You are on page 1of 157

การวิเคราะหทางเทคนิค

สุนีย จันทรเปลง 2008

เอกสารประกอบการเรียนการสอน ใชในบริษัทหลักทรัพยฟารอีสทจํากัด เทานั้น


การวิเคราะหทางเทคนิค
Technical Analysis

โดย สุนีย จันทรเปลง 2551

ครั้งที่ 2 /2551 1-18


1
การวิเคราะหทางเทคนิค
‹ เปนการพูดถึงวิชาสถิติ ที่เปนทั้งศาสตรและศิลป
‹ เปนการนําเอาสิ่งที่เกิดขึ้นมาในอดีตมาวิเคราะหถึงทิศทางในอนาคต

‹ โดยใชเครื่องมือทางสถิติมาคํานวณ

‹ โดยการเขียนเปนกราฟประกอบ

‹ เพื่อชี้ใหเห็นโอกาส หรือความนาจะเปนที่จะเกิดขึ้น

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


2
รูปกราฟ SET Index

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 25501


3
ทฤษฎีดาว ( Dow Theory)
ผูใหกําเนิด คือ Charles H. Dow ในปลายศตวรรษที่ 19 ( ค.ศ. 1897 )
พื้นฐานของทฤษฎี ไดมาจากการมองการขึน้ ลงของกระแสน้ํา
- ขึ้น คลื่นที่พัดเขาหาฝง แตละลูก คลื่นลูกหลังจะขยับตัวสูงกวาครั้งกอน

- ลง คลื่นที่พัดเขาหาฝง แตละลูก จะมีระดับลดลงกวาครั้งกอน

Charles ไดแบงแนวโนมออกเปน 3 ประเภท


1. แนวโนมใหญ ( Primary Trend )

Primary Uptrend Primary Downtrend


สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีส4ท 2551
ทฤษฎีดาว ( Dow Theory) ตอ
2. แนวโนมรอง ( Secondary or Intermediate Trend )
Primary Downtrend
Secondary trend

Secondary trend

Primary Uptrend

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


5
ทฤษฎีดาว ( Dow Theory) ตอ
1. แนวโนมยอย ( Minor Trend )
Secondary trend

Minor trend

Primary Uptrend
สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551
6
Trendline
1.Up trendline

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


7
2. Down Trendline

8
สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551
Sideways

9
สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551
การลาก Trendline
‹ ลากจากซาย ไป ขวา
‹ แนวโนมขาขึ้น ลากจาก ลางขึ้นบน จากจุดต่ํา 1 ไปหาจุดต่ํา 2 ที่
สูงขึ้นเรื่อยๆ
‹ แนวโนมขาลง ลากจาก บนลงลาง จากจุดสูง 1 ไปหาจุดสูง 2 ที่ต่ํา
กวาเรื่อยๆ
‹ แนวโนมที่เปน Sideways ลากจากแนวระนาบ จากซายไปขวา
เชนกัน จากจุดที่ 1ไปจุดที่ 2

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


10
Trendline

Trendline คือเสนทางที่ราคาหุนกําลังเคลื่อนที่ไป
หลักเกณฑ ราคายอมที่จะเคลื่อนที่ไปตามแนวโนม
‹ Uptrend แนวโนมขาขึ้น
‹ Downtrend แนวโนมขาลง

‹ Sideways แนวโนมที่ไปขางๆ

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


11
Uptrend Example

12
สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551
Downtrend Example

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


13
Sideways Example

14
สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551
เปนเรื่องของจิตวิทยา
‹ เปนการบอกความสัมพันธระหวางราคา ปริมาณการซื้อขายในอดีต
‹ เปนการวิเคราะหในดาน Psychology ที่สะทอนภาพ
Fundamental ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น และการคาดการณถึง
อนาคตในชวงใกลๆ ถึงระยะยาว
‹ ขอสมมติของการวิเคราะหทางเทคนิค
1. ราคาหุนสะทอนเหตุการณทุกอยาง ทั้งที่เปดเผยและทั้งที่ยังไม
เปดเผย
2. การเคลื่อนไหวของราคาเปนไปอยางมีระบบและทิศทาง
3. เหตุการณในตลาดยอมเกิดขึ้นซ้ําแลวซ้ําอีกเปนวัฏจักร
สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551 15
คุณสมบัตขิ องนักวิเคราะหหุนทางเทคนิค
‹ นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค มีลักษณะที่สําคัญดังนี้

1. นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค เชื่อวาอารมณและความรูสกึ ของผูลงทุนในตลาดหุนที่เรียกวา


จิตวิทยามวลชน เปนปจจัยสําคัญในการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวของราคาหุน
2. นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค จะไมมองเหตุผลวา ทําไมหุนจึงขึ้นหรือลง หากแตพยายามจะ
มองวารูปแบบของการเคลื่อนไหวของราคาหุนที่เกิดจากอารมณของผูลงทุนในเวลานั้น
3. นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค จะถือหุนไวนานตราบเทาที่ราคายังมีแนวโนมขึ้น ซึ่งอาจจะ
เปนเดือนหรือเปนป แตถาการเคลื่อนไหวนั้นเริ่มเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันขาม
เชนนี้ พวกเขาจะรีบขายหุน ออกทันที จะเห็นวากลุมนักวิเคราะหหุนทางเทคนิคจะไม
ผูกพันอยูกับสภาพทีจ่ ะทําใหเขาไมไดผลประโยชนอีกตอไป

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


16
นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค มีลักษณะที่สําคัญดังนี้
(ตอ)
4 นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค จะแสวงหาผลกําไรทั้งหมด โดยไมแยกวาสวนนี้
เปนเงินปนผล หรือกําไรสวนทุน กลาวคือพวกเขาจะไมซื้อหุนเพื่อหวังเงินปน
ผลเพียงอยางเดียง
5 นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค จะพยายามใชเงินอยางมีประสิทธิภาพที่สุด และ
สามารถทีจ่ ะตัดการขาดทุนไดทันทีเมื่อคาดการณผิดพลาด
6. นักวิเคราะหหุนทางเทคนิค เชือ่ วาตลาดจะเคลื่อนไหวไปในรูปแบบที่มลี ักษณะ
คลายคลึงกัน ไมวาการเคลื่อนไหวจะเกิดขึน้ ในอดีต ปจจุบัน หรือในอนาคต
พวกเขาเชื่อวาเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึน้ มากอนหนานี้ยอ มจะเกิดขึ้นอีก และ
เหตุการณในปจจุบันยอมจะสงผลถึงเหตุการณในอนาคต

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551


17
เรามาทําการบานกัน
ชื่อ --------------------
ใหลากเสนแนวโนมทั้งหมด ที่เรียน

สุนยี  จันทรเปลง บล.ฟารอีสท 2551 ครั้งที่ 1


18
ปจจัยที่มีผลตอตลาดหุน
z ดอกเบี้ยภายในประเทศและตางประเทศ โดยเฉพาะดอกเบี้ยระหวาง
ธนาคาร ( interbank rate ) ถาสูงเกินไปจะมีผลในแงลบ
z อัตราเงินเฟอ ถามากเกินไปจะมีผลในแงลบ
z ราคาน้ํามันเปนทางออม ถาสูงมากจะมีผลในแงลบ
z อัตราแลกเปลี่ยนระหวางประเทศมั่นคงหรือไม ถาไมมั่นคง ชาวตางชาติจะ
ไมกลานําเงินเขามาลงทุน เพราะจัดเปนปจจัยเสี่ยงอยางหนึ่ง
z เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในประเทศ โดยพิจารณาจากดุลการคา หาก
เศรษฐกิจโลกดี โอกาสที่เราจะขายหรือสงออกก็งายขึ้น

