administrative expense หรื อ SG&A) และถ้ าผมมีค่าผ่อนบ้ านผ่อนรถ
ก็ถือเป็ นค่าเสือมราคา (Depreciation) ส่วนดอกเบียของบ้ านและรถ ในแง่บริ ษัทก็ถือเป็ นดอกเบียจ่ายนันเอง อันทีจริ ง
มันก็เทียบชีวิตครอบครัวกับรูปแบบบริษัทเป๊ ะๆ คงไม่ได้ แต่ก็พอดูๆไปเป็ นไอเดียนะครับ..

สรุปก็คือว่า เราพอรู้แล้ วล่ะ ว่า “กําไรขันต้ น” ทีเกิดขึนจะเหมือนเป็ นการ “ส่งส่วย” เข้ าสู่ค่าใช้ จ่ายส่วนกลางของ
บริ ษั ท สํา หรั บ อัต รากํ า ไรขันต้ น ( Gross profit margin) ก็ ไ ม่ มี อ ะไรมาก ก็ คื อ เอากํ า ไรขันต้ น มาหารด้ ว ยรายรั บ
ถ้ าหากใช้ ตัวอย่างเดิม คือ รายได้ ของผมหักรายจ่ายในการไปทํางาน คือ 20,000 / 25,000 ก็จะเท่ากับ 80% และของ
แฟนผมก็คือ 11,000 / 12,000 ก็จะเท่ากับ 92% ซึงจะสังเกตได้ ว่าของแฟนผม มีอัตรากําไรขันต้ นทีสูงกว่า เห็นแบบนี
แล้ ว หลายคนก็อาจจะถามว่า ถ้ าเป็ นแบบนีเราเป็ นลูกจ้ างก็ดีสิ อัตรากําไร ดีไปหมดเลย.. แต่ช้าก่อน อัตรากําไรมันสูงก็
จริงแต่เราเพิมยอดขายไม่ได้ มันก็เลยล๊ อคตายอยู่แค่นนั แต่แน่นอนว่ามันได้ ความมันคงและเสียงน้ อยกว่าการทํากิจการ..

12 | P a g e
นอกเรื องไปไกล ผมขอย้ อนกลับ เข้ า มาที ร้ า นหมูปิงของผมนะครับ ซึงเราก็จ ะสัง เกตเห็ นได้ ว่า ต้ นทุนมัน แบ่ ง
ออกเป็ น 2 ก้ อน ส่วนทีหนึงก็คือ ต้ นทุนขาย และส่วนทีสอง คือ ค่าบริ หารจัดการ ค่าเสือมราคา ดอกเบียและภาษี ซึ งถ้ า
หากว่าราคาขายสินค้ าของเรา เมือลบกับต้ นทุนขายไปแล้ วติดลบ เราก็ไม่ควรจะขายมันแล้ ว เพราะกําไรขันต้ นมันติดลบ
ยิงทํายิงเจ๊ ง..

บางคนก็ เ ลยสงสัย ว่ า “ใครมัน จะบ้ า ไม่ ร้ ู ตัว ว่ า ขายแล้ ว ขาดทุน หรื อ กํ า ไรขันต้ น ติ ด ลบ” อัน ที จริ ง แล้ ว มี ค รั บ
โดยเฉพาะอย่ างยิงธุรกิจขนาดใหญ่ ที มีโ ครงสร้ างซับ ซ้ อ น และมัก จะเกิด จากสินค้ าหรื อบริ ห ารที เคยมี กํา ไรในอัตราสูง
มาก่ อ น และเกิ ด การเปลียนแปลง ทํ า ให้ อัต รากํ า ไรขันต้ น ลดลง แต่ รายจ่ า ยลงตามมาไม่ทัน หรื อไม่ ก ล้ า ลดรายจ่ า ย
บางอย่ า งลง ซึงถ้ า เปรี ย บเที ย บว่ า ครอบครัว เราเป็ นมอเตอร์ ไ ซด์ พอเจออะไรกระทัน หัน เราเบรคทัน แต่ใ นธุ รกิ จ นัน
มันเหมือนเป็ นรถเทรลเลอร์ บรรทุกมาเต็มคัน ถึงจะเห็นคนอยู่ไกลๆ รู้ ว่าจะชน และพยายามจะเบรค บางครังก็เบรคไม่ทัน
จริงๆ แต่เชือไม๊ ว่า ยังคงมีผ้ บู ริ หารจํานวนมาก ทีไม่ร้ ู ว่าตัวเองยิงขายยิงขาดทุน อันเนืองมาจากการ “หลอกตัวเอง” หรื อ
อาจจะเกิดจาก การไม่สามารถกระจายต้ นทุนคงที ทําให้ ไม่สามารถระบุได้ ว่าสินค้ าใดมีต้นทุนคงทีเท่าใด ทําให้ ไม่สามารถ
คิดต้ นทุน ขายต่อ หน่วยที แท้ จริ ง ออกมาได้ เป็ นต้ น (ประเด็น พวกนี ผมจะเอามานํา เสนอช่ วงกลางๆ เล่ม ตอนนี เราเอา
เบืองต้ นไปก่อนนะ)

โอเค.. ร้ านหมูปิงของผม ตอนนีก็จะไม่ใช่ร้านหมูปิงอีกต่อไป ผมเล็งเห็นว่าแผงของผมมีขนาดใหญ่ พอ ผมจึงเพิม


การขายลูกชินปิ งเข้ าไปด้ วย โดยปิ งในเตาเดียวกับทีขายหมูปิงนันล่ะ (สงสารคนกินนะ) แต่ผมต้ องจ้ างคนเพิมอีก อันทีจริ ง
มันจะวิเศษมาก ถ้ าคนปิ งคนเดิมสามารถปิ งลูกชินไปพร้ อมกับหมูได้ เพราะต้ นทุนคงทีจะถูกด้ วยจํานวนไม้ ทีเพิมขึนทันที
แต่เนืองจากการปิ ง 300 ไม้ มนั ก็มากเกินสําหรับคนหนึงคน ผมก็เลยจ้ างคนที 2 เข้ ามาปิ งลูกชิน และหากมีเวลาก็ให้ ช่วย
ปิ งหมูด้วย โดยคนที 2 มีความสามารถในการปิ ง 300 ไม้ ต่อวันเท่ากัน (หลังจากบทนีไป ผมขอแก้ ไขค่าจ้ างคนงานใน
บทที 1 และ 2 นะครับ จากเดิมทีเขียนไว้ วนั ละ 300 บาท แก้ เป็ นวันละ 400 บาท)

ก่อนทีจะไปถึงเรืองตาราง ขอเล่าเกร็ดความรู้อะไรสักนิด คือการทีเราเอาของหลายๆอย่างมาขาย อาจจะไม่เป็ น


ผลดีเสมอไป เพราะถ้ าหากว่ากําลังซือมีไม่มากพอและเป็ นสินค้ าประเภทเดียวกัน การทีเราเอาของมาขายเพิมก็จะขายไม่
ออก ยกตัวอย่างเช่น ถ้ ากลุม่ คนทีซือหมูปิงเป็ นกลุ่มเดียวกับทีซือลูกชิน ก็อาจจะเกิดการแย่งตลาดกัน เอง ภาษาทางการ
ตลาดเรียกว่า “การกินกันเอง” หรื อ Canibalization แต่ในทางกลับกัน หากว่าเป็ นสินค้ าประเภทเดียวกัน แต่มีกําลังซือ
เหลือพอทีจะเปิ ดอีกเฟส ก็อาจจะสามารถเอาของแบบเดียวกันมาขายเพิมหรื อว่าเอาของอืนมาขายเพิมก็ได้ ดังทีเราจะ
เห็นว่าบางทีร้านสะดวกซือมีอยู่ในจุดเดียวกันถึง 3-4 ร้ าน ทังๆ ทีมีระยะห่างกันเพียง 2 คูหาเท่านัน นอกจากนีเรื องทีน่ารู้
ก็ยงั มีอีกนิดหนึงก็คือ เรืองของการแบ่งราคาขาย (Price Discremination) ก็คือ บางทีถงึ แม้ ตลาดจะมีจํากัด แต่ก็อาจจะ
ทําสินค้ า มาหลายเกรดเพือให้ ข ายแล้ วเกิดกํ าไรสูง สุดก็ ได้ ยกตัวอย่างเช่ นมือ ถือค่ ายหนึง ทํา สินค้ าออกมาหลายเกรด
เพือกินตลาดทุก ส่วน คนรวยถ้ า หากเลือกได้ ก็จ ะอยากใช้ ของที ดีทีสุด ก็เลยทํ ามือถือดี ๆ มาขายคนรวยในขณะที ของที
ราคาตํากว่าก็จะเอามาขายผู้ทีมีรายได้ น้อยกว่า ทังๆ ทีต้ นทุนจริ งต่างกันไม่มากและประสิทธิ ภาพก็อาจไม่ได้ ต่างกันมาก
เมือเทียบกับราคาทีต่างกัน เป็ นต้ น

13 | P a g e
จากตาราง เราก็จะเห็นได้ ว่า ถ้ าหากขายลูกชินปิ งและขายได้ เยอะถึง 300 ไม้ ก็จะมีกําไรมาช่วยหมูปิงถึงวันละ
250 บาทที เ ดี ย ว ซึงรายรั บ จากกํ า ไรขันต้ น ของลูก ชิ นปิ งตรงนี ก็ จ ะมาช่ ว ยจ่ า ยในส่ว นของต้ น ทุน ค่ า บริ ห ารจัด การ
ค่าเสือมราคาและดอกเบียจ่าย ให้ หมูปิงเบาแรงลง และถ้ าเราสังเกตดีๆ เราก็จะพบอีกประเด็นว่า แต่เดิมทีเราเคยบอกว่า
ถ้ าขายหมูปิงไม่ถงึ 300 ไม้ เราก็อาจจะไม่กําไรหรืออาจจะถึงขันขาดทุนด้ วยซํา (เช่นถ้ าขายได้ แค่ 100 ไม้ ) การมีลกู ชินปิ ง
ก็อาจจะกลายเป็ นว่า หากลูกชินและหมูปิงขายรวมกันไม่เกิน 300 ไม้ ผมอาจจะไม่ต้องจ้ างคน 2 คนก็ได้ เพราะคนเดียว
ก็ปิงไหว ทําให้ สถานการณ์ทีหมูปิงทีอาจจะขาดทุนหากขายไม่ถึง 100 ไม้ กลับมามีกําไร ภายใต้ เงือนไขทีว่าจะต้ องขาย
รวมกับลูกชินปิ งให้ ได้ 200 ไม้ ซึงเป็ นเรืองทีง่ายกว่า หรืออาจจะบอกว่า “ลูกชินมาช่วยหมูปิง ในแง่ทีว่า มาช่วยหารต้ นทุน
คงที หรื อ อาจกล่า วได้ ว่ า มาช่ ว ยให้ ก ารใช้ ท รั พ ยากรให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ยิ งขึนนันเอง” ตรงส่ ว นนี ล่ะ ที คลาสสิค และ
พลิกแพลง กําไรของหลายๆ กิจการมาจากตรงนี เพราะว่าเวลาเรี ยกเก็บตังลูกค้ าเรี ยกเก็บเต็มๆ ซึงเท่ากับว่าได้ ค่าต้ นทุน
มาเต็มทีแล้ ว แต่เอา Capacity ทีเหลือไปทํางานส่งลูกค้ าอีกราย ซึงต้ นทุนบางส่วนนีไม่มีแล้ ว (เพราะเก็บจากลูกค้ าเจ้ า
แรก) แต่ก็ยงั เรียกเก็บกับลูกค้ าอีกราย กําไรมันอยู่ตรงนี ลองดูในตารางก็ได้ ว่าถ้ าหมูปิงหรื อลูกชิน อันใดอัน หนึงไม่ต้อง
จ่ายค่าคนปิ ง กําไรขันต้ นมันจะสูงขนาดไหน... แต่ลกู ค้ าทีรู้ทนั ก็จะขอต่อรองราคาอยู่ดี เพราะในโลกของธุรกิจ “ไม่มีใครโง่”
มีแต่ “แกล้ งโง่” เท่านันเอง.. บทนีเอาเท่านีก่อนดีกว่า..

14 | P a g e
บทที 4 ค่ าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร (Sale, general and administration cost - SG&A)

ก่อนทีจะเข้ าสูเ่ นือหา ผมอยากจะลองเปรียบเทียบระหว่าง “ระบบการเงินของครอบครัว” กับ “ระบบการเงินของ


บริษัท” กันสักหน่อยท่าจะมีประโยชน์และได้ แนวคิดเพิมเติม..

จากบททีแล้ ว เราก็ได้ ทราบถึงกําไรขันต้ นแล้ ว ซึงถ้ า อยู่ในรู ปแบบของครอบครัวก็คือ รายรับสุทธิ หลังจากหัก


รายจ่ายของหน่วยสร้ างรายได้ ของครอบครัว (ปกติก็จะเป็ นพ่อกับแม่) สมมติรายรับรวมกัน 50,000 บาท แต่มีค่าใช้ จ่ายใน
การไปทํางาน 20,000 บาท ก็เท่ากับว่าเหลือกลับมาบ้ านในแต่ละเดือน 30,000 บาท ซึงถ้ าหากว่าอยู่กันแค่สองคนสามี
ภรรยา อาจจะมี เพี ย งค่ าใช้ จ่า ยส่ว นกลางแค่ อ าหารและทีพัก อาจจะสัก เดื อนละ 10,000 บาท ทํ าให้ เ หลือ เก็ บ จริ ง ๆ
20,000 บาท แต่ถ้าเป็ นครอบครัวใหญ่หน่อยทีมีลกู หลายคน ก็อาจจะมีรายจ่ายค่ากินเพิมขึนมาอีก จนทําให้ ไม่เหลือเก็บก็
เป็ นได้ และบางครังถึงแม้ ว่าจะมีเงินเหลือเก็บมากๆ เราก็อาจจะนําเงินไปเทียวโน่นนีเพือให้ รางวัลกับชีวิต เงินทีเหลือนอน
นิงๆ ในบัญชีก็คือ “เงินเก็บ” ของเรา ซึงแน่นอนว่าครอบครัวทีเล็ก ก็จะมีโอกาสมี ”เงินเก็บ” มากกว่าครอบครัวใหญ่ เพราะ
ภาระน้ อยกว่า..

ในรู ป บริ ษั ท ก็เ ช่น เดีย วกัน หน่ วยผลิต ก็ ทํา การสร้ างสรรค์ ผลิต ภัณฑ์ แ ละบริ การ โดยมี หน่ ว ยสนับ สนุน ได้ แ ก่
ส่วนกลางทีทําหน้ าทีโฆษณา พัฒนาวิจัย การเงินและบริ หาร ซึงถ้ าหน่วยผลิตหากําไรขันต้ นมาได้ ไม่มากพอ ธุรกิจก็จะ
ล่มสลาย คือ ธุรกิจจะไม่มี “เงินเก็บ” หรืออาจจะ “ขาดทุน” นันเอง ค่าใช้ จ่ายส่วนกลางครงนี ภาษาทางบัญชี จะบันทึกไว้
ว่า “ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร” นันเอง ซึงผู้อ่า นก็คงจะนึกภาพตามได้ ว่า ถ้ า หากค่าใช้ จ่ายส่วนนีสูง บริ ษัท ก็
จะต้ องพยายามทําให้ กําไรขันต้ นสูงพอทีจะครอบคลุมค่าใช้ จ่ายส่วนนีจนทําให้ เกิด “กําไร” หรือ “เงินเก็บของบริษัท”

ทีนีเรามาดูรายละเอียดกัน.. “ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร” ประกอบไปด้ วยส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน


ได้ แก่ ส่วนที 1 ค่าใช้ จ่ายในการขายและการทําการตลาดต่างๆ ได้ แก่ ค่าโฆษณา ค่าจ้ างพรี เซนเตอร์ เป็ นต้ น และส่วนที 2
ก็คือ ส่วนของการบริหารจัดการส่วนกลาง ได้ แก่ เงินเดือนพนักงานส่วนสนับสนุน เช่น เจ้ าหน้ าทีบัญชี นิติก ร ฝ่ ายพัฒนา
ธุรกิจ หรื ออืนๆ อีกมากมาย ความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผม มันคือค่าใช้ จ่ายส่วนทีผมอาจจะพูดได้ ว่า “เป็ นเส้ นบางๆ
ระหว่ างความจําเป็ นต้ องมี กับความฟุ่ มเฟื อย” ทํ าไมผมถึงคิด เช่น นันล่ะ เพราะค่า ใช้ จ่ ายส่วนนี เป็ นค่า ใช้ จ่ ายที บริ ษั ท
“จําเป็ นต้ องมี แต่บางครังมีมากจนเกินไป” ยกตัวอย่างเช่น เรารู้ ว่าบริ ษัทต้ องมีนิติกร เพือทําเรื องสัญญาต่างๆ แต่ถ้า มี
หลายคนก็อาจจะเป็ นต้ นทุนทีสูงเกินไป หรือการโฆษณาก็เช่นเดียวกัน เราไม่ร้ ู หรอกว่าโฆษณาออกทีวีไปแล้ ว ยอดขายที
โตตามมาเป็ นเพราะว่าได้ “ออกทีวี” หรือว่าเป็ นเพราะว่าโปรโมชันโดนใจอยู่แล้ ว “ไม่ต้องโฆษณาก็ขายได้ ” ด้ วยเหตุนี มัน
จึงเป็ นสิงทีผมให้ นิยามว่า “เป็ นต้ นทุนทีผมไม่สามารถ matching ได้ ระหว่างสิงทีผมได้ รับมากับสิงทีได้ จ่ายออกไป หรื อ
สามารถ matching ได้ น้อย” ซึงแตกต่างจากการคํานวณต้ นทุนขายและการหากําไรขันต้ น ซึงทําได้ ง่ายกว่า..

เรามายกตัวอย่างกันสักหน่อย จะได้ ทบทวนเนือหาในบทก่อนด้ วย...

15 | P a g e
สมมติว่า ต้ นทุนขายหมูปิงเฉลียที 2 บาท ขายออกได้ ไม้ ละ 5 บาท เราเกิดกําไรขันต้ น 3 บาทต่อไม้ ทีนี ถ้ าร้ าน
ของผมมีต้นทุนค่าบริ หารจัดการวันละ 600 บาท หมายความว่า ผมจะมีกําไรจริ งๆ หลังจากขายได้ แล้ ว 200 ไม้ นันเอง
และถ้ าผมบอกว่าอยากจะเร่งยอดขาย ผมก็ไปจ้ างเด็กมาตะโกนหน้ าปากซอย โดยให้ ค่าจ้ างวันละ 300 บาท มันก็เท่ากับ
ว่า ผมจะต้ อ งมี ย อดขายเพิ มให้ ไ ด้ อี ก อย่ า งน้ อ ย 100 ไม้ จึง จะครอบคลุม ค่ า ใช้ จ่ า ยส่ว นนี และการให้ เ ด็ ก ไปตะโกน
ปรากฏว่าวันนันผมขายได้ เพิมขึน 300 ไม้ ผมก็อาจจะปั กใจเชือว่า “การจ้ างเด็กมาตะโกน” ทําให้ ยอดขายโต ซึงอาจจะ
เกียวหรือไม่เกียวก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผมก็ได้ ตัดสินใจจ้ างเด็กมาตะโกนเพิมอีก 2 คน รวมเป็ น 3 คน มีค่าใช้ จ่ายในการ
จ้ างเด็กเพิมขึนเป็ น 900 บาทต่อวัน ทําให้ ต้นทุนค่าบริ หารจัดการของผม ทีเดิมมีเพียง 600 บาท กลายเป็ น 1,500 บาท
และผมต้ องขายให้ ได้ 500 ไม้ ถงึ จะเริมมีกําไร..

ถึงแม้ เราจะดูว่าค่าใช้ จ่ายตรงนี เป็ นค่าใช้ จ่ายทีจําเป็ นจะต้ องพยายามควบคุมให้ มีประสิทธิ ภาพทีสุด แต่การที
บางบริ ษัททุ่มงบโฆษณาหรื ออัดค่าใช้ จ่า ยทางการตลาดไปเป็ นจํานวนมาก ก็ อ าจทํา ให้ บริ ษัทสามารถ “สร้ างแบรนด์ ”
ซึงหมายถึง “ความเชือถือในคุณภาพของสินค้ า หรือภาพลักษณ์ทีหรูหราทําให้ ผ้ บู ริ โภคดูมีระดับ” ได้ สําเร็ จ ส่งผลให้ สินค้ า
ของบริษัททีมีคณ
ุ ภาพใกล้ เคียงกับคู่แข่งสามารถขายได้ ทีราคาสูงกว่า 20-50% โดยทีผู้บริ โภคซือหามาใช้ ด้วยความเต็มใจ
(เชือไม๊ ว่า .. ต้ นทุน ของผลิตภั ณฑ์ บํา รุ งผิ วบางยีห้ อ มีสดั ส่วนค่ าใช้ จ่ ายในการทําการตลาดและโปรโมชันสูง ถึง 35-40%
ของต้ นทุนรวม ซึงหมายความว่า สินค้ าทีเราซือในราคา 100 บาท อาจจะมีต้นทุนค่าประชาสัมพันธ์ ถงึ 40 บาททีเดียว)

ขณะเดี ย วกัน ในด้ านของค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ ห าร บางธุ ร กิ จ ก็ อ าจจะจํ า เป็ นจะต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ
จ้ างพนักงานทีมีความเชียวชาญ มาดูแลจัดการระบบส่วนกลาง (อย่างเช่นพวกกิจการทีมีสาขามากมาย) หรื ออาจจะต้ อง
มีนิติกรและพนักงานบัญชีอยู่จํานวนมาก (สําหรับกิจการทีเกียวข้ องกับกฏหมายหรือการเงิน) ทําให้ ตวั เลขส่วนนีดูสงู มาก

จะเห็นได้ ว่า การที “ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริหาร” มีสดั ส่วนทีสูงหรื อตํา ยังไม่สามารถบอกได้ ว่าเป็ นบวก
หรื อเป็ นลบ เพราะมันแล้ วแต่โ ครงสร้ างของกิ จ การ ดัง นัน เพื อให้ เ ราสามารถนํ า ความรู้ ส่วนนี ไปใช้ ได้ จริ ง สํา หรั บการ
“ส่อ งกิ จ การ” ว่ า มัน ปกติ ดี หรื อ ดี ขึนหรื อ แย่ ลง วิ ธี ก ารก็ คื อ เราต้ องนํ า “ค่ า ใช้ จ่ า ยในการขายและการบริ ห าร” มา
เปรียบเทียบในมิติต่างๆ ดังนี (อันนีคือเท่าทีผมพอจะมีความรู้ ซึงอาจจะมีท่านอืนทีมีวิธีทีดีกว่าครับ)

มิติแรกที เราทําได้ ก็คือ “เปรี ยบเทียบตัวมันเอง” เทียบไตรมาสต่อ ไตรมาส หรื อปี ต่ อปี ว่าค่ าใช้ จ่ายส่วนนีงอก
ขึนมาหรื อไม่ หรื อมัน ลดลงไป เพราะแต่ละกิจ การที มี เสถี ยรภาพ ค่า ใช้ จ่า ยเหล่านี มันจะไม่ “บวม” ซึงถ้ า มัน “บวม”
มัน จะต้ องมีอ ะไรเกิด ขึน ยกตัวอย่า งเช่ น ชาเขี ยวเจ้ า เก่ า ซึงถูก ชาเขี ย วเจ้ าใหม่ เข้ า มาตีต ลาด ก็ อ าจจะมี ต้น ทุนด้ า น
การตลาดสูงขึนแบบผิดหูผิดตา เพราะอยู่ในสภาวะทีต้ อง “สู้” กับรายใหม่ เป็ นต้ น การเปรียบเทียบลักษณะนี ทําให้ ร้ ู ความ
เป็ นไปของบริษัทมากขึนว่ามีทรงเป็ นอย่างไร หรือบริษัท “กําลังเสียหลัก” อยู่

มิติทีสองก็คือ “เปรี ยบเทียบตัวมันเองกับอุตสาหกรรม” ว่าค่าใช้ จ่ายส่วนนี มีสดั ส่วนเป็ นอย่างไร เมือเทียบกับ


ต้ นทุนรวม เพราะว่ามันมีกิจกรรมทีใกล้ เคียงกัน ยกตัวอย่างเช่น บริ ษัท 3 บริ ษัท A B และ C ขายสินค้ าประเภทเดียวกัน
มีต้น ทุนการบริ ห ารจัดการ คิดเป็ น % อยู่ทีเฉลีย 30% ถ้ าวัน ดีคื นดี บริ ษั ท A กลับมีค่ าใช้ จ่า ยส่ว นนีกลายเป็ น 40%

16 | P a g e
โดยทีรายอืนไม่เพิมขึน แสดงว่าต้ องมีอะไรพิเศษ การจ่ายเงินออกไปต้ องมีเหตุผล ถ้ าบริ ษัท A มีกําไรเพิมสูงขึนจากเงิน
ทีลงไปก็คงไม่เป็ นไร แต่ถ้าไม่ใช่ เราก็ต้องนําไปพิจารณาว่าเกิดอะไรขึน และเมือพิจารณาควบคู่ไปกับ “การเปรี ยบเทียบตัว
มันเอง” แล้ ว เราก็อาจจะพอทราบได้ ว่าบริษัท “กําลังเพลียงพลําเสียท่า” หรือไม่

มิติทีสาม ก็คือ “เปรียบเทียบขนาดของธุรกิจ” เพราะจากข้ อสองทีเรา ”เปรี ยบเทียบตัวมันเองกับอุตสาหกรรม”


เราอาจจะบอกว่า “บริษัท A มีต้นทุนสูงกว่า B และ C ตลอดเลย” ดังนัน A จึงเป็ นบริ ษัททีแย่กว่า.. ซึงอันนีก็อาจจะไม่จริ ง
เสมอไป เพราะบริ ษั ทที ใหญ่ ก ว่ า มี ก ารขยายงานมากกว่ า ย่อ มต้ องมี ต้ นทุน ของความซับซ้ อ น (Cost of complex)
ทีมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น สมมติผมใช้ พืนทีบ้ านของตัวเองเพือเปิ ดร้ านสะดวกซือ ต้ นทุนค่าบริ หารจัดการส่วนกลางของ
ผม อาจจะตํากว่าร้ านสะดวกซือรายใหญ่ทีมีสาขามากมาย เพราะจ้ างตัวเองและคนทีบ้ านมาทํางานโดยไม่มีระบบอะไรให้
ยุ่งยาก แต่ผมอาจจะเสียเปรี ยบในด้ านต้ นทุนสินค้ าหรื อการบริ หารจัดการทีมีประสิทธิ ภาพ ทํ าให้ ผมเกิด “ส่วนรัวไหล”
ในธุรกิจมากมาย ทีนีพอผมเริมรู้สกึ ถึงเรือง “ความรัวไหล” นีได้ ปบุ๊ ผมก็เลยไปเอาระบบมาลง จ้ างคนทีมีความชํานาญเข้ า
มาทํางาน เสียค่าจ้ าง ”คนดูแลระบบ” สุดท้ าย ก็กลับกลายเป็ นว่า ต้ นทุนการบริ หารจัดการของผม “มีสดั ส่วนทีพอๆกัน
หรื อ สูง กว่ า ” รายใหญ่ ข้า งต้ น มิ ห นํ า ซํ าผมมี แ ค่สาขาเดี ย ว ไม่มี ค นมาช่ ว ยแชร์ “ค่ า จ้ า งคนมาดูแ ลระบบ” ทีลงทุน ไป
ซึงก็จะเห็นได้ ว่า เราควรต้ องพิจารณาด้ วยว่า กิจการทีมีต้นทุนการบริ หารจัดการสูง ก็เป็ นไปเพือการดูแลรองรับการขยาย
งาน ซึ งรายที เล็ ก กว่ า อาจไม่ ส ามารถขยายงานได้ เหมื อ นกั น รายใหญ่ ก็ เ ป็ นได้ (หรื อ ขยายไปแล้ ว อาจจะเละ)
แต่ อย่ างไรก็ต ามผมก็ เห็ นหลายบริ ษั ทที “จิ วแต่แ จ๋ว ” คือ บริ ษัท เล็ก ระบบดี ควบคุม ค่า ใช้ จ่า ยส่ว นกลางได้ รัดกุม แต่
โดยมากมันเป็ นหุ้นที “ราคาสูง” แล้ วนีสิครับ เรียกว่า มาเจอเมือสายไป เพราะสายตายังไม่เฉียบคมพอ บางคนเค้ าเห็นล่วง
มาเป็ นปี เราเพิมมาเห็นตอนราคาวิงไปไกลแล้ ว..

