You are on page 1of 52

พลศาสตรโครงสรางเบื้องตนสําหรับวิศวกรรมแผนดินไหว

BASIC STRUCTURAL DYNAMICS FOR


EARTHQUAKE ENGINEERING

นคร ภูวโรดม
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พลศาสตรโครงสราง (Structural Dynamics)


วัตถุประสงค
ศึกษาพฤติกรรมของโครงสรางภายใตแรงพลวัต (Dynamic force)
และวิเคราะหผลการตอบสนอง (Response) สําหรับปญหาแบบตางๆ
เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบความเหมาะสมของโครงสราง ทั้งทางดาน
ความปลอดภัย (Safety) และความเหมาะสมที่จะใชงาน (Serviceability)

ปญหาแผนดินไหว

พลศาสตรโครงสรางเบื้องตนสําหรับวิศวกรรมแผนดินไหว
Faculty of Engineering
Thammasat University

1
เนื้อหาของการนําเสนอ
z พลศาสตรโครงสรางเบื้องตน
z ระบบโครงสรางแบบงาย สมการของการเคลื่อนที่ การสั่นแบบอิสระ การสั่น
เนื่องจากแรงภายนอกแบบฮารโมนิค ระบบที่มีระดับขั้นความเสรีมากกวาหนึ่ง
zเพื่อใหเขาใจถึงกลไกการตอบสนองตอแรงพลวัติ
z ลักษณะการตอบสนองของระบบเนื่องจากแผนดินไหว
z เพื่อใหเขาใจผลของแผนดินไหวที่ทาํ ใหเกิดแรงตอโครงสรางตางๆ
(Elastic and Inelastic Response Spectrum)
z พลศาสตรโครงสรางในมาตรฐานการออกแบบ
z เพื่อใหเขาใจแนวคิดของมาตรฐานการออกแบบ

z คุณสมบัติเชิงพลศาสตรของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กในประเทศ
Faculty of Engineering
Thammasat University

ระบบโครงสรางแบบงาย
ระดับขั้นความเสรี (Degree of Freedom) DOF
• จํานวนของระยะพิกัดอิสระที่สามารถ
ใชอธิบายการเคลื่อนที่ไดอยางสมบูรณ
y y θ
v v

u u
x x
(a) (b)
uN
u uN-1

u2
u1

(c) (d)
Faculty of Engineering
Thammasat University

2
ระบบที่มีระดับขัน้ ความเสรีเทากับหนึ่ง
Single Degree-of-Freedom System (SDOF)
u

เพื่อการศึกษาพื้นฐานของพลศาสตรโครงสราง และ
สามารถประยุกตสําหรับปญหาที่ซับซอนขึ้นไดตอไป

Faculty of Engineering
Thammasat University

องคประกอบของระบบพลวัต

1 2 3 4 5

u (a)
5
u0 1

2 4
t

3
(b)

แรงที่เกิดขึ้นระหวางการเคลื่อนที่
• แรงเฉื่อย (Inertia force)
• แรงสติฟเนส (Stiffness force)
• แรงหนวง (Damping force)
Faculty of Engineering
Thammasat University

3
องคประกอบของระบบพลวัต
ผลตอบสนองที่เกิดขึ้นระหวางการเคลื่อนที่

• การขจัด (Displacement) u (t )

Δu du du
• ความเร็ว (Velocity) v(t ) = = ใชสัญลักษณ u& =
Δt dt dt

Δv d 2 u d 2u
• ความเรง (Acceleration) a (t ) = = ใชสัญลักษณ u&& =
Δt dt 2 dt 2

Faculty of Engineering
Thammasat University

ก. องคประกอบพื้นฐานของแรงเฉื่อย
มวล (Mass) m
กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน

d 2u
แรงเฉื่อย (Inertia force) fI = m
dt 2
2
ใชสัญลักษณ u&& = d 2u ดังนั้น
dt

f I = mu&& แรง = มวล x ความเรง

Faculty of Engineering
Thammasat University

4
ข. องคประกอบพื้นฐานของแรงสติฟเนส

สติฟเนส (Stiffness) k
F
k u
m F Slope = k
u
(a) (b)

กฎของฮุค
แรงสติฟเนส (Stiffness force) f s

f S = ku แรง = คาสติฟเนส x การขจัด

Faculty of Engineering
Thammasat University

สติฟเนส = แรงที่ทําใหเกิดการเสียรูปหนึ่งหนวย

−1 −1
⎡ h3 1 .2 h ⎤ ⎡ h3 1 .2 h ⎤
k =⎢ + ⎥ k =⎢ + ⎥
⎣ 12 EI AG ⎦ ⎣ 3 EI AG ⎦

Faculty of Engineering
Thammasat University

5
ค. องคประกอบพื้นฐานของแรงหนวง
ความหนวง (Damping) c
Material (Steel, Concrete)
ที่มาของความหนวงใน
Friction at Connection Joint
โครงสราง Air

Soil Friction at Attached Surface

จากการทดลองพบวา
du
แรงหนวง (Damping force) fD = c
dt
du
ใชสัญลักษณ u& = ดังนั้น
dt
f D = cu& แรง = คาความหนวง x ความเร็ว

แบบจําลองสําหรับระบบ SDOF
u (t )
p (t )
k k
2 c 2

u(t)
fS fD fI
p(t) p(t)

. .. . ..
u(t), u(t), u(t) u(t) u(t) u(t)
(a) (b) (c) (d) (e)

Faculty of Engineering
Thammasat University

6
สมการของการเคลื่อนที่

m
p(t)
fI

m fS /2 fD fS /2

(a) (b)

จาก Free Body Diagram ของมวล m


f I + f D + f S = p (t )
ดังนั้น
mu&& + cu& + ku = p(t )

Dynamic Equilibrium Equation of Motion


Faculty of Engineering
Thammasat University

สมการของการเคลื่อนที่สําหรับ
โครงสรางภายใตแผนดินไหว
ut
u

fI
fD
fs
ug

•การขจัดรวมของมวล m u t (t ) = u (t ) + u g (t )

