You are on page 1of 412

EOS 750D (W)

T
คู่มือการใช้งาน
บทนํา
EOS 750D เป็ นกล ้องดิจต ิ อลสะท ้อนภาพเลนส์เดีย ่ วประกอบด ้วยเซนเซอร์
CMOS ทีม ี วามละเอียด ด ้วยพิกเซลทีใ่ ช ้งานได ้ประมาณ 24.2 ล ้านพิกเซล
่ ค
พร ้อมชิปประมวลผลภาพ DIGIC 6 โฟกัสอัตโนมัต ิ 19 จุดทีม ่ ค
ี วามแม่นยํา
และความเร็วสูง (จุดโฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบกากบาท: สูงสุด 19 จุด) ถ่ายภาพ
ต่อเนือ
่ งได ้ประมาณ 5.0 ภาพต่อวินาที มีการถ่ายภาพแบบ Live View สามารถ
ถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวความละเอียดสูงสุด (Full HD) และฟั งก์ชน ั่ Wi-Fi/NFC

่ การถ่ายภาพ ควรแน่ใจว่าได้อา่ นข้อมูลต่อไปนี้


ก่อนเริม
เพือ
่ หลีกเลีย
่ งอุบต
ั เิ หตุและความผิดพลาดในการถ่ายภาพ โปรดอ่าน “ข ้อควร
ระวังด ้านความปลอดภัย” (น.20-22) และ “ข ้อควรระวังในการใช ้งาน” (น.23-25)

อ้างอิงคูม
่ อ ้ ณะใชง้ านกล้องเพือ
ื นีข ่ ให้คณ
ุ คุน ้
้ เคยก ับกล้องมากยิง่ ขึน
ในขณะทีอ ่ า่ นคูม
่ อ ่ อกมา ซึง่ จะช่วยให ้
ื นี้ ให ้ทดลองทําการถ่ายภาพและดูผลทีอ
คุณเข ้าใจการทํางานของกล ้องได ้ดียงิ่ ขึน ้

ทดสอบกล้องก่อนการใชง้ านและความร ับผิดชอบ


หลังจากถ่ายภาพ ให ้ดูภาพและตรวจสอบว่าได ้ทําการบันทึกภาพเรียบร ้อยแล ้ว
หากกล ้องหรือเมมโมรีก
่ าร์ดเกิดความผิดพลาด และไม่สามารถบันทึกภาพหรือ
ถ่ายโอนภาพไปยังคอมพิวเตอร์ได ้ แคนนอนไม่สามารถรับผิดชอบต่อความ
สูญเสียและความไม่สะดวกทีเ่ กิดขึน

ลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิใ์ นบางประเทศอาจห ้ามไม่ให ้นํ าภาพทีบ ่ ันทึก หรือเพลงทีม ่ ี
ลิขสิทธิ์ ตลอดจนภาพทีม ่ เี พลงประกอบซึง่ อยูใ่ นเมมโมรีก
่ าร์ดไปใช ้เพือ
่ วัตถุ
ประสงค์อน ื่ นอกเหนือจากความบันเทิงส่วนตัว และโปรดทราบว่าการแสดงบาง
อย่างในทีส ่ าธารณะ นิทรรศการ ฯลฯ อาจห ้ามไม่ให ้มีการถ่ายภาพ ถึงแม ้จะเพือ ่
ความบันเทิงส่วนตัวก็ตาม

2
รายการอุปกรณ์
ก่อนเริม่ ต ้นใช ้งาน ควรตรวจสอบรายการอุปกรณ์ตอ
่ ไปนีท
้ ัง้ หมดทีจ
่ ัดให ้ หากมี
สิง่ ใดขาดหายไป โปรดติดต่อตัวแทนจําหน่ายกล ้องของคุณ

แบตเตอรีแ ่ พ็ค แท่นชาร์จแบตเตอรี่


กล้อง รุน
่ LP-E17 รุน
่ LC-E17E*
(พร ้อมยางครอบช่อง (พร ้อมฝาครอบป้ องกัน)
มองภาพและฝาปิ ด)

สายคล้องคอ ่ มต่อ
สายเชือ

* จัดแท่นชาร์จแบตเตอรี่ รุน
่ LC-E17E ให ้ (พร ้อมสายไฟ)
 คูม่ อื การใช ้งานและ CD-ROM ทีจ ่ ัดให ้ แสดงตามรายการในหน ้าถัดไป
 หากคุณซือ ้ ชุดอุปกรณ์เลนส์ ตรวจสอบด ้วยว่ามีเลนส์รวมอยูค
่ รบ
 คูม
่ อื การใช ้งานเลนส์อาจมีให ้ตามชนิดของชุดอุปกรณ์เลนส์
 ควรระมัดระวังอย่าให ้อุปกรณ์ตามรายการข ้างต ้นสูญหาย

3
คูม ื การใชง้ านและ CD-ROM
่ อ
คูม ื การใช ้งานประกอบด ้วยหนั งสือเล่มเล็ก และคูม
่ อ ่ อ
ื อิเล็กทรอนิกส์ (ไฟล์ PDF
ใน CD-ROM) หน ังสือเป็นคูม ่ อ
ื การใช้งานเบือ ้ งต้น สําหร ับวิธก
ี ารใช้งาน
อย่างละเอียด โปรดดูคม ู่ อ
ื การใช้งานกล้องบน CD-ROM

คูม
่ อ
ื การใช้งานเบือ้ งต้นของกล้อง
่ ั Wi-Fi/NFC
และฟังก์ชน

CD-ROM คูม ่ อ ื การใช้งานกล้อง


ประกอบด ้วยคูม ่ อ ื ต่อไปนี้ (ไฟล์ PDF):
• คูม
่ อ ื การใช ้งานกล ้อง
• คูม่ อ ื การใช ้งานฟั งก์ชน ั่ Wi-Fi/NFC
• คูม ่ อ ื อ ้างอิงอย่างรวดเร็ว
วิธก
ี ารดู CD-ROM คูม ื การใช ้งานกล ้องอยูใ่ นหน ้า 398-399
่ อ

EOS DIGITAL Solution Disk (CD-ROM ซอฟต์แวร์)


ประกอบด ้วยซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์การแก ้ไขภาพและคูม ่ อ

การใช ้งานซอฟต์แวร์ (ไฟล์ PDF)
สําหรับขัน้ ตอนการติดตัง้ และข ้อมูลเพิม ่ เติมเกีย
่ วกับซอฟต์แวร์
โปรดดูหน ้า 402-403
วิธก
ี ารดูคม ื การใช ้งานซอฟต์แวร์อยูใ่ นหน ้า 404
ู่ อ

4
การ์ดทีร่ องร ับ
กล ้องสามารถใช ้การ์ดต่อไปนีไ้ ด ้โดยไม่จํากัดความจุของการ์ด: หากการ์ดที่
ใช้เป็นการ์ดใหม่หรือเคยฟอร์แมตโดยใช้กล้องต ัวอืน ่ หรือคอมพิวเตอร์
ควรฟอร์แมตการ์ดด้วยกล้องนีก ้ อ
่ น (น.59)
• เมมโมรีก
่ าร์ด SD
• เมมโมรีก่ าร์ด SDHC*
• เมมโมรีก ่ าร์ด SDXC*
* รองรับการ์ด UHS-I