ผมว่าผมน่ าจะอธิ บ ายในเรื องของ “ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร” ค่อนข้ างจะครบถ้ วนพอสมควรแล้ ว
บทต่อไป เราจะได้ มาเรียนรู้ เกียวกับพระเอกตัวหนึงในงบการเงิน นันก็คือ “กําไรก่ อนหักภาษี ดอกเบียและค่ าเสือม
ราคา” หรือ ทีเราได้ ยินบ่อยๆ ว่า Earning Before Interest, Tax, Depreciation and Amortization (EBITDA)

แต่ ก่ อ นที จะจากกั น ไปในบทนี ผมจะเอาตารางที โหลดจากงบการเงิ น ที แจกใน www.set.or.th มาให้ ดู


เป็ นตัวอย่าง ว่าข้ อมูลทางการเงินทังหลายเหล่านี อยู่ในมือเราทังสิน สามารถโหลดได้ ในงบการเงินฉบับเต็ม ทีทุกบริ ษั ท
ต้ องส่งในทุกไตรมาส และเราสามารถโหลดมาอ่านได้ ฟรี เพียงแค่เรามีอินเตอร์ เน็ทและความเข้ าใจทีดีเพียงพอ เราก็จะหา
มันพบ และวิเคราะห์มนั ได้ ซึงก็เป็ นวัตถุประสงค์ทีเราต้ องมาเรียนรู้กนั ในเล่มนีครับ..

(สังเกตได้ ว่ารายละเอียดเค้ าทําเปรียบเทียบมาให้ ด้วยนะเออ แต่ก๊อปรูปมาไม่ถงึ หน้ าจอสันไปนิด)

17 | P a g e
18 | P a g e
บทที 5 กําไรก่ อนหักภาษี ดอกเบียและค่ าเสือมราคา(Earning Before Interest, Tax, Depreciation and
Amortization - EBITDA)

บทนี อาจจะเป็ นบทหนึ งที สํ า คั ญ ที สุด ในเล่ ม นี เพราะเป็ นส่ ว นที ผู้ อ่ า นจะได้ นํ า ไปวิ เ คราะห์ ห้ ุ นได้ อย่ า ง
มีประสิทธิภาพและอาจนําไปสูค่ วามสําเร็จในการลงทุน ซึงผมจะพยายามอธิบายให้ ละเอียดทีสุดเท่าทีจะทําได้ นะครับ..

ตอนนีมาถึงส่วนของ EBITDA ซึงเราจะได้ ยินกันบ่อยๆว่า นักวิเคราะห์ ทางการเงินชอบดู EBITDA ชือเต็มๆ ก็คือ


Earning Before Interest, Tax, Depreciation and Amortization หรือ “กําไรก่อนหักภาษี ดอกเบียและค่าเสือมราคา”

ในบทก่อนๆ เราได้ ท ราบถึงต้ นทุนขายและต้ นทุนด้ านการขายและบริ หารเป็ นทีเรี ยบร้ อยแล้ ว ต้ น ทุนข้ างต้ น นี
ประกอบรวมกัน เป็ น “ต้ น ทุน การดํา เนิ นงาน” ซึงเมือหักจากรายรับ ทีได้ ก็ จะได้ เป็ น “กํา ไรก่อ นหัก ภาษี ดอกเบี ยและ
ค่าเสือมราคา” ซึงบางคนสงสัยว่าในทางบัญชีแล้ วนัน ทําไมต้ นทุนทางการเงิน (ดอกเบีย) และค่าเสือมราคา ถึงไม่ถูกเอา
มารวมใน “ต้ นทุนการดําเนินงาน” ระบบบัญชีมีเหตุผลอะไรหรื อ... ซึงเหตุผลก็คือ ต้ นทุนค่ าเสือมราคาและต้ นทุนทาง
การเงิน (ดอกเบีย) ไม่ได้ เกียวข้ องโดยตรงกับความสามารถในการดําเนินงานน่ะสิ..

เพราะค่าเสือมราคา เป็ นค่าใช้ จ่ายทีไม่ได้ จ่ายออกไปจริ งใน “งบกําไรขาดทุน” เนืองจากว่าได้ ทําการลงทุนไป


ตังแต่ ต้ นแล้ ว เพี ย งแต่ ร อเวลาในการตั ด ค่ า เสื อมให้ ห มดในทางบั ญชี (เราจะได้ เรี ย นรู้ กัน ในบทต่ อ ไปที เกี ยวกั บ
ค่าเสือมราคา) ในขณะทีต้ นทุนทางการเงิน หรือภาระดอกเบียต่างๆ ถ้ าหากมีการเพิมทุนหรือหาแหล่งทุนในราคาถูกเข้ ามา
ก็ จ ะไม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยตรงนี หรื อ มี น้ อยลง ซึ งจะเห็ น ได้ ว่ า ทั งสองรายการนี เป็ นรายการที ตั ว แปรไม่ ไ ด้ เกี ยวข้ องกั บ
การดําเนินงานมากนัก และเพือให้ เข้ าใจมากขึน ยกตัวอย่างสักหน่อยดีกว่า

สมมติ บริ ษั ท A มี รายได้ อ ยู่ที 100ล้ า นบาท ต้ นทุน การดํ า เนิ นงานมีจํ า นวน 70ล้ า นบาท เท่า ว่ า %EBITDA
อยู่ที 30% ซึงถือว่าสูงทีเดียว แต่ปรากฏว่าบริ ษัท มีหนีสินอยู่ทีประมาณ 200ล้ านบาท ทําให้ เกิดดอกเบียจากเงินกู้สงู ถึง
30ล้ านบาทและมีค่าเสือมราคาตัดจ่ายในปี นันอีก 20ล้ านบาท กลับกลายเป็ นว่ารายรับที 100 ล้ านบาท ไม่เพียงพอต่อ
ต้ นทุนทังหมด ทําให้ ขาดทุนไป 20ล้ านบาท (รายรับ 100 ล้ านบาท รายจ่าย = 70+30+20 = 120ล้ านบาท) การขาดทุน
20 ล้ านบาทนี คือ กําไรขาดทุนก่อนหักภาษี ครับ (ซึงเราจะได้ อธิบายกันอย่างละเอียดในบทต่อๆไป)

ทีนีกลุ่ม เจ้ า ของบริ ษัท A ก็เลยบอกว่า ไม่ เอาละ!! ทํา มาก็เ อาไปใช้ หนี หมด เอาเงิ นตัว เองมาเพิ มทุน ซะเลย
จึงลงเงินเพิมเข้ าไป 200ล้ านบาท ถ้ าเหตุการณ์ ทุกอย่างยังเหมือนเดิม รายรับและต้ นทุนการดําเนินงานของบริ ษัทยังคง
เท่าเดิม มันก็เท่ากับว่ากิจการนีจะประหยัดต้ นทุนทางการเงินไปได้ 30ล้ านบาท ทําให้ กิจการทีปี กลายขาดทุน 20ล้ านบาท
พลิกกลับมามีกําไรที 10ล้ านบาททันที ต่อมากลุ่มเจ้ า ของบริ ษัท A ก็ ร้ ู อีกว่าค่า เสือมราคาทีเกิดขึนนี มาจากการลงทุน
รถบรรทุกที มีการตัดค่า เสือมราคา 5 ปี และปี นีเป็ นปี สุดท้ าย คือ ปี ที 5 แล้ วเช่น กัน (ในปี หน้ ามูลค่าซากในทางบัญชี
จะเหลือ 1 บาท) ดังนันต้ นทุนค่าเสือมราคาอีก 20ล้ านบาทก็จะหมดไป และปี ต่อไปบริษัทก็จะมีกําไรสูงขึนอีก 20ล้ านบาท

19 | P a g e
กลายเป็ นว่าผลของการเปลียนแปลงโครงสร้ างเงินทุน ทําให้ ต้นทุนทางการลดลงและการทีค่าเสือมราคาหมดลงด้ วยพร้ อม
กัน จะทําให้ กิจการทีเมือปี กลายขาดทุน 20ล้ านบาท กลายมาเป็ นกําไร 30ล้ านบาททันที..

จากตัวอย่างข้ างต้ น เราก็จะเห็น ว่า ทังต้ นทุน ค่าเสือมราคาและต้ นทุน ทางการเงิน เป็ นต้ น ทุนที ถึงแม้ ว่า จะมี
ผลกระทบต่องบกําไรขาดทุนของบริษัท แต่เป็ นเรืองทางบัญชีและสามารถแก้ ไขได้ โดยทีอาจจะใช้ กลไกทางการเงินและไม่
ต้ องพึงพาความสามารถในการดําเนินงาน และนี แหละคือประเด็นสํา คัญที บรรดานัก วิเคราะห์ หรื อเซียน VI ทังหลาย
ใช้ จดุ นีในการเข้ าเลือกลงทุนในหุ้น..

เพราะกลยุทธ์ ห นึงที สําคัญในการวิเ คราะห์ ก็คื อ การดูว่ า EBITDA มี ความสมําเสมอและมีการเติบ โตหรื อไม่
เพราะมันหมายถึง “ความสามารถทีแท้ จริงของกิจการ” และถ้ าเค้ าพบว่ามีบางกิจการทีมีการปรับเปลียนโครงสร้ างเงินทุน
หรือว่า “หนีลดฮวบๆ” อารมณ์ประมาณว่าบริ ษัทไม่เอากําไรมาปั นผล แต่เอาไปจ่ายหนี เค้ าก็จะฟั นธงว่าปี หน้ ากําไรก็จะ
“โตแบบก้ าวกระโดด” ในขณะเดี ย วกั น ที ผู้ ที มี ค วามรู้ ถึ ง ขนาด “เซี ย นเหยี ย บเมฆ” อาจจะสามารถแกะรอย
“ค่าเสือมราคาสะสม” ทําให้ ทราบว่าปี หน้ าค่าเสือมราคาจะลดลง (อันทีจริ งเรื องนี ผู้บริ หารจะรู้ ดีทีสุด เพราะเป็ นผู้จัดทํา
บัญชี) และทําให้ กําไรดีดตัวมหาศาลก็เป็ นได้ ซึงตรงนีผมขอเก็บไว้ เล่าในบทของค่าเสือมราคาและต้ นทุนทาการเงินแล้ ว
กันครับ

เราก็ จะเห็น ได้ ว่า การที EBITDA มี กํา ไรสมําเสมอก็ เป็ นเรื องทีดี แล้ ว ในบางโมเดลของบางธุ รกิ จ ระบบการ
ดําเนิ นงานทีมี เสถีย รภาพ ก็ ทําให้ EBITDA เติบโตอย่ างก้ าวกระโดดได้ อย่า งชัด เจน ผ่านความสามารถในการจัดการ
“ต้ นทุนขาย” และ “ต้ นทุนด้ านการขายและการบริหาร” ซึงผมจะขอลองยกตัวอย่างให้ เป็ นรูปธรรม ดังนี

ข้ อแรก การเติบโตของกิจการทําให้ “ต้ นทุนขาย” ลดลง นันเพราะว่าเวลาทีผลิตเพิมขึน ทําให้ มีอํานาจต่อรอง


มากขึน ส่งผลให้ ราคาวัตถุดิ บต่ อ หน่ วยลดลง นอกจากนี อาจทํา ให้ เ กิด “การประหยัด ต่อ ขนาด” หรื อที เรารู้ จัก กัน ว่ า
“Economy of scale” เช่นว่าผลิตทีละ 2,000,000 ชิน ก็ต้องวอร์ มเครื องหรื อมี start up cost ด้ วยค่าไฟฟ้า 500,000 บาท
การผลิตที 4,000,000 ชิน ก็อาจจะไม่ต้องจ่ายค่าวอร์ มเครื องแล้ ว เพราะเราเลือกทีจะผลิตไปพร้ อมกันเลย ซึงก็อาจจะ
ทําให้ ต้นทุนรวมลดลงได้ มากถึง 5-20% ทีเดียว

ข้ อทีสอง การเติบโตของกิจการ ก็อาจจะทําให้ การบริ หารส่วนกลางสามารถ “ใช้ ทรัพยากรได้ มีประสิทธิ ภาพดี


ขึน” ซึงก็เป็ นหลัก “Economy of scale” เช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น ระบบงานทีใช้ ซอฟท์แวร์ บริหารจัดการ และต้ องจ้ าง”
คนดูแ ลระบบ” จํ า นวน 5 คน เปิ ดแฟรนด์ ไ ชส์สะดวกซื อ 200 สาขา ก็ ต้ องมี ค นดูแ ลระบบ 5 คน พอขยายมาเป็ น
2,000 สาขา ก็อาจจะจ้ างเพิมเพียงแค่ 2 คน รวมเป็ น 7 คน ในขณะทีสาขาเพิมขึนมาตัง 10 เท่า (1,000%) แต่ค่าใช้ จ่าย
ส่วนนีเพิมขึนเพียง 40% เท่านัน หรื ออย่างเรื องปลีกย่อย เช่น พนักงานบัญชีเดิมมี 10 คน การขายสินค้ าเพิมขึน อาจจะ
เป็ นแค่การกรอกตัวเลขเพิม โดยทีไม่ต้องใช้ พนักงานเพิม หรือคดีความทีเดิมมี 10 คดี อาจจะเพิมมาเป็ น 15 คดี ในขณะที
ยังจ้ างนิติกร 2 คนเช่นเดิม

20 | P a g e
ทังสองข้ อตรงนีล่ะ ทีทําให้ EBITDA ทีไม่เพียงแต่กําไรจะโตขึน แต่ % ของ EBITDA ก็จะเติบโตอย่างก้ าวกระโดด
ด้ วย ในลักษณะทีเรียกว่า “ยอดขายโต แต่ต้นทุนไม่โตตาม” ส่งผลให้ “กําไรเต็มๆ เน้ นๆ เนือๆ” ซึงหากทีสามารถวิเคราะห์
ตรงจุดนี ได้ และเข้ า ลงทุน ในจัง หวะที “คาบลูก คาบดอก” หรื อ “กํา ลัง เปลียนผ่า น” หรื อ ทีเค้ า พูดกัน อย่า งติ ดปากว่ า
“กําลัง Turnaround (ทังๆ ทีมันไม่ได้ Turn มันเป็ นธรรมชาติของมันอยู่แล้ ว มันแค่รอเวลากระโดด)” ก็จะสามารถทํากําไร
จากการลงทุน หรือแม้ แต่รอรับ “เงินปั นผล” ทีจะมีอย่างมหาศาลในอนาคต อย่างมิพกั ต้ องสงสัย..

สุดท้ ายนี ผมเชือว่าบทนีจะทําให้ เกิดผู้อ่านเกิดไอเดีย ในการ “เร่ งเปิ ดตัวเลขทางการเงิน เพือค้ นหา EBITDA”
ของบริษัททีเราสนใจ มาวิเคราะห์กนั อย่างละเอียดมากขึนแล้ ว

บทต่อไป เราจะมาเรียนรู้กนั ถึงเรืองของค่าเสือมราคากันครับ..

21 | P a g e
บทที 6 ค่ าเสือมราคาและค่ าตัดจําหน่ าย (Depreciation and Amortization)

ในการเริ มต้ น หน่ ว ยธุ รกิ จ หรื อ แม้ แต่ โ ครงการลงทุ น ใหม่ ๆ เรามัก จะเจอต้ น ทุน อยู่ ตัว หนึง ที เรี ย กกัน ว่ า
Pre-operating costs หรื อ ต้ น ทุน ที ลงไปก่ อ นที จะเริ มดํ า เนิ น ธุ รกิ จ ค่ า ใช้ จ่ า ยตรงนี บางครั งเป็ นพวกสิน ค้ า ทุน เช่ น
เครื องจักร โรงงาน ยานพาหนะ หรื อบางครังก็เป็ นสิงทีไม่มีตัวตน (Intangible asset) เช่น พวกค่าลิขสิทธิ ค่าสิทธิ บัตร
หรือซอฟท์แวร์ ต่างๆ ต้ นทุนพวกนีเป็ นค่าใช้ จ่ายทีก้ อนใหญ่ และไม่สามารถตัดค่าใช้ จ่ายได้ ใน 1 ปี ทําให้ เกิดตัวเลขในทาง
บัญชีทีเราจะได้ มาดูกนั ในบทนี นันก็คือ ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย (Depreciation and Amortization) เพือให้ เห็น
ภาพชัดเจน เรามาดูตวั อย่างกันเลย

สมมติว่าผมซือรถบรรทุกคันหนึงมาในราคา 3,000,000 บาท (รถบรรทุกคันนีอาจจะสามารถใช้ งานได้ ถึง 15 ปี )


ซึงถือ ว่า เป็ นต้ นทุนที ผมลงเงิ นไปแล้ ว ในปี ที ผมซือมานัน หากผมทํา กํา ไรก่อ นหัก ค่า เสือมราคาได้ ที 2,000,000 บาท
ปรากฏว่าปี ที 1 ทีซือรถมานี ผมขาดทุนทันที 1,000,000 บาท (3,000,000 - 2,000,000) ท่าทางกิจการนีจะแย่.. แต่เอ๊ ะมัน
ดูแปลกๆ ไม๊ นะ..

มันก็คงต้ องแปลกล่ะ เพราะรถคันนี สามารถใช้ งานได้ ถึง 15 ปี ทําไมถึงเอาราคาของรถทังจํานวนที 3,000,000


บาท มาคิดคํานวณเป็ นค่าใช้ จ่าย ถ้ าจะให้ สะท้ อนกับความเป็ นจริ ง เราก็ต้องเอาเงินทีลงทุนรถจํานวน 3,000,000 บาทนี
มาหารเฉลียตามนโยบายบัญชี ซึงถ้ าหากว่าเราตัดค่าเสือมราคาที 5 ปี ก็เท่ากับว่า แต่ละปี เราจะหักค่าเสือมเป็ นจํานวน
เงิน 600,000 บาท ซึงหากเราบอกว่าทํากําไรก่อนหักค่าเสือมราคาได้ ที 2,000,000 บาท ดังนันในปี ที 1 กําไรหลังจากหัก
ค่ า เสือมราคาก็ จ ะกลายเป็ น 1,400,000 บาท ที นี การตัด ค่ า เสือมจะมากจะน้ อ ยก็ ขึนอยู่กับ นโยบายทางบัญชี แ ละ
มาตรฐานบั ญชี ที เค้ า จะมี กํ า หนดไว้ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ถ้ าเป็ นที ดิ น ไม่ มี ค่ า เสื อมราคา ถ้ าเป็ นอาคารสํ า นั ก งานตั ด
ค่าเสือมราคา 20 ปี ถ้ าเป็ นยานพาหนะ ตัดค่าเสือมราคาที 5 ปี เป็ นต้ น ดังนันพอตัดค่าเสือมปี สุดท้ าย ค่าเสือมราคาจะ
หมด เท่ากับว่าสินค้ าทุนชินนันมีค่าเสือมราคาเหลือที 1 บาท

ในทางเดี ย วกัน สํา หรั บ สิน ค่ า ที ไม่ มี ตัว ตน เราจะเรี ย กต้ น ทุน ว่ า ยกตัว อย่ า งเช่ น ค่ า ลิข สิท ธิ ในการผลิต ยา
หากซือมาในราคา 150,000,000 บาท ได้ สิทธิ มาผลิต 10 ปี เราตัดสินใจว่าจะหักค่าเสือมที 10 ปี ก็จะต้ องทําการบันทึก
ต้ นทุนในงบกําไรขาดทุนปี ละ 15,000,000 บาท แต่ถ้าคิดจะตัดจําหน่ายที 5 ปี ก็จะกลายเป็ นปี ละ 30,000,000 บาท

ตรงนีล่ะทีบัญชีมนั ดินได้ (จริงๆ มันดินได้ ตงแต่


ั บทที 1 แล้ วล่ะ แต่มาพูดถึงในบทนี เพราะกลัวคนอ่านจะสับสน)
มีห้ นุ ตัวหนึงในตลาดหลักทรัพย์ ซึงลงทุนเครื องจักรมูลค่าประมาณ 1,000,000,000 บาท (พันล้ านบาท) โดยมีการตัดค่า
เสือมที 20 ปี นันหมายความว่าต้ นทุนค่าเสือมเฉพาะเครืองจักรตัวนี จะอยู่ทีปี ละ 50,000,000 บาท ซึงปรากฏว่าหลังจาก
นัน 1 ปี เกิดวิกฤตซับไพร์ ม ทุกบริ ษัทก็ล้วนแย่กันหมด บริ ษัทนีเปลียนนโยบายการตัดค่าเสือมราคา โดยมีหมายเหตุใน
งบการเงินว่า ได้ ทําการปรึกษากับผู้สอบบัญชีแล้ ว เครืองจักรนีมีอายุการใช้ งานยาวนานได้ ถงึ 50 ปี สามารถตัดค่าเสือมได้
ที 50 ปี ส่งผลให้ ค่าเสือมราคาทีเคยตัดปี ละ 50,000,000 บาทเหลือเพียง 20,000,000 บาท และถ้ าหากเป็ นอย่างนันจริ ง
หากในปี ๆหนึง บริษัททํากําไรก่อนหักค่าเสือมราคาได้ ที 30,000,000 บาท หากตัดค่าเสือมราคาแบบเดิม (20 ปี ) บริ ษัทจะ

22 | P a g e
มีผลขาดทุน หลัง หัก ค่าเสือมราคาอยู่ที 20,000,000 บาท แต่หากตัดค่า เสือมราคาแบบใหม่ (50 ปี ) แทนทีจะขาดทุน
ก็จะพลิกกลับมามีกําไรทันที 10,000,000 บาท เห็นไม๊ ครับว่าวิธีการตัดค่าเสือมราคา มีผลต่อกําไรขาดทุนของกิจการ และ
ก็ขึนกับนโยบายการตัด ค่าเสือมราคาของผู้บ ริ หาร ซึงจากตัวอย่างข้ างต้ น ทุกวันนีผมก็ยังไม่เชือว่าเครื องจักรตัวนันจะ
สามารถใช้ ได้ จนถึง 50 ปี

ในทางกลับ กัน หากค่า เสือมราคามี การตัด หมดเร็ ว กว่า ความสามารถในการใช้ ง านของมัน ยกตัว อย่ า งเช่ น
รถบรรทุกอายุการใช้ งาน สามารถใช้ ได้ ถงึ 15 ปี ในทางมาตรฐานบัญชีอาจจะให้ ตดั ค่าเสือมราคาที 5 ปี ทําให้ เมือสินปี ที 5
ปุ๊ บ ต้ นทุนตรงนีจะหายไป ตรงนีล่ะ “แฮปปี ไทม์” ซึงหลายๆ ธุรกิจ อยู่ได้ ด้วย “แฮปปี ไทม์” ตรงนี มันแฮปปี ยังไงนะ..