•สมดุล fI + fD + fS = 0

•แรงเฉื่อย f I = mu&&t

•สมการของการเคลื่อนที่ m(u&& + u&&g ) + cu& + ku = 0


mu&& + cu& + ku = − mu&&g (t ) Faculty of Engineering
Thammasat University

7
แรงแผนดินไหวประสิทธิผล
peff (t ) = −mu&&g (t )

u&&g
Moving Base Stationary Base
(a) (b)

Effective Earthquake Force peff (t )

peff (t ) = − mu&&g (t )

แรงจากแผนดินไหว มีคาตามมวล (หรือน้ําหนักของโครงสราง) และความเรงของพื้น


Faculty of Engineering
Thammasat University

การสั่นไหวของโครงสราง

การสั่นแบบอิสระ การสั่นเนื่องจากแรงภายนอกแบบฮารโมนิค
(ไมมีแรงภายนอก)

ระบบที่ไมมีความหนวง
ระบบที่มีความหนวง

Faculty of Engineering
Thammasat University

8
การสั่นแบบอิสระของระบบที่ไมมคี วามหนวง
0 0
mu&& + cu& + ku = p (t ) mu&& + ku = 0
k k
u&& + u = 0 หรือ u&& + ω u = 0
2
โดยที่ ω =
m m
คําตอบ u (t ) = ρ cos(ωt − θ ) ρ , θ หาไดจากสภาวะเริ่มตน

ρ,θ


คาบธรรมชาติ (Natural Period) T=
ω
1 ω
ความถี่ธรรมชาติ (Natural Frequency) f = =
T 2π
Faculty of Engineering
Thammasat University

Natural Frequency and Natural Period


1 k 1
Natural Frequency f = Natural Period T =
2π m f

โครงสราง Rigid โครงสราง Flexible


ความถี่สูงหรือคาบสั้น ความถี่ต่ําหรือคาบยาว

9
การสั่นแบบอิสระของระบบที่มีความหนวง
mu&& + cu& + ku = 0

หารดวย m ตลอด u&& + 2ξωu& + ω 2u = 0


c
นิยาม Damping Ratio ξ=
2mω
(โดยทั่วไป ξ ≈ 0.01 − 0.05 )
คําตอบ u (t ) ≈ e −ξωt ρ cos(ωt − θ )

Faculty of Engineering
Thammasat University

การสั่นแบบอิสระของระบบที่มคี วามหนวง
(Damped Free Vibration)

การสั่นแบบอิสระของระบบ SDOF ที่มี ξ = 2% , 5% ,10% และ 20%

ω,ξ ตัวแปรสําคัญในการอธิบายการสั่นไหว
ถา ξ สูง แอมปลิจูดลดลงดวยอัตราเร็ว
Faculty of Engineering
Thammasat University

10
การสั่นเนื่องจากแรงภายนอกแบบฮารโมนิค
(Harmonically Forced Vibration)

z แรงแบบฮารโมนิค คือแรงที่กระทํากลับไปมาและมีความถี่คงที่
เชนฟงกชัน Sine หรือ Cosine เปนตน
z แรงจากแผนดินไหวและแรงตามธรรมชาติทั่วไปไมใชแรงแบบ
ฮารโมนิค แตสามารถพิจารณาวาเปนสวนผสมของแรงยอยแบบ
ฮารโมนิค หลายแรงที่มีความถี่ตางๆ ผสมกันอยูได
z ผลตอบสนองของแรงทั่วไปมีพื้นฐานจากความเขาใจ
ผลตอบสนองจากแรงแบบฮารโมนิค
Faculty of Engineering
Thammasat University

การสั่นเนื่องจากแรงภายนอกแบบฮารโมนิค
(Harmonically Forced Vibration)
mu&& + cu& + ku = p0 sin ω t
คําตอบ
p0
u (t ) ≈ e −ξωt ρ cos(ωt − θ ) + D sin(ω t − φ )
k
แอมปลิจูดลดลงตามเวลา แอมปลิจูดคงที่
Transient Response Steady State Response
สั่นดวยความถี่ธรรมชาติของโครงสราง ω
สั่นดวยความถี่ของแรงภายนอก ω

Faculty of Engineering
Thammasat University

11
การสั่นเนื่องจากแรงภายนอกแบบฮารโมนิค
(Harmonically Forced Vibration)
แอมปลิจูดของ Steady State Response = p0 D
k

ตัวคูณขยายทางพลวัต p0 sin ω t
(Dynamic Magnification Factor)
Dynamic Response
D=
Static Response

มีคาขึ้นกับ
• ความถี่ของแรงและของโครงสราง
• อัตราสวนความหนวง

ความถีข่ องแรงภายนอก/ความถีข่ องโครงสราง

การสั่นพอง (การกําทอน) (Resonance)

Example

T สูง T ต่ํา
f , ω ต่ํา f , ω สูง

k 2π 1 ω
ω= T= f = =
m ω T 2π

Faculty of Engineering
Thammasat University

12
การตอบสนองของแบบจําลองอาคารตอแผนดินไหว

Faculty of Engineering
Thammasat University

ระบบโครงสรางที่มีระดับขั้นความเสรีมากกวาหนึ่ง
(Multi Degree of Freedom System , MDOF)
mN, cN, kN
pN(t) uN

m, c, k
p(t) pn(t) un
u(t) mn, cn, kn

p2(t) u2
m2, c2, k2
p1(t) u1
m1, c1, k1

ระบบ SDOF u(t) ขึ้นกับ ระบบ MDOF u(t) ขึ้นกับ


•แรงภายนอก •แรงภายนอก
•คาบธรรมชาติ •คาบธรรมชาติ
•ความหนวง •ความหนวง
•ตําแหนงของ u(t)หรือรูปรางขณะเกิดการสั่นไหว
คุณสมบัติเชิงพลศาสตร Faculty of Engineering
(Dynamic Properties) Thammasat University