การ์ดทีส
่ ามารถบ ันทึกภาพเคลือ
่ นไหว
เมือ
่ ทําการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ควรใช้การ์ด SD ทีม ่ คี วามจุสงู ในระด ับ
SD Speed Class 6 “ ” หรือสูงกว่า
 หากคุณใช ้การ์ดทีม ่ คี วามเร็วในการเขียนตํา่ ขณะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ภาพ
เคลือ
่ นไหวอาจบันทึกได ้ไม่สมบูรณ์ เช่นเดียวกัน หากคุณเล่นภาพเคลือ ่ นไหว
จากการ์ดทีม ่ ค
ี วามเร็วในการอ่านตํา่ ภาพเคลือ ่ นไหวอาจเล่นได ้ไม่สมบูรณ์
 หากคุณต ้องการถ่ายภาพนิง่ ในระหว่างทีถ ่ า่ ยภาพเคลือ่ นไหวด ้วย คุณจําเป็ น
จะต ้องใช ้การ์ดทีม
่ คี วามเร็วสูงขึน

 ในการตรวจสอบความเร็วในการอ่าน/การเขียนของการ์ด โปรดดูข ้อมูลจาก
เวปไซต์ของผู ้ผลิตการ์ด

ในคูม
่ อ
ื นี้ “การ์ด” หมายถึง เมมโมรีก ่ าร์ด SD, เมมโมรีก
่ าร์ด SDHC และ
เมมโมรีก่ าร์ด SDXC
* กล้องไม่มก ี าร์ดสําหร ับบ ันทึกภาพถ่าย/ภาพเคลือ ่ นไหวมาให้
โปรดซือ ้ การ์ดต่างหาก

5
คูม
่ อ ่ ต้นใชง้ านอย่างรวดเร็ว
ื เริม
ใส่แบตเตอรี่ (น.36)
1 ชาร์จแบตเตอรี่ โปรดดูหน ้า 34

ใส่การ์ด (น.37)
2 หันฉลากของการ์ดไปทางด ้าน
หลังของกล ้อง แล ้วเสียบลงใน
ช่องจนสุด

ติดเลนส ์ (น.45)
3
จุดสีขาว จุดสีแดง

จัดตําแหน่งจุดชีเ้ มาท์สข
ี าวหรือสีแดง
ของเลนส์ให ้ตรงกับจุดชีเ้ มาท์สเี ดียวกัน
บนกล ้อง

ปร ับสวิตซเ์ ลือกโหมดโฟก ัสของ


4 เลนสไ์ ปที่ <f> (น.45)

ปร ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่


5 <1> จากนนปร ั้ ับปุ่มโหมดไปที่
<A> (ฉากอ ัตโนม ัติอ ัจฉริยะ)
(น.66)
กล ้องจะปรับการตัง้ ค่าต่างๆ ทีจ
่ ําเป็ น
โดยอัตโนมัต ิ

6
คูม
่ อ ่ ต ้นใช ้งานอย่างรวดเร็ว
ื เริม

พลิกจอ LCD ออกมา (น.39)


6 เมือ
่ จอ LCD แสดงหน ้าจอการตัง้ ค่าวันที/่
เวลา/โซน โปรดดูหน ้า 42

โฟก ัสไปย ังว ัตถุ (น.50)


7 มองผ่านช่องมองภาพและเล็งให ้ตําแหน่ง
กลางช่องมองภาพตรงกับวัตถุ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ และกล ้องจะ
ทําการโฟกัสทีว่ ต
ั ถุ
แฟลชในตัวกล ้องจะทํางาน หากมีความ
จําเป็ น

ถ่ายภาพ (น.50)
8 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ

ดูภาพ
9 ภาพทีถ่ า่ ยจะแสดงบนจอ LCD เป็ นเวลา
ประมาณ 2 วินาที
หากต ้องการแสดงภาพอีกครัง้ ให ้กดปุ่ ม
<x> (น.97)

 สําหรับการถ่ายภาพด ้วยการมองจอ LCD โปรดดู “การถ่ายภาพแบบ Live


View” (น.191)
 สําหรับการดูภาพทีถ
่ า่ ย โปรดดู “การเล่นภาพ” (น.97)
 สําหรับการลบภาพ โปรดดู “การลบภาพ” (น.304)

7

สญล ักษณ์ทใี่ ชใ้ นคูม ื นี้
่ อ
ไอคอนในคูม ื นี้
่ อ
<6> : หมายถึง ปุ่ มหมุนหลัก
<W><X><Y><Z> : หมายถึง ปุ่ มเลือ
่ น <S> ไปทางด ้านบน ด ้านล่าง
ด ้านซ ้าย และด ้านขวา
<0> : หมายถึง ปุ่ มปรับการตัง้ ค่า
0, 9, 7, 8 ั่ จะยังคงทํางานเป็ นเวลา
: หมายถึง แต่ละฟั งก์ชน
4, 6, 10 หรือ 16 วินาที หลังจากทีค่ ณ
ุ ปล่อยนิว้
ออกจากปุ่ ม
* ในคูม
่ อ
ื นี้ ไอคอนและสัญลักษณ์ทแ
ี่ สดงปุ่ มของกล ้อง ตัวควบคุม และการปรับตัง้ ค่าต่างๆ
จะตรงกับไอคอนและสัญลักษณ์บนตัวกล ้องและบนจอ LCD

3 ั่ นัน
: หมายถึงฟั งก์ชน ้ สามารถปรับเปลีย
่ นการตัง้ ค่าได ้โดยการกดปุ่ ม
<M>
J ั่ นัน
: หากแสดงตรงด ้านบนขวาของหน ้า หมายถึงฟั งก์ชน ้ ใช ้ได ้
เฉพาะในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ (น.30)
(น.**) : อ ้างอิงหมายเลขของหน ้าทีม
่ ข
ี ้อมูลเพิม
่ เติม
: คําเตือนเพือ
่ ป้ องกันปั ญหาในการถ่ายภาพ
: ข ้อมูลเสริม
: เคล็ดลับหรือคําแนะนํ าสําหรับการถ่ายภาพให ้ดียงิ่ ขึน

: คําแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

้ งต้น
สมมติฐานเบือ
การทํางานทัง้ หมดทีอ ่ ธิบายในคูม
่ อื นี้ ถือว่าสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องอยูท
่ ี่ <1>
(น.40)
ถือว่าการตัง้ ค่าเมนูทัง้ หมด การตัง้ ค่าระบบส่วนตัว และอืน ่ ๆ ถูกกําหนดไว ้ทีค
่ า่
มาตรฐานของกล ้อง
ภาพประกอบเพือ ่ เป็ นตัวอย่างในคูม่ อื นี้ แสดงกล ้องทีต ่ ด
ิ เลนส์ EF-S18-55mm
f/3.5-5.6 IS STM

8
บทในคูม
่ อ

บทนํา 2

1 ่ ต้นใชง้ าน
การเริม 33

2 การถ่ายภาพขนพื
ั้ น้ ฐานและการเล่นภาพ 65

3 การตงค่
ั้ าโฟก ัสอ ัตโนม ัติและโหมดข ับเคลือ
่ น 99

4 การตงค่
ั้ าภาพ 115

5 การทํางานขนสู
ั้ ง 147

้ ฟลช
การถ่ายภาพแบบใชแ 165
6
7 การถ่ายภาพโดยใชจ้ อ LCD (การถ่ายภาพแบบ Live View) 191

