You are on page 1of 25

การวิเคราะหวงจรไฟฟา

Circuits analysis
โดย
ดร. สาโรช พูลเทพ

วงจรไฟฟา (Electric circuit)


วงจรไฟฟา คือ การนําแหลงจายไฟฟามาตอกับโหลดโดยใชลวดตัวนํา และ
ใชสวิตชในการเปด-ปดวงจร มีฟวสเพื่อปองกันความผิดพลาดในวงจรและอุปกรณ
เชน โหลดเกิน ไฟฟาลัดวงจร ในวงจรไฟฟาจะมี วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจร
ผสม และวงจรแสงสวาง ซึ่งสามารถคํานวณหาคา กระแสไฟฟา แรงดันไฟฟาและ
คาความตานทาน

1
วงจรไฟฟา (Electric circuit)
• องคประกอบของวงจรไฟฟา มี 3 สวน
แหลงจายไฟฟา (Power supply) เปนแหลงจายแรงดันและกระแสใหกับ
อุ ป กรณ ไ ฟฟ า เพื่ อ เปลี่ ย นพลั ง งานไฟฟ า ให เ ป น พลั ง งานต า งๆ เช น พลั ง งานกล
พลังงานแสงสวาง ฯ

โหลดหรืออุปกรณไฟฟา (Load) เปนอุปกรณตาง ๆ ที่ใชไฟฟาในการทํางาน


ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานรูปอื่นๆ เชน เสียง แสง ฯ

ตัวนําหรือสายไฟฟา (Lead line) ใชเชื่อมตอวงจรใหตอถึงกันทําใหแหลงจาย


ไฟฟา จายแรงดันถึงโหลดเกิดกระแสไหลผานวงจร และกลับมาครบรอบที่แหลงจาย
อีกครั้ง 3

วงจรอนุกรม (Series circuit)


วงจรอนุกรม หมายถึง วงจรที่กระแสไฟฟาตลอดวงจรมีคาเดียวกันตลอด
แรงเคลื่อนไฟฟาเทากับแรงดันที่ตกครอมอุปกรณแตละตัว

2
คุณสมบัตของ
ิ ของวงจรอนุกรม

1) กระแสไฟฟาตลอดทั้งวงจรมีคาเดียวกันตลอด คือคาของกระแสไฟฟาที่ไหล
ผานความตานทานแตละตัวจะมีคาเทากันหรือเทากับกระแสรวมในวงจร
2) แรงเคลื่อนไฟฟาที่จายใหวงจร มีคาเทากับแรงดันที่ตกครอมตัวตานทานแต
ละตัวรวมกัน
E = V1 + V2 + V3 + … + VN
3) ความตานทานรวมของวงจรมีคาเทากับความตานทานแตละตัวรวมกัน
Rt = R1 + R2 + R3 + … + RN
5

วงจรไฟฟาอนุกรม
สมการแบงแรงดัน (Voltage Divider Equation) หมายถึง วงจรอนุกรมที่
ใชตัวตานทานอยางนอย 2 ตัวเปนตัวแบงแรงดันไฟฟา
Rn
VRn = VT
RT
VRn คือ แรงดันตกครอมตัวตานทานใดๆ
VT คือ แรงดันของแหลงจายไฟฟา
Rn คือ ตัวตานทานใดๆ ในวงจร
RT คือ คาความตานทานรวมของวงจร
6

3
ตัวอยางการคํานวณวงจรอนุกรม
R1 R2 R3 R4
แรงดันตกครอมความตานทานแตละตัว
+ V1 (ตกครอม R1) = It x R1
= 0.177 x 20 = 3.54 โวลท
V2 (ตกครอม R2) = It x R2
ความตานทานรวม = 0.177 x 30 = 5.31 โวลท
Rt = R1 + R2 + R3 + R4 V3 (ตกครอม R3) = It x R3
= 20 + 30 + 40 + 45 = 0.177 x 40 = 7.08 โวลท
= 135 โอหม V4 (ตกครอม R4) = It x R4
กระแสที่ไหลในวงจร = 0.177 x 45 = 7.96 โวลท
It = E / Rt
= 24 / 135 = 0.177 A 7

วงจรขนาน (Parallel circuit)