13
ระบบโครงสรางที่มีระดับขั้นความเสรีมากกวาหนึ่ง
(Multi Degree of Freedom System , MDOF)
mN, cN, kN
pN(t) uN

pn(t) un คุณสมบัติเชิงพลศาสตรของระบบ MDOF


mn, cn, kn •ความหนวง มักใชคาจากการประมาณ ไมใชจากการวิเคราะห
p2(t) u2 •ตําแหนงของ u(t)หรือรูปรางขณะเกิดการสั่นไหว เรียกวา
m2, c2, k2
p1(t) u1 รูปรางการสั่นไหว (Mode Shape)
m1, c1, k1
•คาบธรรมชาติ หรือ ความถี่ธรรมชาติ

ไดจากการแกปญหาที่เรียกวา Eigenvalue
โดยสําหรับระบบที่มีจํานวน DOF เทากับ N ตัว
จะมี N ชุดคําตอบสําหรับความถี่ธรรมชาติและรูปรางการสั่นไหว

Faculty of Engineering
Thammasat University

ความถี่ธรรมชาติและรูปรางการสั่นไหว
(Natural Frequency and Mode Shape)

• N คําตอบที่แตกตางกัน แสดงถึงรูปแบบของคําตอบทีแ่ ตกตางกันหรือ


Mode เหลานั้น
• แตละ Mode มีคณุ ลักษณะในการสั่นไหวที่แตกตางกัน
• ความถี่ธรรมชาติสําหรับ Mode ใด ๆ แสดงถึงจังหวะของการสั่นตาม
ธรรมชาติของ Mode นั้น
• Mode ที่มีคาความถี่ธรรมชาตินอยที่สุดเรียกวา รูปแบบการสั่นไหวพื้นฐาน
(Fundamental Mode) หรือ Mode ที่หนึ่ง
• สําหรับ Mode ที่มีความถี่ธรรมชาติสูงขึน้ เรียกชื่อเปน Mode ลําดับตอ ๆ ไป
Faculty of Engineering
Thammasat University

14
ระบบโครงสรางที่มีระดับขั้นความเสรีมากกวาหนึ่ง
(Multi Degree of Freedom System , MDOF)
m = 0.5
k = 100
m = 1.0
k = 100
m = 1.0
k = 100

T 1 = 1.22 s. T 2 = 0.44 s. T 3 = 0.33 s.


3-Story Building
Mode 1 Mode 2 Mode 3
(a) (b) (c) (d)

Mode 1 Mode 2 Mode 3

Vibration of 3-DOF System (Mode 1)

15
Vibration of 3-DOF System (Mode 2)

Vibration of 3-DOF System (Mode 3)

16
ระบบโครงสรางที่มีระดับขั้นความเสรีมากกวาหนึ่ง

ผลตอบสนองสําหรับ Mode ‘n’ ≈ ผลตอบสนองสําหรับโครงสรางแบบงาย SDOF


(Tn , ξ n ) ( with T = Tn and ξ = ξ n )

N
ผลตอบสนองรวมทั้งหมด = ∑ ผลตอบสนองยอยของแตละ Mode
n =1

สําหรับโครงสรางที่มีจํานวน Mode มาก อาจประมาณผลตอบสนองรวม


จากการพิจารณา เฉพาะ ผลตอบสนองของ Mode ต่ําๆ ได

Faculty of Engineering
Thammasat University

17
การตอบสนองเนื่องจากแผนดินไหว
(Earthquake Response of Linear System)
&&g
ตัวอยางของความเรงของพื้นเนื่องจากแผนดินไหว u

ลักษณะคลืน่ แผนดินไหว El Centro

Equation of Motion u&& + 2ξωu& + ω 2u = −u&&g (t )

ω (or T ), ξ Important Parameters of Structures

u&&g (t )
Moving Base Faculty of Engineering
Thammasat University

1
การขจัดของระบบตัวอยางตอคลืน่ แผนดินไหว El Centro
ระบบมีคา T ตางกัน และคา ξ ระบบมีคา T เทากัน และคา
เทากัน ξ ตางกัน

• คาบของการสั่นมีคาใกลเคียงกับคาคาบธรรมชาติ • คาการขจัดสูงสุดของแตละกรณีจะมีคาลดลง
• ระบบที่มีคาบธรรมชาติเทากับ 2 วินาที มีคาการ เมื่อเพิ่มคา ξ ใหกับระบบ
ขจัดสูงที่สุด (ไมเปนจริงในทุกกรณี)
Faculty of Engineering
Thammasat University

การตอบสนองของระบบตอคลื่นแผนดินไหว El Centro
ระบบมีคา T ตางกัน และคา ξ เทากัน

T=0.5 s T=1.0 s T=2.0 s


Faculty of Engineering
Thammasat University

2
Response Spectrum Concept
Response Spectrum คือ กราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาสูงสุดของการ
ตอบสนองตอแรงเนื่องจากแผนดินไหว กับคาบธรรมชาติของระบบนั้น
โดยพิจารณาที่คาอัตราสวนความหนวงที่คงที่คาหนึ่ง

2 3
2
1

3
Faculty of Engineering
Thammasat University

สเปคตรัมผลตอบสนองเสมือน (Pseudo)
u0 = D = คาสูงสุดของระยะขจัดสําหรับระบบใดๆ

f S 0 = ku0 = kD
จาก ω = k , k = ω 2 m f S 0 = mω 2 D = mA
m

นิยาม
Pseudo-velocity V = ωD

Pseudo-acceleration A = ω 2D

Faculty of Engineering
Thammasat University

3
สเปคตรัมผลตอบสนองรวม D-V-A

Faculty of Engineering
Thammasat University

แรงสถิตยเทียบเทา (Equivalent Static Force)