เอาตัวอย่างจริ งเลยก็แล้ วกัน ก็คือ รถบรรทุก เราตัดค่าเสือมราคา 5 ปี ช่วงเวลา 5 ปี แรก ผมเรี ยกว่าช่วงเวลา
“ต่อยใช้ หนี” เพราะว่าต้ องกัดฟั นผ่อนรถ (ผ่อนรถ 5 ปี ค่าเสือมราคาก็ตัดที 5 ปี แต่ก็เห็นมีบางทีตัดค่าเสือมราคาที 7 ปี )
รถบรรทุก 18ล้ อ จํานวน 10 คัน พร้ อมหางลาก คันละ 3,000,000 บาท รวมเป็ นเงิน 30,000,000 บาท ทําให้ เกิดต้ นทุนค่า
เสือมราคาถึงปี ละ 6,000,000 บาท (เอา 30,000,000 / 5 ปี ) กิ จ การของผมอาจจะมีกํ า ไรก่ อ นหักค่ า เสือมราคา
อยู่ที 8,000,000 บาท หลังจากหัก ค่ าเสือมราคาก็จ ะมี กํ าไรเหลือ เพี ยง 2,000,000 บาท แต่พ อพ้ น 5 ปี แรกเมื อไหร่
หากผลการดําเนินงานของผมยังคงที กําไรของผมจะดีดกลับมาเป็ น 8,000,000 บาททันที เพราะเราได้ ผ่อนรถหมดแล้ ว
นันเอง ซึงช่วงเวลานี ผมเรียกว่าช่วง “แฮปปี ไทม์” เพราะเราจะได้ ตกั ตวงกําไรได้ อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย แต่อย่างไรก็ตาม
ถึงแม้ ผมจะรู้ว่ารถบรรทุกของผมจะสามารถใช้ งานได้ ถงึ 15 ปี ก็ตาม แต่รถย่อมมีการเสือมสภาพ ช่วงเวลาทีรถจะใช้ งานได้
ดีจริงๆ อาจจะเพียงแค่ 10 ปี พอปี ที 11 เราก็จะมีค่าใช้ จ่ายซ่อมบํารุ งทีสูงมากจนไม่ค้ มุ จะนํามาใช้ ก็เป็ นได้ เพราะค่าซ่อม
อาจจะสูงกว่าศักยภาพทีสินทรัพย์ทํางานให้ เราได้ (ค่าซ่อมบํารุงทีเกิดขึนนี ไม่เกียวกับค่าเสือมราคาแล้ วนะครับ นิยามของ
ค่าเสือมราคา ก็คือ “เงิ นที ได้ ลงทุนไปตอนแรก แล้ ว รอตัด จํา หน่ ายตามนโยบายทางบัญชี” หรื อ ถ้ า เราใช้ วิธี ผ่อ น ก็คื อ
กู้แบงก์มาลงทุน เราก็จะมีค่าใช้ จ่ายเพิมขึนก็คือ “ต้ นทุนดอกเบียหรือต้ นทุนทางการเงิน” ทีเราจะได้ มาดูกนั ในบทต่อไป)

จากเรืองทังหมดข้ างต้ น ผมอยากจะชีเป้าให้ สงั เกตเห็นใน 2-3 ประเด็น ซึงมีผลต่อการวิเคราะห์ การลงทุนของเรา


ดังนีครับ

ประเด็นที 1 เราสังเกตเห็นได้ ว่า การตัดค่าเสือมราคา ทําให้ เกิดการควบคุมกําไรหรื อขาดทุนได้ จากนโยบายการ


ตัดค่าเสือมราคา ดังนันเราก่อนทีเราจะดูว่าค่าเสือมราคามีจํานวนเท่าใด ขอให้ ไปดูวิธีการบันทึกด้ วย ว่าบันทึกอย่างไร

ประเด็นที 2 จากศักยภาพของสินทรัพย์ทียังมีอยู่ หลังจากหักค่าเสือมราคาแล้ ว ซึงก่อให้ เกิด “แฮปปี ไทม์ ” ทําให้


แต่ละบริษัท ก็จะมี “วัฏจักรย่อยๆ” ของตัวบริษัทเอง ซึงคนทีจะรู้เรืองนีดีทีสุดก็คือผู้บริหาร ซึงนักลงทุนอย่างเราๆ ยากทีจะ
รู้ ได้ แต่ มัน ก็ อ าจจะมี บ างธุ รกิ จ ที ชัว ร์ ๆ เห็ น ชัด ๆ ก็ ไ ด้ น ะ ยกตัว อย่ า งเช่ น ที ฮิ ต ๆ กัน ตอนนี ก็ พ วกที บอกว่ า ไปลงทุ น
“โซล่าร์ ฟาร์ ม” ซึงอาจจะตัดค่าเสือมที 7-10 ปี แต่ว่าตัวโซล่าร์ เซลล์สามารถใช้ ได้ ถงึ 25 ปี เค้ าก็จะมองกันว่า “ขนาดช่วง 7-
10 ปี แรก กัดฟั นตัดค่าเสือมไปเต็มๆ กิจการยังมีกําไร ถ้ าอย่างนันพอค่าเสือมราคาตัดหมดปุ๊ บ กําไรต้ องมหาศาลแน่นอน”
นี กระมั ง ทํ า ให้ ห้ ุ นที “พัว พั น โซล่ า ร์ ฟ าร์ ม ” ต่ า งเนื อหอม จนผมรู้ สึก ว่ า ถ้ าซื อราคา P/BV 1-2 เท่ า ยัง พอคุ้ มอยู่

23 | P a g e
แต่ถ้าซือที P/BV 7 เท่า P/E 25 เท่าก็คงจะแพงเกินไปมากทีเดียว แม้ ว่าจะมี “แฮปปี ไทม์ ” อย่างต่อเนืองก็ตาม และถ้ าเรา
สัง เกตดู ก็ จ ะพบว่ า บางกิ จ การที นิ ย มประมู ลงานราชการเยอะๆ บางที เ ค้ ายอมที จะทํ า งานแบบไม่ มี กํ า ไร 4-5 ปี
เพือให้ ได้ มาซือเครืองจักรและอุปกรณ์ เพราะเค้ ารู้ว่าหลังจากจบโครงการของเหล่านีซึงต้ นทุนหมดไปแล้ ว (ค่าเสือมราคา
ตัดหมดแล้ ว) จะได้ นําของเหล่านีไปใช้ ประโยชน์ต่อไป

ประเด็นที 3 ธุรกิจทีเข้ าตลาดมาก่อน จะเห็นว่าหลายธุรกิจขาดทุน “บักโกรก” มาตังแต่เริ ม หลายๆ กิจการก็มา


จากค่ า เสือมราคานี ล่ะ แต่ ถ้ า อดทนสู้จ นฝ่ ายพ้ น ช่ ว งตัด ค่ า เสือมมาได้ จะก่ อ ให้ เ กิ ด “ความสามารถในการแข่ ง ขัน ”
ขึนมาทันที เพราะคู่แข่งรายใหม่ จะเข้ าตลาดมาก็ลําบากมาก หากเข้ ามาก็ต้อง “กัดฟั นผ่อนค่าเสือมราคา” กันก่อน หรื อ
ง่ายๆ คือ ต้ องยอมขาดทุนช่วงแรกกันก่อน แต่ถ้ารายเดิม ใช้ วิธีเตะตัดขา “ดัมป์ราคา” ลงมา ถ้ ารายใหม่ทีเข้ ามา ทุนไม่
หนาพอ สุดท้ ายก็ไม่วายต้ องขายกิจการและเครืองราคาถูกๆ ออกไปให้ กับ “รายเดิม” ในตลาด ซึงตรงนี หากใครมองออก
เราจะเห็นชัดเจนว่า บางกิจการ “มีเจ้ าตลาด” อย่างชัดเจน ซึงไร้ ค่แู ข่งทังในวันนีและในอนาคตอันยาวไกล..

ทีนีก็หวังว่าสิงทีกล่าวมาทังหมดในบทนี น่าจะทําให้ เราสามารถนําความรู้ ด้านค่าเสือมราคา นํามาใช้ วิเคราะห์


ในการเข้ าลงทุนในหุ้นที “ค่าเสือมใกล้ หมด กําไรใกล้ กระโดด” กันได้ แล้ วนะครับ..

ก่อนจากกันในบทนี ผมก็เลยเอาตัวอย่างจริ งของบริ ษัทหนึง (ทีเปลียนนโยบายการตัดค่าเสือมราคา คือตัดให้


ยาวนานขึน ทําให้ ตวั เลขโชว์กําไรสูงขึน ทังๆ ทีผลประกอบการอาจจะเท่าเดิม มีผลทําให้ เกิดกําไรเพิมขึนทันที ประมาณ
71.85ล้ านบาทครับ (กําไรทีโชว์ในปี นันของบริษัทนี ก็คือ 173.50ล้ านบาท นันหมายความว่า เป็ นกําไรหลอกๆ อยู่ถึงเกือบ
40% ของกําไรทีโชว์ทีเดียว) เค้ าก็ไมได้ หลอกอะไรเรานะ เค้ าแค่แอบเขียนตัวเล็กๆ เอาไว้ เท่านันเอง เราเลยต้ องขยาย..

24 | P a g e
25 | P a g e
บทที 7 ต้ นทุนทางการเงิน (Finance costs)

ตอนนีเราก็มาถึงเรื องของต้ นทุนทางการเงิน (Finance costs) ซึงได้ แก่ต้นทุนจิปาถะอะไรก็ตามทีเกียวข้ องกับ


การได้ มาซึงเงิน แต่โดยหลักๆแล้ ว มันก็คือ “ดอกเบีย” ของเงินทีกิจการไปกู้มานันเอง

ถ้ ายังจําบทที 5 ในเรืองของ EBITDA กันได้ เราได้ คุยกันว่า “ต้ นทุนทางการเงิน” เป็ นใช้ จ่ายทีไม่ได้ เกียวข้ องกับ
การบริหารโดยตรง (ถ้ าจะเกียวก็เป็ นเพียงการทีผู้บริ หารมีความสามารถในการหาแหล่งเงินกู้ดอกเบียตํา) นันก็เพราะว่า
ดอกเบียทีเกิดขึน ถ้ ากิจการมีเงินทุนมากพอก็จะไม่ต้องกู้ และก็ไม่ต้องเสียดอกเบีย ดังนันต้ นทุนตรงนี จึงเป็ นต้ นทุนของ
“เจ้ า ของกิ จ การหรื อ ผู้ถือ หุ้น ” มากกว่ า ที จะเป็ น “ต้ น ทุน ของธุ รกิ จ ” เพี ย งแต่ ว่ า เจ้ า ของกู้ม า แต่ ธุ รกิ จ ต้ อ งมาแบกรั บ
“ดอกเบีย” ทีเกิดขึน

ทีนี ก็จะเกิดคําถามว่า “กู้มาให้ เสียดอกเบียทําไม” มีเหตุผลอันใด ผมลองนึกๆดู ก็มีอยู่ 2-3 เหตุผล ดังนี

เหตุผลแรก ก็อาจจะเพราะเงินลงทุนเริมต้ นไม่พอ ก็เลยต้ องกู้มาลงทุน

เหตุ ผลที สอง ก็ อ าจจะต้ องการจํ า กัด ความเสียงของผู้ ถื อ หุ้ น ยกตัว อย่ า งเช่ น ทํ า กิ จ การต้ อ งใช้ เ งิ น ลงทุ น
100ล้ านบาท เราไม่อยากลงทุนครบทัง 100ล้ านบาท จึงลงแค่ 70ล้ านบาท แล้ วอีก 30ล้ านบาท ก็เอาสินทรัพย์ ไปคําแล้ ว
กู้ธนาคาร ยอมเสียดอกเบีย แต่กิจการก็มีเงินสดเพียงพอในการดําเนินงานโดยไม่ต้องลงเงินจนครบ 100ล้ านบาท

เหตุผลที สาม ก็คื อ เพือต้ องการขยายงาน ก็เลยไปกู้มาเพิ ม ซึงตรงนีผู้บริ ห ารก็อาจจะเห็นว่ าธุรกิจที เราทําอยู่
สามารถได้ ผลตอบแทนทีสูงกว่าต้ นทุนดอกเบีย เช่นว่า มีกิจการมีอัตรากําไรสุทธิ อยู่ที 20% (ทุกสินค้ า 100 บาททีขายได้
ได้ กําไร 20 บาท) ดังนันเราไปกู้แบงก์ ดีกว่า เสียดอกเบีย 8% พอเอามาหักกลบกันยังได้ กําไรที 12% แน่ะ (20%-8%)
พอผู้ถือหุ้นใหญ่หรือบริหารคิดแบบนีก็เลยไปกู้มา และบางทีกก็ ้ มู าเยอะเกินไป จนทําให้ สดั ส่วนหนีสินต่อทุนอยู่ในระดับที
ไม่ปลอดภัย..

ผมอยากขอเล่า เรื องราวเมือปี 2540 ให้ ฟัง สัก นิด หนึง.. ในช่ว งก่ อนหน้ าจะเกิ ดวิ กฤตต้ มยํ ากุ้ง ปี 2540 นัน
ประเทศไทยมีอัต ราการเจริ ญเติ บ โตที สูง มาก อัต ราดอกเบี ยในประเทศสูง มาก เพราะความต้ อ งการใช้ เ งิ น ลงทุน สูง
กิจการต่างๆ ในประเทศล้ วนเร่งขยายงาน บางกิจการมีเงินลงทุน 50,000ล้ านบาทก็ไปกู้เงินมาลงทุนอีก 50,000ล้ านบาท
เพื อการขยายงานเพราะเชื อว่ า จะมี กํ า ไรสูง ธนาคารทั งหลายรวมไปถึ ง ผู้ เชี ยวชาญทางการเงิ น ก็ เ ริ มมี ไ อเดี ย ว่ า
เงิ น ต่ า งประเทศ โดยเฉพาะตะวั น ออกกลางและญี ปุ่ น มี อัต ราดอกเบี ยเงิ น กู้ ตํ ามาก ก็ เ ลยไปกู้ เงิ น มาเป็ นเงิ น สกุ ล
ต่างประเทศแล้ วมาแปลงเป็ นเงินบาท ทังๆ ทีเค้ ายอมให้ ก้ แู ค่ระยะสัน (ไม่เกิน 1 ปี ) แต่ท่านเหล่านันเอามาปล่อยกู้ระยะ
ยาวในอัตราดอกเบีย 8-15% เรียกว่าหวังจะ “กินนํา” จากส่วนต่างอัตราดอกเบียระหว่างประเทศ

ในขณะนัน บางกิจการทีใหญ่หน่อย มีเครดิตดี ก็ร้ ูแกวธนาคารก็เลยไปกู้มาโดยตรงเองเลย แล้ วทีนีพอเกิดวิกฤต


เงิน จึงถูกดึง กลับ ไปจนหมดอย่างรวดเร็ ว ธนาคารและกิจการขนาดใหญ่ เหล่านันทีไปกู้เงิน นอกมา (แล้ วเอามาใช้ เป็ น

26 | P a g e
เงินระยะยาว) ก็ขาดกระแสเงินสดทันที ไม่ได้ ขาดแค่กระแสเงินสดเท่านัน แต่ยังขาดเงินในรู ปของเงินตราต่างประเทศที
จะต้ องนําไปชําระคืนด้ วย และจากการเบียผิดนัดชําระหนีสูงมาก ทําให้ กิจการน้ อยใหญ่แย่งกันซือเงินตราต่างประเทศเพือ
นํ า มาชํ า ระหนี ในขณะที คนที มี เ งิ น ตราต่ า งประเทศก็ ไ ม่ ย อมขายให้ เพราะรู้ ว่ า ในประเทศไทย (และเพื อนบ้ า น)
ร้ อนเงินสกุลต่างประเทศ ก็เลยทําให้ อตั ราแลกเปลียนขยับขึน ค่าเงินบาทจึงอ่อนตัวลงเรื อยๆ ซําเติมให้ ภาระหนีเพิมขึนไป
จนทําให้ กิจการล้ มระเนระนาด เพราะสมมติว่ากู้มา 1,000ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ เอาเข้ ามาทีไทยแปลงเป็ นเงินบาททีอัตรา
25 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์ สหรัฐ ได้ เงินมาใช้ จ่าย 25,000ล้ านบาท พอช่วงเค้ าดึงเงินกลับ ถึงแม้ จะกัดฟั นไปรวบรวมมาครบ
25,000ล้ านบาท แต่ในขณะนันไม่มีใครให้ แลกทีอัตรา 25 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์ สหรัฐอีกแล้ ว เค้ าให้ แลกที อัตรา 50 บาท
ต่อ 1 ดอลล่าร์ สหรัฐ ก็คือจะได้ แค่ 500ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐเท่านัน ทําให้ ยังเหลือหนีอีกครึงหนึงทันที จากอัตราแลกเปลียน
ที เงิ น บาทด้ อยค่ า ลง และนี เองที เป็ น “ความเสียงจากการกู้เ งิ น มาลงทุน ” และถูก เบิ ลด้ ว ย “ความเสียงจากอั ต รา
แลกเปลียน”

จากวิกฤตการณ์ ช่วงนัน เราก็ จะพบว่า หลายๆ กิจการทีดํ าเนินงานต่อมา บางรายมี EBITDA เป็ นบวกตลอด
ทุก ปี และเยอะแยะด้ ว ย ปรากฏว่ า ในงบกํ า ไรขาดทุน นัน “เจ๊ ง ทุก ปี ” และพอไปเช็ ค ดูก็ พ บว่ า สิงที ทํ า ให้ ขาดทุน ก็ คื อ
“ดอกเบีย” ซึงในภายหลัง (หลังจากทีฝุ่ นหายตลบจากความวุ่นวายต้ ม ยํากุ้ง) หลายๆ กิจ การจึงถูก ซือไปโดย ”เจ้ าหนี ”
โดยการแปลง “หนี สิน เป็ นทุน” หรื อผู้อาจจะถูกกิ จการอื น “เทคโอเวอร์ ” และล้ า งหนี ออกไป ทํา ให้ กิจการมี กํา ไรอย่า ง
สวยงามและประกอบกิจการมาจนถึงทุกวันนี และบางกิจการก็ยงั คง “แบกหนี” จากวิกฤตปี 2540 มาจนถึงปั จจุบนั

ในทางกลับกัน การระดมเงินกู้ก็มีแง่ ทีดีเช่นกัน หากมีก ารบริ หารจัดการที ดี เพราะบางกิจการทีเป็ นกิจการที ดี


เข้ าลักษณะ “เสือนอนกิน” แต่จดั หาเงินทุนไม่ค่อยจะทัน ก็เลยใช้ วิธี “กู้มาก่อนแล้ วเพิมทุนทีหลัง” เพือระดมเงินมาใช้ ขยาย
งานไม่ให้ เสียโอกาส โดยพยายามจํากัดความเสียงในโครงการทีลงทุนไป ยกตัวอย่างเช่น กิจการสัมปทานบางอย่างหรื อ
ธุรกิจเฉพาะบางประเภท (เช่น โรงไฟฟ้าหรือโรงพยาบาล) ทีมันใจว่าได้ เงินแน่นอนและทีผ่านมาก็พิสจู น์ ว่าความเสียงตํา
ผู้บ ริ ห ารก็ อ าจจะ back to back กัน ไว้ ระหว่ า ง “ระยะเวลาลงทุน และผลกํา ไรทีคาดว่ าจะเพิมขึนจากการลงทุน ”
กับ “ต้ น ทุ น ดอกเบี ยเงิ น กู้ยื ม ” บางครั งก็ ใ ช้ วิ ธี “ออกหุ้น กู้ ” ซึ งเป็ นเงิ น กู้ระยะยาวและมี “อัต ราดอกเบี ยที แน่ น อน”
เพือป้องกันความเสียงจากการกู้เงินดังกล่าวและบริหารไม่ให้ วงเงินกู้มากจนเกินไป

สําหรับในเรืองนี เราก็จะได้ เห็นว่ากลยุทธ์ การลงทุนของบางท่าน ก็เป็ นลักษณะเดียวกับ “การคาดเดาจํานวนค่า


เสือมราคา” ในบททีแล้ ว แต่ค ราวนีเป็ นการคาดการณ์ “จํานวนดอกเบียที จ่าย” โดยบางกิจ การทีอาจจะทํากํ าไรได้ สูง
และมี ก ารนํ า เงิ น ไปจ่ า ยคื นหนี เป็ นจํา นวนมากๆ หรื อสมํ าเสมอ นัก ลงทุน ผู้ชํ า นาญการณ์ ก็ จ ะรู้ ทัน ที ว่ า ในปี ต่ อ ๆ ไป
กําไรจะสูงขึนแน่นอนเพราะ “ต้ นทุนทางการเงิน” ลดลง ในบางกิจการทีมีการเพิมทุนก็เช่นกัน (การเพิมทุนทําให้ ความเป็ น
เจ้ าของในบริษัทลดลง แต่ได้ เงินสดเข้ ามาเพิม ซึงต้ องดูว่าเงินทีเพิมเข้ ามากับความเป็ นเจ้ าของทีลดลงไปคุ้มค่ากันหรื อไม่)
หากการเพิมทุน มีวัตถุประสงค์ เพื อการขยายงานหรื อ ลงทุน เพิม อาจจะต้ อ งพิ จารณาว่ าไปลงทุนอะไรเพิม จะคุ้มไม๊ . .
แต่ถ้าเพิมทุนโดยมีวตั ถุประสงค์ทีชัดเจนว่าเพือ “จ่ายคืนหนีเงินกู้” ก็จะทําให้ ภาระของบริ ษัทบรรเทาเบาบางลงไปทีเดียว

27 | P a g e
(แต่ต้องมันใจว่า เป็ นการจ่ายคืน เงินกู้ ไม่ใช่การจ่ายดอกเบียนะ ต้ องแยกกันให้ ชัด เพราะบางกิจการขนาดทุน บักโกรก
จนถึงขนาดทีว่าต้ องกู้ยืมเงินมาจ่ายดอกเบีย เราคงพอรู้นะว่ากิจการนีจะเป็ นอย่างไรต่อไป)

จากทีกล่าวมาทังหมด เราก็ได้ เห็นแล้ วว่าผลกระทบของ “ต้ นทุนทางการเงิน” ก็มีทังด้ านทีไม่ดี เพราะเป็ นความ
เสียงของกิจการ และก็ มีแฝงไว้ ด้วยประโยชน์ อ ยู่ด้วย ก็ คือ การทีผู้ถือหุ้นอาจจะไม่ต้องเติมเงิน เข้ าไป กิจการก็ โตต่อไป
เรือยๆ ได้ บางกิจการก็ได้ มีการเติบโตแบบก้ าวกระโดดได้ จากเงินทีกู้มาลงทุนภายใต้ การบริ หารความเสียงทีดี ในขณะที
หลายๆกิจการ แม้ จะมีการขยายงานต่อเนือง แต่เนืองจากโมเดลธุรกิจทีไม่สามารถบริ หารความเสียงได้ ก็อาจจะยอมทีจะ
โตช้ าหน่อย คือ”เติบโตด้ วยทุนของตนเอง” ซึงก็ คือ ใช้ เพียงกําไรเก็บหอมรอมริ บได้ แต่ละปี มาขยายกิจการ เพราะก็ร้ ู ว่า
หากกู้เงินมามากเกินไปและไม่มีการบริหารความเสียงทีดีพอ ก็เหมือนกับ “วัดดวง” เท่านันเอง..

28 | P a g e
บทที 8 กําไรสุทธิ (Net profit) และอัตรากําไรสุทธิ (Net profit margin)

ในบทนี เราก็ จะมาพูดกัน ถึง ตัวเลขทีสํา คัญทีสุด ตัว หนึงในงบการเงิ น ที หลายๆ คนชอบพูดว่า ให้ ไปดู บรรทัด
สุดท้ าย (bottom line) ตัวเลขนันก็คือ กําไรสุทธิ (Net profit) ซึงมันก็หมายถึง กําไรของกิจการทีหักค่าใช้ จ่ายทังหมดออก
แล้ ว เป็ นดอกผลของกิจการทีเกิดขึนในรอบปี หรือรอบไตรมาสนันๆ ซึงในบางครังก็อาจจะเป็ น “ขาดทุนสุทธิ” ได้ เช่นกัน

แต่ทีนี “กําไรสุทธิ” เวลาทีเราบอกว่า ปี นีกําไร 10ล้ านบาท ปี ถัดมากําไร 13ล้ านบาท ขายของได้ ดีขึนนะ มันก็คง
จะบอกไม่ได้ ชดั เจนว่ากิจการของเราดีขนึ เพราะในข้ อเท็จจริงแล้ ว กําไรของเราอาจจะมาจากการทีเราเพิมเงินลงทุนเข้ าไป
เพือขยายกําลังการผลิต (ยกตัวอย่างเช่น จากเดิมเครืองจักร 10 เครือง ได้ กําไร 1ล้ านบาท ซือมาเพิมกลายเป็ น 20 เครื อง
แต่กําไรได้ มาแค่ 1.2ล้ านบาท เป็ นต้ น) หรืออาจจะเกิดจากฝี มือของเราจริงๆ เพราะยอดขายมันโตขึน ตรงนีล่ะทีเราต้ องใช้
“กําไรสุทธิ ” มาวิ เคราะห์ โดยหากเรานําตัว เลขกํ าไรสุทธิ นี ไปผสมกับตัว เลขทางการเงิน อืนๆ เราก็ จะได้ กลุ่มข้ อมูลที มี
“คุณค่า” ในการประเมินหรื อวิเคราะห์ กิจการอย่างมากทีเดียว และตัวเลขทีเรานิยมใช้ กันในปั จจุบัน ก็ได้ แก่ อัตรากํา ไร
สุทธิ (Net profit margin), ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Equity - ROE) และผลตอบแทนต่อสินทรัพย์
(Return on Asset - ROA) ซึงตัวเลข ROE และ ROA เป็ นเรื องเกียวกับความคุ้มค่าในการใช้ “ทุน” จะถูกอธิ บายแยกใน
บทต่อไป ดังนันผมจะยังไม่นํามาอยู่ในบทนี

เอาล่ะ.. เรามาเริมในเรืองของการวิเคราะห์อตั รากําไรสุทธิ (Net profit margin) กันดีกว่า..