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 1


2551
ปจจัยที่มีผลตอตลาดหุน( ตอ )

z การเมืองภายในและตางประเทศมีผลตอกระทบตอปจจัยการลงทุนตามที่
กลาวมาแลวเชน การเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศรัสเซีย
z สงครามและภัยธรรมชาติครั้งใหญที่เกิดขึ้นกับประเทศผูนําทางเศรษฐกิจ
z การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี อาจทําใหบริษัทที่ตามเทคโนโลยีไมทัน
อาจตองปดกิจการตัวเองลง

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 2


2551
นักวิเคราะหทางเทคนิคมีกปี่ ระเภทและทําไมจึงวิเคราะหไมเหมือนกัน

นักวิเคราะหทางเทคนิคมีหลายประเภท เชน
1. กลุม  ที่กงึ่ รายงานสภาพตลาดและสาเหตุ
2. พวกทีว ่ เิ คราะหภาวะปจจุบนั แลวดูความนาจะเปน
3. พวกทีช ่ อบวิเคราะหคาดการณอนาคต

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 3


2551
มีผูสงสัยวา ถาทุกคนศึกษาการวิเคราะหทางเทคนิคเหมือนกันจะไมกระทํา
ไปทางเดียวกันหรือนี่ ? ในความเปนจริงจะไมกระทําไปในทางเดียวกัน
เพราะผลการวิเคราะหของแตละคนจะตางกัน

z เนื่องจากความลุมลึกในการเรียนรูตางกัน
z ระดับความกดดันตางกัน
z อารมณและความรูสึกในการโตตอบตางกัน
z เงินลงทุนของแตละคนตางกัน
z ระยะเวลาในการลงทุนตางกัน
z ประสบการณในอดีตตางกัน

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 4


2551
จึงสรุปไดวา.........

z ราคาหลักทรัพยจะขึ้นไปไดก็ดวยแรงซื้อที่มากกวาแรงขาย นั่น
เพราะผูซื้อยินดีซื้อในราคาที่สูงขึ้น
z ราคาหลักทรัพยจะตกลงมาไดก็ดวยแรงขายที่มากกวาแรงซื้อ นั่น
เพราะผูขายยินดีขายแมในราคาที่ต่ํา

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 5


2551
การวิเคราะหทางเทคนิค ( technical analysis )
z จะเห็นไดวาการวิเคราะหทางเทคนิคเปนเพียงวิธีหนึ่งในหลายๆวิธีทที่ ําใหเกิดความสําเร็จ
z การวิเคราะหทางเทคนิค ( Technical analysis ) ควรจะ
1. ตั้งจุดขายหยุดการขาดทุน ( stop loss )
2. ปลอยใหหุนที่มีอยูทํากําไร ( let profit run )
3. การปกปองผลกําไร ( protect your profit )
4. มีความคิดสวนทาง ( contrarian opinion )
5. การเรียนรูและการฝกฝน ( learn and practice )
6. การมีระเบียบวินัยในการลงทุน ( investment discipline )
7. การซื้อขายถูกเวลาที่เหมาะสม ( right time / right price )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 6


2551
ตลาดกระทิง & ตลาดหมี
z หุนจะเคลือ่ นทีไ่ ปตามแนวโนม จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลง
มีคํากลาวเกาแกในตลาดหุนนิวยอรกวา “ trend is your friend “
ซึ่งยังใชไดเปนอยางดี เพราะชวยใหมองตลาดไดเปนอยางดี ทําใหเรารูวา
กําลังอยูที่ใดในสนามรบทางการเงินนี้
ตลาดขาขึ้นใหญบางครั้งเรียกวา ตลาดกระทิง ( bull market )
เชนเดียวกับที่วัวกระทิงตอสูกับสัตวอื่น มันจะ “ ขวิดขึ้น “ เสมอ
ตลาดขาลงใหญบางครั้งเรียกวา ตลาดหมี ( bear market )เพราะเวลา
หมีทํารายสัตวอื่น มันจะใชอุงมือ “ ตะปบ “ เหยื่อใหนอนลงไปกองกับพื้น
ดวยกําลังมหาศาล

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 7


2551
ประโยชนของเสนแนวโนม Trendline

- เมื่อเสนแนวโนมที่อยูในลักษณะ
ขาขึน้
เมื่อไหรก็ตามที่ราคาปรับตัวลงมา
กระทบเสนแนวโนม ราคาก็จะ
สามารถดีดกลับขึ้นไปได ตรงนี้
คือ Buy signal
Buy signal

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 8


2551
ประโยชนของเสนแนวโนม Trendline (ตอ)
z เมื่อไหรที่ราคาตกต่ํากวา
เสนแนวโนม Sell signal
แสดงถึงสัญญาณขายเกิดขึ้น
Sell signal

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 9


2551
ประโยชนของเสนแนวโนม Trendline (ตอ)
z เมื่อระดับราคาหุนอยูในแนวโนม
ขาลง หลายๆครั้งที่ราคาวิ่งขึ้นมา
ชนแนวตาน ก็จะทําใหราคาวิ่ง
กลับลงมาอีก เกิดเปน
Sell signal

Sell signal

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 10


2551
ประโยชนของเสนแนวโนม Trendline (ตอ)
z เมื่อไหรก็ตามที่ระดับราคาตัดขึ้น
ไปยืนเหนือเสนแนวโนมขาลง ก็
จะบอกถึงสัญญาณซื้อ
z Buy signal

Buy signal

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 11


2551
เสนแนวโนมใหญและเสนแนวโนมรอง
Secondary or intermediate Trend
T4
T5
T3
T6
T2
ราคาหุน
T7
B3 B4
T1
B2 B5

B1 B6
Primary Trend B7

เมื่อ B = Bottom T = Top


สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 12
2551
ทฤษฎีดาว

z แนวโนมใหญ (Primary Trend ) หรือแนวโนมระยะยาว ปกติจะใชเวลา 1


ปหรือ 200 วันขึน้ ไป อาจยาวถึง 4 ป
z ตอนขาขึ้น
1. Bottom ใหม จะสูงกวา Bottom เกา ( จุดสูง B2 สูงกวา B1)และเชนเดียวกัน
จุด B3 สูงกวาจุด B2
2. Top ใหมสูงกวา Top เกา( จุด T2 สูงกวาจุด T1) และเชนเดียวกันจุด T3 สูง
กวาจุด T2
3. ระยะที่ราคาหุนวิ่งขึ้นจะยาวกวาระยะที่ราคาหุนวิ่งลง ( B1 T1 จะยาวกวา T
2B 2 )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 13


2551
ทฤษฎีดาว ( ตอ )

z กอนเปลี่ยนทิศ การเคลื่อนที่ขนึ้ ลงพอๆ กันไมแนนอน Bottom และ Top


ใหมกับเกาอาจอยูในระดับพอๆกัน จุดต่ําสุด B4 พอๆกับจุดต่ําสุดเกา B3
z ตอนขาลง
1. Bottom ใหมจะต่ํากวา Bottom เกา ( จุด B5 ต่ํากวาจุด B4 ) และเชนเดียวกัน
จุด B6 ต่ํากวาจุด B5
2. Top ใหมต่ํากวา Top เกา( จุด T6 กวาจุด T5 ) และเชนเดียวกัน จุด T7 สูงกวา
จุด T6
3. ระยะที่ราคาหุนวิ่งลงจะยาวกวาระยะที่ราคาหุนวิ่งขึ้น ( T 5 B6 จะยาวกวา
B5 T6 )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 14