หมายถึง วงจรที่กระแสไฟฟาไหลผานอุปกรณแตละตัว รวมกันจะ
เทากับกระแสไฟฟาที่ไหลออกจากแหลงจาย แรงดันตกครอมอุปกรณแต
ละตัว มีคาเทากับแรงเคลื่อนไฟฟาของแหลงจาย

4
คุณสมบัตของ
ิ ของวงจรขนาน
1) กระแสไฟฟาที่ไหลผานความตานทานแตละตัว เมื่อรวมกันแลวจะเทากับ
กระแสไฟฟาที่ไหลออกจากแหลงจาย
It = I1 + I2 + I3 + … + IN
2) แรงดันที่ตกครอมความตานทานทุกตัว มีคาเทากับแรงเคลื่อนไฟฟาของ
แหลงจาย
E = V1 = V2 = V3 = … = VN
3) ความตานทานรวมของวงจรหาไดจาก

ตัวอยางการคํานวณวงจรขนาน
กระแสไฟฟาที่ไหลผานความตานทานแตละตัว
I1 (ผาน R1) = E / R1
= 24 / 8 = 3 A
I2 (ผาน R2) = E / R2
= 24 / 10 = 2.4 A
I3 (ผาน R3) = E / R3
ความตานทานรวม = 24 / 12 = 2 A
1/Rt = 1/R1 + 1/R2 + 1/R3 + 1/R4 I4(ผาน R4) = E / R4
= 1/8 + 1/10 + 1/14 + 1/18 = 24 / 18 = 1.333 A
= 131/360
กระแสที่ไหลในวงจร
Rt = 360/131 = 2.75 โอหม
It = E / Rt
= 24 / 2.75 = 8.73 A 10

5
การวัดคาความตานทานรวม (RT)

11

การวัดคาแรงดันไฟฟา
V1

V2

VT V3
แหลงจาย

VT = V1 + V2 + V3
12

6
เราจะคํานวณวงจรไฟฟานี้ไดอยางไร ?

13

กฎของเคอรชอฟฟ (Kirchhoff’s Law)


• แบงออกเปน 2 กฎใหญ ๆ คือ
1. กฎเกี่ยวกับกระแสไฟฟา (Kirchhoff’s
Current Law, KCL):
“กระแสไหลเขา เทากับ กระแสไหลออก”
∑ Iin = ∑ Iout

2. กฎเกี่ยวกับศักยไฟฟา (Kirchhoff’s Voltage


Law, KVL):
“ความตางศักยรวมของวงจรปด เปน ศูนย”
∑V = 0
closed loop
14

7
Voltage sources in series and Current direction

15

กฎของเคอรชอฟฟ (Kirchhoff’s Law)


31. ใหเขียนกระแสไฟฟาทั้งหมด (ใหเลือกทิศของกระแสไฟฟา)
32. ใหเขียนเครื่องหมาย +/- ของอุปกรณทุกชิ้น (กระแสไหลเขาเปน + ออกเปน - )
3 3. กําหนดทิศทางของกระแสไฟฟารอบลูป (เลือกตามใจชอบ !)
R1 = 5 Ω I
B
+ - Solve:
–ε1+IR1 + ε2 + IR2 = 0
+
ε1= 50V
-

A - + -50 + 5I + 10 +15I = 0
- +
R2 = 15 Ω
ε2 = 10V I = +2 A

16

8
คําถาม
คา I1 เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไรถาสวิทซถูกเปดออก?
I1 R = 10 Ω
1) เพิ่มขึ้น + -

2) ไมเปลี่ยนแปลง E2 = 5 V
R = 10 Ω

3) ลดลง
I2

ใชกฏของเคอรชอฟฟคํานวณลูปดานนอก: IB

+ -
-ε1 + I1R = 0 E1 = 10 V

I1 = E1 / R = 1A
17

กฎของเคอรชอฟฟ (Kirchhoff’s Law)


กระแสไฟฟาไหลเขา = กระแสไฟฟาไหลออก ณ จุด (node) นั้น ๆ
I1 I2
I1 = I2 + I3
I3

R=10 Ω
ใหหาคากระแสไฟฟา IB มีคาเทาใด ? I1

1) IB = 0.5 A E=5V
I2 R=10 Ω

2) IB = 1.0 A
IB
3) IB = 1.5 A + -
E1 = 10 V

18

9
ขั้นตอนการคํานวณวงจรไฟฟาที่ซับซอน
1. ให ทํ า การสมมติ ทิ ศ ของกระแสไฟฟ า และใช ก ฏของเคอร ช อฟฟ
(Kirchhoff’s rules).