อัตรากําไรสุทธิ (Net profit margin) วิธีคิดของมันก็คือ เอากําไรสุทธิ มาหารกับรายรับรวมของปี นันๆ หรื อไตร
มาสนันๆ ก็ จ ะได้ ค่ า ออกมาเป็ นเปอร์ เ ซนต์ (%) ยกตัว อย่ า งเช่ น กิ จ การมี กํ า ไรสุท ธิ 28ล้ า นบาท จากรายรั บ รวม
100ล้ า นบาท ก็ จ ะกลายเป็ นว่ าอัต รากํา ไรสุท ธิ คื อ 28% (28/100 *100%) ความหมายของมัน ก็ คื อ ถ้ า มี รายรั บ ที
100 บาท จะได้ กําไร 28 บาท เป็ นต้ น

สมมติว่าถ้ าเรานําตัวเลขอัตรากําไรสุทธิ ไปเปรี ยบเทียบตัวมันเอง จากปี นีและปี ก่อน ยกตัวอย่างเช่น ปี ก่อ นมี
รายรับรวม 10ล้ านบาท กําไร 2ล้ านบาท แต่ปีนีมีรายรับรวม 20ล้ านบาท กําไร 3ล้ านบาท พอเราเอามาคิดตัวเลขอัตรา
กําไรสุทธิ เราก็จ ะได้ ว่ า ปี ก่อ น จะมีอัตรากํ าไรสุทธิ ที 20% (2/10) ในขณะทีปี นีจะมี อัต รากําไรสุทธิ ที 15% (3/20)
ซึงเราก็จะเห็นได้ ว่าแม้ จะมีกําไรสูงขึน แต่เราขายของต่อหน่วยได้ กําไรลดลง เป็ นต้ น แต่เราก็อย่าเพิงด่วนสรุ ปว่ามันไม่ดี
เพราะจากบทก่อนๆ ที เราได้ เรี ย นรู้ กันมา เราก็จะพบ “ธรรมชาติของการประกอบธุรกิ จ”อย่างหนึงทีว่า “กิจ การทีโตขึน
ยอดขายโตขึน อัตรากําไรมักจะลดลง แต่กําไรสุทธิก็จะยังคงสูงขึนอยู่ดี” ในทางกลับกันถ้ าหากว่า “กิจการไม่โต ยอดขาย
ไม่โต แต่อตั รากําไรลดลง กําไรสุทธิลดลง อันนีก็ตวั ใครตัวมัน”

แต่ถงึ แม้ ว่ากําไรสุทธิจะโตขึน และอัตรากําไรสุทธิ จะสูงขึนด้ วยก็ตาม เราต้ องพิจารณาว่า กิจการทีเราวิ เคราะห์
เป็ นกิ จ การประเภทใด ยกตัว อย่ างเช่ น ถ้ า เป็ นกิ จการโรงไฟฟ้ าหรื อ ร้ านสะดวกซื อ ที มี รายรับ สมํ าเสมอ เราก็ อ าจจะ
วิเคราะห์แบบตรงไปตรงมา คือเอาตัวเลขรายปี หรือรายไตรมาสมาเทียบกันตรงๆ ได้ แต่ในบางกิจการมันไม่อย่างนันน่ะสิ..

29 | P a g e
เพราะว่าบางกิจการจะมีฤดูกาลของมัน ทีเค้ าเรี ยกว่า “Seasonal” ซึงนอกจากทีเราจะต้ องดูว่าฤดูกาลเป็ นช่วง
ไหนแล้ ว ยังต้ องดูด้วยว่า “กําไร” จะเข้ าไตรมาสไหนด้ วย ยกตัวอย่างเช่น เราบอกว่ากิจการโรงแรม ก็จะดีช่วงสินปี กับต้ นปี
รายรับก็น่าจะเข้ ามาเต็มๆ ช่วงนัน เพราะลูกค้ ามักจะจ่ายเงินทันทีทีเข้ าพัก แต่ถ้าเป็ นกิจการอสังหาริ มทรัพย์ ล่ะ เราก็ต้อง
มาดูว่ารายรับมันจะเข้ าช่วงไหน ถ้ าเค้ าเขียนในนโยบายบันทึกรายได้ ว่าจะบันทึกเมือ “โอนคอนโดแล้ ว” นันก็หมายความ
ว่า วันที จองคอนโด ถึง แม้ จะจองแล้ ว เต็มเร็ ว รายได้ ก็จะยังไม่ถูกบันทึก กํ าไรก็เลยยังจะไม่เกิด ขึน แต่พ อรายได้ เข้ ามา
มันก็ จะเข้ า มาเป็ นก้ อ นใหญ่ ม ากๆ จนทํ าให้ เราเข้ าใจผิด ว่า รายได้ และกํ าไรทีโดดขึนมาอันนี เป็ นสิงทีจะเกิดขึนอย่า ง
ต่อเนือง ทําให้ บางครังราคาหุ้นขึนไปหลายเท่า ทังๆ ทีเป็ นการ “เข้ าใจผิดในสาระสําคัญของกําไร ทีโดยข้ อเท็จจริ งแล้ ว
กํา ไรมีค วามผันผวน ไม่ สมํ าเสมอ” หรื อถ้ าจะซับซ้ อนไปกว่ า นัน กิ จการ เช่น รับ เหมาก่อ สร้ าง ซึงเป็ นกิ จการทีรู้ กัน ว่ า
“เบียว” กันง่าย หรือบางทีก็จ่ายเงินล่าช้ าเป็ นปี เช่นพวกทีรับงานราชการ เป็ นต้ น บางครังถ้ า “ซวย” ก็คือ ทํางานไปแล้ ว
ตรวจรับงานผ่านไปแล้ ว อยู่ในขันตอนการ “รอเบิกจ่าย” บริ ษัทก็จึงตังกําไรตรงนีไว้ (คือ รับรู้ รายได้ ไปแล้ ว แต่เงินยังไม่ได้
ตังเป็ นรายได้ ค้างรับ ติดเอาไว้ ตรงลูกหนีการค้ า) ต่อมาปรากฏว่าเกิดอุบัติเหตุทางการเบิกจ่ายใดๆ ทีอ้ างว่า “ไม่สามารถ
จ่ายเงินได้ ” ทําให้ ต้องตัดหนีสูญทังก้ อน บันทึกเป็ นผลขาดทุนตามมา แล้ วไตรมาสทีบันทึกผลขาดทุน ก็จะ “อ่วม” ไปเต็มๆ
และเราซึงเป็ นรายย่อย ไม่มีทางรู้ลว่ งหน้ าอยู่แล้ ว พองบออกมาก็เลยโดน “น๊ อคมืด”

นอกจากนี เราก็ยงั ต้ องพิจารณาว่ากําไร อาจจะมาจากรายได้ อืนๆ ของบริ ษัท ซึงเป็ นรายได้ ลกั ษณะทีชัวคราว
ส่งผลให้ เกิด “กําไรชัวคราว” เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น การปรับมูลค่าทีดิน เป็ นต้ น (ดูรูปประกอบ)

30 | P a g e
จากรูป เราก็จะเห็นได้ ว่า งบไตรมาสนีของบริษัท จริงๆ แล้ วมีรายได้ จากธุรกิจหลักเพียง 7 ล้ านบาทเท่านัน แต่มี
รายได้ อืน ได้ แก่ “สินทรัพย์รอการขาย” (ซึงตีความได้ ว่าอาจจะยังไม่ได้ ขายด้ วยซํา เพราะรอการขาย) ทําให้ เกิดรายได้ สงู
ถึง 200ล้ านบาท และส่งผลทําให้ งบมีกําไรพุ่งสูงถึง 190ล้ านบาท คิดเป็ นอัตรากําไรต่อหุ้นที 1.45 บาทต่อหุ้น ซึงถ้ าเรามอง
แค่สรุปงบการเงินผิวเผิน โดยไม่ได้ เข้ าไปดูใส้ ใน เราก็อาจจะ “เข้ าใจผิดในสาระสําคัญของกําไร” ก็เป็ นได้ แต่ถ้าเราเข้ ามา
ตรวจสอบข้ างในงบการเงินนีแล้ ว มันก็ชัดเจน.. ซึงจะเห็นได้ ว่า แต่ละบริ ษัทเค้ าก็ไม่ได้ ปิดบังอะไรเรานะ เค้ าแค่อาจจะ
“เขียนตัวเล็ก” หรือ “เขียนคลุมเครือ” ก็เท่านัน

จากทีกล่าวมาทังหมดนี ก็เพือจะแสดงให้ เห็นว่า เรามองเห็น “กําไรสุทธิ และอัตรากําไรสุทธิ ” จากงบการเงินที


ผ่านการรับ รองจากผู้สอบบัญชีแ ล้ ว ก็ตาม แต่เ ราเองก็ยังต้ องวิ เคราะห์ “คุณภาพ” และ “ความสมํ าเสมอ” ของกํา ไรที
เกิดขึนด้ วย ซึงถ้ าหากว่ากําไรทีปรากฏ ไม่น่าจะมีข้อสงสัยอะไร และเติบโตขึนทุกปี ก็เป็ นเหตุผลทีดี ทีเราจะเลือกลงทุนหุ้น
เหล่า นัน.. แต่ เอ๊ ะ!! อัน นีมัน เป็ นแค่ก ารวิ เคราะห์ ว่ า “ขายแล้ ว ได้ กํ าไรกี บาท” เท่ านันนีนา อัน ที จริ งแล้ ว ก่ อนทีเราจะ
พิจารณาว่าควรลงทุนหรือไม่ เราต้ องดูเทียบกับ “ผลตอบแทนในการลงทุน” ซึงจะสะท้ อนผ่านผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือ
หุ้น (Return on Equity - ROE) และผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (Return on Asset - ROA) ในบทต่อไปนันเอง..

31 | P a g e
บทที 9 ผลตอบแทนต่ อส่ วนของผู้ถอื หุ้น (Return on Equity - ROE) ,ผลตอบแทนต่ อสินทรั พย์ (Return
on Asset - ROA) และสัดส่ วนหนีสินต่ อทุน (Debt on Equity - D/E)

ในบทก่อน เราได้ เรี ยนรู้ กันในเรื องของ “กําไรสุทธิ และอัตรากําไรสุทธิ ” ซึงทําให้ เราทราบว่าสิงทีเราลงทุนมันมี
กําไรรึเปล่า ถ้ ากําไร กําไรเท่าไหร่ แต่เราก็ยังบอกไม่ได้ ว่ามันเป็ นการลงทุนทีดีหรื อไม่ เพราะเรายังไม่ร้ ู ว่า “มันคุ้มกับสิงที
เราลงทุน ไปไม๊ ” ตอนนี เราก็เ ลยจะเข้ า มาสู่ใ นเรื องของ “ความคุ้มค่ า ในการลงทุน” กัน แล้ ว แต่ ก่อ นทีจะเข้ าสู่เ นือหา
เราลองมาดูตวั อย่างเพือจะได้ เข้ าใจได้ ง่ายขึน กันสักนิดดีกว่า แต่ก่อนจะไปถึงตัวอย่าง จะฝากสูตรไว้ สตู รหนึงก็คือ

สินทรั พย์ (asset) = หนีสิน (debt,liability) + ส่ วนของผู้ถอื หุ้น (equity)

สมมติว่าผมได้ ลงทุนทําร้ านขายหมูปิงด้ วยเงิน 100,000 บาท ปรากฏว่าผมได้ กําไรในปี แรก 20,000 บาท เท่ากับ
ว่าผลได้ ผลตอบแทนอยู่ที 20% ต่อปี (20,000/100,000) หมายความว่า ลงทุน 100 บาท ได้ 20 บาทอะไรทํานองนัน
ตรงนี ผมก็จ ะบอกว่ าผมได้ ผลตอบแทนต่ อสิน ทรั พย์ (ROA) อันประกอบไปด้ วย เงิน ของผู้ลงทุน จริ งๆ และเงิน ทีกู้ยื ม
มาลงทุน (ซึงรวมไปถึงวงเงินเดินสะพัดต่างๆ ทีกิจการทําไว้ กับสถาบันการเงินเพือเสริ มสภาพคล่องในการดําเนินธุรกิ จ)
คํานวณแล้ วได้ ROA ที 20% ต่อปี ซึงในกรณีนีจะเท่ากับผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ก็คือ 20% ต่อปี ก็เงินที
ลงทุนทังหมดมันเป็ นเงินของผมนีนา ROA กับ ROE มันก็เลยเท่ากันเป๊ ะ..

แต่ ที นี ได้ ผมคิ ด ว่ า กํ า ไรที ได้ ยัง น้ อยไปนิ ด และผมก็ ดูแ ล้ ว ว่ า หมู ปิ งขายดี ม าก ผลิต มาเท่ า ไหร่ ก็ ข ายหมด
แต่พอจะลงทุนเพิมก็ไม่มีเงิน ผมก็เลยไปกู้เงินมาลงทุน จากเงินลงทุนตอนแรก (เงินของผมเอง) 100,000 บาท ผมไปกู้มา
50,000 บาท กลายเป็ นทุนทีลงไปทังหมด (สินทรัพย์ ทังหมดทีลงทุนไป) อยู่ที 150,000 บาท ปรากฏว่าขายได้ กําไรในปี
ต่ อ มา 30,000 บาท ผลตอบแทนของผมก็ จ ะกลายเป็ นว่ า ผลตอบแทนต่ อ สิ น ทรั พ ย์ (ROA) ก็ เ ท่ า กั บ 20%
(30,000/150,000) ซึงเท่าเดิมจากตอนทีก่อนจะขยายการลงทุนเลยนะ แต่ว่าผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) จะ
เท่ากับ 33% (30,000/100,000) เยอะมากเลยนะเนีย ก็แน่ล่ะ ผมอุตส่าห์ ยอมเสียดอกเบียแพงๆ (ดอกเบียเงินกู้ MRR
ปี 2557 อัตรา 8-12%) เพือมาลงทุนนีนา..

เราก็จะพอเห็นภาพแล้ วว่า ROA และ ROE มันแตกต่างกันอย่างไร แต่เราต้ องเข้ าใจถึงขนาดทีว่า ความหมาย
ของมันในการนําไปใช้ มันหมายถึงอะไร เรามาดูกนั เลยดีกว่า..

เรามาดูที ROA กันก่อน ซึงเราจะเห็นได้ ว่า ROA คือผลตอบแทนจากการลงทุนทีได้ จากจํานวนเงินทีลงทุนไป


จริ ง ๆ ในกิ จ การ จึง เป็ นตัว เลขที แสดงถึง “จํานวนเงินลงทุน ในการดํ าเนิ น กิจการที แท้ จริ ง และอัต ราผลกําไรที
แท้ จริ ง” เพราะฉะนัน ถ้ าหากเราจะวัดฝี มือของผู้บริหารในด้ านของการจัดการสินทรัพย์ และในด้ านของการใช้ ทุนในการ
ดําเนินกิจการ เราก็ต้องเทียบกันที ROA เป็ นหลัก โดยทีเราอาจจะใช้ ตวั เลขอีกหนึงตัว ทีจะมาประเมินว่ากิจการทีเราลงทุน
ไปนัน มีการใช้ สินทรัพย์ ได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพเพียงใด ตัวเลขนันก็คือ อัตราส่วนความสามารถในการใช้ สินทรัพย์ หรื อ
Asset Turnover Ratio สูตรของมันก็คือ..

32 | P a g e
อัตราส่วนความสามารถในการใช้ สินทรัพย์ (Asset Turnover Ratio) = ยอดขายรวม (Total sales) / สินทรัพย์
รวม (Total Asset)

และเพือให้ เห็นภาพ เรามาดูตวั อย่างกันสักนิด ยกตัวอย่างเช่น ในปี ที 1 เรามียอดขายอยู่ 1,000,000 บาท และมี
สินทรัพย์อยู่ที 500,000 บาท ก็เท่ากับว่า Asset Turnover Ratio ในปี ที 1 ก็คือ 2 เท่า (1,000,000 / 500,000) แต่สมมติปี
ที 2 เราบอกว่าเราไปกู้เงินมาเพิม 200,000 บาท ทําให้ สินทรัพย์ รวมกลายเป็ น 700,000 บาท (500,000 + 200,000)
แต่ ป รากฏว่ า ทํ า ยอดขายได้ เพิ มขึ นเพี ย ง 50,000 บาท ทํ า ให้ ยอดขายในปี ที 2 เท่ า กั บ 1,050,000 บาท
(1,000,000+50,000) ก็เท่ากับว่า Asset Turnover Ratio ในปี ที 2 ก็คือ 1.5 เท่า (1,050,000 / 700,000) ซึงเท่ากับว่าเรา
ใช้ ทุนได้ มีประสิทธิ ภาพน้ อยลง เป็ นต้ น ซึงมันก็เท่ากับว่าผลการดําเนินงานในปี ที 2 น่าจะแย่กว่าปี ที 1 แต่ทังนีก็ต้องดู
ปั จจัย หลายๆ อย่า งประกอบกัน เช่น ว่าปี นันนําท่วมหรื อ ไม่อ ย่างไร เค้ าถึงได้ บ อกว่ า เวลาจะให้ เห็น ภาพชัดๆ ต้ อ งเอา
ตัวเลข 5 ปี ย้ อนหลังมาวิเคราะห์..

วิเคราะห์ เปรี ยบเทียบกับตัวเองแล้ ว ก็ต้องเปรี ยบเทียบกับคู่แข่งในตลาดด้ วย ว่า Asset Turnover Ratio ของ
คนอืนๆ เค้ าเป็ นอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น มีบริษัททีทําอะไรทีคล้ ายๆกัน (มันก็คงไม่เหมือนกันเป๊ ะๆ ซะทีเดียว) อยู่ 5 บริ ษัท
ถ้ าค่าเฉลีย Asset Turnover Ratio ของอุตสาหกรรม (คือเอาทัง 5 บริษัทมาเฉลีย) อยู่ที 3 เท่า แต่ของเราทําได้ แค่ 1.5 เท่า
แสดงว่าของเราน่าจะยังใช้ ทรัพยากรไม่ค้ มุ ค่ารึเปล่า (แต่ถ้าคิดในแง่ดีก็คือ กําลังการผลิตหรื อบริ หาร (capacity) ยังเหลือ
ถ้ าปรับปรุงกระบวนการภายใน อาจจะทําให้ มีกําไรเพิม โดยทีไม่ต้องลงทุนเพิมก็ได้ นะ..

(สําหรับคนทีสนใจในการวิเคราะห์ ตัวเลข หรื อเปรี ยบเทียบตัวเลข สามารถศึกษาเพิมเติมด้ วยตนเองได้ โดยมี


กลุ่ ม ตั ว เลขหลายๆตั ว ที น่ า สนใจ เช่ น อั ต ราการหมุ น เวี ย นของลู ก หนี (Account Receivable Turnover),
อัตราการหมุนเวียนของสินค้ าคงเหลือ (Inventory Turnover), อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ถาวร (Return on Fixed
Asset - ROFA) และตัว เลขอื นๆ อี ก มากมาย เราก็ใ ช้ วิ ธี วิ เ คราะห์ แ บบเดี ย วกัน นี ล่ะ คื อ วิ เ คราะห์ เ ที ย บกับ ตัว เอง
และเทียบกับอุตสาหกรรม)

ต่อมาก็คือการอธิ บายเพิมเติมเกียวกับ ROE ซึงเราก็จะเห็นได้ ว่า “เป็ นผลตอบแทนทีคิดจากกําไร แล้ วเอาไป


เทียบกับเงินลงทุนในส่วนของเจ้ าของ” เพราะในส่วนทีเป็ น “หนีสิน” ก็ถือว่าเราได้ จ่ายดอกเบียไปให้ แล้ ว ผลตอบแทนของ
“ผู้ใ ห้ ก้ ู” ก็คื อเป็ นเพี ยงแค่ดอกเบี ยเท่ านัน (อธิ บ ายเพิมเติม : บางครังบริ ษั ทออก “หุ้นกู้” เพือกู้ยืมเงินในลัก ษณะของ
“หุ้นกู้แปลงสภาพ” โดยมีการระบุเงือนไขการแปลงทังในเรืองช่วงเวลาและราคาแปลงสิทธิ จาก “หุ้นกู้” ให้ เป็ น”หุ้นทุน” ได้ )
ดังนันในเรืองของ ROE ก็คือ ผลตอบแทนของกลุม่ ผู้ถือหุ้นเอง แต่ผมอยากจะให้ ม่งุ ประเด็นไปที “ภาระหนี” ครับ..

จากทีเราได้ ยกตัวอย่างร้ านหมูปิงในตอนต้ นของบทนี เราก็จะเห็นได้ ว่าการ ”กู้ยืมเงิน” แม้ ว่าจะทําให้ กิจการมี
วงเงิ น เพื อ “คว้ า โอกาส” ทางธุ รกิ จ ที ผู้บ ริ ห ารได้ เล็ ง เห็ น แต่ ใ นทางเดี ย วกั น มั น ก็ นํ า มาซึ ง “ภาระ” หรื อ “Liability”
อย่างหลีกเลียงไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิง “ไม่มีใครรู้อนาคต” และการกู้ยืมเงินมาลงทุน ก็หลีกไม่พ้นความเสียงนีเช่นกัน

33 | P a g e
ในอดีตทีผ่านมา เราได้ มีโอกาสเห็นทังผู้ทีประสบความสําเร็ จและล่มสลายในทางธุรกิจ ประเด็นหลักๆทีทําให้
พวกเขาเหล่านันส่วนหนึงก็มาจาก “การกู้ยืม ” ทังนัน ยกตัวอย่างเช่น รายของนําเมาที ไม่มีเงินทุนมากพอจะไปประมูล
สัมปทานโรงเหล้ า จึงต้ องออก “หุ้นกู้” โดยเอาเหล้ าในสต๊ อกมาคําประกัน เพราะถ้ าไม่ประมูล โอกาสทองก็จะหลุดลอยไป
ผลทีเกิด ขึนก็คือ สัมปทานใบนัน สร้ า งทรัพย์ สินอย่า งมหาศาลให้ แ ก่ผ้ อู อกหุ้นกู้ท่า นนัน แต่ก็เช่น เดียวกัน ในช่ วงวิกฤต
2540 การล่มสลายของธุรกิจน้ อยใหญ่ รวมไปถึง “ธนราชันย์ ” อันยิงใหญ่ ทังหลาย ส่วนใหญ่ ก็มาจากการกู้เงินมาลงทุน
ทังนัน โดยผู้ทีได้ ประโยชน์ ก็คือ “พวกเก็บซาก” (ผู้ทีไม่ได้ เจ็บแต่เก็บเงินสดไว้ หรื ออาจจะแอบเจ็บนิดหน่อย) กลายเป็ น
ผู้เก็บกินผลประโยชน์จากอาณาจักรทีล่มสลายเหล่านัน และนีเป็ นแนวทางทีหนังสือ “มีความสุขกับหุ้นปั นผล by หมีส้ม”
แนะนํามาตลอดนันเอง

เราก็เลยจะเห็นได้ ว่า “การกู้ยืม” เป็ นทัง “โอกาส” และ “ความเสียง” กลัวเกินไปไม่ก้ มู าเลย กิจการก็อาจจะโตช้ า
ทําให้ ไม่ทันคู่แข่ง และอาจจะถูกคู่แข่งไล่บีจนต้ องปิ ดกิจการก็ได้ หรื อ ว่าถ้ ากู้มามากเกินไป ก็เดียวจะกลายเป็ นภาระที
“หนักอึง” ยกตัวอย่างเช่น ถ้ าเราไม่ก้ มู าเลย สมมติเราทําแซนวิชขาย มีแ ข่งกัน 2 ราย ต้ นทุน ทุกอย่ างเท่ ากันหมดเลย
อยู่ทีชินละ 5 บาท ขายก็เท่ากัน (ก็ถ้าขายแพงกว่าคนก็ไม่ซือ) ทีราคา 7 บาท ต่อมามีเครื องจักรผลิตแซนวิช ทําให้ ไม่ต้อง
ใช้ คน แต่ต้ องลงทุน ตอนแรกค่อ นข้ างมาก รายแรกไม่ย อมลงทุน เพราะไม่ อยากเสียง แต่ อีก รายที 2 คํา นวณแล้ ว ว่ า
“จากต้ นทุนทีลดลงด้ วยเครื องนี น่าจะทําให้ มีกําไรเพิมขึน 15% ในขณะทีต้ นทุนดอกเบียทีกู้มาลงทุนอยู่ที 8% ภายใต้
ความเสียงทีพอรับได้ ” จึงได้ ก้ มู าลงทุน ผลต่อมาทําให้ รายทีลงทุนไป มีต้นทุนตํากว่าเดิม 1 บาท (ตอนนีต้ นทุนรายนึงยังคง
เป็ น 5 บาท แต่อีกคนหนึงเหลือ 4 บาทแล้ ว) รายที 2 ทีมีต้นทุนตํากว่า ถ้ าหากไม่ลดราคาขาย ยังคงขายที 7 บาท ก็จะมี
กําไรเพิม แต่ถ้าต้ องการกินรวบ (กะว่าอีกฝ่ ายไม่สามารถตังตัวติดแน่ๆ การเปลียนกระบวนการผลิตไม่ใช่เรื องทีทําได้ ง่ายๆ)
ก็ ดั ม ป์ ราคาขายลงมาเหลื อ 6 บาท รายแรกที ต้ นทุน สูง กว่ า ก็ จ ะตายลงในท้ ายที สุด เพราะต้ นทุน แข่ ง ขั น ไม่ ไ ด้
ส่วนรายที 2 ก็ไปซือกิจการต่อจากรายแรก และปรับราคาขายกลับมาเป็ น 7 บาทเหมือนเดิม ทุกอย่างก็จบ (คุ้นๆ มะ ออก
แนวคล้ ายกับบางอุตสาหกรรมทีเราต้ องซือ “ปอปคอร์ น” เค้ าบ่อยๆ) ส่วนในอีกตัวอย่างหนึง ก็คือ กิจการทีกู้มามากเกินไป
อันนีอาจจะเป็ นกิจการที “ตัวเล็กกว่า” และก็ร้ ูว่าถ้ าไม่ทําอะไรก็จะถูกรายใหญ่เจ้ าตลาดกลืนไปจนหมด ก็เลยไปลงทุนเพิม
และเก็งตลาดผิดพลาด จากทีคิดว่าจะได้ กําไรเพิมขึน สมมติสกั 10% ดอกเบีย 8% กลายเป็ นว่าเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทําให้
กําไรไม่โตขึน จากทีแต่เดิม ROE ก่อนกู้มา สมมติอยู่ที 10% ตอนนีกลายเป็ นว่าต้ องจ่ายดอกเบีย ทําให้ เหลือ ROE 1-2%
หรื อติดลบ เป็ นต้ น ส่วนรายใหญ่ ทีไม่ได้ ก้ มู าลงทุน ก็แค่ “เฮิร์ท” นิดน่อยจากภาวะเศรษฐกิจ ก็แค่ “ไม่กําไร”หรื อ “กําไร
ลดลง” แต่ไ ม่ต้ อง “ต่ อยใช้ หนี ” เหมือ น “รายเล็ก ” ทีกู้มาลงทุน (แต่จ ริ ง ๆ แล้ ว “รายเล็ก ” รายนันก็ไ ม่ไ ด้ เ ล็ก ซะทีเ ดีย ว
ล้ มทีเดียว สะเทือนทังประเทศเหมือนกัน)

ทีนีเวลาเราเราจะมอง “ภาระหนี” ทังหลายทีกล่าวมาทังหมดนี บางครังการทีเรามองเป็ น “ยอดหนี” กีล้ านบาท