2551
ทฤษฎีดาว ( ตอ )
z แนวโนมรอง ( Secondary or Intermediate trend ) เปนแนวโนมระยะกลาง
ที่เบี่ยงเบนจากแนวโนมใหญ ใชเวลาตั้งแต 3 สัปดาหถึงหลายเดือน
( 25 วันถึง 200 วัน ) แนวโนมรองนี้รวมตัวกันแลวกอใหเกิดเปนแนวโนม
ใหญ อันประกอบดวยแนวโนมรองขึ้น และแนวโนมรองลง

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 15


2551
Trend lines ( Identifying trends )
แนวโนมดานขาง
แนวโนมขาลง

แนวรับกลับกลายเปนแนวตาน

แนวตาน
แนวโนมขาขึ้น

กลยุทธแนวตานกลับกลายเปนแนวรับ
แนวรับ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 16


2551
ขอ 1

การบาน ครั้งที่ 2 ชื่อ -----------------------------------------

ใหหา buy signal / sell signal

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 17


2551
การบาน ขอ 2
ครั้งที่ 2 ชื่อ -----------------------------------------

ใหหาแนวรับ แนวตาน

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 18


2551
ประโยชนของเสนแนวโนม

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 1


ประโยชนของเสนแนวโนม(ตอ)

คาเงินบาท

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 2


ประโยชนของเสนแนวโนม(ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 3


ประโยชนของ Channel (ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 4


อนาคตของ SET Index

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 5


SET INDEX

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 6


ความสําคัญของ Trend &Channel

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 7


กลุมพลังงาน ( SET ENERGY )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 8


กรอบการเคลื่อนไหว ( Channel )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 9


กรอบการเคลื่อนไหว ( Channel )ตอ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 10


Bollinger band

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 11


ความเหมือนของ Channel &Bollinger brand

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 12


Trend &Channel การบาน
ครั้งที่ 3 ชื่อ -----------------------------------------

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 13


Portfolio 10 ลานบาท
วันที่ ชื่อหุน ซื้อ ขาย สุทธิ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 14


คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( Moving Averages )

คาเฉลี่ยเคลื่อนที่เปนการคํานวณหาคาเฉลี่ยราคาหุนหรือ คาเฉลี่ยของ
ดัชนีบงชี้ ( indicator ) ในชวงเวลาหนึ่งๆ ในขณะที่วันตอมาราคาหุนได
เปลี่ยนแปลงไป คาเฉลี่ยเคลื่อนที่นกี้ ็จะเปลี่ยนขึน้ หรือลงตามไปดวย แตอัตราที่
ชากวาเพราะตองเฉลี่ยคาเกาในอดีต
คาเฉลี่ยเคลื่อนที่อาจใชขอมูลจากราคาปด ราคาเปด ราคาสูงสุด ราคา
ต่ําสุด หรืออาจนําเอาคาของดัชนีบงชี้มาคํานวณก็ได
คาเฉลี่ยเคลื่อนที่มหี ลายชนิด ตามวิธีคํานวณที่แตกตางกัน
1. Simple Moving Average ( SMA )
2. Exponential Moving Average ( EMA)
3. Double Exponential Moving Average ( DEMA )
4.Triple Exponential Moving Average ( TEMA )
5. Weighted Moving Average ( WMA )
6.Hamming Moving Average (HMA )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 1


2551
คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( Moving Averages )

7. Modified Moving Average ( MMA )


8. Time Series Moving Average ( TiMA )
9. Triangular Moving Average ( TMA ) ++
แตที่นิยมใชกันก็นาจะเปน SMA EMA
ประโยชนของเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนทีค่ อื
1. หาจุดซือ้ และจุดขาย จากจุดตัดของเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่
2. หาแนวโนมของราคาหุน โดยลดการแกวงตัวของราคาหรือดัชนี ทํา
ใหเห็นแนวโนมงายขึ้น
3. หาแนวรับและแนวตาน โดยดูความลาดชันของเสนคาเฉลี่ย

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 2


2551
Simple Moving Average ( SMA )

Simple Moving Average ( SMA ) SET – SMA 5


เปนการคํานวณคาเฉลี่ยทั่วไป โดยไมถวงนาหนัก
เลย นั่นก็หมายความวา วิธีนี้ใหน้ําหนักของ
ราคาหุนในแตละวันเทากัน จึงเหมาะกับหุนทีม่ กี าร
เปลี่ยนแปลงของราคาหุนแบบคอยเปนคอยไป

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 3


2551
การใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ในการวิเคราะห

การใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ในการวิเคราะห
สามารถทําได 3 วิธี
1. ใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่กับราคาปด
เกิดสัญญาณซื้อ เมือ่ ราคาปดตัดเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ขึ้นไป
เกิดสัญญาณขาย เมื่อราคาปดตัดเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ลงมา
ขอสังเกต
- ถาราคาปด ปดสูงกวาเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่มาก แสดง
ถึงการเขาเขต OverBought
- ถาราคาปด ปดต่ํากวาเสนคาเฉลีย่ เคลื่อนที่มาก
แสดงถึงการเขาเขต OverSold
2. ใชเสนคาเฉลี่ยเคลือ่ นที่ 2 เสน
เกิดสัญญาณซื้อ เมื่อเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่เสนระยะสั้น
ตัดเสนระยะยาวขึ้นไป
เกิดสัญญาณขาย เมื่อเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่เสนระยะสั้น
ตัดเสนระยะยาวลงมา

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 4


2551
การใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ในการวิเคราะห

3. ใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนทีก่ บั ดัชนีบงชี้
เกิดสัญญาณซื้อ เมือ่ ดัชนีบงชี้ตัดเสน
คาเฉลี่ยขึ้นไป
เกิดสัญญาณขาย เมื่อดัชนีบงชี้ตัดเสน
คาเฉลี่ยลงมา

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 5


2551
เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 ระยะ

เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 ระยะ ที่ผูลงทุนนิยม


1. เสนคาเฉลีย่ เคลื่อนที่ระยะสั้น ใชระยะเวลา 5 วันหรือ 10 วัน
2. เสนคาเฉลีย่ เคลื่อนที่ระยะกลาง สวนใหญใช 30 วันหรือ 60 วัน หมายถึงจํานวนขอมูลเริ่มมากขึน้
3. เสนคาเฉลีย่ เคลื่อนที่ระยะยาว สวนใหญใช 75 วัน หรือ 200 วัน
การสรางเสนคาเฉลี่ย
สูตรคํานวณหาเสนคาเฉลีย่ ดังนี้
เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ N วัน = ราคาปด N วันรวมกัน
N วัน
ปกติโดยทั่วไป การทําเสนคาเฉลีย่ ลงในกราฟมักจะไมทําเสนเดียวเพราะหากทําเสนเดียวก็จะได
แนวโนมแงมุมเดียว ดังนัน้ เสนคาเฉลีย่ จะตองดูประกอบกันรวมกับกราฟรายวัน จึงมีคุณคาแกการ
พิจารณา กราฟสวนใหญตองมีเสนคาเฉลี่ยระยะสั้น กลาง ยาว และราคารายวันจึงจะครบสูตร