2. ถาสามารถคํานวณคาความตานทานไฟฟาสมมูลของตัวตานทานไฟฟา
ที่ตออนุกรมและขนานได ใหทําการคํานวณ คาความตานทานไฟฟา
สมมูลใหเรียบรอยกอน

3. ถาวงจรไฟฟามีหลายลูป ใหใชกฏจุดตอ (junction rule) และกฏของลูป


(loop rule) เพื่อกําหนดสมการ ควรกําหนดจํานวนสมการใหมากที่สุด
อยางนอยตองมีจํานวนสมการเทากับจํานวนตัวแปรในวงจรไฟฟา.
19

คําถาม
วงจรไฟฟาประกอบดวย ε1, ε2, R1, R2 และ R3 ใหหาคา I1, I2 และ I3
1. เขียนกระแสไฟฟาทั้งหมด (เลือกทิศของกระแสไฟฟา)
2. กําหนดเครื่องหมาย +/- ใหกับอุปกรณทั้งหมด (กระแสไหลเขาเปน + ออกเปน - )
3. กําหนดลูปและทิศ (เลือกตามใจ!)
4. เขียนสมการของ Node
+ R1 - I1 I3
Loop 1: – ε1 + I1R1 – I2R2 = 0 I2
+
-
ε1 + R2
Loop 2: + I2R2 + I3R3 + ε2 = 0 -
Loop Loop R3
1 2 -
+
Node: I1 + I2 = I3
- +
ε2

จะได 3 สมการ 3 ตัวแปร จากนั้นทําการแกสมการดวยพีชคณิต !


20

10
ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)

การวิเคราะหวงจรที่มีแหลงจายอิสระมากกวา 1 แหลงอาจทําไดหลายวิธี
เชนการวิเคราะหแบบโนดหรือแบบเมช หรือสามารถวิเคราะหไดโดย
อาศัย คุณ สมบัติ ความเป นเชิงเสนของวงจรโดยคิ ดผลตอบสนองของ
วงจรที่เกิดจากแหลงจายอิสระแตละตัว
ทฤษฎีการทับซอนกลาววา
“แรงดันตกครอม (หรือกระแสที่ไหลผาน) อุปกรณใด ๆ ในวงจรเชิงเสน
เปนผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันตกครอม (หรือกระแสที่ไหลผาน)
อุปกรณนั้นที่เกิดจากแหลงจายอิสระแตละตัวในวงจร”

21

ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)
หลักการของทฤษฎีการทับซอน
„ เมื่อคิดผลตอบสนองของวงจร (แรงดันหรือกระแส ) ที่เกิดจากแหลงจายอิสระ

ตัวใดใหทําการกําจัดแหลงจายอิสระตัวอื่นๆ คือ
แหลงจายแรงดันอิสระใหมีคาเทากับ 0 โวลต (หรือลัดวงจร)
แหลงจายกระแสอิสระใหมีคาเทากับ 0 แอมแปร (หรือเปดวงจร)

0A
0V 0V 0A
Short Circuit Open Circuit
22

11
ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)
ขั้นตอนของการใชวิธีทฤษฎีการทับซอน
1) กําจัดแหลงจายอิสระในวงจรใหเหลือแหลงจายอิสระเพียงตัวเดียว
2) หาคาของแรงดันหรือกระแสที่ตองการที่เกิดจากแหลงจายในขอแรก
3) ทําซ้ําขอ 1 ถึง 2 จนกระทั่งครบแหลงจายอิสระทุกตัว
4) นําผลตอบสนอง (แรงดันหรือกระแส) ที่ไดจากแหลงจายอิสระแตละตัวในขอ
2 มารวมกัน ซึ่งจะไดเปนผลตอบสนองรวม
R1 R1 R1
VS R2 v IS VS R2 v1 R2 v2 IS