D = คาสูงสุดของระยะขจัดสําหรับระบบ
V ใชในการหาคาพลังงานสูงสุดจากการสั่นไหวที่สะสมภายในระบบ
A ใชในการหาคาสูงสุดของแรงสถิตเทียบเทาและแรงเฉือนที่ฐาน

u0 f s0 u0

Vb = f S 0
Stationary base
Moving base
A
Base Shear Vb = f S 0 = mA = W
g
A
≡ Base Shear Coefficient W= Weight
g

Faculty of Engineering
Thammasat University

4
การตอบสนองเนื่องจากแผนดินไหว
โครงสรางที่มีความหนวง
ξ =0
ξ = 0.02
g
1.0
=
A

ผลตอบสนองอาจทําใหเกิดแรงประสิทธิผลมีคามากมหาศาล Vb = mA

Faculty of Engineering
Thammasat University

การตอบสนองเนื่องจากแผนดินไหว
แผนดินไหว San Fernando ป ค.ศ. 1971 ขนาด M 6.4
บันทึกแผนดินไหวที่พื้น ผลตอบสนองของอาคารสูง 7 ชั้น

ผลตอบสนองอาจทําใหเกิดแรงประสิทธิผลมีคามากมหาศาล Vb = mA
Faculty of Engineering
Thammasat University

5
การออกแบบโครงสรางตานทานแรงจากแผนดินไหว
•หากการออกแบบที่ตองใหโครงสรางตานทานแรงมากขนาดนี้ได
โดยพฤติกรรมแบบอีลาสติกของโครงสรางจะตองการหนาตัดของ
ชิ้นสวนขนาดใหญมาก
•หลักการออกแบบที่ใชคือ ยอมใหโครงสรางบางสวนเกิดการวิบัติ
จากการครากของหนาตัดเพื่อใหโครงสรางมีพฤติกรรมแบบอินอีลา
สติกไดแตไมเกิดการพังทลายของโครงสราง และมีเสถียรภาพ
•สามารถสลายพลังงานการสั่นไหวไดอยางมากและลดคาแรงที่ใช
ในการออกแบบไดหลายเทาตัว
•การพิจารณาผลตอบสนองของโครงสรางแบบอินอีลาสติกนําไปสู
การสรางสเปคตรัมผลตอบสนองแบบอินอีลาสติกสําหรับการ
ออกแบบตอไป
Faculty of Engineering
Thammasat University

มาตรฐานการออกแบบตานทานแรงจากแผนดินไหว
กฎกระทรวง แผนดินไหว พ.ศ. 2550
Uniform Building Code (UBC) 1985
นอยกวา 1 สําหรับ
แรงเฉือนในแนวราบที่ระดับพื้นดิน V โครงสรางที่มีความเหนียว

V = Z I K C SW
สัมประสิทธิ์ของ น้ําหนักของตัวอาคาร
ความเขมของแผนดินไหว สัมประสิทธิ์ของการประสาน
ความถี่ธรรมชาติ
ตัวคูณเกี่ยวกับการใชงาน
ระหวางอาคารและชั้นดิน
สัมประสิทธิ์ของโครงสราง
อาคารที่รับแรงตามแนวราบ สัมประสิทธิ์ของคาบธรรมชาติ Faculty of Engineering
Thammasat University

6
มาตรฐานการออกแบบตานทานแรงจากแผนดินไหว
International Building Code (IBC) 2006
แรงเฉือนในแนวราบที่ระดับพื้นดิน V
CIW
V= น้ําหนักของตัวอาคาร

สัมประสิทธิ์ที่ขึ้นกับ คาบธรรมชาติ
R ตัวคูณเกี่ยวกับการใชงาน
ตําแหนงของโครงสราง และสภาพดิน

คาสัมประสิทธิ์ผลตอบสนอง มีคาตั้งแต 1.5 ถึง 8


ขึ้นกับความเหนียว และประสิทธิภาพในการ
ตอบสนองแบบอินอีลาสติกของโครงสราง
Faculty of Engineering
Thammasat University

สเปคตรัมเพื่อการออกแบบ

Pseudo-acceleration response spectrum Pseudo-acceleration design spectrum


สําหรับแผนดินไหวหลายเหตุการณ

Faculty of Engineering
Thammasat University

7
การออกแบบโครงสรางตานทานแรงจากแผนดินไหว

Base Shear Vb = A W
g
A
≡ Base Shear Coefficient W= Weight
g
Faculty of Engineering
Thammasat University

ผลตอบสนองแบบอินอีลาสติก
แรง
ผลการทดสอบแบบวัฏจักรของจุดตอ การขจัด

ใหแรงในทิศทางบวก

ใหแรงในทิศทางลบ
Steel R.C. Masonry

พื้นที่ใตกราฟ (แรง x การขจัด) = พลังงานที่เกิดขึ้นภายในระบบ

Faculty of Engineering
Thammasat University

8
ผลตอบสนองแบบอีลาสติก VS อินอีลาสติก

Faculty of Engineering
Thammasat University

การสลายพลังงานจากการตอบสนองแบบอินอีลาสติก

SDOF System Elastic System Inelastic System


(Elasto-plastic System)
ระบบโยกตัวภายใตแผนดินไหว พลังงานจลนจากการโยกตัว เปลี่ยนคาเปน
พลังงานความเครียดในระบบ (เปลี่ยนไป-มา)

Faculty of Engineering
Thammasat University

9
การสลายพลังงานจากการตอบสนองแบบอินอีลาสติก

•หลังเกิดการคราก ระบบไมสามารถรับแรงเพิ่ม
•เกิดเปนจุดหมุนพลาสติกทําใหมีการตอบสนองในชวงเกิน
จากชวงอีลาสติกที่มีการขจัดมากทีร่ ะดับของแรงต่ํากวา
เมื่อเทียบกับระบบอีลาสติก
Inelastic System •ระบบแบบนี้เกิดการเคลื่อนที่ไป-กลับไดโดยยังไมเกิด
(Elasto-plastic System
การวิบัติแตการเสียรูปไมกลับสูจุดเริ่มตนเมื่อหยุดแรง
กระทํา
•เมื่อระบบนี้โยกตัวกลับมา พื้นที่สวนสามเหลี่ยมแสดงถึง
พลังงานที่จะเปลี่ยนไปเปนความเร็วของการเคลื่อนที่
• พลังงานสวนที่เหลือที่แสดงดวยพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมดาน
ขนานจะถูกระบบสลายออกไปในรูปของพลังงานอื่น