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 6


2551
RSI ( Relative Strength index )

หลักการและความหมายของ RSI
ปจจุบนั การวิเคราะหทางเทคนิค นอกจากใชเสนคาเฉลีย่ อยางแพรหลายแลว RSI ก็เปนเครื่องมืออีก
ชนิดหนึ่งที่คอนขางแพรหลาย
Relative strength Index เรียกชือ่ ยอวา RSI ( ดัชนีบอกความแข็งแรงสัมพัทธของราคาหุน )
สูตรในการคํานวณ ดังตอไปนี้
RSI = 100 - 100
1+RS

RS = คาเฉลีย่ ผลรวมของการเปลี่ยนแปลงของการเปลี่ยนแปลงราคาขึน้ N วัน


คาเฉลีย่ ผลรวมของการเปลี่ยนแปลงของการเปลี่ยนแปลงราคาลง N วัน

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 7


2551
RSI ( Relative Strength index )

ความจริงการกําหนดจํานวนวันที่ใชในการคํานวณ RSI นั้นขึ้นอยูกับความเคย


ชินของผูใช มีผูใช 5 วัน 10 วัน 13 วัน 14 วัน แตกตางกัน หากใชจํานวนวันนอยก็
จะออนไหวตามตลาดเกินไป หากใชจํานวนวันมากเกินไปก็อาจบอกทิศทาง
แนวโนมไดชาเกินไป ฉะนั้นจะเลือกเอาจํานวนวันเทาใด ตองอาศัยประสบการณ
และความชอบ ความเคยชินของผูใชเปนสําคัญ
ถึงแมมีผูใช RSI อยางแพรหลาย แต RSI ก็ยังมีขอเสียในตัวของมันอยู ถาใน
สภาวะตลาด ที่มีแนวโนมที่ขึ้นแรงหรือลงหนัก RSI จะเขาสูเ ขต Overbought /
Oversold โดยเร็ว ซึ่งในขณะเดียวกันนั้นราคาอาจจะยังขึ้นแรงหรือตกหนักอยาง
ตอเนื่องอยู สวน RSI กลับเพิ่มขึ้นหรือลดลงเพียงเล็กนอย ฉะนั้นเพื่อหลีกเลี่ยง
ขอเสียอันนี้ ซึ่งอาจทําใหผูลงทุนตัดสินใจซื้อหรือขายกอนเวลาอันควร ทําใหเสี่ยง
ตอการขาดทุนกําไรหรือติดหุนได จึงควรพิจารณาเครื่องมือวิเคราะหทางเทคนิค
ชนิดอื่นประกอบดวย

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 8


2551
การวิเคราะห RSI

z เมื่อ RSI ขึน้ เกินกวา 70 % หรือต่ํากวา 30 % นักลงทุนควรสังเกตติดตามอยางใกลชิด เพื่อ


เตรียมขายทํากําไรหรือชอนซือ้ ในราคาต่ํา
z RSI ขึน้ สูงกวา 80 % คือ Overbought ลงต่ํากวา 20 % คือ Oversold ถา RSI ปรากฏแสดงเปน
รูปอักษร M ใกลบริเวณ 80 ควรขายทํากําไร ถาปรากฏเปนฐานรูปอักษร W ใกลบริเวณ 20 ควรชอนซือ้
ได
z ในขณะที่ราคาเคลื่อนไหวในชวงแคบ ถาฐานของ RSI ฐานใหมสูงกวาฐานเกา แสดงวามีแนวโนม
ตลาดกระทิงตอไป อาจขึน้ ไดอกี ระยะหนึ่ง ในทางกลับกันหากฐานใหมต่ํากวาฐานเกาก็ควรขาย
z RSI สามารถบอกลักษณะแนวโนมไดยิ่งกวา K-Chart Bar –Chart ฉะนัน้ เราสามารถลากเสน
แนวตานหรือแนวรับ เพื่อพิจารณาแนวโนมตอไปขางหนาได
z หากราคาอยูระหวางปรับฐานเคลือ่ นไหวในชวงแคบ แตหาก RSI ไดปรับฐานเสร็จเรียบรอยแลว
ลักษณะเชนนี้ ราคาอาจทะลุเขตแนวตาน ที่ปรับฐานอยูต ัดทะลุตามขึน้ มาได

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 9


2551
Fast Stochastics
z ความหมายและลักษณะพิเศษ
สโตแคสติค ( Stochastics ) เปนเครือ่ งมือวิเคราะหทางเทคนิค ที่มักใชกนั ในตลาดลวงหนาของยุโรป
และอเมริกาชนิดหนึ่ง เนื่องจากการซื้อขายในตลาดลวงหนามีความเสี่ยงและความผันผวนสูง จึง
ตองการเครื่องมือคอนขางระยะสั้น และมีความออนไหว ดวยเหตุนกี้ ารวิเคราะหหนุ ทางเทคนิค ระยะ
กลางและระยะสั้น ก็มีความเหมาะสมในการใชเครือ่ งมือนี้ สโตแคสติคไดรวมเอาจุดเดนของ RSI เสน
คาเฉลีย่ เคลื่อนที่ และหลักการของกฎความเรงในวิชาฟสิกส
สมมติในชวงระยะเวลา 5 วันเปนตัวอยาง เมื่อตองการหาคาสโตแคสติค อันดับแรกตองหาขอมูล
ราคาสูงสุด ราคาต่ําสุด ที่เคยมีเกิดขึน้ ในชวง 5 วันลาสุด และราคาปดในวันที่ 5 จากนัน้ ก็นําขอมูล 3
อยางที่หามาไดนี้ มาคํานวณหาคา % K มีสูตรการคํานวณดังตอไปนี้
% K = ราคาปดของวันที่ 5 – ราคาต่ําสุดในชวง 5 วันลาสุด คูณ 100 = C5-L5 คูณ 100
ราคาสูงสุดในชวง 5 วันลาสุด – ราคาต่ําสุดในชวง 5 วันลาสุด H5-L5

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 10


2551
Fast Stochastics
z คาทีส่ องหาไดจาก
% D = 100 คูณ H3
L3
เมือ่ H3 คือผลรวม 3 วันของคา ( C3-L3 )
L3 คือ ผลรวม 3 วันของคา ( H3-L3 )
สัญญาณซื้อจะเกิดเมื่อ % D มีคาต่ํากวา 15 %
ลงไป
สัญญาณซื้อจะเกิดเมื่อ % D มีคาต่ํากวา 85 % ขึ้น
ไป

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 11


2551
MACD ( Moving Average Convergence /Divergence )
z MACD ไดจากการลบกันของเสน MA 2
เสนทีม่ ีระยะเวลาตางกันเชน เสน MA 10 วันลบดวย
เสน MA 25 วัน ก็ไดเสนสัญญาณ MACD
z Signal Line ไดจากการเอา MACD มา
หาเสนคาเฉลี่ยอีกครั้ง

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 12


2551
Bollinger brand

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 13


2551
การบาน อธิบายตามที่เห็น
ครั้งที่ 4 ชื่อ ----------------------------

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 14


2551
การบาน อธิบายตามที่เห็น
ครั้งที่ 4 ชื่อ ----------------------------

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 15


2551
การบาน อธิบายตามที่เห็น
ครั้งที่ 4 ชื่อ ----------------------------

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 16


2551
อะไรคือ Divergent

• คําวา Divergent แปลวา แยกทาง สวนทาง ไมเปนไป


ในทางเดียวกัน ซึ่งตรงกันขามกับคําวา Convergent ที่
แปลวารวมทาง เปนไปในทางเดียวกัน