หาคา v หาคา v1 หาคา v2


จะได v = v1 + v2 23

ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)
ตัวอยางที่ 1 จงหาคา v จากวงจรดังรูปโดยใชทฤษฎีการทับซอน

6V 4Ω v 3A

„ คิดผลของแหลงจายแรงดัน
กําจัดแหลงจายกระแสโดยการ Open Circuit

จากหลักการแบงแรงดัน
6V 4Ω v1 4
v1 = (6) = 2V
4+8
24

12
ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)
„ คิดผลของแหลงจายกระแส
กําจัดแหลงจายแรงดันโดยการ Short Circuit
จากหลักการแบงกระแส

i2 i2 =
8
(3) = 2 A
4Ω v2 3A 4+8

v2 = 4i2 = 8 V

„ ดังนั้นจะได V คือผลรวมของแรงดันที่เกิดจากแหลงจายอิสระแตละตัวคือ

v = v1 + v2 = 2 + 8 = 10 V

25

ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)

26

13
27

28

14
29

ทฤษฎีการทับซอน (Superposition)

30

15
31

32

16
33

34

17
ทฤษฎีบทเทวินิน (Thevenin’s Theorem)
ปญหาของการวิเคราะหวงจร
„ การวิเคราะหวงจรใด ๆ ตองทําใหมทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสวนใดสวน

หนึ่งของวงจร หรือมีการเปลี่ยนแปลงในสวนของโหลด (Load)


a i
Linear two-
v Load
terminal circuit
การแกปญหา b
„ แทนสวนของวงจรที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงดวยวงจรสมมูลแบบงาย ๆ เพื่อการ

คํานวณใหมจะไดไมยุงยากและซับซอน

35

ทฤษฎีบทเทวินิน (Thevenin’s Theorem)


วงจรสมมูลของเทวินิน
„ เปนการแทนวงจรเชิงเสนดวยแหลงจายแรงดันอนุกรมกับตัวตานทาน

a i a i
Linear two- vTh RTh
v Load v Load
terminal circuit
b b
ทฤษฎีบทเทวินินกลาววา “วงจรเชิงเสน 2 ขั้วใด ๆ สามารถแทนไดดวยแหลงจาย
แรงดัน vTh อนุกรมกับตัวตานทาน RTh”
„ เมื่อ vTh คือแรงดันตกครอมขั้ว a-b ขณะเปดวงจร

„ และ RTh คือความตานทานที่ขั้ว a-b เมื่อกําจัดแหลงจายอิสระทั้งหมด

36

18
ทฤษฎีบทเทวินิน (Thevenin’s Theorem)
KVL วงจรสมมูลของเทวินินได i
a
vTh − iRTh − v = 0 RTh
vTh v Load
v = vTh − iRTh
b
ในกรณีที่ กระแส i = 0 A จะได

voc = vTh = v i =0
voc คือแรงดันขณะเปดวงจร (Open-
Circuit Voltage)
ดังนั้น vTh (หรือ voc ) หาไดจากการ i = 0A a
ถอดสวนที่เปนโหลดที่ขั้ว a-b ออก Linear two- voc
terminal circuit
และคํานวณหาคาของแรงดันที่ขั้ว a-b b 37

ทฤษฎีบทเทวินิน (Thevenin’s Theorem)


การหาคา RTh ทําไดโดยการกําจัดแหลงจายอิสระทั้งหมด

a
Linear circuit with
all indepenent
sources set equal RTh
to zero
b

38

19
ตัวอยาง
R1 2Ω
a RL
2Ω b
R4
+ 4Ω 2A
R2
10 V 4Ω
-

ขั้นตอนของการวิเคราะหวงจรดวยทฤษฎีเทวินิน
1. ปลดโหลด คํานวณหาแหลงจายเทวินิน vth และความตานทานเทวินิน Rth
2. เขียนวงจรสมมูลยเทวินิน คํานวณหากระแสและแรงดันที่โหลด