8 การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว 221

9 คุณสมบ ัติทม
ี่ ป
ี ระโยชน์ 255

10 การเล่นภาพ 277

11 การปร ับปรุงภาพในภายหล ัง 311

12 การพิมพ์ภาพ 319

13 การปร ับตงกล้
ั้ อง 335

14 อ้างอิง 347

การดูคม ื การใชง้ านใน CD-ROM /


ู่ อ 397
15 การดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์

9
สารบ ัญอย่างย่อ
การถ่ายภาพ
 ถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติ  น.65-96 (โหมดการถ่ายภาพพืน้ ฐาน)
 ถ่ายภาพแบบต่อเนือ
่ ง  น.112 (i การถ่ายภาพต่อเนือ่ ง)
 ถ่ายภาพต ัวเองก ับเพือ
่ นๆ  น.114 (j การตัง้ เวลา)
 ภาพถ่ายทีห
่ ยุดการเคลือ่ นไหว  น.150 (s ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์)
 ภาพแอ็ คช ันทีแ
่ สดงการเคลือ
่ นไหว
 ถ่ายภาพให้ฉากหล ังดูนม
ุ่ นวล  น.72 (C อัตโนมัตแิ บบสร ้างสรรค์)
 ถ่ายภาพให้ฉากหล ังคมช ัด  น.152 (f ระบุคา่ รูรับแสง)
 ปร ับความสว่างของภาพ (ค่าแสง)  น.159 (การชดเชยแสง)
 ถ่ายภาพในสภาวะแสงน้อย  น.66, 166 (D การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลช)
น.122 (การปรับความไวแสง ISO)
 ถ่ายภาพแบบไม่ใช้แฟลช  น.71 (7 ปิ ดแฟลช)
น.89 (b ปิ ดแฟลช)
 ถ่ายภาพพลุตอนกลางคืน  น.156 (ชัตเตอร์ B)
 ถ่ายภาพในขณะทีม
่ องภาพผ่านจอ LCD  น.191 (A การถ่ายภาพแบบ Live View)
 ใช้ฟิลเตอร์สร้างสรรค์  น.200 (ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์)
 ถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว  น.221 (k การถ่ายภาพเคลือ่ นไหว)

คุณภาพของภาพ
 ถ่ายภาพโดยใช้เอฟเฟคให้เหมาะก ับล ักษณะของว ัตถุ  น.125 (รูปแบบภาพ)
 พิมพ์ภาพทีต
่ อ
้ งการในขนาดใหญ่  น.116 (73, 83, 1)

10
 ต้องการถ่ายภาพเป็นจํานวนมาก  น.116 (7a, 8a, b, c)

AF (การโฟก ัส)
 เปลีย ้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติ  น.104 (S โหมดเลือกพืน้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต)ิ
่ นโหมดเลือกพืน
 ถ่ายภาพสิง่ ทีเ่ คลือ
่ นที่  น.79, 81, 102 (AI Servo AF)

เล่นภาพ
 ดูภาพทีถ
่ า่ ยบนกล้อง  น.97 (x การเล่นภาพ)
 ค้นหาภาพทีต
่ อ
้ งการด้วยความรวดเร็ว  น.278 (H การแสดงภาพแบบดัชนี)
น.279 (I การเรียกดูภาพ)
 ให้คะแนนภาพ  น.284 (การให ้คะแนน)
 ป้องก ันภาพทีส่ ําค ัญ  น.302 (K การป้ องกันภาพ)
ไม่ให้ถกู ลบโดยไม่ได้ตงใจ
ั้
 ลบภาพทีไ่ ม่ตอ
้ งการ  น.304 (L การลบภาพ)
 เล่นภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวโดยอ ัตโนม ัติ  น.294 (สไลด์โชว์)
 ดูภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวบนจอโทรท ัศน์  น.298 (วิดโี อออก)
 ปร ับความสว่างจอ LCD  น.258 (ความสว่างจอ LCD)
 ใช้เอฟเฟคพิเศษก ับภาพถ่าย  น.312 (ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์)

การพิมพ์
 พิมพ์ภาพด้วยวิธงี า
่ ยๆ  น.319 (การพิมพ์ภาพจากกล ้องโดยตรง)

11
ด ัชนีแสดงคุณสมบ ัติ
พล ังงาน โฟก ัสอ ัตโนม ัติ
แบตเตอรี่ การโฟก ัสอ ัตโนม ัติ  น.100
• การชาร์จ  น.34 โหมดเลือกพืน ้ ที่ AF  น.104
• การใส่และการถอด  น.36 การเลือกจุดโฟก ัส  น.106
• ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่  น.41 การโฟก ัสด้วยตนเอง  น.111
• ตรวจสอบข ้อมูล
แบตเตอรี่  น.348 การข ับเคลือ
่ น
ปลก
๊ ั ไฟภายในบ้าน  น.349 โหมดข ับเคลือ
่ น  น.112
ปิ ดกล้องอ ัตโนม ัติ  น.40 การตงเวลา
ั้  น.114
จํานวนภาพต่อเนือ
่ งสูงสุด  น.118
การ์ด
การใส่และการถอด  น.37 คุณภาพของภาพ
การฟอร์แมต  น.59 คุณภาพในการบ ันทึกภาพ  น.116
่ ั ัตเตอร์ขณะไม่มก
ลนช ี าร์ด  น.256 รูปแบบภาพ  น.125
สมดุลแสงขาว  น.132
เลนส์
ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ  น.136
ติด/ถอด  น.45
ลดจุดรบกวนจากการ
การซูม  น.46 เปิ ดช ัตเตอร์นาน  น.138
่ั
ระบบลดภาพสน  น.48 ลดจุดรบกวนจาก
การตงค่ ้ งต้น
ั้ าเบือ ความไวแสง ISO สูง  น.137
แก้ไขความคลาดเคลือ่ นของเลนส์ น.140
การปร ับแก้สายตา  น.49
ลดแสงวูบวาบ  น.144
ภาษา  น.44
เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง  น.339
ว ันที/่ เวลา/โซน  น.42
พิก ัดสี  น.146
เสียงเตือน  น.256
การถ่ายภาพ
จอ LCD
โหมดการถ่ายภาพ  น.30
ใช้จอ LCD  น.39
คําแนะนําคุณสมบ ัติ  น.64
ปิ ด/เปิ ดจอ LCD  น.270
ความไวแสง ISO  น.122
ปร ับความสว่าง  น.258
อ ัตราส่วนภาพ  น.120
หน้าจอส ัมผ ัส  น.56
ช ัตเตอร์ B  น.156
การบ ันทึกภาพ โหมดว ัดแสง  น.157
สร้าง/เลือกโฟลเดอร์  น.259 ้  น.163
ถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน
การตงหมายเลขไฟล์
ั้ ภาพ  น.261 รีโมทคอนโทรล  น.350