Divergent Convergent
ราคาหุน ราคาหุน
ดัชนีหลักทรัพย ดัชนีหลักทรัพย
สัญญาณทางเทคนิค สัญญาณทางเทคนิค

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 1


ขอดีของลักษณะ Divergent ก็คือ

1. เปนการแจงใหทราบถึงภาวะหุนกอนหุนตก โดยสังเกตไดจากดัชนีหลักทรัพยไมรวมทาง
กันกับสัญญาณทางเทคนิค เกิดอาการ Divergent ดังกลาว ยิ่งถาสัญญาณวิ่งลงมา
หลังจากที่วิ่งขึ้นไปถึงเขต Overbought แลวถือวาชัดเจนแบบเจงเปง แบบลงแนนอน
เรียกวาเกิด Bearish Divergence
2. เปนการเตือนภาวะกอนหุนขึ้น เพราะถาหากราคาหุนตกเอาๆ แตสัญญาณทางเทคนิควิ่ง
ขึ้น อยางนี้ถือวาภาวะตกต่ํากําลังจะสิ้นสุดลงแลว โดยเฉพาะถาหากสัญญาณอยูในยาน
Oversold เรียกวาเกิด Bullish Divergence

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 2


ขอดีของลักษณะ Convergent ก็คือ

1. ขณะที่หนุ ไดขึ้นไปแลว สัญญาณตางๆเหลานี้ก็จะวิ่งตามกันขึ้นไป เปนไปตามลักษณะที่


เปน Convergent คือรวมทางกันกับกราฟราคาหรือดัชนี เปนการแสดงถึงการใหถือตอถา
หากวาตนทุนเราถูก หรือไมก็เปนการยืนยันความมัน่ ใจในการเลนสั้น แตถาผูที่เขาใจ
การวิเคราะหทางเทคนิคนัน้ ไมมีใครเลนสั้นกันหรอก แตก็ไมยาวจนเกาเก็บ
2. ขณะที่หนุ หรือตลาดอยูในสภาพตกต่ํา หรือตกลงมายังไมถึงจุดสิ้นสุด สัญญาณทาง
เทคนิคก็จะเกิดการรวมทางหรือ convergent กับราคา แสดงถึงภาวะอยาซื้อ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 3


กราฟแทงเทียน Candlestick

• แทงเทียนดํา • แทงเทียนขาว
ราคาสูง ( H ) ราคาสูง ( H )
ราคาปด( C )
ราคาเปด( O )

ราคาปด( C ) ราคาต่ํา( L )
ราคาต่ํา ( L ) ราคาเปด ( O)

White Candlestick
Black Candlestick

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 4


กราฟแทงเทียน Candlestick (ตอ)

• Spinning • Doji
H H H
H H
O=C
C O
O=C
O C
L=C=O
L L L
L

รูปแบบลูกขางตั้ง โดจิ

H = High , L = Low , O= Open , C = Close

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 5


กราฟแทงเทียน Candlestick (ตอ)

• จากรูป กราฟแทงเทียนแตละแทงจะประกอบไปดวย ราคาเปด ราคาปด ราคาสูงสุด ราคาต่ําสุด Real


Body จะเปนชวงของราคาเปด – ปด ระหวางวัน เดือน ชั่วโมง สวนที่เปนเสนนอก Real Body จะเปน
Shadow ( เสนเงา )
• แทงขาว ( White Candlestick ) จะมีราคาปดสูงกวาราคาเปด
• แทงดํา ( Black Candlestick ) จะมีราคาปดต่ํากวาราคาเปด
• เสนเงา ( Shadow ) ใชแทนราคาสูงสุด ต่ําสุด
เงาบนเรียก Upper Shadow
เงาลางเรียก Lower Shadow
สวนของลําตัวเปนสวนสําคัญแสดงการเคลือ่ นไหวของราคาหุน ( แสดงอารมณ ความตองการซื้อ –
ขายที่มีตอหุน ) สวนของเงาจะเปนเพียงแสดงถึงการแกวงตัวของราคาหุน
กรณีที่แทงเทียนไมมเี งาสวนบน และสวนลาง เรียกวา Shaven Head, Shaven Bottom

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 6


กราฟแทงเทียน Candlestick (ตอ)

แทงเทียนขาว ( white Candlestick ) จะแสดงถึงภาวะตลาดกระทิง ( Bullish


market ) ความตองการ ซื้อมากกวาความตองการขาย
แทงเทียนดํา ( Black Candlestick ) จะแสดงถึงภาวะตลาดหมี ( Bearish
Market ) ความตองการ ขายมากกวาซื้อ
ลูกขาง ( Spinning ) เปนภาวะตลาดที่มีการตอสูกันระหวางแรงซื้อ - แรงขาย

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 7


ความหมายของ GAP

เปนชองวางของราคาหุน วันนี้ กับ วันกอน มีชอ งวางของราคาหุน


มี real body 2 แถวที่ไมตอเนื่องกัน
Gap ใน Shadow
Gap ใน Real Body

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 8


ความหมายของ STAR
มี Real Body สั้นๆ เกิดขึ้นมาพรอมกับ Gap
กับตัวกอนหนา
รูปที่สมบูรณ รูปทีไ่ มสมบูรณ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 9


Continuation or Consolidation Pattern
รูปแบบบอกความตอเนื่อง

รูปแบบที่แสดงความตอเนื่องเกิดจากราคาหุนขึ้นหรือลงเร็วเกินไป จนวิ่งมาทีร่ ะดับหนึ่งที่ดี


มานด และซัพพลายสมดุลกันชั่วคราว ทีจ่ ุดนี้อาจเกิดเหตุการณได 3 ประการคือ
1. ราคาหุนเปลี่ยนทิศทาง ซึ่งคุณจะเห็นเปนรูปแบบการเปลี่ยนแนวโนม
2. ราคาหุนอาจตกลงมายังจุดหนุนหรือวิ่งขึ้นไปยังจุดตาน กอนที่มันจะวิ่งแรงๆตอไปตาม
แนวโนมเดิม
3. ราคาหุนจะเคลื่อนที่ไปดานขาง ( sideways ) เพื่อเตรียมเคลื่อนที่ไปตามแนวโนมเดิมกอน
หนานั้น
อาจกลาวไดวารูปแบบที่บอกความตอเนื่อง ( continuation or consolidation patterns ) นี้เปน
ปรากฏการณทรี่ าคาหุนสะดุดและเคลื่อนที่ไปดานขาง ( interrupt )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 10


Continuation or Consolidation Pattern
รูปแบบบอกความตอเนื่อง

แนวโนมใหญของราคาหุนเปนการพักชั่วคราว เพื่อลดความรอนแรงของราคาหุน รูปแบบที่พบบอยมี


ดังนี้
ƒ Ascending Triangle and Descending triangle
ƒ Bullish Rectangle and Bearish Rectangle
ƒ Rising Wedge and Falling Wedge
ƒ Bullish Flag and Bearish Flag
ƒ Pennants
ƒ Symmetrical Triangle

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 11


Continuation or Consolidation Pattern
รูปแบบบอกความตอเนื่อง
• Ascending Triangle
Ascending Triangle เปนรูปแบบสามเหลี่ยม
ขาขึ้น ชวงนี้เปนการปรับฐานราคาชัว่ คราว
กอนที่จะเคลื่อนที่ไปตามแนวโนมขาขึ้นเดิม
Ascending Triangle
ตอไป ซึ่งเปนโอกาสดีในการเขาซื้อหุน เสน
AB ของรูปแบบสามเหลี่ยมนี้จะอยูในแนว A B
ระนาบขณะทีเ่ สนลาง CB ยกสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง
C
แสดงถึงแรงซื้อมากกวาแรงขาย