Elastic System Faculty of Engineering


Thammasat University

ผลจากความเหนียว (Ductility)

Elastic System Elasto-plastic System

คาประกอบความเหนียวสําหรับการขจัด (Displacement ductility factor)

μ = um u y
Faculty of Engineering
Thammasat University

10
Force Controlled VS. Displacement Controlled System
แสดงความสัมพันธระหวาง
แรง H และการขจัด u ในรูปของ

แกนตั้งเปนตัวแปรตาม

ระบบภายใตแรงทางดานขาง แกนนอนเปนตัวแปรตน

Faculty of Engineering
Thammasat University

Force Controlled System

• เมื่อเพิ่มแรงในแนวราบ คาการขจัดจะเพิ่มตามจนถึงจุด
คราก
• หากเพิ่มคา H ขึ้นจากจุดนี้อีกจะเกิดจุดหมุนพลาสติก
ขึ้นในโครงสรางและการขจัดที่มีคามาก
• แรงที่ทําใหระบบพังทลาย Hm มีคาไมตางกับแรงที่ทํา
ใหเกิดการครากเริ่มตน Hy
• คุณสมบัติความเหนียวของระบบไมไดชวยดานการเพิ่ม
ความสามารถในการรับแรงมากนัก

Faculty of Engineering
Thammasat University

11
Faculty of Engineering
Thammasat University

Displacement Controlled System

•เมื่อเพิ่มการขจัดในแนวราบ จะทําใหเกิดการเพิ่ม
ของแรงภายในระบบ เชนโมเมนตที่ฐาน จนกระทั่ง
ถึงจุดคราก
• หากเพิ่มคา u ขึ้นจากจุดนี้อีก คาโมเมนตที่ฐาน
จะเพิ่มขึ้นอีกเพียงเล็กนอย
• สําหรับระบบที่มีความเหนียว คาการขจัดสูงสุด
um อาจมีคามากกวาการขจัดที่จุดเริ่มคราก uy ได
หลายเทาตัวกอนที่ระบบจะพังทลาย
• โครงสรางที่มีความเหนียว สามารถทนตอการ
เคลื่อนตัวเนื่องจากแผนดินไหวไดดี

Faculty of Engineering
Thammasat University

12
ตัวประกอบลดกําลังคราก Yield strength reduction factor Ry

ระบบเชิงเสนสําหรับการเปรียบเทียบ

ระบบอีลาสโตพลาสติก

fo = กําลังตานทานแรงนอยที่สุดที่โครงสรางตองมีเพื่อใหผลตอบสนองจํากัดอยูในชวงอีลาสติก

R y = f o f y = uo u y

R y = 1 ตอบสนองแบบอีลาสติก
R y > 1 ตอบสนองเกินชวงอีลาสติก (อินอีลาสติก)

แรงที่เกิดขึ้นสูงสุดมีคาลดลงจากคาที่ตองใชตอบสนองแบบอีลาสติก = 1 Ry
Faculty of Engineering
Thammasat University

ผลของ Ry ตอการตอบสนอง
ผลตอบสนองของระบบอีลาสโตพลาสติก T = 0.5 sec. ξ = 0.05 ภายใตผลของแผนดินไหว El Centro

Ry = 4
u m = 1.75

สําหรับระบบอีลาสติก และ u m u o = μ R y

ความเหนียวที่ตองการ (Ductility demand)

มีความหมายคือ
สําหรับการออกแบบใหโครงสรางมีความสามารถที่จะตอบสนองเกินชวงอีลาสติก
จะตองมีความเหนียวไมนอยกวาคา Ductility demand นี้

(ถาใชวัสดุที่มีกําลังครากต่ําหรือ มาก ตองใชระบบที่มีความเหนียวสูง)


Faculty of Engineering
Thammasat University

13
สเปคตรัมเพือ่ การออกแบบ

CIW
V=
R

• มาตรฐานการออกแบบทั่วไปกําหนดคาแรงเฉือนสําหรับการออกแบบไว
มีคาต่ํากวาคาแรงเฉือนที่เกิดจากการตอบสนองแบบอีลาสติก
• R ในมาตรฐาน IBC เปนคาที่ใชลดคาแรงอีลาสติกเปนคาแรงอินอีลา
สติกเพื่อการออกแบบที่ใหผลเหมือนกับคา Ry
•R ในมาตรฐาน IBC เปนคาคงที่ที่ไมขึ้นกับคาธรรมชาติ และเปนคา
โดยรวมของระบบที่กําหนดคาจากประสบการณของแผนดินไหวในอดีต

Faculty of Engineering
Thammasat University

14
พลศาสตรโครงสรางในมาตรฐานการออกแบบ
กฎกระทรวง แผนดินไหว พ.ศ. 2550
Uniform Building Code (UBC) 1985 (1997)
แรงเฉือนในแนวราบที่ระดับพื้นดิน V
V = Z I K C SW
สัมประสิทธิ์ของ น้ําหนักของตัวอาคาร
ความเขมของแผนดินไหว สัมประสิทธิ์ของการประสาน
ความถี่ธรรมชาติ
ตัวคูณเกี่ยวกับการใชงาน
ระหวางอาคารและชั้นดิน
สัมประสิทธิ์ของโครงสราง
อาคารที่รับแรงตามแนวราบ สัมประสิทธิ์ของคาบธรรมชาติ Faculty of Engineering
Thammasat University

