You are on page 1of 10

ทกลุ่มสาระการเรียนรู ้คณิ ตศาสตร ์

แผนการจัดการเรียนรู ้ที่ รอ ปี การศึกษา 2561 ภาคเรียนที่ 1


รายวิชา คณิ ตศาสตร ์พืนฐาน้ รหัสวิชา ค23101 หน่ วยการเรียนรู ้
้ั มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ระด ับชน
่ ความคล้าย เวลา 2 คาบเรียน
เรือง ้ อน นายโยธิน หมายมั่น
ผู ส

1. มาตรฐานการเรียนรู ้และต ัวชีว้ ัด


1.1 มาตรฐานการเรียนรู ้
ค 2.2 เข ้าใจและวิเคราะห ์รูปเรขาคณิ ต สมบัตข ิ องรูปเรขาคณิ ต
ความสัมพันธ ์ระหว่างรูปเรขาคณิ ต
และทฤษฎีบททางเรขาคณิ ต และนาไปใช ้
1.2 ต ัวชีว้ ด

ค 2.2 ม.3/1
เข ้าใจและใช ้สมบัตข ่
ิ องรูปสามเหลียมที ่ ้ายกันในการแก ้ปัญหาคณิ ตศาสตร ์และ
คล
ปัญหาในชีวต
ิ จริง

2. สาระสาค ัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปทีคล
่ า้ ยกันเป็ นไปตามเงื่อนไขเกียวกั่ บขนาดของมุม
แ ล ะ อั ต ร า ส่ ว น ข อ ง ค ว า ม ย า ว ข อ ง ด ้ า น ที่ ส ม นั ย กั น

ซึงสามารถน าสมบัตข ่
ิ องรูปสามเหลียมคล า้ ยไปใช ้ใหเ้ หตุผลและแก ้ปัญหาในชีวต

จริงได ้

3. จุดประสงค ์การเรียนรู ้

3.1 ด้านความรู ้: เพือให้ นกั เรียน
1) อธิบายถึงหลักในการพิจารณาความคล ้ายกันของรูปสองรูปได ้
และระบุลกั ษณะของรูปสองรูปทีมี ่ ความคลา้ ยกันได ้
2)
อธิบายถึงหลักในการพิจารณาความคล ้ายกันของรูปสามเหลียมสองรู ่ ป

และระบุเหตุผลทีแสดงว่ ่
า รูปสามเหลียมสองรู ปมีความคล ้ายกันได ้
3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ: เพือให้ ่ นก ั เรียน
1) สามารถคิดและแก ้ปัญหาแบบเป็ นกระบวนการ
2) สามารถทางานร่วมกับผูอ้ น ่ื
3)

สามารถเชือมโยงความรู ่
้เรืองสมบั
ตข ่
ิ องสามเหลียมคล ้ายในชีวติ ประจาวันได ้
3.3 ด้านคุณลักษณะอ ันพึงประสงค ์: เพือให้ ่ นกั เรียน
1) ทางานเป็ นระเบียบเรียบร ้อย รอบคอบ และมีความเชือมั่ ่นในตนเอง
2) กล ้าคิด กล ้าแสดงออก และร่วมกันอภิปรายปัญหา
4. สาระการเรียนรู ้
4.1 ความหมายของรูปทีคล ่ ้ายกัน
ในชีวต ่
ิ ประจาวันของนักเรียนมักจะพบเห็นสิงของที ่ ความคล ้ายกันอ
มี
่ งของที
ยู่เสมอ ซึงสิ ่ ่ ความคล ้ายกันนั้นจะมีรป
มี ู ร่างเหมือนกัน
แต่อาจมีขนาดทีแตกต่ ่ างกัน เช่น หมอ้ ชุด แก ้วชุด ถาดชุด เป็ นต ้น


นอกจากนี ภาพที ่ ้จากการถ่ายเอกสารซึงมี
ได ่ ขนาดเท่ากับต ้นฉบับหรือภาพ
่ ้จากการย่อหรือขยายก็เป็ นรูปทีคล
ทีได ่ ้ายกัน
ดังนั้นวัตถุหรือภาพทีย่
่ อหรือขยายส่วนใหม้ ข ึ้
ี นาดใหญ่ขนหรือเล็กลงอย่างได ้สัดส่