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 12


Continuation or Consolidation Pattern
รูปแบบบอกความตอเนื่อง
• Descending Triangle
Descending Triangle เปนรูปแบบสามเหลี่ยมขา
ลง ชวงนี้เปนการปรับฐานราคาชัว่ คราวกอนที่จะ C
เคลื่อนที่ไปตามแนวโนมขาลงเดิมตอไป ซึ่งควรจะ
ขายหุน กอนที่ราคาจะตกลง เสน AB ของรูปแบบ A B
สามเหลี่ยมนี้จะอยูในแนวระนาบ ขณะที่เสนบน
CB ต่ําลงเรื่อยๆ ซึ่งแสดงถึงแรงขายมากกวาแรง
ซือ้ นักลงทุนยินดีที่จะขายหุน ในราคาถูกลงเรื่อยๆ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 13


Reversal Pattern

• Hanging Man • Hammer


1. พบในแนวโนมขาขึ้น 1. พบในแนวโนมขาลง
2. มี Real Body สั้น สีขาวหรือดํา 2. มี Real Body lyho สีขาวหรือดํา
3. ราคาปด - เปด ใกลเคียงกัน 3. ราคาปด -เปด ใกลเคียงกัน
4. Shadow ยาวอยางนอย 2 เทา Real Body 4. Shadow ยาวอยางนอย 2 เทา Real Body
ผล – ปรับตัวขึ้น 60 %
ผล – ปรับตัวลง 60 %
- Sideways 30 % ผิดพลาด 10 %
-- Sideways 30 % ผิดพลาด 10 %

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 14


โครงสราง

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 15


โครงสราง

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 16


Continuation pattern
รูปธง( Flags )จะสรางเปนรูปสี่เหลี่ยม • และรูปธงขาลง ( Bearish flag

รูปธง( Flags )มีทั้งรูปธงขาขึ้น ( Bullish Flag )

Bearish Flag
Bullish Flag

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 1


2551
Continuation pattern (ตอ)

Flag
Resistance line

Support line

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 2


2551
Continuation pattern (ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 3


2551
Continuation pattern (ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 4


2551
Continuation pattern (ตอ)
รูปธงปลายแหลม ( Pennants ) ชายธง Pennants จะสรางเปนรูปสามเหลี่ยม

Pennants
Downtrend
Bearish pennants
Uptrend
Bullish pennants

Pennants

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 5


2551
Continuation pattern (ตอ)

Flags

Flags

Pennants

Pennants

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 6


2551
Reversal Pattern

รูปแบบนี้จะแสดงการเปลี่ยนแปลงแนวโนมระยะยาว เชน จากตลาดกระทิง ไปเปนตลาดหมี


ได หรือจากแนวโนมขาขึน้ เปลี่ยนเปนแนวโนมขาลง จากแนวโนมขาลงเปลี่ยนเปนแนวโนมขา
ขึน้

Double Bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 7


2551
Reversal Pattern(ตอ)

Head
Right shoulder
Left shoulder

Neckline
Descending Triangle

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 8


2551
Reversal Pattern(ตอ)

Double Tops

Neck line
Neck line

Double Bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 9


2551
Reversal Pattern(ตอ)

Head

Neck Line
Shoulder
Shoulder
Neck Line
Double bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 10


2551
Continuation & Reversal price Pattern

Neck line

Triple bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 11


2551
Continuation pattern
รูปธง( Flags )จะสรางเปนรูปสี่เหลี่ยม • และรูปธงขาลง ( Bearish flag

รูปธง( Flags )มีทั้งรูปธงขาขึ้น ( Bullish Flag )

Bearish Flag
Bullish Flag

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 1


2551
Continuation pattern (ตอ)

Flag
Resistance line

Support line

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 2


2551
Continuation pattern (ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 3


2551
Continuation pattern (ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 4


2551
Continuation pattern (ตอ)
รูปธงปลายแหลม ( Pennants ) ชายธง Pennants จะสรางเปนรูปสามเหลี่ยม

Pennants
Downtrend
Bearish pennants
Uptrend
Bullish pennants

Pennants

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 5


2551
Continuation pattern (ตอ)

Flags

Flags

Pennants

Pennants

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 6


2551
Reversal Pattern

รูปแบบนี้จะแสดงการเปลี่ยนแปลงแนวโนมระยะยาว เชน จากตลาดกระทิง ไปเปนตลาดหมี


ได หรือจากแนวโนมขาขึน้ เปลี่ยนเปนแนวโนมขาลง จากแนวโนมขาลงเปลี่ยนเปนแนวโนมขา
ขึน้

Double Bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 7


2551
Reversal Pattern(ตอ)

Head
Right shoulder
Left shoulder

Neckline
Descending Triangle

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 8


2551
Reversal Pattern(ตอ)

Double Tops

Neck line
Neck line

Double Bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 9


2551
Reversal Pattern(ตอ)

Head

Neck Line
Shoulder
Shoulder
Neck Line
Double bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 10


2551
Continuation & Reversal price Pattern

Neck line

Triple bottoms

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารือีสท จํากัด 11


2551
สัญญาณการกลับตัวในกราฟแทงเทียน

• Darkcloud Cover • Piercing Pattern


จะเห็นในแนวโนมขาขึ้น จะเห็นในแนวโนมขาลง
มี Real Body ยาว 2 ตัว ตัวแรกสีดํา ตัวที่สองสี
ขาวยาวเกิน ½ ของ Real Body
ผล ขึ้น 60 %ลง 30 % ผิดพลาด 10 %
Dark-cloud Cover

มี Real Body ยาว 2 ตัว


ตัวแรก สีขาว ตัวทีส่ องสีดํา
ยาวเกิน ½ ของ Real Body
ผล ลง 60 % ขึ้น 30 % ผิดพลาด 10 %’
Piercing Pattern

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 1


2551
Darkcloud Cover

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 2


2551
สัญญาณการกลับตัวในกราฟแทงเทียน
• Bullish Engulfing • Bearish Engulfing
• มักเกิดในแนวโนมขาลง (Downtrend ) • มักเกิดในแนวโนมขาขึ้น( Uptrend )
• โอกาสปรับตัวขึ้น 60% • โอกาสปรับตัวลง 60%
• โอกาสปรับตัวลง 30 % • โอกาสปรับตัวขึ้น 30 %
• โอกาสผิดพลาด 10 % • โอกาสผิดพลาด 10 %
ตัวแรกสีดํา ตัวที่สองสีขาว

ตัวแรกสีขาว ตัวที่สองสีดาํ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 3


2551
Bearlish Engullfing

Downtrend

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 4


2551
Bearish Engulfing

Darkcloud Cover

Darkcloud Cover

Bullish Engulfing

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 5


2551
Bearish Engulfing

Bullish Engulfing

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 6


2551
Downtrend

Uptrend

Bullish Engulfing

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 7


2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 8
2551
Evening Doji Star

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 9


2551
Piercing pattern

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 10


2551
Dark Cloud Cover

Piercing Price Pattern

Bullish Engulfing

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 11


2551
Morning Doji Star

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 12


2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 13
2551
สัญญาณการกลับตัวในกราฟแทงเทียน