อะไร มันจะไม่เห็นภาพชัดเจน เพราะว่าบางกิจการกู้มา 10ล้ านบาท ก็อาจจะแค่ “จิบจ๊ อย” เพราะส่วนของผู้ถือหุ้นมีเป็ น

34 | P a g e
พันล้ านบาท แต่กบั บางรายทีส่วนของผู้ถือหุ้นมีเพียงแค่ร้อยล้ านบาท ก็อาจจะเป็ นภาระทีสูงพอสมควร ในทางการคํานวณ
เค้ าก็จะใช้ วิธีดทู ีเรียกว่า “สัดส่วนหนีสินต่อทุน” หรือ Debt on Equity ratio (D/E Ratio) เรามาดูสตู รกันก่อน

สัดส่ วนหนีสินต่ อทุน (Debt on Equity ratio - D/E Ratio) = หนีสิน (Debt) / ส่ วนของผู้ถือหุ้น (Equity)

โดยหลัก การก็ คื อ เป็ นการเที ย บกัน ว่ า หนี สิน เป็ นกี เท่ า ของทุ น ยกตั ว อย่ า งเช่ น หนี สิ น 2,000,000 บาท
ทุน 1,000,000 บาท (สินทรัพย์ก็จะเท่ากับ 3,000,000 บาท) ก็จะคํานวณ D/E ได้ ที 2 เท่า (2,000,000 / 1,000,000) เป็ น
ต้ น ซึงก็จะแสดงถึงภาระทีบริษัทหรือกิจการต้ องแบกเอาไว้ ถ้ าจะเห็นภาพชัดเจน คงต้ องยกตัวอย่าง ดังนีครับ

สมมติ กิจการมีสิน ทรัพย์ 3,000,000 บาท โดยเป็ นเงินลงทุนของผู้ถือ หุ้นทังหมด ไม่มีหนี สินใดๆ ถ้ าในปี ที 1
กิจการทํากํ าไรสุทธิ ไ ด้ ที 300,000 บาท ก็เท่ ากับว่ าได้ ROA อยู่ที 10% ต่อ ปี แต่พอปี ถัดมาเกิด นําท่ว ม ทํ าให้ กิ จการ
สามารถทํากําไรได้ เพียง 150,000 บาท ก็เท่ากับว่าได้ ROA อยู่ที 5% ต่อปี ถ้ าหากเป็ นเงินเราเอง ก็คงไม่ได้ เจ็บมากนัก

แต่สมมติว่าในสินทรัพย์ 3,000,000 บาทนัน เป็ นเงินของผู้ถือหุ้นจริ งๆ เพียง 1,000,000 บาท และมีส่วนทีไป


กู้ยืมมาอยู่ที 2,000,000 บาท หากคิดดอกเบียในอัตรา 8% ต่อปี ก็เท่ากับว่ากิจการ “ไม่ว่าจะทํากําไรได้ หรื อไม่ ก็ต้องมี
ต้ นทุนดอกเบีย จํานวน 160,000 บาท (8% ของเงินกู้ยืม 2,000,000 บาท” เท่า กับว่าในปี แรก ทีเราบอกว่า กําไรสุท ธิ
300,000 บาท จะเหลือเพี ย ง 140,000 บาทเท่ า นัน คิ ด เป็ น ROA ที 4.7% (140,000/3,000,000) ในขณะทีปี ที 2
ก็จะขาดทุนทันที 100,000 บาท (เพราะสมมติฐานเดิม ถ้ าไม่มีหนี จะได้ กําไร 150,000 บาท แต่เคสนีเราสมมติให้ มีต้นทุน
ทางการเงิน 160,000 บาท) เห็นแล้ วใช่ไม๊ ครับว่าหนีสินมันทําให้ ผ้ บู ริหาร “เหนือยมากขึน” ขนาดไหน

บางคนก็จะเริ มสงสัยว่า แล้ ว “ความเหมาะสมในสัดส่วนหนีสินต่อทุน” ควรจะเป็ นเท่าไร อันนีก็คงจะไม่มีใคร


ตอบได้ ชัดเจน ดังทีเราได้ ยกตัวอย่างกันมา แต่สิงหนึงทีเราจะต้ องพิจารณาก็คือ ถ้ าเราเห็นว่ากิจการมีกําไรสุทธิ ทีโตขึน
เราก็ต้องมาดูกนั ว่าบริษัทมีการ “กู้เพิม” หรื อไม่ หรื อ ถ้ าไม่ได้ ก้ ู ก็แสดงกิจการมีกําไรจากผลประกอบการทีดี สามารถใช้
ทรัพยากรได้ ดีขนึ (ดู ROA เปรียบเทียบหลายๆ ปี ) แต่ถ้าหากกู้เพิม เราก็ต้องมาดูว่า “หนีสิน” ทีเพิมขึน มันทํากําไรเพิมขึน
แบบ “สมเหตุสมผลกับความเสียงแห่งหนีสิน” หรือไม่

ซึงประเด็นนี ทีเราต้ องขีดเส้ นใต้ ไว้ ในใจว่า ROE ทีโตขึน อาจมาจากหนีสินทีเพิมขึน เราจึงต้ องตามดูในระยะยาว
ว่า มันมี การ “จุดพลุ” หรื อไม่ โดยเฉพาะเวลาที กู้เงิ นมาแบบ “มหาศาลอภิ มหาโปรเจค” คือ บางครังก็อาจจะเกิด การ
“ทิงทวน” คือกิจการจะ “เจ๊ ง” เลยกู้เงินมา แล้ วก็ทําให้ ผลประกอบการดีขนเพี
ึ ยงปี เดียว (เพือทําให้ ดเู หมือนว่าเงินทีกู้มาเอา
มาใช้ จ่า ยเป็ นไปเพื อกิ จการจริ งๆ) แต่พ อมาปี หลังๆ ปรากฏว่า กิจการมีกํา ไรหดตัวลงมาเท่า กับก่ อนทีจะ “กู้เงิ น” หรื อ
อาจจะขาดทุนส่วนเงินสดทีได้ จากการกู้เงิน อาจจะอ้ างว่าเอาไปลงทุนเครื องจักร หรื ออืนๆ (ซึงก็อาจจะไม่ได้ ลงทุนอย่าง
คุ้ม ค่า ก็ไ ด้ เพราะเราซึงเป็ นรายย่อ ยไม่มี ทางรู้ ว่ าลงทุนกับเครื องจักรอะไร แล้ วราคาเท่า ไหร่ ) ซึงทังหมดนี เป็ นเรื องที
เราซึงเป็ นผู้ลงทุน ต้ องซีเรียสกันอย่างมากทีเดียว ในการติดตามการใช้ เงินทุนของบริษัท เท่าทีจะทําได้ เพราะ “ความเสียง
แห่งหนี” มันตามมาหลอกหลอนพวกเรารายย่อยด้ วย

35 | P a g e
ดังนัน ผู้บริ หารบางคน ก็เลยจะหลีกเลียงการกู้ยืมเงิน โดยใช้ วิธี “ปั นผลเป็ นหุ้น” เพือเก็บเงินสดไว้ ลงทุน หรื อ
อาจจะใช้ วิธี “เพิมทุน” โดยระดมเงินจากผู้ถือหุ้นหรื อนักลงทุนทีสนใจ เพราะเงินตรงนี ไม่เสียดอกเบีย แต่ต้องยอมเสีย
“สัดส่วนความเป็ นเจ้ าของ” เพือแลกกับการทีไม่ต้องเสียงกับภาระดอกเบียนันเอง..

36 | P a g e
บทที 10 ตรวจสุขภาพหุ้นผ่ านงบกําไรขาดทุน

จากทีเราได้ เรียนรู้กนั มาตังแต่บทที 1 ถึงบทที 9 มาแล้ ว เราก็ได้ เห็นแล้ วว่างบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ มีโครงสร้ าง


เป็ นอย่างไร แล้ วทําไมเราถึงต้ องรู้โครงสร้ างของมันด้ วยล่ะ..

ที เราต้ องรู้ โครงสร้ างของงบกํ า ไรขาดทุ น ก็ เ พราะว่ า เราต้ องสามารถจํ า แนกได้ ว่ า กิ จ การที เราวิ เ คราะห์
(หรือทีเราลงทุน) มีความเข้ มแข็งหรือมีความอ่อนแอทีตรงจุดไหน อาจจะอ่อนแอตังแต่แรก ก็คือ ไม่มีแม้ กระทังกําไรขันต้ น
(Gross profit) เลยรึเปล่า หรืออาจจะขาดทุนจากต้ นทุนการบริหารและการขาย (SG&A) หรื อว่าจริ งๆแล้ วขาดทุนจากการ
ลงทุนสินค้ าทุนและอัตราดอกเบีย ซึงเราก็คงได้ เรียนรู้กนั ในรายละเอียดแล้ วว่าในแต่ละรายการทีเอ่ยถึงนันเป็ นอย่างไร

ในขณะเดี ยวกัน เราก็อ าจจะพบว่ากิ จการทีเราวิเ คราะห์ นัน มีค วามเข้ ม แข็งมากขึนเรื อยๆ ก็เป็ นได้ ซึงการที
เราจะทราบถึงความอ่อนแอหรือความเข้ มแข็งของกิจการนันๆ สิงทีเราต้ องทําก็คือ “การเปรียบเทียบ”

“เปรี ย บเทีย บกับ ตัว มัน เอง” “เปรี ยบเทีย บกับกิ จการทีมีโ ครงสร้ า งธุรกิจ แบบเดียวกัน หรื ออยู่ในอุต สาหกรรม
เดียวกัน” “เปรียบเทียบกับภาพรวมของกิจการในตลาดหลักทรัพย์” เราเปรียบเทียบไปทําไมกันนะ..

“เปรียบเทียบกับตัวมันเอง” ก็เพือให้ ทราบว่า โดยตัวมันเองแล้ ว มีความเข้ มแข็งหรื ออ่อนแอลง จะทําให้ เรารู้ ว่า
กิจการนีเป็ นกิจการทีมีแนวโน้ มเป็ นอย่างไรบ้ าง เพราะในฐานะทีเราเป็ นผู้ลงทุน เราก็ควรจะวางเงินลงทุนของเรากับบริ ษัท
ทีมีแนวโน้ มทีดี

เช่นเดียวกัน เราต้ อง“เปรี ยบเทียบกับกิจการทีมีโครงสร้ างธุรกิจแบบเดี ยวกันหรื ออยู่ในอุต สาหกรรมเดียวกัน ”


เพือให้ เราทราบว่า การทีกิจการทีเราวิเคราะห์ หรื อลงทุนอยู่ อาจจะไม่ได้ แย่เมือเทียบกับกิจการอืนๆที มีลกั ษณะเดียวกัน
หรื อ อุต สาหกรรมเดี ยวกัน “ความตกตํา” อาจจะมาจาก “วัฏ จัก ร” ของอุตสาหกรรมก็เ ป็ นได้ ซึงถ้ า หากเป็ น “วัฏจักร”
ที มี แ นวโน้ มขึนลง (เช่ น พวกสิ น ค้ า โภคภั ณฑ์ ) ไม่ ใ ช่ ดํ า ดิ งจากการเปลี ยนแปลงของสภาวะแวดล้ อ ม (เช่ น กิ จ การ
หนั ง สื อ พิ ม พ์ ) เราก็ อ าจจะพิ จ ารณาได้ ว่ า อาจจะทํ า การ “ถอนการลงทุ น ” เนื องจากไร้ อนาคต หรื อ “ลงทุ น เพิ ม”
เนืองจากหากกิจการนันเป็ นกิจการทีเยียมทีสุดในอุตสาหกรรมทีตกตํา และหากอุตสาหกรรมนันถึงเวลาฟื นกลับมา รายที
อยู่รอดอาจจะยิงใหญ่จากการ”เก็บซาก” รายเล็กทีตายจากไป ก่อให้ เกิดสภาวะผู้ขายน้ อยรายหรือ “กินรวบ” ก็เป็ นได้

แต่ถงึ แม้ กระนัน เราก็อาจจะยังต้ อง “เปรียบเทียบกับภาพรวมของกิจการในตลาดหลักทรัพย์ ” เพือให้ เรามองเห็น


ในภาพรวมว่ากิจการทีเรามุ่งสนใจนัน อาจจะไม่ได้ ดีไปกว่ากิจการน้ อยใหญ่ ทีมีอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ทีเราสามารถเลือก
ลงทุน ได้ ซึงตัว เลขทางการเงิ นหรื อ ผลประกอบการทีเรานํ ามาเปรี ยบเที ย บ ก็จ ะเป็ นเครื องยืน ยัน ถึง “ความสามารถ”
ของกิจการทังหลายและเราอาจจะได้ มีลงทุนด้ วยสายตาทีทอดยาวไปยังโอกาสทีกว้ างไกลขึน

นอกจากนี หากผู้อ่ านได้ พิ จารณาอย่ างละเอีย ดใน 9 บทแรกแล้ วนัน ผู้อ่านจะสัม ผัสได้ ว่ าได้ มีก ารพยายาม
อธิ บายถึง “การนําไปใช้ ” หรื อการทีสามารถนําความรู้ ทีได้ ไ ปใช้ ได้ จริ ง ซึงก็ได้ พยายามยกตัวอย่างในแง่ทีว่า โครงสร้ า ง

37 | P a g e
งบกําไรขาดทุน มันจะสามารถเปลียนแปลงไปได้ อย่างไรบ้ าง เพราะการเปลียนแปลงทังหลายเหล่านัน เป็ นสิงสําคัญอย่าง
ยิงทีจะนํา มาซึง “โอกาสงาม” ในการลงทุน และเพือให้ เ ห็นภาพมากขึน ผมจะลองยกตัวอย่ างเท่ าทีผมจะพอมีค วามรู้
อยู่บ้าง ดังนี

บางกิจการ เป็ นกิจการทียังเล็ก และกําลังเติบโต ภาวะขาดทุนทีเกิดขึนในปั จจุบันอาจจะเกิดจากการผลิตที ยัง


ไม่ค้ มุ กับ “จุดคุ้มทุน” แต่เมือผลิตได้ มากพอ ก็ทําให้ กิจการมีกําไรมหาศาล เติบโตก้ าวกระโดด

บางกิจการ เป็ นกิจการทีเคยมีระบบการบริ หารจัดการทีล้ มเหลว แต่เมือมีการปรับเปลียนโครงสร้ างการบริ หาร


ทําให้ เกิดประสิทธิภาพการบริหารจัดการทีดี และพลิกกลับมามีกําไรได้

บางกิจการ เป็ นกิจการทีมีภาระค่าเสือมราคา ซึงต้ องอดทนกัดฟั นกับการลงทุนในสินค้ าทุน ทีอาจจะต้ องใช้ เวลา
หลายปี จึงจะหัก ต้ นทุนค่า เสือมราคาจนหมด แต่ สินค้ าทุน ทีอาจจะสามารถใช้ ได้ หลายสิบปี นัน ก็ จะย้ อนกลับ มาสร้ า ง
ความได้ เปรี ยบให้ แก่กิจการในระยะยาว สกัดกันคู่แข่งที กล้ าไม่เสียงในการลงทุนในสินค้ าทุนดังกล่าว และส่งผลให้ เกิด
กําไรในภายหลังจากการ “เก็บกิน” ดอกผลแห่งสินค้ าทุนนัน

บางกิ จ การ เป็ นกิ จ การที มี ห นี สิ น ล้ น พ้ นตั ว อาจจะเกิ ด จาก “อุ บัติ เ หตุท างการเงิ น ” หรื อ อาจจะเกิ ด จาก
“สภาพของธุรกิจทีต้ องใช้ เงินลงทุนสูง” ซึงภาระดอกเบียทีถาโถมก็อาจจะพัดให้ กิจการซวนเซ และมีช่วงเวลาทีต้ อง “ลุ้น”
ว่าจะสามารถยืนหยัดในระยะยาวได้ หรื อไม่ แต่เมือมีโครงสร้ างเงินทุนทีเปลียนแปลงไป หรื อสามารถชําระหนี ได้ หมดสิน
แล้ ว ก็อาจจะทําให้ กิจการนันๆ เติบโตก้ าวกระโดด และแผ่กิงก้ านสาขาออกไปไม่ร้ ูจบสิน

ทังหมดนี เป็ นสิงทีเราสามารถสังเกตเห็นได้ จาก “งบกําไรขาดทุน” แต่ผ้ ทู ีโชคดีทีจะสามารถ “ฉกฉวย” โอกาสที


เข้ ามานี ก็มัก จะเป็ นผู้ที “สังเกตและเฝ้าติดตามอย่ างต่ อเนื อง” มาในระยะเวลาหนึงแล้ ว จึงปรากฏเป็ น “โอกาสงาม”
ให้ เขาเหล่านันได้ มีโอกาสใช้ ประโยชน์จากการวิเคราะห์ให้ เกิดเป็ น “จังหวะลงทุน” ซึงบางครังก็อาจจะต้ องพึงในเรื องของ
“โชคหรื อ ดวงหรื อ ชะตากรรม” และ “กําลังใจที เข้ มแข็ง ” เข้ า มาเกี ยวข้ อ ง เพราะ “โอกาสงาม” มักจะมาในช่ วงเวลาที
“กํากึง” หรือ “คาบลูกคาบดอก” เสมอ

แต่สงเหล่
ิ านีเอง เราก็จะทราบได้ จากการทีมันสะท้ อนผ่าน “งบกําไรขาดทุน” ทีเราได้ กล่าวถึงกันไป และเราจะ
เติมเต็มการวิเคราะห์ โดยการวิเคราะห์ “งบดุล” และ “งบกระแสเงินสด” ทีเราจะเริมกล่าวถึงกันในบทต่อๆ ไปครับ

38 | P a g e
บทที 11 งบดุลหรื องบแสดงฐานะทางการเงิน

สมมติว่าผมลองสํารวจทรัพย์สนิ ของผมเอง ผมพบว่าผมมีเงินสดอยู่ในมือประมาณ 100,000 บาท มีห้ นุ ทืถือไว้


(เงินลงทุน) มีมูลค่าประมาณ 50,000 บาท มีรถ 1 คันทีผ่อนหมดแล้ วราคาน่าจะประมาณ 200,000 บาท รวมแล้ วผม
น่าจะมีทรัพย์สนิ ประมาณ 350,000 บาท โดยทีไม่มีหนีสินใดๆ

แต่ปรากฏว่าในเดือนนี ผมอยากจะซือคอนโดมูลค่า 2,000,000 บาท ผมก็เลยเอาเงินสดของผมไปดาวน์ คอนโด


ทังจํานวน (100,000 บาท) และอีก 1,900,000 บาท ผมก็ก้ ธู นาคารแล้ วผ่อน 30 ปี ดังนันตอนนีผมมีสินทรัพย์ ทังหมดอยู่ที
2,250,000 บาทเข้ าไปแล้ ว ในขณะทีผมเองก็มีหนีสินเพิมขึนมาเช่นกันที 1,900,000 บาท เมือหักกลบกันแล้ วสุทธิ ผมก็ยัง
มีส่วนทีเป็ นของผมจริ งๆ 350,000 บาทเท่าเดิม แต่ผมก็มีคอนโดสุดหรู เอาไว้ พักอาศัยพร้ อมกับ”หนีและภาระดอกเบีย”
ทีต้ องจ่ายในแต่ละเดือน ซึงภาระการผ่อนคอนโดของผมก็จะอยู่ทีราวๆ เดือนละ 15,000 บาท (รวมเงินต้ นและดอกเบีย)

ทีนี รายได้ ของผมเองนันไม่ค่อยจะแน่นอนเท่าไหร่ คืออยู่ในช่วงระหว่าง 20,000 - 25,000 บาทเท่านัน เท่ากับว่า


ในแต่ละเดือน ผมก็จะมีรายได้ ไหลเข้ ามา 20,000 - 25,000 บาท ในขณะทีรายจ่ายทีแน่นอนของผมก็อยู่ที 15,000 บาท
จากการทีผมเป็ นหนี และผมก็ต้องพยายามประหยัดให้ ได้ มากทีสุด ผมพยายามจํากัดค่าใช้ จ่ายส่วนตัวให้ ใช้ ไม่เกินเดือน
ละ 5,000 บาท ถ้ าโชคดีรายได้ ผมเกิน 20,000 บาทในเดือนนันๆ ผมก็จะมีเหลือเก็บ แต่บางครังรายจ่ายของผมเวลาทีต้ อง
จ่ า ยค่ า ซ่ อ มรถมัน อาจจะสูง ถึง 10,000 บาทต่ อ ครั ง ผมก็ อ าจจะถึง ขันต้ องใช้ ว งเงิ น บัต รเครดิ ต ให้ เ ป็ นหนี มากขึ น
หรืออาจจะต้ องขายเงินลงทุน (ขายหุ้น) ทีผมมีอยู่ราวๆ 50,000 บาท ออกมาใช้ จ่าย..

ตัว เงิ นรายได้ และรายจ่ ายทีไหลเจ้ าออกในแต่ละเดือ น ก็คื อ “งบกํา ไรขาดทุน” ของผมในแต่ละเดือ นนันเอง
ในขณะที การเปลี ยนแปลงในสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี สิ น ที ผมได้ ยกตั ว อย่ า งมา ก็ คื อ “งบดุ ล ” ของตั ว ผมเอง ที พอมา
“กระทบยอด” ในแต่ละเดือนกับ “งบกําไรขาดทุน” ก็จะกลายเป็ น “ฐานะทางการเงิน” แต่ละเดือนของผมทีเปลียนแปลงไป

บริ ษั ทก็ เช่น เดี ยวกัน ทีจะต้ อ งมีก ารลงบันทึก “บัญชีท รัพย์ สิน และหนี สิน” หรื อ ทีเราเรี ยกกัน ว่า “งบดุล” หรื อ
“งบแสดงฐานะทางการเงิ น ” ซึ งก็ จ ะแบ่ ง ออกเป็ น 3 ส่ ว นหลัก ก็ ไ ด้ แก่ “ส่ ว นของทุ น หรื อ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น” ,
“ส่วนของสินทรัพย์” และ “ส่วนของหนีสิน”

“ส่วนของทุน” ก็คือ ทุนทีบริษัทลงไปในการเริมกิจการ ยกตัวอย่างเช่น บริษัทเริมต้ นลงทุนกันทีราคาพาร์ 10 บาท


เป็ นจํานวนหุ้นทังสิน 100,000 หุ้น ดังนันถ้ าหากบริ ษัทขายหุ้นออกได้ หมดก็จะได้ เงินรวมกันทังสิน 1,000,000 บาท เป็ น
เงินเริมต้ นกิจการ แต่ปรากฏว่าผู้บริหารของบริษัท ซือหุ้นของบริ ษัทในราคาพาร์ ที 70,000 หุ้น รวมเป็ นเงิน 700,000 บาท
และนําอีก 30,000 หุ้นออกขายหุ้นแบบ Initial Public Offeriing (IPO) ให้ แก่นักลงทุนทีสนใจ ในราคาหุ้นละ 15 บาท
(โดยบอกแก่นกั ลงทุนว่าเป็ นกิจการทีมีอนาคต จะมาซือทีหุ้นละ 10 บาทไม่ได้ หรอก ราคาทีเหมาะสมคือ 15 บาทต่างหาก)
และก็ปรากฏว่าหุ้นจํานวน 30,000 หุ้นทีออกขายขายได้ หมดเกลียง ทําให้ บริ ษัทได้ เงินมาเพิมอีก 450,000 บาท รวมเป็ น
เงินส่วนทุนทีเข้ าบริษัททังสิน 1,150,000 บาท (700,000+450,000) ทําให้ การบันทึก ”ส่วนของทุน” หลังจากขายหุ้นครบ

39 | P a g e
แล้ ว เป็ นจํานวน 1,000,000 บาท (พาร์ 10 x 100,000 หุ้น) และมี “ส่วนเกินมูลค่าหุ้น” อีกจํานวน 150,000 บาท รวมเป็ น
ส่วนของทุนทังสิน 1,150,000 บาท ส่วนผู้ทีได้ ซือ IPO ไปในราคา 15 บาทนัน จะไปขายคนอืนในราคาตลาดเท่าใดก็
สุดแล้ วแต่ โดยจะไม่มีผลต่องบดุลของบริ ษัท แต่เป็ นเรื องของการ “ได้ -เสียจากการขายหุ้น” ของผู้ลงทุนว่าจะกําไรหรื อ
ขาดทุนแค่ไหน

หลังจากทีได้ ทุนในการดําเนินกิจการจํานวน 1,150,000 บาทแล้ ว ก็เลยนําไปซือสินทรัพย์ ต่างๆ เพือประกอบ


กิจการตามทีตังใจไว้ ซึงก็ มีทังที เก็บไว้ เป็ นเงิน สด, เอาไปลงทุนในหุ้นหรื อตราสารต่างๆ, เอาไปซื อเครื องจักรและทีดิ น
รวมไปถึงภาพวาดเอาไว้ ประดับข้ างฝา (รายการทรัพย์สนิ อืนๆ) ทังหมดนีบันทึกเป็ น “สินทรัพย์”

แต่เ นืองจากใช้ เงิ นไปมากจนมาพบว่า เงิน ทีมี อยู่ไ ม่พ อในการดํา เนิ นกิจ การ ก็จึง ต้ อ งไปกู้ยื มเงิ น หรื อ บางที ก็
ไปเอาวัต ถุดิ บ ของคนอื นมาผลิ ต ก่ อ นแล้ ว ค่ อ นจ่ า ยเงิ น ที ห ลัง เงิ น ที กู้ ยื ม มาทั งหลายก็ ก ลายเป็ น “ส่ ว นของหนี สิน ”
จํ า แนกออกมาง่ า ยๆ เป็ น “หนี สิ น จากสถาบั น การเงิ น ต่ า งๆ” (จากการที ไปกู้ ยื ม เงิ น มาหมุ น ) และเหล่ า บรรดา
“เจ้ าหนี การค้ า ” (จากการเอาของเค้ า มาแล้ ว ยั ง ไม่ จ่ า ยตั ง ) ซึ งหนี สิ น ทั งหลายก็ ก่ อ ให้ เกิ ด ภาระหนี ที ไม่ เ หมื อ นกั น
ทังในด้ านของ “ความบีบคันในการจ่าย” และ “ต้ นทุนดอกเบีย” (หรื อต้ นทุนทางการเงิน ทีเราได้ เจอในงบกําไรขาดทุน ใน
บทก่อนหน้ าแล้ ว)

ทังหมดนีทีกล่าวมานี ก็คือโครงสร้ างของ “งบดุล” ซึงมีโครงสร้ าง ก็คือ ส่ วนของผู้ถอื หุ้น = สินทรั พย์ - หนีสิน

เนืองจากรายละเอียดการอธิบายเรืองงบดุล ได้ เคยอธิ บายไว้ แล้ วในหนังสือ “มีความสุขกับหุ้นปั นผล by หมีส้ม


เล่มที 1 “ จึงไม่ได้ ลงในรายละเอียดหรือนิยามของความหมายในแต่ละบรรทัด แต่จะขอข้ ามไปสู่ “การตีความและนําไปใช้
เชือมโยงกับงบกําไรขาดทุน” ในบทต่อไปนี ซึงจะแบ่งออกเป็ นส่วนของ “สินทรัพย์ ” และส่วนของ “หนีสิน” ในบทต่อๆไป
ครับ..