12
ดัชนีแสดงคุณสมบัต ิ

การปร ับค่าแสง การเล่นภาพ


การชดเชยแสง  น.159 ระยะเวลาแสดงภาพ  น.257
การถ่ายภาพคร่อม  น.160 การแสดงภาพทีละภาพ  น.97
การล็อค AE  น.162 การแสดงข้อมูล
การถ่ายภาพ  น.306
แฟลช
การแสดงภาพแบบด ัชนี  น.278
แฟลชในต ัวกล้อง  น.166
เลือกดูภาพ (ข้ามภาพ)  น.279
แฟลชภายนอก  น.171
การดูภาพแบบขยาย  น.280
ตงค่
ั้ าระบบแฟลช  น.173
หมุนภาพ  น.283
ถ่ายภาพแบบไร้สาย  น.179
การให้คะแนน  น.284
การถ่ายภาพแบบ Live View การเล่นภาพเคลือ
่ นไหว  น.290
การถ่ายภาพแบบ Live View  น.191 สไลด์โชว์  น.294
วิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ  น.206 ดูภาพบนเครือ
่ งร ับ
AF ต่อเนือ่ ง  น.204 โทรท ัศน์  น.298
ช ัตเตอร์แบบแตะ  น.214 การป้องก ัน  น.302
ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์  น.200 การลบ  น.304

การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว การแก้ไขภาพ
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว  น.221 ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์  น.312
วิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ  น.206 การปร ับขนาด  น.315
ขนาดการบ ันทึกภาพ ครอบต ัด  น.317
เคลือ
่ นไหว  น.233
การพิมพ์  น.322
Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว  น.248
การบ ันทึกเสียง  น.251 ผูใ้ ช้กา
ํ หนดเอง
การตงค่
ั้ าระด ับแสง การตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn) น.336
ด้วยตนเอง  น.225 เมนูสว ่ นต ัว  น.346
การถ่ายภาพนิง่  น.230
ภาพเคลือ ่ นไหวเอฟเฟค ซอฟต์แวร์  น.397
กล้องรูเข็ม  น.236
่ ั Wi-Fi/NFC
ฟังก์ชน
Video snapshot  น.238  คูม
่ อ ่ั
ื การใช้งานฟังก์ชน
Wi-Fi/NFC

13
้ หา
เนือ
บทนํา 2
รายการอุปกรณ์ ............................................................................. 3
คูม
่ อ ื การใช ้งานและ CD-ROM .......................................................... 4
การ์ดทีร่ องรับ ............................................................................... 5
คูม่ อ ่ ต ้นใช ้งานอย่างรวดเร็ว ......................................................... 6
ื เริม
สัญลักษณ์ทใี่ ช ้ในคูม ่ อ
ื นี้.................................................................. 8
บทในคูม ่ อ
ื ................................................................................... 9
สารบัญอย่างย่อ .......................................................................... 10
ดัชนีแสดงคุณสมบัต ิ .................................................................... 12
เนือ ้ หา ...................................................................................... 14
ข ้อควรระวังด ้านความปลอดภัย ....................................................... 20
ข ้อควรระวังในการใช ้งาน............................................................... 23
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง .................................................................... 26

1 ่ ต้นใชง้ าน
การเริม 33
การชาร์จแบตเตอรี.่ ...................................................................... 34
การใส่และถอดแบตเตอรี.่ .............................................................. 36
การใส่และถอดการ์ด .................................................................... 37
การใช ้จอ LCD............................................................................ 39
การเปิ ดสวิตซ์กล ้อง ..................................................................... 40
การตัง้ ค่าวันที่ เวลา และโซนเวลา................................................... 42
การเลือกภาษาทีใ่ ช ้แสดง.............................................................. 44
การติดและถอดเลนส์ ................................................................... 45
เลนส์ทม ี่ รี ะบบลดภาพสัน ่ .............................................................. 48
การทํางานขัน ้ พืน
้ ฐาน ................................................................... 49
Q การควบคุมฟั งก์ชน ั่ การถ่ายภาพแบบทันใจ................................... 51
3 การทํางานของเมนู ............................................................. 53
d การใช ้หน ้าจอสัมผัส ................................................................. 56
การฟอร์แมตการ์ด ....................................................................... 59
การปรับเปลีย ่ นการแสดงผลของจอ LCD .......................................... 61
lการแสดงตาราง ..................................................................... 62
การแสดงการตรวจจับแสงวูบวาบ .................................................... 63
คําแนะนํ าคุณสมบัต ิ ..................................................................... 64

14
เนือ
้ หา

2 การถ่ายภาพขนพื
ั้ น้ ฐานและการเล่นภาพ 65
A การถ่ายภาพแบบอัตโนมัต ิ (ฉากอัตโนมัตอ ิ จ
ั ฉริยะ) ....................... 66
A เทคนิคการถ่ายภาพแบบอัตโนมัต ิ (ฉากอัตโนมัตอ ิ จ
ั ฉริยะ).............. 69
7 การปิ ดใช ้งานแฟลช ............................................................... 71
C การถ่ายภาพอัตโนมัตแ ิ บบสร ้างสรรค์.......................................... 72
2 การถ่ายภาพบุคคล.................................................................. 76
3 การถ่ายภาพวิว ...................................................................... 77
4 การถ่ายภาพระยะใกล ้.............................................................. 78
5 การถ่ายภาพวัตถุทก ี่ ําลังเคลือ
่ นที่ .............................................. 79
8: โหมดฉากพิเศษ ................................................................ 80
C การถ่ายภาพเด็ก ..................................................................... 81
P การถ่ายภาพอาหาร.................................................................. 82
x การถ่ายภาพบุคคลใต ้แสงเทียน ................................................. 83
6 การถ่ายภาพบุคคลในเวลากลางคืน (ด ้วยขาตัง้ กล ้อง)..................... 84
F การถ่ายภาพฉากกลางคืน (มือถือกล ้อง) ...................................... 85
G การถ่ายภาพฉากย ้อนแสง ........................................................ 86
Q การควบคุมทันใจ ................................................................... 88
ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ .................................................... 90
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ..................................................... 94
x การเล่นภาพ ......................................................................... 97

3 การตงค่
ั้ าโฟก ัสอ ัตโนม ัติและโหมดข ับเคลือ
่ น 99
f: การปรับเปลีย ่ นการทํางานของระบบออโต ้โฟกัส ........................ 100
S การเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตแ ิ ละจุดโฟกัสอัตโนมัต ิ .................... 104
โหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ .................................................... 107
วัตถุทย
ี่ ากต่อการโฟกัส ............................................................... 110
MF: โฟกัสด ้วยตนเอง .............................................................. 111
i การเลือกโหมดขับเคลือ ่ น....................................................... 112
j การใช ้การตัง้ เวลา................................................................. 114

4 การตงค่
ั้ าภาพ 115
การตัง้ ค่าคุณภาพในการบันทึกภาพ ............................................... 116
การปรับเปลีย ่ นอัตราส่วนของภาพ ................................................. 120
g: การปรับความไวแสง ISO ให ้เหมาะสมกับแสง ......................... 122
15
เนือ
้ หา

A การเลือกรูปแบบภาพ.......................................................... 125
A การกําหนดรูปแบบภาพเอง .................................................. 127
A การบันทึกรูปแบบภาพ ........................................................ 130
B: การปรับสีของภาพตามแหล่งกําเนิดแสง (สมดุลแสงขาว) .......... 132
u การปรับแก ้โทนสีสําหรับแหล่งกําเนิดแสง .................................. 134
การปรับความสว่างและความเปรียบต่างโดยอัตโนมัต ิ
(ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต)ิ ....................................................... 136
การตัง้ ค่าลดจุดรบกวน................................................................ 137
การแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพและความคลาดเคลือ ่ นของเลนส์..... 140
การลดแสงวูบวาบ ..................................................................... 144
การตัง้ ค่าช่วงการปรับค่าการแสดงสี (พิกด ั สี) ................................... 146