สัมประสิทธิ์ของความเขมของแผนดินไหว Z
z UBC 1985 z UBC 1997
z ใชคาเทากับ 1.0 สําหรับเขตที่ z เปนคาเทียบเทากับความเรง
แผนดินไหวรุนแรงทีส่ ุด และ สูงสุดในแนวราบของพื้นดินที่
ใชคาลดเปนสัดสวนลงมา มีโอกาสเกิดขึน้ ในเขตนั้น และ
คาอยูในรูปรอยละของ
สําหรับเขตทีม่ คี วามรุนแรง ความเรงเนื่องจากความโนม
ของแผนดินไหวต่ําลง โดยที่ไม ถวงของโลก
มีความหมายทางกายภาพ

1
สัมประสิทธิ์ของความเขมของแผนดินไหว Z
กฎกระทรวง (ขอ ๗) กําหนดใหใชคา
สําหรับบริเวณที่ ๑; Z = 0.19
สําหรับบริเวณที่ ๒; Z = 0.38

= 0.375

= 0.1875

ตัวคูณเกี่ยวกับการใชงาน I
กฎกระทรวง (ขอ ๘)

สําหรับอาคารเก็บวัตถุอันตราย ที่ไมไดจัดกลุมไวใน UBC 1985 และกฎกระทรวง


หากไปเลือกใชเปนอาคารอื่น ๆ จะมีคาตัวคูณเกี่ยวกับการใชงานนอยกวาคาใน UBC 1997

2
คาสัมประสิทธิ์ของโครงสรางอาคารที่รับแรงในแนวราบ
K

z UBC 1985 z UBC 1997


z คาสัมประสิทธิ์ไมมีความหมาย z มีความหมายทางกายภาพที่
ทางกายภาพ และกําหนดนิยาม เหมาะสม และเพิ่มประเภทของ
ประเภทของโครงสรางไวเพียง 3 โครงสรางจาก เปน 6 ประเภท
ประเภท หลัก และอีกหลายประเภทยอย
ที่มีคําอธิบายวิธีจําแนกประเภท
โครงสรางอยางสมบูรณขึ้น

Faculty of Engineering
Thammasat University

คาสัมประสิทธิ์ของโครงสรางอาคารที่รับแรงในแนวราบ
K

3
สัมประสิทธิ์ของคาบธรรมชาติ C

UBC 1997 ไดปรับปรุงสมการในการคํานวณผลของคาธรรมชาติตอ


แรงเนื่องจากแผนดินไหวจากรูปแบบของ UBC 1985 โดยใชผลที่
พัฒนาจากขอมูลของการวิจัยและขอมูลการตรวจวัดจาก
แผนดินไหวที่เกิดขึ้น

Faculty of Engineering
Thammasat University

C สัมประสิทธิ์ของคาบธรรมชาติ ตาม กฎกระทรวง


และUBC 1985
1
แสดงผลของคาบธรรมชาติตอแรงเฉือน C= ≤ 0.12
15 T
คาคาบธรรมชาติ (วินาที) T โดยประมาณ (UBC-85)
0.09hn
1. สําหรับโครงสรางทั่วไป T=
D
สําหรับโครงขอแข็งที่มีความเหนียว T = 0.1N
2. จากการวิเคราะหดวยวิธีที่เหมาะสมและใกลเคียงพฤติกรรมจริง
hn คือ ความสูงของพื้นอาคารชั้นสูงสุดวัดจากระดับพื้นดิน มีหนวยเปนเมตร
D คือ ความกวางของโครงสรางของอาคารในทิศทางขนานกับแรงแผนดินไหว มี
หนวยเปนเมตร
N คือ จํานวนชั้นของอาคารทั้งหมดที่อยูเหนือระดับพื้นดิน Faculty of Engineering
Thammasat University

4
การประมาณคา T ตาม UBC-97
Method A : สําหรับอาคารทั่วไป T = Ct (hn )3 4

Method B : คํานวณคา T จากการวิเคราะหโครงสราง

สูตรของ Rayleigh T = 2π ⎛⎜⎜ ∑ wiδ i 2 ⎞⎟⎟ ⎛ n ⎞


n
⎜ g ∑ f iδ i ⎟
⎜ ⎟
⎝ i =1 ⎠ ⎝ i =1 ⎠

สําหรับเขตพื้นที่เสี่ยงภัยแผนดินไหวต่ําถึงปานกลาง (เขต 1,2 และ 3)


คา T ไดจากวิธี B จะตองไมเกิน 1.4 เทาของคาที่คํานวณจากวิธี A

สําหรับเขตพื้นที่เสี่ยงภัยแผนดินไหวสูงๆ (เขต 4)
คา T ไดจากวิธี B จะตองไมเกิน 1.3 เทาของคาที่คํานวณจากวิธี A
Faculty of Engineering
Thammasat University

คาสัมประสิทธิ์ของการประสานความถี่ธรรมชาติระหวาง
อาคารและชั้นดินที่ตั้งอาคาร S

z UBC 1985 z UBC 1997


z กําหนดคาตามสภาพของชั้น z กําหนดคาตามสภาพของชั้น
ดินเพียงอยางเดียว ดิน และระดับความรุนแรงของ
z จําแนกชั้นดินเปน 4 ชนิด แผนดินไหว
z จําแนกชั้นดินเปน 6 ชนิด โดย
มีหลักการจําแนกชนิดที่
ชัดเจนขึ้น

Faculty of Engineering
Thammasat University

5
คาสัมประสิทธิ์ของการประสานความถี่ธรรมชาติระหวาง
อาคารและชั้นดินที่ตั้งอาคาร S ตามกฎกระทรวง (ขอ ๑๒)
ลักษณะของชั้นดิน คาของ S
หิน (Rock) 1.0
ดินแข็ง (Stiff soil) 1.2
ดินออน (Soft to medium stiff clay and sand) 1.5
ดินออนมาก (Very soft soil) 2.5