วนกันและเหมือนภาพจริงหรือวัตถุจริง จะเรียกว่า รูปคล ้าย

4.2 สมบัตข
ิ องความคล ้าย
ความคล ้ายของรูปเรขาคณิ ต A, B และ C ใด ๆ มีสมบัตด ิ งั นี ้
1. สมบัตก ิ ารสะท ้อน : รูปเรขาคณิ ต A ~ รูปเรขาคณิ ต A
2. สมบัตส ิ มมาตร : ถ ้ารูปเรขาคณิ ต A ~ รูปเรขาคณิ ต B แล ้ว
รูปเรขาคณิ ต B ~ รูปเรขาคณิ ต A
3. สมบัตก ิ ารถ่ายทอด : ถ ้ารูปเรขาคณิ ต A ~ รูปเรขาคณิ ต B และ
รูปเรขาคณิ ต B ~ รูปเรขาคณิ ต C แล ้ว รูปเรขาคณิ ต A ~
รูปเรขาคณิ ต C

การทีความคล ้ายมีสมบัตส ิ ามประการข ้างต ้น เรากล่าวว่า
ความคล ้ายเป็ นความสัมพันธ ์สมมูล
4.3 บทนิ ยามของความคล ้าย
ในทางคณิ ตศาสตร ์ ให ้บทนิ ยามของรูปหลายเหลียมที ่ ่ ้ายกัน ดังนี ้
คล
บทนิ ยาม
รูปหลายเหลียมสองรู ่ ปคล ้ายกัน ก็ต่อเมือ ่ รูปหลายเหลียมสองรู ่ ปนั้นมี
1. ขนาดของมุมเท่ากันเป็ นคู่ ๆ ทุกคู่
2. อัตราส่วนของความยาวของด ้านคู่ทส ่ มนัยกันทุกคู่เป็ นอัตราส่วนที่
เท่ากัน
การพิจารณาว่า รูปหลายเหลียมสองรู ่ ่ ้ายกันหรือไม่
ปใด ๆ เป็ นรูปทีคล
จะต ้องพิจารณาให ้ครบทังสององค ้ ์ประกอบ คือ
มีขนาดของมุมทีสมนั ่ ยกันเป็ นคู่ ๆ ทุกคูห
่ รือไม่
และมีอต ั ราส่วนของความยาวของด ้านคู่ทสมนั ่ี ่ า
ยกันทุกคู่เป็ นอัตราส่วนทีเท่
กันหรือไม่
5. กิจกรรมการเรียนรู ้

5.1 ขันการเตรี ยมความพร ้อมและสร ้างแรงจู งใจ
ใช ้เวลา 15 นาที
5.1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียน
5.1.2 ครูสร ้างแรงจูงใจในการเรียน
โดยการทาความเข ้าใจเกียวกั ่ บจุดประสงค ์ในการเรียน

และชีแนะแนวทางพฤติ กรรมการเรียนรู ้

5.1.3 ครูทบทวนความรู ้เดิมเกียวกั บรูปเรขาคณิ ต
ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลียม ่ มุมของรูปเรขาคณิ ตทีสมนั
่ ยกัน
และสัดส่วนของความยาวด ้านของรูปเรขาคณิ ตของคู่ทสมนั ี่ ยกัน
5.1.4 แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4 – 5 คนตามความเหมาสม
และให ้นักเรียนนั่งเป็ นกลุ่ม

5.2 ขันน ้ าเข้าสู ่บทเรียน


ใช้เวลา 20 นาที
5.2.1 ครูนาเข ้าสู่บทเรียนโดยใช ้เทคนิ คการถาม – ตอบกับนักเรียน
โดยใช ้คาถามว่า “ในชีวต ่
ิ ประจาวันของเรานักเรียนสังเกตเห็น สิงของเครื ่
องใช ้
่ ลก
ใดบ ้างทีมี ั ษณะคลา้ ยกันบ ้าง”