5 การทํางานขนสู
ั้ ง 147
d: โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต .ิ .................................................. 148
s: การสือ ่ ถึงการเคลือ่ นทีข
่ องวัตถุ (ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์) ........... 150
f: การปรับเปลีย ่ นช่วงความชัด (ระบุคา่ รูรับแสง) .......................... 152
การเช็คระยะชัดลึก .................................................................. 154
a: การตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง................................................ 155
q การปรับเปลีย ่ นโหมดวัดแสง (โหมดวัดแสง) .............................. 157
การตัง้ ค่าการชดเชยแสง (ชดเชยแสง)........................................... 159
การถ่ายภาพคร่อมการเปิ ดรับแสงอัตโนมัต ิ (AEB) ............................. 160
A การล็อคการเปิ ดรับแสง (ล็อค AE) ........................................... 162
การถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ้ เพือ
่ ลดกล ้องสัน ่ ............................... 163

6 ้ ฟลช
การถ่ายภาพแบบใชแ 165
D การใช ้แฟลชในตัวกล ้อง.......................................................... 166
D การใช ้ Speedlite ภายนอก ...................................................... 171
การตัง้ ค่าแฟลช ........................................................................ 173
การใช ้แฟลชแบบไร ้สาย ............................................................. 179
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายอย่างง่าย...................................... 182
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีก ่ ําหนดเอง ................................. 185

7 ้ อ LCD (การถ่ายภาพแบบ Live View) 191


การถ่ายภาพโดยใชจ
A การถ่ายภาพโดยใช ้จอ LCD ................................................... 192
ั่ ในการถ่ายภาพ ................................................... 198
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน
16
เนือ
้ หา

U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ ....................................................... 200


ั่ ของเมนู ............................................................ 204
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ ......................... 206
x การถ่ายภาพโดยใช ้ชัตเตอร์แบบแตะ........................................ 214
MF: การโฟกัสด ้วยตนเอง ........................................................... 216

8 การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว 221
k การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ........................................................ 222
การถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงอัตโนมัต ิ .......................................... 222
การถ่ายภาพแบบตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง .................................. 225
การถ่ายภาพนิง่ ...................................................................... 230
ั่ ในการถ่ายภาพ ................................................... 232
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน
การตัง้ ค่าขนาดการบันทึกภาพเคลือ ่ นไหว ....................................... 233
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม................................ 236
การถ่าย Video Snapshot ........................................................... 238
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ของเมนู ............................................................ 248

9 คุณสมบ ัติทม
ี่ ป
ี ระโยชน์ 255
คุณสมบัตท ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์ ............................................................... 256
การปิ ดเสียงเตือน.................................................................... 256
การเตือนการ์ด ....................................................................... 256
การตัง้ ระยะเวลาแสดงภาพ........................................................ 257
การตัง้ เวลาปิ ดสวิตซ์อต ั โนมัต ิ .................................................... 257
การปรับความสว่างจอ LCD ....................................................... 258
การสร ้างและการเลือกโฟลเดอร์ ................................................. 259
วิธก
ี ารตัง้ หมายเลขไฟล์ภาพ...................................................... 261
การกําหนดข ้อมูลลิขสิทธิข ์ องภาพ .............................................. 263
การหมุนภาพแนวตัง้ โดยอัตโนมัต ิ ............................................... 265
B: การตรวจสอบการตัง้ ค่าของกล ้อง...................................... 266
การปรับตัง้ กล ้องให ้กลับสูค ่ า่ เริม
่ ต ้น............................................. 267
การตัง้ ค่าปิ ด/เปิ ดจอ ................................................................ 270
การปรับเปลีย ่ นสีของหน ้าจอตัง้ ค่าการถ่ายภาพ .............................. 270

17
เนือ
้ หา

f การทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอัตโนมัต ิ ............................... 271


การผนวกข ้อมูลการลบภาพฝุ่ น ..................................................... 272
การทําความสะอาดเซนเซอร์ด ้วยตนเอง ......................................... 274

10 การเล่นภาพ 277
x การค ้นหาภาพอย่างรวดเร็ว .................................................... 278
u/y การดูภาพแบบขยาย......................................................... 280
d การเล่นภาพโดยใช ้หน ้าจอสัมผัส .............................................. 281
b การหมุนภาพ ....................................................................... 283
การตัง้ ค่าการให ้คะแนน............................................................... 284
Q การควบคุมทันใจขณะเล่นภาพ ................................................ 286
k การเพลิดเพลินกับภาพเคลือ ่ นไหว........................................... 288
k การเล่นภาพเคลือ ่ นไหว ........................................................ 290
X การแก ้ไขฉากแรกและฉากสุดท ้ายของภาพเคลือ ่ นไหว ................. 292
สไลด์โชว์ (การเล่นภาพอัตโนมัต)ิ ................................................. 294
การดูภาพบนเครือ ่ งรับโทรทัศน์ .................................................... 298
K การป้ องกันภาพ ................................................................... 302
L การลบภาพ ......................................................................... 304
B: การแสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ .............................................. 306

11 การปร ับปรุงภาพในภายหล ัง 311


U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ ....................................................... 312
S การปรับขนาดภาพ JPEG ....................................................... 315
N การครอบตัดภาพ JPEG ......................................................... 317

12 การพิมพ์ภาพ 319
การเตรียมพิมพ์ ......................................................................... 320
w การพิมพ์ ........................................................................... 322
การครอบตัดภาพ .................................................................... 327
W รูปแบบคําสัง่ พิมพ์ระบบดิจต ิ อล (DPOF) ................................... 329
W การพิมพ์ภาพโดยตรงด ้วยคําสัง่ พิมพ์ ........................................ 332
p การกําหนดภาพทีต ่ ้องการใช ้ทําโฟโต ้บุค ๊ .................................... 333

18
เนือ
้ หา

13 การปร ับตงกล้
ั้ อง 335
การปรับการตัง้ ค่าระบบส่วนตัว ...................................................... 336
การตัง้ ค่าระบบส่วนตัว ................................................................ 338
C.Fn I : ระดับแสง ................................................................ 338
C.Fn II : ภาพ ...................................................................... 339
C.Fn III : โฟกัสอัตโนมัต/ิ ขับเคลือ ่ น .......................................... 340
C.Fn IV : การใช ้งาน/อืน ่ ๆ........................................................ 343
การบันทึกเมนูสว่ นตัว ................................................................. 346

14 อ้างอิง 347
การตรวจสอบข ้อมูลแบตเตอรี.่ ...................................................... 348
การใช ้พลังงานจากปลั๊กไฟภายในบ ้าน ........................................... 349
การถ่ายภาพด ้วยรีโมทคอนโทรล .................................................. 350
H การใช ้การ์ด Eye-Fi .............................................................. 352
ตารางแสดงฟั งก์ชน ั่ ทีใ่ ช ้งานได ้ตามโหมดการถ่ายภาพ ...................... 354
แผนผังระบบอุปกรณ์ .................................................................. 360
การตัง้ ค่าเมนู ............................................................................ 362
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา ....................................................... 369
รหัสข ้อผิดพลาด ....................................................................... 382
ข ้อควรระวังในการใช ้งาน: เลนส์ STM (เลนส์ในชุดอุปกรณ์) ............... 383
ข ้อมูลจําเพาะ ........................................................................... 384