40 | P a g e
บทที 12 สินทรั พย์ ในงบการเงิน

บทนี เราก็จ ะมาพูดถึง “ส่วนของสิน ทรั พย์ ” กัน นะครั บ ซึงในบทนี ผมขอชี ประเด็นไปที “มูลค่า ทีแท้ จ ริ ง ของ
สินทรัพย์” และแนวทางการประเมินว่า “มันควรจะมูลค่าเท่าไหร่” เพือให้ เราเข้ าใจในกองทรัพย์สนิ ทีบริษัทมีอยู่ได้ ดียิงขึน

“สิน ทรั พ ย์ ” ที ปรากฏใน”งบดุ ล” นี ถ้ า หากเราได้ เ ห็ น ตัว งบแล้ ว ก็ จ ะเห็ น ได้ ว่ า เค้ า จะจํ า แนกออกมาเป็ น
2 ประเภท คือ “สินทรัพย์หมุนเวียน” และ”สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน” (ถ้ าเราสังเกตดีๆ เราจะพบว่ารู ปแบบทางบัญชี ล้ วนเป็ น
รู ป แบบที มี ม าตรฐาน ได้ รับ การพัฒ นาให้ เ ข้ า ใจง่ า ยและเป็ นเหตุเ ป็ นผล ซึ งถ้ าหากเราทํ า ความเข้ า ใจกับ มัน ได้ แ ล้ ว
เราก็ สามารถทีจะใช้ ง านได้ อย่ างคล่องแคล่ว เข้ าใจความเป็ นไปในทุกบริ ษัทผ่ านงบการเงิน ทีมีโ ครงสร้ า งเหมือนๆ กัน
เพียงแต่บางทีเราอาจจะท้ อในการทําความเข้ าใจไปเสียก่อน ทําให้ เราไม่สามารถจะ ”ฟิ น” ไปกับมันได้ )

ก่อนอืนเราอาจจะต้ อ งเข้ าใจถึงประเด็นที มาของ ”สิน ทรัพ ย์ ” กันก่ อน ว่าเริ มต้ นมัน ก็คือ “เงินสด” แล้ ว นํามา
แปรเปลียนเป็ นสิน ทรั พ ย์ อื นๆ เพื อดํ า เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ซึงสิน ทรั พ ย์ ห มุน เวี ย นก็ คื อ สิงที น่ า จะ (ยํ าว่ า “น่ า จะ”)
แปรเปลียนกลับเป็ นเงินสดได้ ง่าย ในขณะทีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนก็คืออะไรทีแปรเปลียนเป็ นเงินสดได้ ยาก

ยกตัวอย่างเช่น ร้ านขายหมูปิง ก็จะมีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนได้ แก่ เงินสด (เอาไว้ ใช้ สอยและทอนตัง เป็ นรายการเงิน
สดและเทียบเท่าเงินสด), ลูกหนีการค้ า (ขายหมูปิงให้ ไปแล้ วแต่รอเก็บตังตอนเย็น เป็ นลูกหนีการค้ าของเรา), วัตถุดิบต่างๆ
ทีซื อหมุน เวี ย นสํา หรั บ ผลิต เช่น หมู ซ๊ อ ส ข้ า วเหนี ย ว เป็ นต้ น (เป็ นรายการสิน ค้ า คงเหลือ ) และก็ อ าจจะมี เ ป็ นพวก
ถุงพลาสติก (เป็ นสินทรัพย์หมุนเวียนอืนๆ) ในขณะทีมีสนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนก็ได้ แก่ พวกเตาปิ งและรถเข็น ซึงเปลียนกลับ
เป็ นเงินได้ ยาก และถึงจะเปลียนเป็ นเงินได้ (ขายได้ ) ก็ไม่ร้ ูจะได้ มากน้ อยแค่ไหน

บริษัท ก็เช่นเดียวกัน มันก็จะเป็ นโครงสร้ างคล้ ายๆ แบบนี แต่รูปแบบจะซับซ้ อนและมีรายการสินทรัพย์ ทีเยอะ
กว่ากิ จการหมูปิ งนีแน่ นอน และเวลาทีเราเห็น “สินทรัพ ย์ ” ในงบการเงิน เราก็ เลยต้ องมาวิเคราะห์ ว่ามันเป็ นอะไรบ้ า ง
และจริ งๆแล้ ว “มันควรมี มูลค่ า เท่ าไหร่ ” เพราะสิงที ปรากฏในงบการเงิ น “มัน ตรงไปตรงมาจากการบันทึก ทางบัญชี ”
แต่มนั อาจจะไม่ได้ เป็ นมูลค่าทีแท้ จริง หากว่าเราต้ องการ “ขายสินทรัพย์นน”
ั ออกไปก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น

สมมติว่าผมอยากได้ เครืองทํากาแฟ และเดินเข้ าไปซือทีร้ านกาแฟ ด้ วยราคาเครื องละ 100,000 บาท ทันทีทีผม
เดินออกจากร้ านผมคิดว่าผมไม่อยากได้ มันแล้ ว จึงเดินกลับไปเพือขอคืนเครื องทํากาแฟ ผลปรากฏว่าผมได้ เงินคืนเพียง
80% เพราะคนขายบอกผมว่า “มันเป็ นเครืองมือสอง” และยังบอกกับผมอีกว่า “ดีนะทีไม่เอากลับบ้ านไปแล้ ว ไม่งันจะคืน
ได้ ทีราคาเพีย งครึงหนึงของทีซือมา” ฉัน ใดก็ฉัน นัน บรรดาสินทรัพย์ ต่างๆ (ทีไม่ ใช่รายการเงิ นสดและเทีย บเท่าเงินสด)
ทีปรากฏในงบการเงิน ล้ วนแต่ถกู บันทึกด้ วยราคาทุนทีซือมา หักด้ วยค่าเสือมราคา แต่โดยข้ อเท็จจริ งแล้ ว ราคามันอาจจะ
ด้ อยค่าลงไปแล้ วก็ได้

ดังนันเวลาที ผู้เชียวชาญทางการเงิ นเค้ า ประเมินสิน ทรัพย์ ข องบริ ษัท (เวลาทีเค้ า จะซือกิจการกัน) เค้ า ก็จะใช้
วิ ธี ก ารตี ราคาแบบต่ า งๆ เพื อให้ ท ราบว่ า สิ น ทรั พ ย์ แ ต่ ละชนิ ด ควรมี มู ลค่ า เท่ า ไหร่ โ ดยใช้ มุ ม มองต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น

41 | P a g e
“มุ ม มองในแง่ ที ว่ า สิ น ทรั พ ย์ ชิ นนี จะสามารถทํ า เงิ น หรื อ สร้ างรายได้ เท่ า ไหร่ ” หรื อ อาจจะเป็ น “มุม มองในแง่ ที ว่ า
ถ้ าเปลียนเป็ นเงินสดตอนนี จะได้ เท่าไหร่” เป็ นต้ น ซึงก็เป็ นแต่ละวิธีทีเค้ าจะนํามาใช้ เพือประเมินให้ ใกล้ เคียงความเป็ นจริ ง
มากทีสุด ซึงเราเองอาจจะไม่ต้อ งไปคิดอะไรละเอียดขนาดนัน วิธี ทีผมใช้ ก็ อาจจะเป็ นวิ ธีทีเรี ยกว่า “ปลอดภั ยไว้ ก่อน”
โดยเป็ นการประเมินจากประสบการณืโดยตรงของผมทีได้ พบเห็นมาตลอดหลายปี ทีผ่านมาว่า ”เวลาปิ ดกิจการสินทรัพย์
อะไรมันเหลือเท่าไหร่ หรืออาจจะกล่าวได้ ว่า ผมใช้ วิธีคิดทีว่า ดังนี

สมมติว่า บริษัท A มีรายการสินทรัพย์ ดังต่อไปนี (เราสามารถดูรายละเอียดทีบันทึกลงไปเป็ นสินทรัพย์ ได้ จาก


งบการเงิ น ฉบั บ เต็ ม ที เป็ นไฟล์ ส่ ง มาแนบกั บ การรายงานงบการเงิ น รายปี และรายไตรมาส สามารถโหลดได้ ฟรี ที
www.set.or.th)

1. เงิน สดหรื อรายการเทีย บเท่ าเงินสด มีก ารบัน ทึก จํานวนทังสิน 1,000,000 บาท ก็จ ะตี ราคาว่า มีอ ยู่
1,000,000 บาทเต็มๆ (ก็เงินสดก็คือเงินสด)
2. เงินลงทุน มีการบันทึกจํานวนทังสิน 500,000 บาท ก็อาจจะดูว่าเป็ นหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ หรื อเป็ นหุ้น
ทีอยู๋นอกตลาดหลักทรัพย์ ถ้ าเป็ นหุ้นทีอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ก็จะเช็คราคาปั จจุบันที www.set.or.th แต่ถ้า
หากเป็ นหุ้นของบริ ษัททีอยู่นอกตลาด ก็จะใช้ วิธีดูงบการเงินของบริ ษัทนันๆ ใน website ของกรมพัฒนา
ธุรกิจการค้ า ในเคสนี ขอตีมลู ค่าเอาไว้ ที 200,000 บาทก็แล้ วกัน
(กดเข้ าไปดูได้ ที www.dbd.go.th และเข้ าไปในส่วนของ “คลังข้ อมูลธุรกิจ” โดยเอาตัวเลข “ส่วนของผู้
ถือหุ้น” มาหารจํานวนหุ้นทังหมด ก็จะได้ “มูลค่าต่อหุ้น” แล้ วเอามาคูณกับจํานวนหุ้นทีบริ ษัทถืออยู่ ข้ อมูล
งบการเงินตรงนี มีการอัพเดทปี ละครังตามทีได้ สง่ งบการเงินรายปี ดังนันอาจจะไม่ได้ อพั เดทเป็ นปั จจุบัน แต่
ก็ยงั พอมีอะไรให้ เราประเมินราคาได้ บ้าง)
3. ลูกหนีการค้ า มีการบันทึกจํานวนทังสิน 200,000 บาท เราก็จะใช้ วิธีการหารสองเลย (เพือความปลอดภัย
เพราะเด๋วนีทําธุรกิจโดนชักดาบกันเยอะ) คือ ก็จะตีว่าเหลือมูลค่าจริงๆ แค่ 100,000 บาท
4. สินค้ าคงเหลือ มีการบันทึกเอาไว้ 500,000 บาท ก็จ ะใช้ วิธีการคิดราคาแค่ 20% หรื อว่าเหลือมูลค่าแค่
100,000 บาทเท่านัน
5. ทีดิน อาคาร เครื องจักรและอุปกรณ์ อืนๆ มีการบันทึกไว้ ที 10,000,000 บาท เราก็จะเอาเฉพาะรายการ
ทีดินเท่านัน (เพราะทีดินน่าจะไม่เสือมมูลค่า) รายการอืนตีเป็ น 0 ให้ หมดเลย สมมติว่าบริ ษัท A มีรายการที
เป็ นทีดิน 5,000,000 บาทก็แล้ วกัน

ทีนีเราก็จะได้ ตารางสินทรั พย์ ทีมีตัวเลข 2 ช่ อง ได้ แก่ ช่องทีบันทึกทางบัญชี และช่องทีเราประเมินราคาเอง


ดังต่อไปนีครับ

42 | P a g e
สินทรั พย์ ของบริ ษัท A ราคาตามบัญชี ราคาทีประเมินเอง
เงินสดหรื อรายการเทียบเท่ าเงินสด 1,000,000 1,000,000
เงินลงทุน 500,000 200,000
ลูกหนีการค้ า 200,000 100,000
สินค้ าคงเหลือ 500,000 100,000
ทีดิน อาคาร เครื องจักรและอุปกรณ์ อืนๆ 10,000,000 5,000,000
รวมสินทรั พย์ 12,200,000 6,400,000

จากตาราง ถ้ าเป็ นผมประเมินราคาตามแบบของผมเอง ถึง แม้ จ ะมีสินทรั พย์ ของบริ ษัทรวมอยู่ที 12,200,000
บาท แต่ผมก็จะตีราคาหรือคิดว่ามันมีมลู ค่า แค่ 6,400,000 บาทเท่านัน เพราะโดยข้ อเท็จจริ งแล้ ว เราซึงเป็ นผู้ลงทุน ไม่มี
ทางจะรู้ได้ เลยว่า สิงบันทึกลงไปในบัญชีนนั มีอยู่ “ครบถ้ วน” และ “ตรงตามมูลค่า” หรื อไม่ เพราะผู้สอบบัญชีก็จะมีจุดที
ไม่สามารถเข้ าไปตรวจสอบได้ อยู่หลายส่วน (เช่นพวกรายละเอียดลึกๆ ว่าสต๊ อกสินค้ ามีอยู่จริ งๆ เท่าไหร่ และลูกหนีการค้ า
รายไหนที “ชักดาบ” ไปแล้ วบ้ าง)
ทีนี บางคนก็ อ าจจะสงสัย ว่ า ทํ า ไมบางรายการที เราทราบว่ า “มัน มีอ ยู่จ ริ ง ” เช่ นพวกอาคารและเครื องจัก ร
ผมตี ราคาบางรายการไม่มีค่ าเลยหรื อตี ค่าเอาไว้ น้ อยมาก เหตุผลที ทํา แบบนัน ก็เนื องมาจากว่ า สมมติว่า เราต้ องขาย
ทรัพย์สนิ ออกไป เราไม่ได้ เพียงแค่ขายแล้ วให้ เค้ ามายกของกันไป แต่การขายทรัพย์ สินนํามาด้ วยความ “เหนือยยาก” และ
มี “ต้ น ทุน แฝง” ทีเกิ ดขึนจากกระบวนการขายสิน ทรั พ ย์ เ หล่า นี ซึงหลายๆ คนที ยัง ไม่ เ คยพบเจอ จะไม่ ท ราบถึง ความ
“วุ่นวาย” และ “เดือดร้ อน” อาจจะถึงขนาดทีต้ องพูดว่า “ยกให้ เค้ าฟรีไปเถอะ ให้ มนั จบไป“ คือ มันเหนือยแบบสาหัสจริงๆ

พอมาถึงตรงนี หลายๆ คนคงเข้ าใจภาพของ “สินทรัพย์ ” มากขึนแล้ วนะครับ ว่าบางครังเราควรจะตีมูลค่าของ


สิน ทรั พ ย์ ต่ า งๆ แบบ “ปลอดภั ย ไว้ ก่ อ น” นันก็ เ พราะว่ า “สิ น ทรั พ ย์ ก็ คื อ สิ น ทรั พ ย์ มูล ค่ า มั น ดิ นได้ ” แต่ “หนี สิ น ”
ทีจะกล่าวถึงในบทต่อไป คือ “ของจริง” และ “อยู่ครบถ้ วน” แน่นอน

ก่อนจะจากกันในบทนี ขอทิงท้ ายว่า เราก็จะสังเกตได้ ว่าหลายๆ บริ ษัท (อาจจะเป็ นส่วนทีน้ อยมาก แต่ปฏิ เสธ
ไม่ได้ ว่ามีให้ พบเห็นเรือยๆ) ทีจะกําลังจะเจ๊ ง ถึงได้ พยายามแปลงกายและแต่งงบให้ สวยหรู แล้ วเอาหุ้นเข้ ามาขายในตลาด
หลักทรัพย์ เพือระบายหุ้นออกไป (หาทาง Exit ออกจากธุรกิจ) โดยยึดมูลค่าตามบัญชี ทังทีความจริ งอาจจะเหลือเพียง
“ซาก” ไปแล้ วก็ได้ และถ้ าหากเค้ าเลิก กิจการแบบปกติ และต้ อง “เลหลัง” ทรั พย์ สินทีมี ก็จะเป็ นเรื องทีเหนือยยากและ
วุ่นวายมาก มิส้ เู อามา “กระจายหุ้น” ในตลาดหลักทรัพย์ ได้ ทงมู
ั ลค่าทีเพิมขึนมหาศาลจาก “ความเข้ าใจผิดในสาระสําคัญ
ของกิจการของผู้ลงทุน” หรือ “ผู้ลงทุนทีรู้ทงรู
ั ้ แต่ชอบเล่นกับไฟ เพราะคิดว่าตนเองจะไม่ใช่ไม้ สดุ ท้ าย” นอกจากจะได้ ออก
จากธุรกิจแบบได้ เงินกลับมาครบถ้ วนหรือเกือบครบถ้ วนแล้ ว อาจจะได้ กําไรติดมือกลับมาเป็ นกอบเป็ นกําอีกด้ วย ก่อนที
บริษัทนันจะล้ มหายตายจากไป อาจจะในอีก 2-5 ปี ถัดมา (เข้ ามา 2 ปี แล้ วล้ ม เรี ยกว่า “ล้ มกระทันหัน” แต่ถ้าเข้ ามา 5 ปี
แล้ วล้ ม เรียกว่า “ล้ มแบบเนียนๆ” เป็ นไปตามแผนทีผู้บริหารเค้ าวางไว้ ลว่ งหน้ าแล้ วนันเองครับ..

43 | P a g e
บทที 13 หนีสินในงบการเงิน

หนีสินในงบการเงิ น เป็ นเรื องที สามารถอธิ บายได้ ง่ ายมากโดยที ไม่ ต้อ งชี แจงกันมากนัก เพราะ “หนี สิน ก็คื อ
หนีสิน” หรือเราอาจจะบอกได้ ว่า คือ “ปริมาณหรือมูลของภาระทางการเงิน” ทีบริษัทได้ ไปสร้ างเอาไว้ นนเอง
ั ซึงแบ่งออกได้
เป็ น 2 ส่วน อันประกอบไปด้ วย “หนีสินหมุนเวียน” และ “หนีสินไม่หมุนเวียน” นันเอง

หนีสินหมุนเวียน ในทางบัญชีก็จะหมายถึง หนีทีมีกําหนดชําระไม่เกิน 1 ปี (หรื อ 1 รอบปี บัญชี) หนีสินส่วนทีเข้ า


ข่ายประเภทนี ก็จะได้ แก่ วงเงินเบิกเกินบัญชี (ทีใช้ ไปแล้ ว) ทีได้ รับอนุมัติมาจากธนาคาร, พวกหนีการค้ ากับบรรดาคู่ค้า
ทังหลายทีเราเอาสินค้ าหรือบริการเค้ ามาเรียบร้ อยแล้ ว แต่ยังไม่จ่ายตัง รวมไปถึงส่วนของหนีสินระยะยาวทีมีกําหนดจ่าย
ในงวดปี นี ส่ว นหนี สิ น ไม่ ห มุ น เวี ย น ในทางบั ญ ชี ก็ ไ ด้ แก่ พวกหนี ระยะยาวที มี กํ า หนดชํ า ระเกิ น กว่ า 1 ปี ขึ นไป
เช่น พวกเงินกู้ระยะยาว หุ้นกู้ หรือรวมไปถึงหนีสินผลประโยชน์พนักงานภายหลังเลิกจ้ าง (ต้ องสํารองเอาไว้ ตามกฏหมาย
สํา หรั บ กรณี ปิ ดกิ จ การจะได้ มี เ งิ น จ่ า ยชดเชย จํ า นวนที ต้ อ งสํ า รองจะมี สูต รที คํ า นวณด้ วยวิ ธี ก ารของคณิ ต ศาสตร์
ประกันภัย)

จะว่าไปแล้ ว “ส่วนของหนีสิน” มันง่ายในการทําความเข้ าใจตรงทีว่า เราไม่ต้องมาแจกแจงอะไรกันมาก เพราะ


“หนีสินเป็ นสิงทีหลีกหนีไม่ได้ ” แม้ จะไม่มีเงินจ่าย บรรดาเจ้ าหนีก็ไม่สามารถ “ยกหนี” ให้ ได้ โดยง่าย ดังนันจึงไม่ต้องกังวล
ว่า “มันจะมีอยู่จริงหรือไม่” เพราะมันอยู่ครบถ้ วนแน่นอน..

แต่ผมอยากจะชีให้ เห็นถึงประเด็นของ “ต้ นทุนทางการเงิน” ทีเกิดจากบรรดาเจ้ าหนีแต่ละประเภท เพราะหนีสิน


แต่ละแบบก็มี “ต้ นทุนดอกเบียทีไม่เหมือนกัน” สรุปง่ายๆ ก็คือ หนีธนาคารหรือสถาบันการเงิน ต้ องจ่ายดอกเบีย ในขณะที
เจ้ าหนีการค้ า นัน ถ้ าบริ ษัท สามารถ “เอาเปรี ยบคู่ค้า ” ในการจ่ายเงิน ล่าช้ าได้ นานเท่า ไหร่ ก็จะยิงทํ ากํา ไรให้ กับ บริ ษั ท
ได้ มากเท่านัน เข้ าทํานองทีว่า “ความได้ เปรียบทางการค้ า เกิดจากการเอาของเค้ ามาขายก่อน หรื อเอาเงินเค้ ามาใช้ ก่อน”
สิงเหล่านีเป็ นเรืองทีเกิดขึนเสมอมา โดยเฉพาะอย่างยิงผู้ทีได้ เปรี ยบ ก็คือ ผู้ทีเป็ น “รายใหญ่ ” หรื อ “มีอํานาจต่อรองสูง”
และเพือให้ เห็นภาพชัดเจน ผมว่าลองยกตัวอย่างสักหน่อยดีกว่า..

สมมติว่ าบริ ษัท มีว งเงิ นกู้ธนาคารอยู่ทีอัตราดอกเบีย 12% ต่อ ปี (โดยทัวไปตัว เลขน่า จะอยู่ที 7-10% ต่อ ปี
แต่ใช้ ตัวเลข 12% จะได้ อธิ บายง่ายๆ) เท่ากับว่าเฉลียแล้ วเสียดอกเบีย 1% ต่อเดือน ถ้ าหากเราขายสินค้ าให้ กับบริ ษัท
ขนาดใหญ่ทีเป็ นร้ านสะดวกซือสาขามากมาย โดยมีเครดิตเทอมที 60 วันหลังจากวางบิล นันก็หมายความว่าสินค้ าของเรา
หากส่ง ไปเร็ วสุดของเดื อนเลย คือ ส่งไปวันที 1 ของเดื อนที 1 ผมจะวางบิลตามรอบปกติ ได้ ในวันที 30 ของเดื อนที 1
และรออี ก 60 วัน เท่ ากับ ว่ า จากวัน ที สินค้ า เราออกไป ไปจนถึง วัน ที ผมได้ รับ ชํ า ระเงิ น มี ระยะเวลาห่ า งกัน 90 วัน
หรือ 3 เดือน หรือได้ รับเงินในวันที 30 ของเดือนที 3 นันเอง..

ถ้ าเราใช้ เงินทุนหมุนเวียนทีบริษัทมีอยู่ ผมก็อาจจะมีค่าเสียโอกาสของการทีไม่ได้ เอาเงินไปฝากธนาคาร ทีควรจะ


ได้ ดอกเบียปี ละ 2.4% ต่อปี หรือคิดเป็ นระยะเวลา 3 เดือนที 0.6% ของยอดเงินทีจมลงไป แต่ถ้าเราใช้ วงเงินเบิกเกินบัญชี

44 | P a g e
ผมก็ จ ะเสี ย ต้ น ทุ น ไปถึง 3% ที เ ดี ย ว (ต้ น ทุน ดอกเบี ยเดื อ นละ 1% เป็ นเวลา 3 เดื อ น) ซึงเชื อไม๊ ว่ า ต้ นทุน ตรงนี
ผู้ประกอบการหลายๆ รายไปได้ นํามาคิดคํานวณ (โดยเฉพาะ SMEs) ดังนัน ถ้ าเราส่งของไป 1,000,000 บาท ผมก็จะมี
ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจากการขายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ ารายนี อยู่ที 30,000 บาททันที

แต่ถ้าจะเอากันจริ งๆ แล้ วต้ นทุนของสิงทีเราส่งออกไปขาย ก็ไม่ใช่ 90 วันเสีย ด้ วย แต่อาจจะยาวนานกว่านัน


ยกตัวอย่างเช่นถ้ าเราทําการสต๊ อกสินค้ าทุนเอาไว้ เฉลียที 60 วัน แสดงว่าต้ นทุนทีเราลงไปตังแต่การสังวัตถุดิบมาผลิตไป
จนถึงการขายออกไปยังลูกค้ าและได้ รับเงินกลับมา จะมีต้นทุนทางการเงินที 150 วัน (90 วัน + 60 วัน) มันเจ็บจริงๆ น้ อ..