• Bullish Harami Cross • Bearish Harami Cross


• รูปแบบเปน Doji ในตัว Body กอนหนาที่
รูปแบบเปน Doji ในตัว Body กอนหนาที่เปน
เปนแทงสีดํา
แทงสีขาว
• เกิดในแนวโนมขาลง ณ. สภาวะ Oversold เกิดในแนวโนมขาขึ้น ณ. สภาวะ Overbought
โอกาสที่จะเปลี่ยนเปนแนวโนมขาขึ้น โอกาสที่จะเปลี่ยนเปนแนวโนมขาลงเปนไปได
เปนไปไดมากๆ มากๆ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 14


2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 15
2551
สัญญาณการกลับตัวในกราฟแทงเทียน

Gravestone Doji การแปลความหมาย


ราคาเปดและราคาปดเทากัน ( อยูที่จุด เปนสัญญาณการกลับทิศในแนวโนมขาขึ้น
เดียวกัน ) คือจุดต่ําสุดของวัน แสดงถึง ( Top Reversal ) ตัวเงา (Shadow )ยิ่งยาว
กระทิงทีห่ มดแรง สูหมีไมได มากเทาไหรพลังของตลาดภาวะหมีก็ยิ่ง
มากเทานั้น โดยเฉพาะเกิดขึ้นที่บริเวณที่
เปน Overbought มากๆ และยิ่งใน
โครงสรางของตลาดระยะยาวๆ

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 16


2551
Gravestondoji

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 17


2551
สรุปกราฟแทงเทียนที่เปนสัญญาณการกลับทิศ
1. Doji Price Pattern ( Up Trend & Down Trend )
2. Morning Doji Star ( Downtrend )
3. Evening Doji Star ( Uptrend )
4. Hammer Price Pattern ( Downtrend )
5. Hanging Man Price pattern ( Uptrend )
6. Bullish Engulfing ( Downtrend )
7. Bearish Engulfing ( Uptrend )
8. Piecing Price Pattern ( Downtrend )
9. Dark Cloud Cover Pattern ( Uptrend )
10. Harami Cross ( Uptrend & Downtrend )

สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 18


2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 19
2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 20
2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 21
2551
สุนีย จันทรเปลง บล.ฟารอีสท จํากัด 22
2551
Price Gaps

Price Gaps คือบริเวณที่ไมมีการซื้อขายในกราฟราคาหุน เชน ในขณะที่ราคาหุนอยู


ในชวงขาขึ้น ราคาเปดสูงกวาราคาสูงสุดของวันกอนหนา เกิดเปนชองวางขึ้นมา สวน
ในขณะที่ราคาหุนอยูในชวงขาลง ราคาเปดต่ํากวาราคาต่ําสุดของวันกอนหนา
* Upside Gaps บงบอกความแข็งแรงของตลาด
* Downside Gaps บงบอกความออนแอของตลาด
บาง Gaps สําคัญ แตบาง Gaps ไมสําคัญ บาง Gaps จะมีการยอนกลับ หรือดีด
กลับมาปด Gaps แตบาง Gaps จะไมมีการยอนกลับหรือดีดกลับมาปด
แตละ Gap จะมีความหมายแตกตางกัน ขึ้นอยูกับประเภทและตําแหนงทีเ่ กิด Gap

อยาเชื่อวาทุก Gap ตองถูกปด Gap

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 1


Price Gaps ( ตอ )
Gaps มี 4 ประเภท
1. Common Gaps ไมคอยมีความสําคัญตอการทํานาย มักเกิดในตลาดที่มีการซื้อขายเบา
บาง หรือบริเวณตรงกลางของกรอบการซื้อขายในแนวนอน
บงบอกความไมนาสนใจ ละเลยไมตองสนใจ

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 2


Price Gaps ( ตอ )

2 . Breakway Gaps มักเกิดที่จุดสิน้ สุดของรูปแบบราคาที่สําคัญ และของรูปแบบ


Inverted Head and Shoulder ( จุดต่ํา ) การตัด Neckline ขึน้ มามักเกิดรูปแบบ
Breakaway Gap
- Breakouts จากบริเวณยอดหรือจุดต่ํา คือบริเวณทีเ่ กิด Breakaway Gap
- การตัดเสนแนวโนมหลักขึ้นไปหรือลงมา และ สงสัญญาณการกลับทิศทางของ
แนวโนม ก็อาจจะเกิด Breakaway Gap
- Breakaway Gap มักเกิดขึ้นพรอมกับปริมาณซื้อขายที่หนาแนน และมักไมถูกปด Gap
- Upside Gap ทําหนาที่เปน แนวรับ เมื่อราคาหุนปรับฐานลงมา
- Downside Gap ทําหนาที่เปน แนวตาน เมื่อราคาหุนดีดกลับขึ้นไป

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 3


Price Gaps ( ตอ )
2. Breakaway Gap ( ตอ )

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 4


Price Gaps ( ตอ )
3. Runaway ( Measuring ) Gaps หลังจากราคาหุนที่ไดเดินทางจาก Breakaway Gap
สักพัก มาถึงประมาณกึ่งกลาง ราคาหุนก็จะกระโดดอีกครั้งหนึ่ง ( อาจเกิดหลาย Gaps
ติดตอกันได )เกิดขึ้นเปน Runaway Gap
- Runaway Gap บงชี้วาราคาหุนเคลื่อนทีแ่ บบไมตองออกแรง โดยมีปริมาณการซื้อ
ขายปานกลาง และสามารถไปไดอกี หนึ่งเทาของระยะที่มาจาก Breakaway Gap
- ในกรณีแนวโนมขาขึ้น Runaway gap บอกความแข็งแรงของตลาด
- ในกรณีแนวโนมขาลง Runaway gap บอกความออนแอของตลาด
- Upside Gap ทําหนาที่เปนแนวรับ เมื่อราคาหุนปรับฐานลงมา
- Downside Gap ทําหนาทีเ่ ปนแนวตาน เมื่อราคาหุนดีดกลับขึน้ ไป

Runaway Gap ไมถกู ปดGap

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 5


Price Gaps ( ตอ )
Runaway Gap ( ตอ )

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 6


Price Gaps ( ตอ )

4. Exhaustion Gap เกิดใกลกับตอนจบของการเคลื่อนที่ของตลาด หลังจากเกิด


Brekaway Gap และ Runaway Gap แลว เราควรจับตาดูการเกิด Exhaustion Gap
- ในชวงขาขึ้น เมื่อใกลจุดจบ ราคาหุนหุนจะกระโดดขึ้นเปนครั้งสุดทาย และจบลง
อยางรวดเร็ว ดวยการที่ราคาหุนจะลดต่ําลงมาภายในไมนาน เมื่อราคาหุนปดต่ํากวา
Gap สุดทายนี้ มันจะสงสัญญาณวา แนวโนมขาขึ้นไดสนิ้ สุดลงพรอมกับการปด
Gap และจะเปนจุดเริ่มตนของภาวะ Bearish
- ในชวงขาลง ก็เปนไปในทํานองเดียวกัน Exhaustion gap จะสงสัญญาณวา แนวโนมขาลง
ไดสนิ้ ลงพรอมกับการปด Gap และเปนจุดเริ่มตนของภาวะ Bullish

Exhaustion Gap จะถูกปด Gap เพื่อบอกสัญญาณกลับทิศ

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 7


Price Gaps ( ตอ )
4. Exhaustion Gap ( ตอ )

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 8


Price Gaps ( ตอ )