และ CS ≤ 0.14

สําหรับดินออนมาก CS ≤ 0.26
Faculty of Engineering
Thammasat University

น้ําหนักของตัวอาคาร W
W คือ น้ําหนักของตัวอาคารทั้งหมดรวมทัง้ น้ําหนักของวัสดุอุปกรณซึ่งยึด
ตรึงกับที่โดยไมรวมน้ําหนักบรรทุกจรสําหรับอาคารทั่วไป

หรือน้ําหนักของตัวอาคารทัง้ หมดรวมกับรอยละ ๒๕ ของน้ําหนักบรรทุก


จรสําหรับโกดังหรือคลังสินคา

Faculty of Engineering
Thammasat University

6
การเคลือ่ นตัวสัมพัทธดานขางระหวางชั้นที่อยูติดกัน
(Story drift)

Story drift Δ i ≤ 0.005hi

Δ n = un-un-1

un
n Floor
h

un-1
n-1 Floor

Faculty of Engineering
Thammasat University

แรงเฉือนสําหรับการออกแบบ V = ZICKSW
สัมประสิทธิ์ ZCS (พิจารณา I = 1, K = 1)
0.06

Zone 2 (Soft soil)


0.05

0.04 Zone 1 (Very soft soil)


ZCS .

0.03

0.02
Zone 2 (Rock)
Zone 2 (Stiff soil)
0.01

0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3
Faculty of Engineering
Period (Sec.) Thammasat University

7
การกระจายแรงเฉือนในแนวดิ่ง

แรงเฉือนที่ฐาน V กระจายตลอดความสูงของอาคาร
n Ft
V = Ft + ∑ Fi
i =1
Ft = 0.07TV < 0.25V
Ft = 0 if T ≤ 0.7 s
wx Fx
(V − Ft ) wx hx
Fx = n hx
∑ wi hi
i =1
V

Faculty of Engineering
Thammasat University

คุณสมบัติเชิงพลศาสตรของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
ในกรุงเทพมหานคร และเชียงใหม

Faculty of Engineering
Thammasat University

8
การหาคาคุณสมบัติเชิงพลศาสตร

z การวิเคราะหโครงสรางจากแบบรายละเอียดการกอสราง
z ประมาณจากการใชสูตรคํานวณซึ่งเสนอไวในมาตรฐานการ
ออกแบบอาคารตานทานแผนดินไหวตางๆ
z การตรวจวัดจากโครงสรางจริง

Faculty of Engineering
Thammasat University

การตรวจวัดดวยวิธี Ambient Vibration Measurement

9
Arrangement of Sensors on Building Roof

10
Acceleration-Time History
Acc Channel 1

0.2
0.1
0
-0.1
-0.2
Acceleration Response (cm/s )
2

0 50 100 150 200 250


Channel 2

0.2
0.1
0
-0.1
-0.2

0 50 100 150 200 250


Channel 3

0.2
0.1
0
-0.1
-0.2

0 50 100 150 200 250


Time (sec.) Time (sec)

Section 1
Fourier Magnitude Spectra Section 2
Section 3
0.3 Section 4
First Mode Section 5
Section 6
Section 7
0.25 Section 8
Section 9
Section 10
Fourier amplitude [Xk]

Average plot
0.2

0.15

Second Mode Third Mode


0.1

0.05

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8
Frequency (Hz)

11
Fourier Spectrum ของอาคารที่ตรวจวัดที่ไมมีแรงกระตุนจากกลุมคน

Fourier Spectrum ของอาคารที่ตรวจวัดหลังถูกแรงกระตุนจากกลุมคน (กระตุนที่ f = 0.88 Hz)

Faculty of Engineering
Thammasat University

12
Top Floor Vibration

C-1
C-3 C-2 C-1
N
C-2
E

C-3

Faculty of Engineering
Thammasat University

Mode of Motion at Top Floor

Motion at top floor includes two Transverse Longitudinal

translation in two orthogonal axes


(transverse and longitudinal) and
a torsion.
Torsion

Example of building with pure


translation motion in two axes Transverse Longitudinal

Example of building with coupling


translation motion in two axes

Torsion

13
Measure vibration at lower floor for mode shape
along building height
Scheme 6
Scheme 1 (N-S) Scheme 2 (E-W) Scheme 5 Scheme 4

C O D
O

Scheme 3 Schemes 4, 5, 6....

O E

ELEVATION
PLAN VIEWS

50 Reinforced Concrete Buildings in Bangkok

Number of stories: 5-54


60

50
Number of story

40

30

20

10

0
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49
Building Number
Height: 20-210 m.
250

200
Height, m.

150

100

50

0
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49
Building Number

Faculty of Engineering
Thammasat University

14
Natural Periods

Periods of translational modes and number of stories


5
ชุ
N-Sดข&
อมูE-W
ล1
T=0.1N (UBC1985)
4 Bangkok Buildings
TR = 0.063N
T = 0.063 N
Natural Period (sec)

0
0 10 20 30 40 50 60
Number of Stories

Empirical formulas for periods


Periods of buildings measured from motion recorded during
many earthquakes and ambient vibration
5
Strong Earthquakes
(USA)
Strong Motions
4 T = 0.0507H 0.92
UBC 97 MCF

3
Bangkok buildings T = 0.0466H 0.90
UBC 97SW
Period (sec)

2
Taiwan
Ambient & Small EQ
(Taiwan)
1
T = 0.0294H 0.804

0
Bangkok buildings
Heigmt H(m.)
0 50 100 150 200 250

T = 0.019H

15
คาบธรรมชาติจากการตรวจวัด
Periods of translational modes and H/D0.5
4
N-S

3.5
E-W
UBC Code 1985
3
UBC1985

T = 0.09 H/D0.5
คาบธรรมชาติ (วินาที)

2.5

or
2
f = D0.5 /(0.09H)
1.5

0.5

0
0 5 10 15 20 25 30 35 40

50 Buildings in Bangkok and 32 Buildings in Chiang Mai

60

50 Bangkok
Chiang Mai
No. of Story

40

Number of story: 30

20
Bangkok 5-42
10
Chiang Mai 5-19 0
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49
No. of Building

250
Bangkok
200
Chiang Mai
Height (m.)

Height: 150

Bangkok 20-210 m. 100

Chiang Mai 14-60 m. 50

0
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49
No. of Building

16
Natural Periods

4
Bangkok
3.5 Chiang Mai

y = 0.0187x
Period (sec.)