15 การดูคม ื การใชง้ านใน CD-ROM /


ู่ อ
การดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์ 397
การดู CD-ROM คูม ื การใช ้งานกล ้อง ............................................ 398
่ อ
การดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์ ........................................... 400
ภาพรวมของซอฟต์แวร์ ............................................................... 402
การติดตัง้ ซอฟต์แวร์ ................................................................... 403
คูม ื การใช ้งานซอฟต์แวร์ ............................................................ 404
่ อ
ดัชนี ....................................................................................... 405

19
ข้อควรระว ังด้านความปลอดภ ัย
ข ้อควรระวังต่อไปนีม้ ไี ว ้เพือ
่ ป้ องกันอันตรายหรือการบาดเจ็บต่อตัวคุณและผู ้อืน ่
โปรดแน่ใจว่าได ้เข ้าใจและปฏิบัตต ิ ามข ้อควรระวังต่อไปนีก ่ นทําการใช ้งาน
้ อ
ผลิตภัณฑ์
หากคุณตรวจพบการทํางานผิดปกติ ปัญหา หรือความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้
ก ับผลิตภ ัณฑ์ โปรดติดต่อศูนย์บริการของแคนนอนใกล้บา้ นหรือต ัวแทน
จําหน่ายทีค ่ ณ
ุ ทําการซือ ้ ผลิตภ ัณฑ์นด ี้ ว้ ย

โปรดปฏิบ ัติตามคําเตือนด้านล่างนี้ มิฉะนน


ั้ อาจส่งผลต่อ
คําเตือน ชีวต
ิ หรือการบาดเจ็บอย่างรุนแรง
 เพือ ่ ป้ องกันการเกิดไฟไหม ้ ความร ้อนสูง การรั่วซึมของสารเคมี การระเบิด และไฟฟ้ าช๊อต
โปรดปฏิบต ั ติ ามคําแนะนํ าด ้านล่างนี:้
• ห ้ามใช ้แบตเตอรี่ แหล่งพลังงาน หรืออุปกรณ์เสริมใดๆ ทีไ่ ม่ได ้ระบุไว ้ในคูม ่ อื การใช ้งานนี้
ห ้ามใช ้แบตเตอรีท ่ ท ี่ ําขึน
้ เองหรือทีม ่ ก ี ารดัดแปลง
• ห ้ามลัดสายไฟฟ้ า ถอดแยกชิน ้ ส่วน หรือดัดแปลงแบตเตอรี่ ห ้ามใช ้ความร ้อนหรือทําการ
บัดกรีแบตเตอรี่ ห ้ามให ้แบตเตอรีส ่ ม ั ผัสกับเปลวไฟหรือโดนนํ้ า ห ้ามให ้แบตเตอรีไ่ ด ้รับการ
กระแทกอย่างรุนแรง
• ห ้ามใส่แบตเตอรีข ่ วั ้ บวกและลบผิดด ้าน
• ห ้ามชาร์จแบตเตอรีใ่ นทีท ่ มี่ อ
ี ณุ หภูมอ ิ ยูภ่ ายนอกช่วงอุณหภูมแ ิ วดล ้อมทีก
่ ําหนด และห ้ามชาร์จ
แบตเตอรีเ่ กินเวลาทีร่ ะบุไว ้ในคูม ื การใช ้งาน
่ อ
• ห ้ามสอดใส่วต ั ถุแปลกปลอมทีเ่ ป็ นโลหะตรงส่วนทีม ่ จ
ี ด
ุ สัมผัสอิเล็กทรอนิกส์ของกล ้อง อุปกรณ์
เสริม ช่องเสียบสายเชือ ่ มต่อ เป็ นต ้น
 เมือ่ ต ้องการทิง้ แบตเตอรี่ ให ้ปิ ดฉนวนตรงขัว้ ไฟฟ้ าด ้วยเทป เพือ ่ ป้ องกันการสัมผัสกับวัตถุทเี่ ป็ น
โลหะหรือแบตเตอรีก ่ ้อนอืน ่ ซึง่ เป็ นการป้ องกันไฟไหม ้หรือการระเบิด
 หากเกิดความร ้อนสูง มีควัน หรือกลิน ่ ออกมาในระหว่างการชาร์จแบตเตอรี่ ให ้ถอดปลั๊กแท่น
ชาร์จแบตเตอรีอ ่ อกจากเต ้ารับทันทีเพือ ่ หยุดชาร์จ มิฉะนัน ้ อาจทําให ้เกิดไฟไหม ้ ความเสียหาย
จากความร ้อน หรือไฟฟ้ าช๊อตได ้
 หากแบตเตอรีเ่ กิดการรั่วซึม มีการเปลีย ่ นสี รูปทรง หรือมีควันและกลิน ่ ให ้ถอดออกทันที และ
ระวังความร ้อนในขณะสัมผัสก ้อนแบตเตอรีด ่ ้วย หากคุณยังคงทําการใช ้งานต่อไป อาจทําให ้เกิด
ไฟไหม ้ ไฟฟ้ าช๊อต หรือผิวหนังไหม ้พองได ้
 ป้ องกันอย่าให ้สารทีร่ ั่วซึมจากก ้อนแบตเตอรีส ั ผัสกับดวงตา ผิวหนั ง และเสือ
่ ม ้ ผ ้า เพราะอาจทํา
ให ้ตาบอดหรือเป็ นอันตรายต่อผิวหนั ง หากสารเกิดสัมผัสกับดวงตา ผิวหนัง หรือเสือ ้ ผ ้า ให ้ล ้าง
บริเวณนัน ้ ด ้วยนํ้ าสะอาดโดยไม่ขด ั ถู และรีบไปพบแพทย์ทน ั ที
 ห ้ามวางสายไฟไว ้ใกล ้กับแหล่งกําเนิดความร ้อน เพราะอาจทําให ้สายผิดรูปร่างหรือละลายฉนวน
กันความร ้อน และเป็ นสาเหตุให ้เกิดไฟไหม ้หรือไฟฟ้ าช๊อต
 อย่าจับกล ้องตรงตําแหน่งเดิมเป็ นระยะเวลานาน ถึงแม ้ว่ากล ้องจะไม่ร ้อนมาก การสัมผัสกับตัว
กล ้องส่วนเดิมเป็ นเวลานาน อาจทําให ้ผิวหนังมีผน ื่ แดง เป็ นเม็ดพุพอง หรือเป็ นรอยแผลไหม ้
แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง สําหรับบุคคลทีม ่ ปี ั ญหาระบบไหลเวียนโลหิตหรือผิวหนังทีแ ่ พ ้ง่าย
หรือเมือ ่ ใช ้กล ้องในสถานทีท ่ รี่ ้อนมากๆ
 ห ้ามยิงแฟลชถ่ายภาพผู ้ทีก ่ ําลังขับรถหรือยานพาหนะอืน ่ ๆ เพราะอาจทําให ้เกิดอุบัตเิ หตุได ้