Island Reversal หลังจากเกิด Exhaustion Gap ในแนวโนมขาขึ้นราคาหุนเคลื่อนที่ ใน


กรอบแคบๆ สักระยะเวลาหนึ่งๆ กอนกระโดดลงมา ทําใหเกิดภาพคลาย “เกาะ” ที่ถูก
ลอมรอบดวยที่วางหรือ น้ํา
-- Exhastion Gap ในแนวโนมขาขึ้นที่ตามดวย Breakaway gap ในแนวโนมขาลง
แสดงการจบรูปแบบ Island Reversal ซึ่งแสดงการเปลี่ยนแนวโนม ลักษณะหนึ่ง

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 9


Price Gaps ( ตอ )
Island Reversal ( ตอ )

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 10


ลําดับตัวเลข Fibonacci

Leonardo Fibonacci: เกิดในประเทศอิตาลี ในป ค.ศ. 1170


เปนนักคณิตศาสตรที่โดงดังคนหนึง่ ของอิตาลี จนมีการสรางอนุสาวรียของทานทีเ่ มือง Pisa
เราคงรูจักหอเอนแหงเมืองปซากันแลว รูปปนนี้กบั หอคอยหางกันไมมากนัก
ใครจะไปเที่ยว ก็อยาลืมไปคารวะทานดวยละ !
ทําไมนะหรือ ?
เพราะทานจะชวยนําโชคมาให เวลาเราจะลงทุนในหุน
ความกตัญูเปนคุณสมบัติสําคัญของผูท ี่จะประสบความสําเร็จ
ก็เพราะทานเปนผูคน พบลําดับตัวเลขชุดสําคัญชุดหนึง่ ของโลกคณิตศาสตร ลําดับตัวเลขนี้
มีการใชประโยชนอยางมาก ในการวิเคราะหหุนทางเทคนิคในรูปแบบตางๆ รวมถึง
ทฤษฎี Elliott Wave ลําดับตัวเลขชุดนี้มีชื่อวา Fibonacci Numbers

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 11


ลําดับตัวเลข Fibonacci (ตอ)

ลําดับตัวเลข Fibonacci Numbers ปรากฏเปนครั้งแรก ในหนังสือของ Fibonacci ที่มีชื่อ


Liber Abaci นอกจากนี้ หนังสือเลมนี้นําตัวเลขของอาหรับ ( 1,2,3,4 --- ) มาใช และตอมา
แทนที่ตัวเลขโรมัน ( I , II,III,IV,------) ที่ใชกันอยางแพรหลายในยุโรปในสมัยนั้น ในครั้ง
แรกนั้น ลําดับตัวเลข Fibonnacci ถูกใชเปนคําเฉลยของปญหาทางคณิตศาสตร ที่เกี่ยวของกับ
อัตราการเกิดของกระตาย
ลําดับตัวเลข Fibonacci เปนดังนี้
( 0,)1,2,3,5,8,13,21,34,55,89,144,--------------------
ตัวเลขเริ่มตนจาก 0,1จากนั้นตัวเลขตอๆมาไดจากการบวกตัวเลข 2 ตัวกอนหนานัน้ เชน จาก
0,1 ตัวเลขตอมาคือ 0+1=1 ตัวเลขตอจาก 0,1,1 คือ 1+1=2 ตัวเลขตอจาก 0,1,1,2 คือ1+2=3
อยางนี้ไปเรื่อยๆ

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 12


ลําดับตัวเลข Fibonacci (ตอ)
ลองพิจารณาอัตราสวนของตัวเลขที่อยูประชิดกัน เชน
0/1 = 0.00 1/0 = ∞
1/1 = 1.00 1/1 = 1.00
1/2 = 0.50 2/1 = 2.00
2/3 = 0.67 3/2 = 1.50
3/5 = 0.60 5/3 = 1.67
5/8 = 0.625 8/5 = 1.60
8/13 = 0.615 13/8 = 1.625
------ --------
------- --------
= 0.618 = 1.618
1. ตัวเลขที่อยูขางหลังจุดทศนิยมเปนตัวเลขทีซ่ ้ํากันทัง้ 2 ฝง
2. ตัวเลขฝงซายจะเขาหาคา 0.618 ในขณะที่ตัวเลขทางฝงขวาจะเขาหาคา 1.618

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 13


ลําดับตัวเลข Fibonacci (ตอ)
ลองพิจารณาอัตราสวนของตัวเลขที่อยูหางกัน 2 ตัว เชน
1/2 = 0.50 2/1 = 2.00
1/3 = 0.33 3/1 = 3.00
2/5 = 0.40 5/2 = 2.50
3/8 = 0.375 8/3 = 2.67
5/13 = 0.385 13/5 = 2.60
8/21 = 0.381 21/8 = 2.625
------- ---
0.382 2.618
1. ตัวเลขที่อยูหลังจุดทศนิยมทางฝงขวา ซ้ํากับตัวเลขในหนากอน
2. ตัวเลขที่อยูขางหลังจุดทศนิยมทางฝงซาย คอนขางเปนชุดใหม แตจะเห็นวามีความสัมพันธกับ
ชุดทางฝงขวา นั่นคือ1 ลบตัวเลขทางฝง ขวา ก็จะเห็นตัวเลขทางฝงซาย
3. ตัวเลขทางฝง ซายจะเขาหาคา 0.382 ในขณะทีต่ ัวเลขทางฝง ขวาจะเขาหาคา 2.618

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 14


ลําดับตัวเลข Fibonacci (ตอ)

ตัวเลขอัตราสวน 0.618 และ 1.618 นี้ เปนที่รูจักกันมาตั้งแตสมัยอียิปตและกรีกโบราณ


โดยมีชื่อวา Golden Ratio หรือ Golden Mean มีที่ใชงานในวงการดนตรี ศิลปะ
สถาปตยกรรม และชีววิทยา เชน สิ่งกอสราง Parthenon ในกรีก Great Pyramid แหงเมือง
Gizeh หรือความสูงจากพืน้ ถึงสะดือคนมีคาประมาณ 0.618 ของความสูงทัง้ หมด
( อยากรูวาจริงไหม ลองวัดดูก็ได !)
สวนตัวเลข 0.382 ไดมาจาก 1-0.618 = 0.382
เรามักเขียนเปนเปอรเซ็นตไดแก 0.00% 38.2% 50.00% 61.8% และ 100%
เราสามารถใชตัวเลขเปอรเซ็นตและลําดับตัวเลข Fibonacci เหลานี้ คํานวณหาราคา
เปาหมาย และตําแหนงเวลาที่จะเกิด โดยทั่วไป เวลาคํานวณหาราคาเปาหมายมีความ
แมนยํามากกวา

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 15


ลําดับตัวเลข Fibonacci (ตอ)

เราสามารถใช Golden Ratio หาราคาเปาหมาย ( หมายถึงแนวรับและแนวตาน ) โดยใช


หลักการ Percentage Retracements

* เมื่อราคาหุนขึ้นหรือตกลงมามากเพียงพอ ราคาหุนจะมีการยอนกลับ ( Retrace ) หรือดีดกลับ


( Rebound ) เราจะคํานวณหาแนวรับ – แนวตานดวยวิธี Fibonacci Percentage Retracements
ซึง่ ไดแก 38.2% 50% และ 61.8% นอกจากนี้ยังมีตัวเลข 33% 50%และ 67%

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 16


ลําดับตัวเลข Fibonacci (ตอ)

สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 17


สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 18
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 19
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 20
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 21
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 22
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 23
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 24
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 25
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 26
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 27
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 28
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 29
สุนีย จันทรเปลง บ.ล. ฟารอีสท จํากัด 2551 30

You might also like