2.5
2
R = 0.8508
2

1.5
y = 0.0168x
2
R = 0.8143
1

0.5

0
0 50 100 150 200 250
Height (m.)

C สัมประสิทธิ์ของคาบธรรมชาติ ตาม UBC 1985


แสดงผลของคาบธรรมชาติตอแรงเฉือน
1
C= ≤ 0.12
15 T
คา T โดยประมาณ (UBC-85)
0.09 H
สําหรับโครงสรางทั่วไป T=
D
สําหรับโครงขอแข็งที่มีความเหนียว T = 0.1N

Faculty of Engineering
Thammasat University

17
Natural Period in Building Code
z สําหรับ หนึ่งชั้นประมาณ 3.0 – 3.5 m
N = H/3.0 – H/3.5
T = 0.1H / 3.0 T = 0.1H / 3.5
z ความสัมพันธของ H และ D
อาคารเตี้ย สมมุติ D = 2 H
T = 0.09 H / 2 H
อาคารสูงปานกลาง D = H
T = 0.09 H / H
อาคารสูง D = H/3
T = 0.09 H / H 3
Faculty of Engineering
Thammasat University

Natural Period in Building Code


3.5
0.1N (N = H/3)
3 0.1N (N = H/3.5)
(2) D = 2H
2.5 (2) D = H
(2) D = H/3
Period (sec)

2 (BKK) 0.0190 H

1.5

0.5

0
0 20 40 60 80 100
Height (m)
Faculty of Engineering
Thammasat University

18
แรงเฉือนสําหรับการออกแบบ V = ZICKSW
สัมประสิทธิ์ ZCS (พิจารณา I = 1, K = 1)
0.06
Zone 2 (Rock)

0.05 Zone 2 (Stiff soil)

Zone 2 (Soft soil)


0.04
Zone 1 (Very soft soil)
ZCS .

0.03

0.02

0.01

0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3
Period (Sec.)
Faculty of Engineering
Thammasat University

สรุป

1. ระบบพลวัตประกอบดวย m, c, k (หรือ T, ξ ) ภายใตแรงภายนอก p(t)


2. การเคลื่อนที่ของพื้นทําใหเกิดแรงพลวัตประสิทธิผลกระทําตอโครงสราง
3. ลักษณะการสั่นไหวของโครงสรางขึ้นกับ คาบธรรมชาติ และอัตราสวน
ความหนวงเปนหลัก
4. การสั่นไหวของระบบ MDOF สามารถอธิบายดวยระบบ SDOF
5. การตอบสนองของโครงสรางตอแผนดินไหวแสดงไดในรูปของ
Response spectrum
6. แรงที่เกิดขึ้นกับโครงสรางเนื่องจากแผนดินไหวสามารถพิจารณา
เปนแรงสถิตยเทียบเทาได

Faculty of Engineering
Thammasat University

19
ความแตกตางระหวางแรงลมกับแรงจากแผนดินไหว
ศาสตรที่เกี่ยวของ
แรงลม แรงจากแผนดินไหว
z Meteorology z Seismology
z Fluid Dynamics z Structural Dynamics
z Statistics of turbulence z Nonlinear Analysis
z Structural Dynamics z Probabilistics
z Probabilistics

Faculty of Engineering
Thammasat University

ความแตกตางระหวางแรงลมกับแรงจากแผนดินไหว
• แรงจากแผนดินไหวเกิดในระยะเวลาสั้น ๆ
• ความถี่หลักของคลื่นแผนดินไหวโดยทั่วไปมีคาสูงกวาคาความถี่
หลักในลมประมาณ 10-50 เทา
• แรงจากแผนดินไหวเกิดขึ้นที่ทุกตําแหนงของโครงสรางพรอมกัน
แตแรงลมในขณะเวลาหนึง่ อาจมีคาแตกตางกันที่ตําแหนงตาง ๆ

P ( x, t ) Fx = mx a x (t )

แรงลม แรงเนื่องจากแผนดินไหว
Faculty of Engineering
Thammasat University

20
ความแตกตางระหวางแรงลมกับแรงจากแผนดินไหว
การวิเคราะหแรงที่กระทําตอโครงสราง
•แรงลม เปนประเภทที่เกิดจากแรงภายนอก
- เรียกวา ปญหาที่ควบคุมดวยแรง
- ผลจากความเหนียวของโครงสราง (หรือพฤติกรรมการรับ
แรงหลังการคราก) ไมเกิดประโยชนตอการรับแรงมากนัก
•แรงจากแผนดินไหว เปนประเภทที่เกิดจากการขจัดภายนอก
- เรียกวา ปญหาที่ควบคุมดวยการขจัด
- ผลจากความเหนียวของโครงสรางเกิดประโยชนตอการ
ตอบสนองตอผลการขจัดอยางมาก

Faculty of Engineering
Thammasat University

ความแตกตางระหวางแรงลมกับแรงจากแผนดินไหว
การออกแบบรับแรงลมและแรงแผนดินไหว
• แรงลม พิจารณาแรงที่อาจเกิดขึ้นสูงสุดภายในชวงอายุการใช
งานของโครงสราง ดังนั้น ตองออกแบบใหโครงสรางรับแรงโดย
ไมเกิดการเสียหาย
• แรงจากแผนดินไหว พิจารณาแรงที่อาจเกิดขึ้นสูงสุดภายใน
หลายรอยป ดังนั้น จึงยอมใหโครงสรางเกิดการโยกตัวจนองค
อาคารเสียหายได แตตองไมพังทลายลงมา

ดังนั้น แรงที่ใชออกแบบตานทานแผนดินไหวจึงมีคาลดลง

Faculty of Engineering
Thammasat University

21

You might also like