และในทางกลับกัน มีผ้ เู จ็บก็ต้องมีผ้ ู “ยิมหวาน” ได้ แก่ บรรดาผู้ทีมีอํานาจต่อรองจากการ “เอาสินค้ ามาขายก่อน”


แล้ วเอาเงินไปฝากแบงก์ บางแห่งอาจจะนําเงินตรงนี มาทําบัตรเครดิตพ่วงไปเพือกินกําไรอีกต่อหนึง.. ซึงมาถึงตรงนีแล้ ว
บางท่านอาจจะคิดว่า “ในเมือเค้ าเอาเปรียบก็อย่าไปค้ าขายกับเค้ า” แต่ในความเป็ นจริงของโลกนีก็คือ “บางทีเจ็บก็ต้องฝื น
ทน เพราะได้ แทะกระดูกก็ยงั ดีกว่าไม่มีอะไรจะกิน” ซึงเป็ น “ภาวะจํายอม” ของบริษัททีไม่ได้ มีอํานาจต่อรองอะไรมากนัก

ทีกล่าวมานี ก็เพือชีเห็นว่า “หนีสิน” มันก็มีหลายประเภท ทีมีความแตกต่างกัน และการมีหนีสินนัน แน่นอนว่า


ไม่ใช่เรืองทีดี แต่หากมีการบริหารจัดการก็จะส่งผลให้ ต้นทุนทีเกิดจากเหล่านัน ลดน้ อยลงไปได้ ทําให้ บ ริ ษัทมีต้นทุนทาง
การเงิน (ทีโชว์อยู่ในงบกําไรขาดทุน) ลดลง และหากสามารถควบคุมได้ ถึงเวลารับ-จ่ายหนีได้ อย่างชัดเจน ก็อาจจะนําเงิน
สด (ทียังไม่จ่ายคืนกลับไปยังเจ้ าหนี) ไปใช้ ประโยชน์ได้ อีกด้ วย ดังจะเห็นได้ จากในอดีตทีผ่านมา ในสมัยช่วงปี 2531-2537
อัตราดอกเบียเงินฝากในประเทศสูงมาก ธนาคารให้ ดอกเบียเงินฝากสูงถึง 7-10% ต่อปี ในขณะทีบริ ษัทเงินทุนบางแห่งให้
ดอกเบียสูงถึง 15% ต่อปี ทําให้ กิจการบางอย่างทีเอาของเค้ ามาขาย ขายแล้ วได้ เงินสดมาก่อน เช่น ก๊ าซ LPG ทีเจ้ าของ
เค้ าเล่าเองผ่ านรายการทีวี ว่าได้ เครดิต เทอมจากเจ้ า หนีการค้ ามา 60 วัน แต่ พอขายได้ เป็ นเงิ นสดเอามาฝากธนาคาร
1-2 เดือ น ยัง ไงก็ต้ อ งได้ ดอกเบี ยหลายเปอร์ เ ซนต์ ยอดขายเดื อ นๆ หนึงเป็ นร้ อยล้ านบาท ปี ๆหนึงเป็ นพันล้ า นบาท
ได้ กําไรในส่วนนีค่อนข้ างมาก (แต่ท่านไม่ได้ เล่าให้ ฟังว่าตอนทีธนาคารล้ ม ท่านถอนเงินออกมาทันหรื อไม่ แต่ดูจากฐานะ
ปั จจุบนั ของท่านและเทคนิคตามทีเล่าให้ ฟัง ผมว่าท่าน “หนีรอด” ออกมาทันนะ)

ทังหมดนีก็เป็ น “ส่วนหนี สิน” ทีผมอยากจะนําเสนอ ทังในแง่ของ “ภาระผูกพัน”, “ธรรมชาติของหนีสินแต่ละ


ประเภท” และการ “พลิกแพลงหนีสิน” ในแบบต่างๆครับ..

45 | P a g e
บทที 14 สรุ ปเรื องของงบดุล

ในบททีผ่านๆมา ทีได้ กล่าวถึงสินทรัพย์และหนีสินของกิจการผ่าน “งบดุล” เราก็จะเห็นแล้ วว่าตัวเลขทีเกิดขึนจาก


ทั งสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี สิ น ก่ อ ให้ เกิ ด การเปลี ยน “สถานะทางการเงิ น ” ซึ งการเปลี ยนแปลงก็ ใ นแต่ ง วดบั ญ ชี ก็ คื อ
“งบกําไรขาดทุน” ทีแต่ละบริษัทแสดงออกมานันเอง..

เราจะเห็ นได้ ว่ า “ส่วนของหนีสิน” ที บริ ษัท สร้ างขึนจะก่อให้ เ กิด “ต้ น ทุน ทางการเงิ น” หรื อ “ต้ น ทุน ดอกเบีย”
ทีจะปรากฏอยู่ในงบการเงิน ซึงดูไม่ค่อยจะซับซ้ อนในแง่ของ “ความเข้ าใจ” เท่าใดนัก เพราะหนีสินทีเกิดขึนอย่างไรเสีย
ก็จะอยู่ครบถ้ วนตามจํานวนแน่นอน

แต่สงที
ิ น่าจะต้ องใช้ เวลาในการทําความเข้ าใจมากกว่าก็คือ “ส่วนของสินทรัพย์ ” ซึงจากทีกล่าวมาในบทก่อนๆ
จะเห็นได้ ว่ามัน “ดินได้ ” ทังในเรื องการค่าเสือมราคาก็ดี หรื อทังในเรื องของ “มูลค่าทีแท้ จริ ง” ของสินทรัพย์ ต่างๆ ดังทีได้
ยกตัวอย่างให้ เห็นภาพมาอย่างต่อเนือง และบางครังเราจะเห็นได้ ว่า กําไรหรื อขาดทุนของบริ ษัทอาจจะไม่ได้ เ กิดมาจาก
การดําเนินงานเสียทังหมด แต่อาจจะเกิดจากการการลงบัญชีและการปรับมูลค่าของสินทรัพ ย์ ประเภทต่างๆ โดยการที
เราเป็ นนักลงทุนแต่ไม่ไ ด้ เข้ าไปเป็ นผู้บริ ห ารกิ จการ ก็ อาจทําให้ เราไม่ท ราบถึงรายละเอีย ดลึก ๆ ของสิน ทรัพ ย์ บางส่ว น
ทีอาจจะเกิดการ “เล่นแร่แปรธาตุ” ให้ เกิดกําไรหรือขาดทุน ซึงบางครังอาจจะคาดไม่ถงึ เลยทีเดียว..

นานมาแล้ ว มี ผ้ ูใ หญ่ ท่ า นหนึงสอนผมว่ า “ขายแล้ ว ต้ อ งเก็ บ ตัง ได้ ด้ ว ย” สมัย เมื อยัง เด็ ก ผมยัง ไม่ ค่ อ ยเข้ า ใจ
แต่พ อเมื อโตมาผมก็ พบว่ าประโยคนี คือ “ปรัชญาในการทํา ธุรกิ จที สําคัญยิง” ซึงในทางบัญชีเ ราจะบัน ทึก รายได้ ก็ เมื อ
“ส่งมอบสินค้ าหรือบริการจนเสร็จสินแล้ ว” โดยทีอาจจะยังไม่ได้ รับเงินมาจริ งๆ ก่อให้ เกิดเป็ น “รายได้ ค้างรับ” ซึงจะลงไป
อยู่ในช่อง “ลูกหนีการค้ า” ตรงนีเองทีทําให้ งบรายไตรมาสหรืองบปี ของกิจการอาจจะระบุว่ามีกําไรจากการทําโครงการโน้ น
นี และต้ องมา “ตัดหนีสูญ” ในภายหลัง ก่อให้ เกิดการ “ขาดทุนไม่คาดคิด” ทังๆ ทีไตรมาสก่อนหรื อปี ก่อนอาจจะ “โชว์ กําไร
อย่างมากมาย” แต่เชือไม๊ ว่าในหลายๆ กิจการมีความจงใจเห็น “เกิดขึนแบบนัน” โดยมีวตั ถุประสงค์เพือกําหนดราคาหุ้น..

ขณะเดียวกันก็อาจจะมีอีกรูปแบบหนึง ซึงมีลกั ษณะคล้ ายกัน คือ “การบันทึกว่ามีกําไรแต่ไม่ได้ มีเงินสดเข้ ามา”


ก็ได้ แก่ “การบัน ทึกกํ าไรจากการเปลียนแปลงมูลค่าของสินทรัพย์ ” หรื ออาจจะเป็ น “การปรั บนโยบายการตัด ค่าเสือม
ราคา” ซึงมีผลเช่นเดีย วกันก็คือ “การทําให้ เกิ ดกําไรในทางบัญชีแต่ไม่ ได้ ทําให้ บริ ษัทมีเงินเข้ า มามากขึน” ซึงเหตุการณ์
เหล่านีนํามาซึงความเข้ าใจผิดในการประกอบกิจการได้ โดยง่าย

นอกจากนี อี กสิงหนึงที เราควรต้ อ งระวังอย่ างสมํ าเสมอก็คื อ “การย้ า ยรายการระหว่า งกัน” ยกตัว อย่า งเช่ น
เราอาจจะมองผิวเผินว่าในปี ที 1 และ 2 มีสว่ นของสินทรัพย์และหนีสินไม่เปลียนแปลงหรือเปลียนแปลงน้ อยมาก ทําให้ เรา
ค่อ นข้ างสบายใจว่ า “ทุก อย่ า งยังปกติ ดี ” แต่ พ อเราเข้ า ไปดูใ ส้ ใ นเราก็ ได้ พ บว่ ารายการ ”เงิน สดและเที ยบเท่ า เงิ นสด”
มีจํานวนทีลดลงและกลับไปเพิมที “เงินลงทุน” หรืออาจจะเป็ น “ลูกหนีการค้ า” ซึงโดยนัยยะคือ “เงินสดของกิจการลดลง”
ซึงถ้ าเป็ นผม ผมจะค่อนข้ างซีเรียสกับเรืองนีทีเดียวกับการใช้ เงินสด “มากเกินกว่าทีเคยใช้ ในปี ก่อนๆ” เพราะมันแสดงถึง

46 | P a g e
ความผิดปกติของกิจการ ซึงโดยปกติกิจการทีเริมจะยํายานัน “เงินสดจะลดลงอย่างต่อเนือง” ในขณะทีหากว่าในส่วนของ
หนีสินแม้ จะมียอดรวมไม่เปลียนแปลง แต่ถ้ารายการ “เจ้ าหนีการค้ าลดลง” แต่ “หนีเบิกเกินบัญชีหรื อหนีสินกับสถาบัน
การเงิน ” เพิมสูงขึน อัน นีก็ต้ องระมัด ระวังเช่นเดียวกัน เพราะหนีสิน ถูกแปรเปลียนจาก “หนี ทีมีต้ นทุน ทางการเงิน ตํา”
ไปยัง “หนีทีมีต้นทุนทางการเงินสูงกว่า” ทําให้ สดุ ท้ ายแล้ วต้ นทุนก็จะตีกลับเข้ ามาใน “งบกําไรขาดทุน” ในท้ ายทีสุด

ด้ วยเหตุนี การวิเคราะห์งบการเงินจึงจะสมบูรณ์ได้ ก็ด้วยการเติมเต็มจากการวิเคราะห์ “งบกระแสเงินสด” หรื อ


ชือเต็มก็คือ “งบแสดงแหล่งทีมาและใช้ ไ ปของเงินทุน” ซึงปรมาจารย์ ด้านการลงทุนหลายๆ ท่าน เช่น แอนโทนี โบลตัน
เซียนหุ้นระดับโลกก็ได้ เคยกล่าวไว้ ว่า “ถ้ าสงสัยในตัวกิจการ ให้ ดูทีเงินสด” ซึงแสดงให้ เห็นว่า “เงินสด” ซึงอาจหมายถึง
“งบกระแสเงินสด” เป็ นสิงทีจําเป็ นจะต้ องเรียนรู้เพือเติมเต็มการวิเคราะห์จริงๆ ดังทีเราจะเรียนรู้กนั ในบทต่อไป..

47 | P a g e
บทที 15 งบกระแสเงินสด

ถ้ าผมจะมองว่าตัวเองมีเงินสดและการเปลียนแปลงเงินสดในมือ ผมจะมองอย่างไรดีนะ... ผมลองพิจารณาดู


แล้ ว การทีผมจะมี “เงินสด” เพิมมากขึน น่าจะมาจาก 3 วิธีการด้ วยกัน วิธีการแรกก็ได้ แก่ การทีผมทํามาหากินได้ เงินมา
พอหักกลบกับค่ าใช้ จ่า ยทีจ่ายออกไปแล้ ว เหลือเป็ น “เงินสด” ในบัญชีทีเพิมขึน หรื อวิธีก ารที 2 ผมอาจจะสามารถใช้
วิธีการกู้ยืมเพือนฝูงหรือกด “เงินสด” ออกมาจากบัตรเครดิต หรื ออาจจะเป็ นวิธีทีสามได้ แก่ การทีผมขายสินทรัพย์ ทีผมมี
อยู่เดิม ออกมาเป็ น “เงินสด” ผมว่ามันก็มีแค่สามวิธีนีเท่านัน ก็ทําให้ ครอบคลุมถึงการเปลียนแปลง “เงินสด” ของผมแล้ ว
กิจกรรมใดๆ ของผมทีเกียวข้ องกับเงินสด ก็จะเข้ าอยู่ในหมวดหมู่ทงสามนี
ั เอง

ใน “งบกระแสเงินสด” หรือชือเต็มๆ ว่า “งบแสดงแหล่งทีมาและใช้ ไปของเงินทุน” ก็เช่นเดียวกัน การทีเงินสดจะ


มาขึนหรือลดลง ก็จะมาจากสามกิจกรรมเหมือนกับทีผมกล่าวมาในช้ างต้ นนี ก็ได้ แก่

กิจกรรมที 1 กิจกรรมการดําเนินงาน ก็คือ การทีกิจการประกอบธุรกิจมีกําไร กําไรทีได้ นํามาซึงเงินสดเข้ าบริ ษัท


ในขณะเดียวกัน ถ้ าการดําเนินงานของบริษัทขาดทุน ก็เท่ากับว่าเงินสดในกิจกรรมส่วนนีก็จะลดลงเช่นกัน รายการทีอยู่ใน
กิ จ กรรมการดํ า เนิ น งานนี ก็ จ ะได้ แก่ พ วกสิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นที ใช้ ใ นการผลิต และการบริ ก าร (สิน ทรั พ ย์ ที ใช้ ใ นการ
ดํ า เนิ น งาน) ได้ แก่ เจ้ า หนี การค้ า, ลูก หนี การค้ าและสิน ค้ า คงเหลือ นอกจากนี การปรั บ มู ลค่ า ของสิน ทรั พ ย์ ต่ า งๆ
ก็จะถูกรวมอยู่ในกิจกรรมนีด้ วย

กิจกรรมที 2 กิจกรรมการลงทุน ก็คือ การนําเงินสดไปซือสินทรัพย์ เพือการลงทุน ไม่ว่าสินทรัพย์ หมุนเวียน เช่น


พวก หุ้นกู้ พันธบัตร หรื อตราสารหนี ไปจนถึงพวกสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เช่น พวกอสังหาริ มทรัพย์ เครื องจักร เป็ นต้ น
ถ้ ามีการลงทุน ก็คือการทีนําเงินไปใช้ เงินสดก็จะลดลงไป แต่จะแทนทีด้ วยตราสารต่างๆ หรือสินทรัพย์อนๆ
ื เข้ ามาแทน

กิจกรรมที 3 ได้ แก่ กิจกรรมการจัดหาเงิน เป็ นเรื องเกียวกับการจัดการเงินทุนของบริ ษัท เช่น หากมีการจ่ายปั น
ผลออก รายการที เกิดขึนก็จ ะแสดงว่ าเงินสดลดลง (เงินจ่ายออกมาเป็ นปั นผล) ในขณะทีถ้ าหากมีการกู้เงินเข้ ามาเพื ม
ทําให้ มี “ภาระหนี“ เพิมขึนมา เงินสดเพิมขึนก็จริง แต่หนีสินก็เพิมขึนตามไปด้ วย

มาถึง ตรงนี เราก็ จ ะสัง เกตเห็ น ได้ ว่ า “งบกระแสเงิ น สด” บอกถึ ง “การเปลียนแปลงในเงิ น สด” ของบริ ษั ท
แต่เ ราเองก็ยังบอกไม่ไ ด้ ว่ ากิจ การดีขึนหรื อ แย่ลง จนกว่า จะได้ มี การพิ จารณาในรายละเอีย ดของแต่ละกิ จกรรม ซึงขอ
อธิบายเพิมเติมดังนีครับ

ถ้ าเรามองดูใ นส่ว นของกิ จกรรมที 1 กิ จกรรมการดํา เนิ นงาน อัน นีชัด เจนว่า กิ จกรรมนีควรมี เงิ นสดเพิ มขึน
เพราะถ้ า กิ จ กรรมนีมี เ งิ น สดน้ อ ยลง ถื อว่ า กิ จการกํ าลัง ยํ าแย่ เพราะรายได้ ของกิ จ การต้ องมาจากการประกอบธุ ร กิ จ
ในขณะที กิจกรรมที 2 ได้ แก่ กิ จกรรมการลงทุน การทีเงินสดลงจากการลงทุน เราอาจจะเป็ นห่วงว่าเงิ นหายไป แต่ถ้ า
การลงทุนนี ได้ ผล ในงวดถัดๆ มา “ความสามารถของสินทรัพย์ ทีเราลงทุน ” ก็จะสะท้ อนให้ เกิด รายได้ ตีกลับมาเพิ มให้
“กิจกรรมการดําเนินงาน” มีรายได้ ทีสูงขึนในภายหลัง (แต่ถ้าลงทุนไปแล้ วสัก 2-3 ปี แล้ วรายได้ จากการดําเนินงานไม่เพิม

48 | P a g e
อันนีก็จ ะน่าเป็ นหว่ง จริ งๆ ละ) ในขณะที กิจกรรมที 3 กิจกรรมการจัดหาทุน เงินทีไหลออกไป ก็อ าจจะเป็ นเงิ นปั นผล
ซึงกลับไปยังผู้ถือหุ้น การหายไปของ “เงินสด” ก็จงึ ไม่น่ากังวล ในขณะทีถ้ าหากรายการเงินสดลดลง จากการนําเงินไปคืน
“เจ้ าหนี ” บางที อ าจจะเป็ นเรื องดี กว่ า การที “เงิ น สด” เพิ มขึ นจากการก่ อ หนี ก็ เ ป็ นได้ ดั ง นั น กระแสเงิ น สด
จึงต้ องถูกพิจารณาอย่างละเอียด และเพือให้ เห็นภาพชัดเจนขึน ผมว่าเราน่าจะลองยกตัวอย่างดูสกั หน่อยดีกว่า..

บริษัททีดําเนินการตามปกติ จากประสบการณ์ของผม จะมีเงินสดเข้ ามาจากกิจกรรมการดําเนินงาน และมักจะ


ไหลออกไปจากกิ จกรรมการลงทุน (ก็นํา เงิน ไปลงทุน เพิม) และกิจกรรมการจัดหาทุน (ปั นผลออกมาและคืนหนีเงิ นกู้)
ซึงพอถึงจุดๆ หนึง พอการลงทุน อยู่ตัวแล้ ว ดอกผลแห่ง การลงทุนก็จ ะตีกลับเป็ นรายได้ ให้ แ ก่กิจการ เช่น เอาไปลงทุน
พันธบัตรก็ได้ ดอกเบีย ดอกเบียก็เป็ นรายรับกลับเข้ าไปเป็ นเพิมเป็ นกําไรจากการดําเนินงาน ทําให้ กิจกรรมการดําเนินงาน
มี “เงินสด” เพิมมากขึนต่อไป ในขณะทีการนําเงินสดไปใช้ ในกิจกรรมการจัดหาทุน (นําไปคืนหนี) ก็จะส่งผลให้ “ภาระหนี”
ลดลง ทําให้ “ต้ นทุนทางการเงิน” ลดลง และทําให้ เกิดกําไรทีสูงขึนในกิจกรรมการดําเนินงานนันเอง

ในทางตรงกัน ข้ า ม บริ ษั ท ที เริ มยํ าแย่ เราก็ จะเห็ น ได้ ว่า กิ จ กรรมการดํา เนิ น งาน จะมี ผลขาดทุน และทํ า ให้
“เงิ นสด” ลดลง การลดลงของ “เงิ นสด” นี มัน ก็ ทํ าให้ สภาพคล่อ งภายในบริ ษั ท ฝื ดเคื อง จนทํ า ให้ กิ จกรรมการลงทุน
ต้ องขายสินทรัพย์ ออกมา ซึงแม้ ว่ า “เงิน สด” จะเพิ มขึน (จากการขายสินทรัพย์ ) ในขณะทีอาจจะไปหา “เงินสด” จาก
กิจกรรมการจัดหาทุน (กู้มาเพิม) ซึงเราก็จะเห็นว่า แม้ เงินสดจะเพิมขึน แต่โดยข้ อเท็จจริงมันดูแย่เอามากๆ เลยทีเดียว

ด้ วยเหตุ นี เอง ทั งสามกิ จ กรรมที ผมได้ กล่ า วมานี จึ ง ประกอบกั น กลายเป็ น “งบกระแสเงิ น สด” หรื อ
“งบแสดงแหล่งทีมาและใช้ ไปของเงินทุน” โดยถ้ ากิจการเป็ นกิจการทีดีเยียมและแข็งแกร่ งจริ งๆ “เงินสดจากกิจกรรมการ
ดําเนินงาน” จะต้ องเพิมขึน แต่ในกิจกรรมนี มันจะมีประเด็นทีทําให้ งงอยู่ประเด็นหนึงก็คือ บรรทัดทีเขียนว่า “การบวกกลับ
ของค่าเสือมราคา” ทีอยู่ในกิจกรรมการดําเนินงาน ผมจึงคิดว่าน่าจะอธิบายสักหน่อย..

ในงบกําไรขาดทุน เราเคยเรียนรู้กนั มาว่า สมมติ EBITDA ของกิจการในปี นี อยู่ที 100ล้ านบาท หากกิจการไม่มี
ต้ นทุนทางการเงินเลย (สมมติให้ ไม่มี จะได้ ไม่สบั สน) แต่มีต้นทุนต้ นทุนค่าเสือมราคาอยู่ที 120ล้ านบาท ในงบกําไรขาดทุน
จะโชว์ทนั ทีว่า ปี นีกิจการขาดทุน 20ล้ านบาท (100ล้ านบาท - 120ล้ านบาท) แต่ในแง่เงินสดนัน “ไม่ใช่” เพราะเงินสดไม่ได้
ถูกจ่ายออกไป เพราะ “ค่าเสือมราคา” มาจากการหักต้ นทุนใน “สินค้ าทุน” ทีได้ ลงทุนไปแล้ ว ไม่ได้ เกิดการจ่ายออกไปจริ ง
ดัง นันถึง แม้ ว่ าในบการเงิ นจะขาดทุน แต่ เ วลาคํ า นวณ “เงิ น สด” ในกิ จ กรรมการดํ า เนิ น งานก็ จ ะต้ อ งบวกกลับ ไปอี ก
120ล้ านบาท เช่นว่า ผมซือรถมาทํางาน ผมไม่อยากเสียดอกเบียก็เลยเอาเงินเก็บมาซือที 200,000 บาท โดยผมกําหนดว่า
ผมจะเอาเงินคืนตัวเอง เดือนละ 10,000 บาทเป็ นเวลา 20 เดือน และผมมีรายจ่ายอืนๆ 20,000 บาท รวมเป็ นรายจ่าย
ทังสิน 30,000 บาท ปรากฏว่ า มี เ ดือ นหนึงผมเงิ น ไม่ พ อใช้ ผมมี รายรั บ แค่ 25,000 บาท ทํ า ให้ ผมติ ด ลบในเดื อ นนี
5,000 บาททันที (จากรายจ่าย 30,000 บาท) แต่เงินสดของผมเดือนนีเพิมขึนนะ มันยังคงมีเพิมอยู่ 5,000 บาทไม่หายไป
ไหน (แม้ ว่าผมจะรับรู้ว่าผมชอตเดือนนี จากการทีผมหักค่าเสือมราคาทีนําไปซือรถยนต์ แต่จริ งๆ 5,000 บาทเพิมเข้ ามาใน

49 | P a g e
บัญชีของผม) ฉันใดก็ฉนั นัน เวลาทีตังต้ นงบกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน จึงตังจาก “กําไรสุทธิ ” แล้ วจึงบวก
กลับด้ วย “ค่าเสือมราคา” ทีได้ หกั ไว้ นนเอง

บางคนที เข้ า ใจในเรื องนี แล้ ว เวลาที เค้ าเห็ นงบกํ าไรขาดทุนว่ า กํ าไรจากการดํา เนิ นงานเป็ นบวก แต่ไ ปโดน
ค่ า เสื อมราคาหรื อ โดนดอกเบี ยจนทํ า ให้ กิ จ การมี ผลขาดทุ น เค้ าก็ จ ะไปดูใ นงบกระแสเงิ น สดเลย ว่ า กระแสเงิ น สด
จากกิ จ กรรมการดํ า เนิ น งาน “เป็ นบวกหรื อ ไม่ ” และ “บวกเยอะแค่ ไ หน” แล้ ว ค่ อ ยกลับ มาดูใ น “งบกํ า ไรขาดทุน ”
ว่าโดนหักอะไรไปเท่าไหร่ ดอกเบียทีจ่าย (ต้ นทุนทางการเงิน) จ่ายไปเท่าไหร่ และไปดูในงบดุลว่ามาจาก “ภาระหนีอะไร
จํานวนเท่าไหร่” และ “มีแนวโน้ มจะลดลงไม๊ ” ในขณะทีเค้ าก็จะไปดูค่าเสือมราคาในงบกําไรขาดทุนด้ วย ว่า “โดนงวดนี
เท่าไหร่” เพราะเค้ าอาจจะแกะข้ อมูลค่าเสือมราคาเพือหาว่า “ปี ใดทีค่าเสือมหมด ปี นันกําไรจะดีดกลับมหาศาลทันที”

ที กล่ า วมาทังหมดนี ก็ ค งจะพอทํ า ให้ ภ าพรวมและการเชื อมโยงระหว่ า ง “งบกํ า ไรขาดทุน ” “งบดุ ล” และ
“งบกระแสเงินสด” มากขึนแล้ ว ในบทต่อไปเราน่าจะมาดูกนั สักหน่อยว่าเราจะสามารถใช้ “งบกระแสเงินสด” วิเคราะห์ กัน
อย่างไรได้ บ้าง

50 | P a g e
บทที 16 วิธีการอ่ านงบกระแสเงินสด

บทนีเราจะมาเรียนรู้ถงึ การอ่านงบกระแสเงินสดกันนะครับ เรามาเริมกันเลยดีกว่า โดยผมได้ นํางบดุล งบกําไร


ขาดทุนและงบกระแสเงินสดของหุ้นตัวหนึง มาให้ พิจารณากัน..