39

ตัวอยาง
2Ω a b 2Ω
a b




วิธีคํานวณหา Rth Rth = ( R1 // R 2) + R 4


2× 4
- ช็อตแหลงจายแรงดัน Rth =
2+4
+4

- เปดวงจรแหลงจายกระแส R th =
16
3
Ω

40

20
R1 2 Ω
a vth b
R4

4 20
+ R2 2A va = × 10 = Ω
10 V
- 4Ω 2+4 3

vb = 4 × 2 = 8V

วิธีคํานวณหา vth

20 4
vth = vab = −8 = − V
3 3

41

16
Rth Ω
3

vth
Use voltage divider:
4 +- RL
− V
3 2Ω
2 4 4
v RL = × (− ) = − V
16 3 11
+2
3

42

21
ทฤษฎีบทนอรตัน (Norton’s Theorem)
เปนวิธีการแกไขปญหาการที่ตองคํานวณใหมทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยน
สวนใดสวนหนึ่งของวงจร เชนเดียวกับทฤษฎีบทเทวินิน
วงจรสมมูลของนอรตัน
„ เปนการแทนวงจรเชิงเสนดวยแหลงจายกระแสขนานกับตัวตานทาน
a i a i
Linear two- iN RN v Load
v Load
terminal circuit
b b

ทฤษฎีบทนอรตันกลาววา “วงจรเชิงเสน 2 ขั้วใด ๆ สามารถแทนได


ดวยแหลงจายกระแส iN ขนานกับตัวตานทาน RN”
43

ทฤษฎีบทนอรตัน (Norton’s Theorem)


เมื่อ iN คือกระแสที่ไหลผานขั้ว a-b ขณะลัดวงจรขั้ว a-b
และ RN คือความตานทานที่ขั้ว a-b เมื่อกําจัดแหลงจายอิสระทั้งหมด
KCL วงจรสมมูลของนอรตันได
v a i
− iN + +i = 0
RN iN RN v Load
v
i = iN −
RN b
ในกรณีที่แรงดันที่ขั้ว a-b, v = 0V จะได
„ isc คือกระแสขณะลัดวงจรที่ขั้ว a-b
isc = iN = i v =0
(Short Circuit Current)
44

22
ทฤษฎีบทนอรตัน (Norton’s Theorem)
ดังนั้น iN (หรือ isc ) หาไดจากการ a
ถอดสวนที่เปนโหลดที่ขั้ว a-b ออก Linear two-
v = 0V isc
ทําการลัดวงจรที่ขั้ว a-b และคํานวณ terminal circuit
หาคาของกระแสที่ไหลผานขั้ว a-b b

การหาคา RN ทําไดโดยการกําจัดแหลงจายอิสระทั้งหมด และทําการหาคาความ


ตานทานรวมที่ขั้ว a-b ซึ่งมีวิธีการหาคาเหมือ นกับการหาค าความตานทาน RTh
นั่นเอง ซึ่ง
RN = RTh

45

ความสัมพันธระหวางวงจรสมมูลเทวินินและนอรตัน
วงจรสมมูลของเทวินินและนอรตัน
i i vTh = voc
a a
vTh RTh iN
เมื่อ iN = isc
v RN v
b b RTh = RN

พิจารณาวงจรสมมูลของเทวินินเมื่อลัดวงจรที่ขั้ว a-b
a
vTh RTh i = isc v
v จะได i = isc = oc
RTh
b
นั่นคือจะไดความสัมพันธระหวาง voc , isc และ RTh เปน voc = isc RTh
46

23
ตัวอยาง

ขั้นตอนของการวิเคราะหวงจรดวยทฤษฎีนอรตัน
1. ปลดโหลด คํานวณหาแหลงจายกระแสนอรตัน ith
และความตานทานนอรตนั Rth
2. เขียนวงจรสมมูลนอรตัน คํานวณหากระแสและแรงดันที่โหลด
47

ตัวอยาง

วิธีคํานวณหา Rth Rth = R1 + R2


- ช็อตแหลงจายแรงดัน Rth = 5 + 4

- เปดวงจรแหลงจายกระแส R th = 9 Ω

48

24
ตัวอยาง

คํานวณหา ith

พิจารณาจากวงจรควรใชสมการเมชคํานวณหากระแสนอรตัน
R1 5 × 10
ith = I = = 5 . 556 A
R1 + R 2 5+4
49

ตัวอยาง


5.556 9Ω

วงจรสมมูลโดยใชทฤษฎีนอรตัน

50

25

You might also like