5.2.2 ครูนาแผนภูมริ ูปภาพของสิงของเครื ่
องใช ้ชนิ ดต่าง ๆ
แจกใหก้ บ ั นักเรียนกลุ่มละ 1 ชุด
และให ้นักเรียนทากิจกรรมจับคูร่ ป ู ภาพทีมี่ ความคล ้ายกัน และ
ให ้นักเรียนอภิปรายร่วมกันในกลุ่มว่า
“เพราะเหตุใดรูปภาพทีจั ่ บคูม ่ านั้นจึงมีความคล ้ายกัน”
และให ้แต่ละกลุ่มนาเสนอความคิดเห็นของกลุ่มตนเอง
5.2.3 ครูให ้ข ้อสรุปว่า “รูปเรขาคณิ ตสองรูปจะเป็ นรูปทีคล ่ ้ายกัน
่ ปเรขาคณิ ตทังสองรู
เมือรู ้ ปนั้นมีรป ู ร่างเหมือนกัน
โดยอาจมีขนาดทีเท่ ่ ากันหรือหรือแตกต่างกันก็ได ้”

5.3 ขันสอน้
ใช ้เวลา 80 นาที
5.3.1 ครูแนะนาสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร ์ใช ้แทนความคล ้ายว่า
“ถ ้ารูปเรขาคณิ ต A คล ้ายกับรูปเรขาคณิ ต B จะเขียนแทนสัญลักษณ์ว่า A
~ B ซึงอ่่ านว่า รูปเรขาคณิ ต A คล ้ายกับรูปเรขาคณิ ต B”
5.3.2 ครูให ้นักเรียนทาใบกิจกรรมที่ 1 ฟหกด่าสว
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ 1
5.3.3
- ครูนาแผนภูมริ ป ่ ยมคางหมู
ู สีเหลี ่ ่ี ากันทุกประการมาให ้นักเรียนดู
ทเท่
และครูถามนักเรียนว่า
“รูปเรขาคณิ ตสองรูปทีเท่ ่ ากันทุกประการจะเป็ นรูปทีคล ่ ้ายกันหรือไม่”
(คล ้ายกัน เพราะมีรป ู ร่างเหมือนกัน)
-
่ ยมคางหมู
ครูนาแผนภูมรูปสีเหลี ่ ่ี ้ายกันแต่มข
ทคล ่
ี นาดทีแตกต่ างกันมาให ้นั
กเรียนดู และครูถามคาถามนักเรียนว่า “ รูปเรขาคณิ ตทีคล ่ ้ายกัน
่ ากันทุกประการหรือไม่” (อาจไม่เท่ากันทุกประการ
จะเป็ นรูปทีเท่
เนื่ องจากรูปเรขาคณิ ตทีคล ่ ้ายกันไม่จาเป็ นต ้องมีขนาดเท่ากัน)
5.3.4 ครูให ้นักเรียนศึกษาสมบัตข ิ องความคล ้ายของรูปเรขาคณิ ต
A, B และ C ใด ๆ ด ้แก่ สมบัตก ิ ารสะท ้อน สมบัตส ิ มมาตร
และสมบัตก ิ ารถ่ายทอด โดยให ้ศึกษาจากสือที ่ ให
่ ้ไปเป็ นกลุ่ม
และดูหนังสือเรียนประกอบ
5.3.5 ครูแจกใบกิจกรรมกลุ่ม ให ้แต่ละกลุ่ม
โดยในใบงานจะมีรป ่ ยมใด
ู สีเหลี ่ ๆ ดังรูป โดยกาหนดให ้ ABCD และ PQRS
่ ้ายกัน
เป็ นรูปทีคล

่ี
1) ให ้นักเรียนเปรียบเทียบขนาดของมุมคู่ทสมนั ่
ยกัน คือ ซึงจะได ้ว่า
2) ให ้นักเรียนหาอัตราส่วนความยาวของด ้านคูท ่ี
่ สมนั ยกัน
่ ้
แล ้วสังเกตผลทีได
่ าหนดให ้ ABCD และ
5.3.6 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า จากรูปทีก
่ ้ายกัน จะได ้ว่า
PQRS เป็ นรูปทีคล
1) ABCD กับ PQRS มีขนาดของมุมคู่ทสมนั ่ี ยกันเท่ากันทุกคู่
2) อัตราส่วนความยาวของด ้านคู่ทสมนั ่ี ่ ากัน
ยกันเป็ นอัตราส่วนทีเท่
โดยครูจะแสดงให ้นักเรียนเห็นภาพโดยใช ้โปรแกรม GSP ประกอบการสรุป
5.3.7 ครูอธิบายว่า
“ในทางคณิ ตศาสตร ์มีบทนิ ยามของรูปหลายเหลียมที ่ ่ ้ายกันดังนี ้
คล