51 | P a g e
ก่อนทีเราจะเรียนรู้ “งบกระแสเงินสด” กัน เราจะเห็นตัวเลขบวกและตัวเลขติดลบ ให้ เราจําไว้ เลยว่า ตัวเลขบวก
ก็คือเงินสดเพิมขึน ตัวเลขติดลบ คือ เงินสดลดลง ถ้ างงก็ให้ ยึดหลักการนีไว้ เพราะเราอาจจะสับสนกับบางบรรทัด
เช่นบรรทัดทีเขียนว่า “ทีดิน อาคาร อุปกรณ์ (เพิมขึน) ลดลง” -8.91ล้ านบาท เค้ าก็จะหมายความว่า ถ้ าตัวเลขนีเป็ นบวกก็
จะหมายความว่า “ทีดิน อาคาร อุปกรณ์ ลดลง” แต่ถ้าตัวเลขนีเป็ นลบ ก็จะหมายความว่า “ทีดิน อาคาร อุปกรณ์ เพิมขึน”
เพราะว่าถ้ า “ทีดิน อาคาร อุปกรณ์ เพิมขึน” แสดงว่าเราเอาเงินสดไปซือหามา ดังนัน ”เงินสดต้ องติดลบ”

ดูกนั อีกสักตัวอย่าง ในบรรทัดทีเขียนว่า “เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสัน-สถาบันการเงิน เพิมขึน (ลดลง)”


238.39ล้ า นบาท ก็แ สดงว่า มีก ารกู้ยืม มาเพิมขึน เพราะเงิ น สดเราสูง ขึนจากการกู้ถึง 238.39ล้ านบาท ในทางกลับ กัน
ถ้ าเราเอาเงินไปจ่ายคืน ตัวเลขนีก็จะติดลบ หมายถึง “เงินสดลดลงจากการนําเงินไปคืนเงินกู้ยืม” นันเอง

52 | P a g e
เอาล่ะ!!! น่าจะพอเห็นภาพกันสักนิดหนึงแล้ ว เรามาดูกนั เป็ นขันๆ นะครับ

ขันแรก ผมอยากให้ ดใู นงบดุลก่อนครับ (รูปแรกเลย) เราจะเห็นกรอบสีแดง แสดงรายการ “เงินสดและเทียบเท่า


เงินสด” ว่าในการปิ ดงบงวดนี บริษัทมีเงินสดเท่าไหร่ เราก็ได้ ตัวเลขมา ก็คือ 50.30ล้ านบาท และตรงนีเอง พอเรามาดูใน
งบกระแสเงิน สด (ภาพที 3) เห็น ไม๊ ค รับว่ าสองบรรทัดสุดท้ า ยทีผมได้ ตี กรอบแดงไว้ ต้ นงวด (หรื อ การปิ ดงบครังก่อน)
บริษัทมีเงินสด 71.30ล้ านบาท แต่ปลายงวดมีเงินสดเพียง 50.30ล้ านบาท ลดลง 21ล้ านบาท (71.30 - 50.30)

ขันที สอง ก็คื อ จากการทีเราได้ เรี ยนรู้ กัน ในบททีแล้ วว่ ากิ จกรรมที เงิ นจะไหลเวีย นเข้ าออก 3 กิจ กรรม ได้ แ ก่
กิจกรรมการดําเนินงาน, กิจกรรมการลงทุนและกิจกรรมการจัดหาเงิน จะต้ องรวมกันแล้ วเท่ากับเงินสดทีเปลียนแปลงไป
โดยจากข้ อมูลงบการเงิน เรามาดูกรอบสีนําเงินเลยครับ ว่าในแต่ละกิจกรรมได้ ยอดรวมเป็ นอย่างไร (การอ่านงบกระแสเงิน
สดในครังแรกๆ จะหาสามบรรทัดนีลําบากเพราะรายการมันเยอะ ต้ องค่อยๆ ดูนะครับ)

เราพบว่า ในงวดบัญชีนี กิจกรรมการดํ าเนิ นงาน มีเ งินสดสุทธิ -222.08ล้ า นบาท ในขณะทีกิจ กรรมการลงทุน
มีเงินสดสุทธิ -8.91ล้ านบาท และกิจกรรมการจัดหาเงิน มีเงินสดสุทธิ 209.99ล้ านบาท

ถ้ าเราเอาตัวเลขทังสามกิจกรรมมารวมกัน ก็คือ (-222.08) + (-8.91) + (209.99) = 21.00 เห็นไม๊ ครับว่าเงินสด


ทีลดลงไป 21ล้ านบาท เท่ากับผลรวมตัวเลขของทังสามกิจกรรมเป๊ ะเลย ทีนีทุกคนคงพอเข้ าใจการใช้ “งบกระแสเงินสด”
เบืองต้ นแล้ ว มันก็มีเพียงเท่านีแหละครับ

ทีนี ผมอยากจะอธิ บายเพิมเติม ในส่วนของ “กิจ กรรมการดําเนินงาน” เพิ มเติ มอีก สักนิ ด ว่ ามัน มี “ทีมาทีไป”
อย่างไร ตัวเลขของกิจกรรมนี เริมต้ นมาจากงบกําไรขาดทุนก่อนหักภาษี เงินได้ ซึงมีตัวเลขอยู่ที -85.55ล้ านบาท ซึงผม
อยากให้ ดูในงบกําไรขาดทุน (ภาพทีสอง) ในกรอบสีแดงทีผมตีไว้ อันนี คือรายการกําไรสุทธิที -44.05ล้ านบาท เมือ
รวมกับภาษีเงินได้ ที -41.49ล้ านบาท จะรวมได้ เท่ ากับ -85.55ล้ านบาทพอดี ซึงเราจะเห็นได้ ว่าตัวเลขตรงนี ยังไม่ได้
บวกกลับ ต้ นทุนทางการเงิน เพราะถ้ า รวมไปแล้ วตัว เลขจะไม่เท่ากับ -88.55ล้ านบาทแน่ นอน (เราจะเห็ นได้ ว่า ช่องล่า ง
ถัด ๆ มามี ก ารบวกต้ น ทุน ทางการเงิ น กลับ เข้ า ไปในภายหลัง ) และจากตัว เลขงบกํ า ไรขาดทุน ก่ อ นหัก ภาษี เ งิ น ได้ ที
-85.55ล้ า นบาท ผมได้ ตี กรอบสีเขี ยวในงบกระแสเงิ นสดไว้ คือ “รายการค้ าเสือมราคาบวกกลับ ” เห็ นไม๊ ค รับ ว่า มีก าร
บวกกลับไป 23.24ล้ านบาท นีคือสิงทีเราพูดถึงกันในบททีแล้ วครับ

สําหรับในการวิเคราะห์โดยใช้ “งบกระแสเงินสด” เห็นไม๊ ครับว่าในงวดงบการเงินนี บริ ษัทนีมีผลการดําเนินงาน


ขาดทุน ดังทีปรากฏในกิจกรรมการดําเนินงานที -222.08ล้ านบาท มีการลงทุนเพิมบ้ างที 8.91ล้ านบาท (ในงบจะปรากฏ
ว่ า ติ ด ลบเพราะเงิ น สดจ่ า ยออกไป) และมี ก ารกู้ เงิ น มาเพิ มเป็ นจํ า นวนถึ ง 238ล้ า นบาท แต่ สุท ธิ แ ล้ ว หั ก กลบกั บ
เงินปั นผลจ่ายและดอกเบียจ่าย ทําให้ สทุ ธิมีการกู้เงินมาเพิมเป็ นจํานวน 209.99ล้ านบาท ซึงถ้ าเหตุการณ์ ยังเป็ นแบบนีไป
เรือยๆ เงินสดก็จะหมดมือ หนีสินก็จะเพิมมากขึนเรือยๆ จนกิจการพังทลายลงไปได้

เรามาดูกนั อีกสักหนึงบริษัทก็แล้ วกันครับ..

53 | P a g e
จากรูปด้ านซ้ าย เห็นไม๊ ครับว่าบริษัทนีมีผลกําไรสุทธิอยู่ที 190.65ล้ านบาท แต่มีกําไรจากการขายสินทรัพย์ ถาวร
สูงถึง 201.85ล้ านบาท และจากตัว เลขทีโชว์ ว่า -201.85ล้ านบาท แสดงว่า “เงิน ไม่มีจริ ง” เราก็เลยกลับไปดูในงบกําไร
ขาดทุนในรูปด้ านขวา เราก็จะเห็นว่ามันเป็ นรายการ “กําไรจากการขายทรัพย์สนิ รอการขาย” คือบันทึกเป็ น “กําไร” ไปแล้ ว
แต่ยงั ไมได้ รับเงิน และถ้ าหากรายการนีเกิด “ผิดพลาดทางเทคนิค” รับรองว่าจะวุ่นวายกันมากมายทีเดียว ทีนีพอย้ อนกลับ
มาดูรูปฝั งซ้ ายตรงสรุปว่า “เงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมการดําเนินงาน” มีค่าสุทธิ -115.21ล้ านบาท เราก็เลย
ไม่ต้องสงสัยอะไรแล้ ว.. เห็นไม๊ ครับว่าบางทีทีบริษัทโชว์ว่ามีกําไร แต่พอเข้ าไปเช็คดูโดยการเอางบแต่ละแบบมาประกบกัน
ปรากฏว่าบริษัทไม่มีอะไรเลย อาจจะออกแนว “แหกตา” ด้ วยซํา ดังตัวอย่างทียกมาให้ เห็นข้ างต้ น

หวังว่าผู้อ่านคงจะพอเห็นภาพและนํา “งบกระแสเงินสด” ไปใช้ ประโยชน์ได้ แล้ วนะครับ..

54 | P a g e
บทที 17 ปั จจัยทีมีผลต่ องบการเงิน

บทนี ผมมี ป ระเด็น ที ต้ อ งการจะนํ าเสนออยู่ 2-3 ประเด็ นด้ ว ยกัน ที น่ าจะมีป ระโยชน์ เ วลาทีเราใช้ วิเ คราะห์
งบการเงิน เพราะมันอาจจะทําให้ เราเข้ าใจในตัวของงบการเงินของแต่ละบริษัทชัดเจนมากยิงขึนครับ

ประเด็นที 1 ก็คือ “หากเราเข้ าใจตัวธุรกิจเราจะพอทราบถึงความเป็ นไปในงบการเงิน ” หมายความว่า


ธุ ร กิ จ แต่ ล ะประเภทจะมี โ ครงสร้ างทางการเงิ น ที ไม่ เ หมื อ นกัน ธุ ร กิ จ บางประเภทใช้ เงิ น ลงทุน เริ มต้ นที ไม่ ม ากนั ก
ทําให้ ดูเหมือนว่าความเสียงจะตํา และแน่นอนว่าดูเหมือนจะกําไรดีในช่วงแรก แต่เมือเวลาผ่านไปกลับกลายเป็ นว่ากํา
ขันต้ นตกตําลงไปเรือยๆ แต่ต้นทุนบริหารจัดการไม่สามารถลดลงได้ สุดท้ ายแม้ ว่ากิจการจะมีกําไรแต่ก็อาจจะไม่สามารถ
เติบโตได้ ในขณะทีบางกิจการมีการลงทุนเริมต้ นทีสูง การลงทุนเริ มต้ นทีสูงก็จะทําให้ เกิดความเสียงเพราะระหว่างทียังไม่
คืนทุน (ค่าเสือมราคายังตัดไม่หมด) ระยะเวลาทีค่าเสือมราคายังตัดไม่หมดนี เหมือนกับเป็ น “ภาวะฟั กตัว” ของกิจการซึง
พอพ้ นจากช่วงเวลานีไปได้ บริษัทเหล่านันก็จะเกิดความได้ เปรียบโดยอัตโนมัติ ความได้ เปรี ยบทีว่านีก็จะมาจากสินค้ าทุน
ที ลงทุน ไป ได้ สร้ างความได้ เปรี ย บทางการค้ า ให้ เหนื อ กว่ า คู่แ ข่ ง ที ไม่ ไ ด้ ลงทุน ส่ว นนี แต่ แ ม้ ก ระนันก็ มี ห ลายกิ จ การ
ทีไม่สามารถก้ าวผ่านช่วงเวลาของ “การฟั กตัว” ไปได้ คือ อาจจะบริ หารงานผิดพลาดหรื ออ่านทิศทางการค้ าผิด ส่งผลให้
กิจการไม่สามารถประกอบการจนสามารถมีกําไรได้ (ไม่ว่าจะทําอย่างไรกําไรขันต้ นก็ไม่พอจ่ายค่า SG&A) ส่งผลให้ เกิด
“วงจรหนี” และทับถมให้ บริษัทไม่สามารถก้ าวไปไหนต่อได้ จนกว่า “จะลงเงินเพิมหรื อเพิมทุนเข้ าไป” แต่การเพิมทุนทีว่านี
ก็จะทํ าให้ ” ความเป็ นเจ้ าของ” ลดน้ อยลงไปด้ วย จึงอาจเป็ นการเพิมทุน แบบ “ทีละนิด” ซึงไม่ ช่วยให้ อะไรดีขึนมากนัก
กล่าวโดยสรุปในประเด็นนีก็คือ หากเราเข้ าใจธุรกิจและเข้ าใจการทํากําไรของกิจการ เราจะเข้ าใจว่าทําไมงบการเงินบางปี
ถึงอาจจะแย่ลงบ้ าง เพราะมันอาจจะอยู่ในช่วงลงทุนเพิมและเข้ าสูภ่ าวะ “ฟั กตัว” นันเอง

ประเด็นที 2 ก็คือ “ความเข้ มแข็งของกิจการทีส่ งผลต่ อการเติบโตในระยะยาว” ซึงเราจะเห็นในหลาย


กิจการ แต่ความเข้ มแข็งมาจากทีไหนกันล่ะ.. ผมลองไตร่ตรองด้ วยประสบการณ์ อันน้ อยนิดของผม จําแนกออกมาได้ เป็ น
3 รูปแบบ ได้ แก่ รู ปแบบที 1 ความได้ เปรี ยบอันเกิดจากทําเลทีตัง หมายความถึง กิจการอาจจะมีความได้ เปรี ยบในการ
ทําเลทีใช้ ประกอบการ ซึงรวมไปถึงตํา แหน่งทางการค้ าที มีอยู่ดังเดิม (เช่น เครื องหมายทางการค้ าและการผูกขาดมา
ยาวนาน), รู ป แบบที 2 ได้ แก่ ความได้ เ ปรี ยบจากสิน ค้ าทุนที ได้ ลงทุน ไป ซึงประเด็น นี เป็ นประเด็น ที ได้ กล่า วถึงบ่ อ ย
(เพราะเชือมโยงกับเรืองของงบการเงินได้ ง่าย) ความได้ เปรียบส่วนนีช่วยให้ หลายกิจการอยู่ในสภาวะของ “ตลาดผูกขาด”
(monopoly) หรือ “ตลาดผู้ขายน้ อยราย” (oligopoly) ซึงสามารถควบคุมราคาค่าบริ หารหรื อสร้ างความได้ เปรี ยบทางการ
ค้ าทีมีต่อคู่ค้าทังหลาย ส่งผลให้ เกิดกําไรอย่างต่อเนือง และรู ปแบบที 3 ได้ แก่ ความได้ เปรี ยบอันเกิดจากระบบ ซึงการทํา
ธุรกิจขนาดใหญ่ “ระบบ” เป็ นสิงทีสําคัญมาก และหากระบบไม่ดีก็จะเกิดการ “สูญเสีย” ได้ อย่างทีคาดไม่ถึง โดยแม้ ว่า
บริษัทในตลาดหลักทรัพย์จะเป็ นบริษัททีได้ ชือว่า “มีการพิสจู น์มาแล้ วว่าดีหรือมีมาตรฐานแล้ วในระดับหนึง” แต่เราก็ยังคง
ต้ องค้ นหาบริษัททีมีระบบที “แข็งแกร่ง” ทําให้ เกิดสภาวะทีว่า “ขยายงานไปเรือยๆ ยิงขยายยิงมีกําไร เพราะระบบนิงแล้ ว”
ซึงสิงทีผมกล่าวถึงนี ก็ไม่ได้ เกิดขึนโดยง่าย เพราะระบบทีเข้ มแข็งของบางธุรกิจก็ต้อง “ฝ่ าฝั นและเจ็บปวด” มายาวนาน
จนกระทังประสบความสําเร็จ และนีจึงเป็ นเหตุผลทีทําไมกิจการเหล่านันจึงมีความได้ เปรียบในระยะยาว

55 | P a g e
ประเด็นที 3 ซึ งเป็ นประเด็นสุ ดท้ ายก็คือ “ความฉ้ อฉลและความรั วไหลในงบการเงิน ” ซึงแน่น อนว่ า
งบการเงิน ทุก ฉบับ จะต้ องผ่า นการรั บรองตามมาตรฐานบัญชี ทีเข้ มงวด โดยผู้สอบบัญชี ชันนําที ได้ รับอนุญาตเป็ นการ
เฉพาะ แต่เราก็ปฏิเสธไม่ได้ ว่า มันมีสว่ นที “ก้ าวเข้ าไปตรวจไม่ถึง” ซึงถ้ าเราพิจารณาดูอย่างดีแล้ ว เราก็จะพบว่ามีบางสิง
บางอย่างทีความเป็ นจริงอาจจะไม่ได้ สะท้ อนให้ เห็น ยกตัวอย่างเช่นบริ ษัท A มีสินทรัพย์ รวม 200,000ล้ านบาท ในขณะที
มี ห นี สิน รวม 190,000ล้ า นบาท ทํ า ให้ มี ส่ว นของผู้ ถื อ หุ้น ทังสิน 10,000ล้ า นบาท ตรงจุด นี เราก็ อ าจจะพอทราบได้ ว่ า
“หนีสินเป็ นของจริง” แต่ทรัพย์สนิ เมือเข้ าไปดูแล้ วกลับพบว่ามีเงินสดและเทียบเท่าเงินสดเพียงไม่ถึง 10,000ล้ านบาทเป็ น
ต้ น ถ้ าหากเป็ นการพิจารณาด้ วยความเห็นของผม ผมก็จะคิดว่าสินทรัพย์ ตรงนีอาจจะมีเพียงครึงเดียว ส่วนของผู้ถือหุ้น
จริ ง ๆอาจจะติ ด ลบไปแล้ ว เป็ นหลายหมื นล้ า น และเข้ า สู่ภ าวะล้ ม ละลายมาตังนานแล้ ว แต่ กิ จ การยัง อยู่ไ ด้ จ ากการ
“หมุนเงิน” ใช้ กลไกของตลาดหลักทรัพย์ ในการ “ปั มเงิน” ขึนมาความคู่ไปกับการ “เพิมทุน” เป็ นระยะๆ เพือให้ กิจการยัง
ดํารงอยู่ได้ ซึงถ้ าหากเราเจอกิจการประเภทนี และเราวิเคราะห์ในงบการเงินอย่างเป็ นกลาง เราก็จะพบว่า “มันไม่น่าลงทุน
เอาเสียเลย” และหากเราลงทุนเข้ าไปกับกิจการประเภทนีทังๆ ทีเรารู้ ในเรื องราวเหล่านีก็เท่ากับว่า “เราเข้ าไปเก็งกําไร”
ไม่ใช่ “การลงทุน” นอกจากนีก็อาจจะรวมไปถึงกิจการทีกําไรน้ อยหรื อขาดทุนอย่างต่อเนืองจนเงินสด “ไม่เหลือติดมือ ”
แต่ออกข่าวใหญ่โตว่าจะลงทุนโน้ นนี ด้ วยเงินเท่านันเท่านี และจะทําให้ กําไรก้ าวกระโดด ซึงเมือเราพิจารณาในด้ านเงินทุน
แล้ ว ไม่ น่ า จะเป็ นไปได้ เ พราะเงิ น สดไม่ พ อ หรื อ หากในแง่ ค วามสามารถของผู้บ ริ ห ารแล้ ว ว่ า ถ้ า ผู้บ ริ ห ารไม่ เ ปลียน
เหตุการณ์เหล่านีจะเกิดขึนได้ หรือไม่ เพราะทีผ่านมาก็ได้ พิสจู น์ผ่านงบการเงินแล้ วว่าบริหารงานได้ ยําแย่ หรื อ “เรื อยเปื อย”
มาตลอด ตรงนีล่ะที “การวิเคราะห์งบการเงิน” เข้ ามาช่วยเหลือเราให้ ทราบข้ อเท็จจริ งเหล่านีได้ บ้าง (แม้ จะไม่ครบถ้ วนก็
ตาม เนืองจากเรามองเรืองราวเหล่านีผ่านงบการเงินและตามสือต่างๆ)

ทังหมดนีก็คือประเด็นต่างๆ ทีควรรับทราบไว้ เพือให้ เกิดความเข้ าใจทีมากขึนในการนํางบการเงินไปใช้ ครับ..

56 | P a g e
บทที 18 บทสรุ ปของหนังสือเล่ มนี

ผมขอกล่าวสรุปสันๆ ก่อนว่า “หนังสือเล่มนีมีความประสงค์ จะทําให้ ผ้ อู ่านทังหลายมีความเชือมันว่างบการเงิน


เป็ นเรืองทีเราทุกคนสามารถเข้ าใจและนําไปใช้ ได้ ” ดังนันเนือหาในเล่มนีผมจึงได้ พยายามเรี ยบเรี ยงและเชือมโยงเนือหา
เป็ นขั นเป็ นตอนพร้ อมยกตั ว อย่ า งโดยละเอี ย ด เพื อให้ สามารถปฏิ บั ติ ไ ด้ ด้ วยตนเอง แม้ ว่ า อาจจะเป็ นเพี ย ง
“ความรู้เบืองต้ น” แต่ก็น่าจะทําให้ ผ้ อู ่านได้ รับประโยชน์และเกิดการต่อยอดไปยังหนังสือเล่มอืนๆ ทีลึกซึงกว่าต่อไป..

สําหรับการ “ลงทุนหุ้นปั นผล” นัน ผมเองคิดว่ามีประเด็นหลักๆ ทีเราจะต้ องพิจารณาอยู่ด้วยกัน 3 ประการ ก็คือ


การพิจารณาเลือกลงทุน, การรอจังหวะทีเหมาะสมในการเข้ าลงทุน และการตรวจสุขภาพหุ้น ทีเข้ าไปลงทุน..

ในส่วนของ “การพิจารณาเข้ าลงทุน” ผมเชือว่าการเข้ าลงทุนในบริ ษัททีมีขนาดใหญ่ มาก (และมีงบการเงินทีดี)


โดยเฉพาะอย่างยิงต้ องมีเงินปั นผลทุกปี แม้ ในปี ทียากลําบาก) จะเป็ นความได้ เปรียบในระยะยาว เพราะขนาดทีใหญ่ โตทํา
ให้ มีค่แู ข่งน้ อย และการทีบริ ษัทเหล่านันโตมาได้ คงจะต้ องมีการบริ หารจัดการทีได้ มาตรฐาน แต่ผมมักจะหลีกเลียงหุ้น
ทีมีห นีสินต่อ ทุน สูง กว่า 1 เท่ า เพราะผมไม่ช อบ “ภาระหนี ” ซึงเป็ นการ “บีบ คัน” บริ ษั ท แม้ ว่ าบางครังจะจําเป็ นต้ อ ง
กู้มาลงทุนก็ตามที

ในส่วนของ “การรอจัง หวะทีเหมาะสม” ผมเชือว่ าการทีเราเจอบริ ษั ททีดี ไม่ได้ หมายความว่าบริ ษัท เหล่านัน
“น่ า ลงทุน ” เสมอไป นันเพราะว่ า ในวัน ที เราไปพบก็ อ าจจะเป็ นช่ ว งเวลาที “ราคาหุ้น สูง จนไม่ ค้ ุม ค่ า แก่ ก ารลงทุน ”
ทําให้ เราอาจจะต้ องเบนเข็ม ไปหาหุ้นตัว อืน และ “อดทนเฝ้ารอ” จนกว่ าหุ้น ตัวนันจะมีราคาลดลงมาจนถึง ระดับที เรา
“สบายใจทีจะเข้ าลงทุน”

ในส่วนของ “การตรวจสุขภาพหุ้น” ผมเชือว่าการทีเราลงทุนในหุ้นขนาดใหญ่ (ทีมีความมันคงสูง) ในจังหวะทีดี


(ราคาทีเหมาะสม) แม้ ว่าจะทําให้ เราเกิดความสบายใจในการได้ รับ “เงินปั นผลทีคุ้มค่า” อย่างสมําเสมอ แต่เราก็ไม่อาจ
ปฏิ เสธความจริ งอัน เที ยงแท้ ได้ ว่า “ทุก สิงไม่จี รังยังยืน ” ไม่มี สิงใดทีจะ “ยื นยงคงอยู่ต ราบชัวฟ้ าดิ น สลาย” นันจึงเป็ น
เหตุผลทีเราจะต้ องคอยหมันตรวจสุขภาพของกิจการ ด้ วยการวิเคราะห์ “งบการเงิน” และหากว่าเรา “เห็นท่าไม่ดี” เราก็
สามารถ “ถอนการลงทุน” โดยการขายหุ้นออกซึงใช้ เวลาเพียงไม่กีนาที ซึงเป็ นข้ อดีทีสําคัญยิ ง (ในความเห็นของผม)
สําหรับ “การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์” ทีสามารถถอนการลงทุนได้ ง่าย หรือ “ชิงได้ ง่าย” นันเอง

สุดท้ ายนี ผมหวังว่าหนังสือเล่มนี รวมถึงหนังสือเล่มก่อนหน้ าอีก 3 เล่ม จะครอบคลุมเนือหาทีจําเป็ นทังหมด


ตามทีผมได้ กล่าวถึงในเบืองต้ นแล้ ว โดยขอให้ หนังสือทังหลายเหล่านี ได้ ทําประโยชน์ สร้ างพอร์ ตการลงทุน “หุ้นปั นผล”
ทีจะเป็ นรากฐานทางการเงินทีมันคงแก่ผ้ อู ่าน และส่งมอบไปสูล่ กู หลานให้ ได้ “กินใช้ ไม่หมดสิน” ต่อไป

ขอบพระคุณครับ..

(หนังสือมีความสุขกับหุ้นปั นผล by หมีส้ม เล่ ม 4 จบแล้ วครั บ)

57 | P a g e

You might also like