บทนิ ยาม รูปหลายเหลียมสองรู ปคล ้ายกัน ก็ต่อเมือ ่

รูปหลายเหลียมสองรู ปนั้นมี
1. ขนาดของมุมเท่ากันเป็ นคู่ ๆ ทุกคู่
2. อัตราส่วนของความยาวของด ้านคู่ทสมนั ่ี ่
ยกันทุกคู่เป็ นอัตราส่วนทีเท่
ากัน”
5.3.8 ครูให ้นักเรียนทาใบกิจกรรมที่ 2

รูปหลายเหลียมโดยให ้นักเรียนทาเป็ นกลุ่ม
่ ากิจกรรมเสร็จแล ้วก็ให ้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอภิปรายหน้าชันเรี
เมือท ้ ยน


5.4 ขันสรุ ป
ใช ้เวลา 10 นาที
ครูและนักเรียนร่วมกันร่วมกันร่วมกันทบทวนบทนิ ยามของรูปหลายเหลียมที ่ ่
คล ้ายกัน และการนาไปใช ้ในศาสตร ์อืน ่ ๆ และประยุกต ์ใช ้ในชีวต
ิ ประจาวัน
่ ตงค
โดยทีครู ้ั าถาม – ตอบกับนักเรียนจากตัวอย่างรูปเรขาคณิ ตทีคล ่ ้ายกัน
่ี
ให ้นักเรียนบอกมุมคู่ทสมนั ยกัน และด ้านคูท ่ี
่ สมนั ยกัน
ครูให ้นักเรียนแบบฝึ กหัดที่ 1 เป็ นการบ ้าน


6. สือ/แหล่ งการเรียนรู ้
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
6.1 หนังสือสาระการเรียนรู ้คณิ ตศาสตร ์ ชันมั
หน่ วยการเรียนรู ้ ความคล ้าย
6.2 แผนภูมริ ปู ภาพ
6.3 โปรแกรม GSP

6.4 สือการสอนเรื ่ สมบัตค
อง ิ วามคล ้ายของรูปเรขาคณิ ต
6.5 ใบกิจกรรมที่ 1
6.6 ใบกิจกรรมที่ 2
6.7 ใบกิจกรรมกลุ่ม
7. การว ัดผลและประเมินผลการเรียนรู ้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู ้ทีสอดคล อ้ งกับจุดประสงค ์การเรียนรู ้ในคาบเรียน
นี ้ มีดงั นี ้
จุดประสงค ์การเรียนรู ้ การว ัดผล การประเมินผล
1. ด้านความรู ้:

เพือให้นก
ั เรียน วิธวี ด ั ผล: เกณฑ ก
์ ารตั
1.1) ่
เครืองมื อวัดผล: ดสิน

วิธวี ด ั ผล:
1.2) ่
เครืองมื อว ัดผล:

2.ด้านทักษะและกระบวนการ :

เพือให้
นกั เรียน วิธวี ด ั ผล: เกณฑ ์การต ัดสิน
2.1) ่
เครืองมื อว ัดผล:

วิธวี ด ั ผล:
2.2) ่
เครืองมื อว ัดผล:

วิธวี ด ั ผล:

เครืองมื อว ัดผล:
2.3)
ด้า นคุณลัก ษณะอน ั พึง ประสง

ค ์: เพือให้
นกั เรียน วิธวี ด ั ผล: เกณฑ ์การตด
ั สิน
1) ่
เครืองมื อว ัดผล:

2)

3)

8. เอกสารอ้างอิง
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู ้
9.1 ผลการจัดการเรียนรู ้
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………
9.2 ปั ญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนรู ้
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………
9.3 แนวทางในการแก้ไขปั ญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู ้
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………

9.4 ข้อเสนอแนะอืนๆ
……………………………………………………………………………………
………………………………
……………………………………………………………………………………
………………………………

ผู ส
้ อน..................................................................
( )
ว ัน/เดือน/ปี
........................................................
ใบกิจกรรมที่ ………


ชือ...........................................นามสกุ ้
ล...........................................ชัน....................เ

ลขที..........................
เฉลยใบกิจกรรมที่ ……..

You might also like