20
ข ้อควรระวังด ้านความปลอดภัย

 ห ้ามยิงแฟลชถ่ายภาพใกล ้ดวงตาคน เพราะอาจทําให ้สายตาเสียได ้ เมือ ่ ใช ้แฟลชถ่ายภาพ


เด็กทารก ควรถ่ายในระยะห่างกว่า 1 เมตร/3.3 ฟุต
 เมือ ่ ไม่ได ้ใช ้งานกล ้องหรืออุปกรณ์เสริม ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าได ้ถอดแบตเตอรีแ ่ ละดึงปลั๊กสาย
ไฟออกจากอุปกรณ์กอ ่ นทําการจัดเก็บ เพือ ่ ป้ องกันไฟฟ้ าช๊อต ความร ้อนสูง ไฟไหม ้ หรือการ
กัดกร่อน
 ห ้ามใช ้อุปกรณ์ในทีม ่ กี า๊ ซไวไฟ เพือ ่ ป้ องกันการระเบิดและไฟไหม ้
 หากคุณทําอุปกรณ์ตกหล่นและแตกหักจนเห็นชิน ้ ส่วนภายใน ห ้ามสัมผัสชิน ้ ส่วนภายในอุปกรณ์
เนือ่ งจากอาจถูกไฟฟ้ าช๊อตได ้
 ห ้ามถอดแยกชิน ้ ส่วนหรือดัดแปลงอุปกรณ์ เพราะชิน ้ ส่วนภายในทีม ่ แ
ี รงดันไฟฟ้ าสูงอาจทําให ้
เกิดไฟฟ้ าช๊อต
 ห ้ามมองไปทีด ่ วงอาทิตย์หรือแหล่งกําเนิดแสงทีส ่ ว่างจ ้าผ่านกล ้องหรือเลนส์ เพราะอาจทําให ้
สายตาเสีย
 เก็บอุปกรณ์ให ้พ ้นมือเด็กและทารก รวมทัง้ ขณะกําลังใช ้งาน เพราะอาจเกิดอุบต ั เิ หตุจากสาย
คล ้องหรือสายไฟรัดพัน ทําให ้หายใจไม่ออก ไฟฟ้ าช๊อต หรือการบาดเจ็บ การหายใจไม่ออกหรือ
บาดเจ็บยังอาจเกิดขึน ้ ได ้เมือ ่ เด็กหรือทารกกลืนส่วนประกอบของกล ้องหรืออุปกรณ์เสริมเข ้าไป
หากเด็กหรือทารกกลืนส่วนประกอบหรืออุปกรณ์เสริมเข ้าไป ให ้รีบพบแพทย์ทน ั ที
 ห ้ามใช ้งานหรือเก็บอุปกรณ์ไว ้ในทีท ่ เี่ ต็มไปด ้วยฝุ่ นหรือมีความชืน ้ รวมถึง ควรปิ ดฝาครอบ
ป้ องกันแบตเตอรีก ่ อ่ นนํ าไปเก็บเพือ ่ ป้ องกันไฟฟ้ าลัดวงจร ซึง่ เป็ นการป้ องกันไฟไหม ้ ความร ้อน
สูง ไฟฟ้ าช๊อต หรือการเผาไหม ้
 ก่อนทีจ ่ ะใช ้กล ้องบนเครือ ่ งบินหรือในโรงพยาบาล ควรตรวจสอบว่ามีการอนุญาตหรือไม่ คลืน ่
แม่เหล็กไฟฟ้ าทีป ่ ล่อยออกมาจากกล ้อง อาจรบกวนอุปกรณ์การบินหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์
ของโรงพยาบาล
 เพือ ่ ป้ องกันไฟไหม ้และไฟฟ้ าช๊อต ให ้ปฏิบต ั ต ิ ามคําแนะนํ าด ้านล่างนี:้
• ควรเสียบปลั๊กไฟเข ้าจนสุดเสมอ
• ห ้ามจับปล๊กไฟในขณะทีม ่ อื เปี ยก
• เมือ ่ ถอดปลั๊กไฟ ให ้จับหัวปลั๊กให ้แน่นและดึงออกโดยไม่ดงึ ทีส ่ าย
• ห ้ามขูดขีด ตัด หรืองอสายไฟมากเกินไป หรือวางของหนั กทับสายไฟ และห ้ามบิดหรือผูก
สายไฟ
• ห ้ามเสียบปลั๊กไฟหลายปลั๊กจนเกินไปทีเ่ ต ้ารับเดียวกัน
• ห ้ามใช ้สายไฟฟ้ าทีส ่ ายชํารุดหรือฉนวนกันความร ้อนเสียหาย
 ถอดปลั๊กไฟออกเป็ นครัง้ คราว และเช็ดฝุ่ นบริเวณเต ้ารับด ้วยผ ้าแห ้ง หากบริเวณรอบๆ เต็มไป
ด ้วยฝุ่ น ความชืน ้ หรือรอยนํ้ ามัน ฝุ่ นบนเต ้ารับอาจเปี ยกชืน ้ และก่อให ้เกิดไฟฟ้ าลัดวงจร ซึง่ เป็ น
สาเหตุของไฟไหม ้
 ห ้ามต่อแบตเตอรีโ่ ดยตรงเข ้ากับเต ้ารับไฟฟ้ าหรือทีจ ่ ดุ บุหรีใ่ นรถยนต์ แบตเตอรีอ ่ าจเกิดการรัว่ ซึม
เกิดความร ้อนสูง หรือระเบิด ซึง่ เป็ นสาเหตุของไฟไหม ้ การเผาไหม ้ หรือการบาดเจ็บ
 หากเด็กใช ้งานผลิตภัณฑ์นี้ ผู ้ปกครองจําเป็ นต ้องให ้คําแนะนํ าเกีย ่ วกับวิธก ี ารใช ้ผลิตภัณฑ์อย่าง
ละเอียด ควบคุมดูแลระหว่างทีเ่ ด็กๆ ใช ้งานผลิตภัณฑ์ การใช ้งานทีไ่ ม่ถก ู ต ้องอาจส่งผลให ้เกิด
ไฟฟ้ าช๊อตหรือการบาดเจ็บ
 ห ้ามทิง้ เลนส์หรือเลนส์ทต ี่ ด
ิ อยูก ่ บ
ั กล ้องไว ้กลางแดดโดยไม่สวมฝาปิ ดหน ้าเลนส์ เพราะเลนส์
อาจรวมแสงอาทิตย์จนเกิดการสะสมความร ้อนและเป็ นสาเหตุให ้เกิดไฟไหม ้
 ห ้ามใช ้ผ ้าคลุมหรือห่อหุ ้มผลิตภัณฑ์นี้ เพราะอาจกักความร ้อนไว ้ภายใน และทําให ้อุปกรณ์ผด ิ
รูปร่างหรือเกิดไฟไหม ้
 ระวังอย่าทําให ้กล ้องเปี ยก หากคุณทํากล ้องตกลงไปในนํ้ า หรือหากนํ้ าหรือโลหะเข ้าไปในกล ้อง
ให ้ถอดแบตเตอรีอ ่ อกทันที เพือ ่ ป้ องกันไฟไหม ้และไฟฟ้ าช๊อต
 ห ้ามใช ้ทินเนอร์ผสมสี เบนซิน หรือสารทีม ่ ตี วั ทําละลายอินทรียใ์ นการทําความสะอาดผลิตภัณฑ์
เพราะอาจทําให ้เกิดไฟไหม ้หรือเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ

21
ข ้อควรระวังด ้านความปลอดภัย

ปฏิบ ัติตามข้อควรระว ังต่อไปนี้ มิฉะนน


ั้ อาจทําให้เกิดการ
ข้อควรระว ัง บาดเจ็บต่อร่างกายหรือความเสียหายต่อทร ัพย์สน ิ

 ห ้ามใช ้งานหรือเก็บผลิตภัณฑ์ไว ้ภายในรถทีจ ่ อดกลางแดดร ้อน หรือใกล ้แหล่งความร ้อน


ผลิตภัณฑ์อาจร ้อนจัดและทําให ้ผิวหนังไหม ้พอง ทัง้ อาจทําให ้แบตเตอรีเ่ กิดการรัว่ ซึมหรือระเบิด
ซึง่ จะลดประสิทธิภาพการทํางานหรือลดอายุการใช ้งานของผลิตภัณฑ์ลง
 ห ้ามโยกย ้ายกล ้องไปมาหากกล ้องติดอยูก ่ บ
ั ขาตัง้ กล ้อง เพราะอาจทําให ้เกิดอุบต ั เิ หตุได ้รับบาดเจ็บ
และควรตรวจสอบให ้แน่ใจว่าขาตัง้ กล ้องนัน ้ แข็งแรงพอทีจ ่ ะรองรับกล ้องและเลนส์
 ห ้ามทิง้ ผลิตภัณฑ์ไว ้ในทีท ่ ม
ี่ อ
ี ณ
ุ หภูมต
ิ ํา่ เป็ นระยะเวลานาน ผลิตภัณฑ์จะเกิดความเย็นและอาจ
ทําให ้เกิดการบาดเจ็บหากสัมผัส
 อย่าเล่นแผ่น CD-ROM ทีใ่ ห ้มาในไดรฟ์ ทีไ่ ม่รองรับการใช ้งานกับ CD-ROM
หากคุณใช ้งานในเครือ ่ งเล่น CD เพลง อาจทําให ้ลําโพงหรือชิน ้ ส่วนอืน
่ ๆ เสียหาย และเมือ ่ คุณ
ใช ้หูฟัง จะมีความเสีย
่ งทีจ ่ ะเกิดการบาดเจ็บกับหูของคุณเนือ ่ งจากระดับเสียงทีด ่ งั เกินไป

22
ข้อควรระว ังในการใชง้ าน
การดูแลร ักษากล้อง
 กล ้องเป็ นอุปกรณ์ทม ี่ ค ี วามละเอียดแม่นยํา อย่าทําตกหรือทําให ้กล ้องโดนกระทบ
กระแทก
 กล ้องนีไ ้ ม่มรี ะบบกันนํ้ าและไม่สามารถใช ้งานใต ้นํ้ าได ้ หากคุณทํากล ้องตกนํ้ าโดย
ไม่ตงั ้ ใจ ให ้ขอคําปรึกษาจากศูนย์บริการของแคนนอนใกล ้บ ้านอย่างทันท่วงที รีบเช็ด
หยดนํ้ าออกด ้วยผ ้าทีส ่ ะอาดและแห ้ง หากกล ้องโดนนํ้ าทะเล ให ้เช็ดด ้วยผ ้าชุบนํ้ า
บิดหมาดๆ
 ห ้ามวางกล ้องทิง้ ไว ้ใกล ้กับสิง่ ทีม ่ สี นามแม่เหล็กแรงสูง เช่น แม่เหล็กหรือมอเตอร์ไฟฟ้ า
และหลีกเลีย ่ งการใช ้งานและวางกล ้องใกล ้กับสิง่ ทีก ่ ระจายคลืน ่ วิทยุความถีส ่ งู เช่น เสา
อากาศขนาดใหญ่ บริเวณทีม ่ ส
ี นามแม่เหล็กแรงสูง อาจทําให ้กล ้องทํางานผิดพลาดหรือ
ทําลายข ้อมูลภาพได ้
 อย่าวางกล ้องไว ้ในทีซ ่ งึ่ มีความร ้อนสูง เช่น ภายในรถทีจ ่ อดไว ้กลางแดด อุณหภูมท ิ ี่
สูงเกินไปอาจทําให ้กล ้องทํางานผิดปกติ
 กล ้องประกอบด ้วยวงจรไฟฟ้ าทีม ่ คี วามละเอียดซับซ ้อน อย่าพยายามแยกชิน ้ ส่วนของ
กล ้องด ้วยตัวเอง
 อย่าปิ ดกัน ้ แสงแฟลชในตัวกล ้องและกระจกสะท ้อนภาพด ้วยนิว้ มือหรือวัตถุอน ื่ การ
กระทําเช่นนัน ้ อาจทําให ้กล ้องทํางานผิดปกติ
 ใช ้ลูกยางเป่ าลมเพือ ่ ขจัดฝุ่ นบนเลนส์ ช่องมองภาพ กระจกสะท ้อนภาพ และฉากปรับ
โฟกัส ห ้ามใช ้นํ้ ายาทีม ่ ต
ี ัวทําละลายอินทรียใ์ นการทําความสะอาดกล ้องหรือเลนส์
สําหรับคราบสกปรกทีเ่ กาะแน่น ให ้นํ ากล ้องไปยังศูนย์บริการของแคนนอนใกล ้บ ้าน
 อย่าใช ้นิว้ มือแตะบริเวณจุดสัมผัสอิเล็กทรอนิกส์ของกล ้อง เพือ ่ ป้ องกันการสึกหรอ
การสึกหรอของจุดสัมผัสอาจทําให ้กล ้องทํางานผิดพลาดได ้
 เมือ่ นํ ากล ้องออกจากห ้องทีเ่ ย็นไปยังห ้องทีอ ่ น
ุ่ ในทันทีทน ั ใด อาจเกิดการควบแน่น
เป็ นหยดนํ้ าหยดเล็กๆ บนกล ้องและชิน ้ ส่วนภายใน เพือ ่ ป้ องกันการควบแน่น ควรนํ า
กล ้องใส่ในถุงพลาสติกปิ ดผนึกและปล่อยให ้ปรับสภาพในทีอ ่ ณุ หภูมส ิ งู กว่าสักครูก ่ อ่ น
นํ ากล ้องออกมา
 หากเกิดการรวมตัวเป็ นไอนํ้ าบนกล ้อง อย่าเพิง่ ใช ้กล ้อง เพือ ่ หลีกเลีย ่ งความเสียหายที่
อาจจะเกิดขึน ้ ให ้ถอดเลนส์ การ์ด และแบตเตอรีอ ่ อกจากกล ้อง และรอจนกว่าไอนํ้ าจะ
ระเหยไปจนหมดก่อนทีจ ่ ะใช ้งานกล ้อง
 หากจะไม่มก ี ารใช ้กล ้องเป็ นระยะเวลานาน ควรถอดแบตเตอรีอ ่ อก และเก็บกล ้องไว ้ใน
ทีแ่ ห ้ง อุณหภูมต ิ ํา่ และมีอากาศถ่ายเทสะดวก ถึงแม ้กล ้องจะถูกจัดเก็บไว ้เรียบร ้อย
ควรนํ ากล ้องออกมาทดลองกดชัตเตอร์บ ้างเป็ นครัง้ คราว เพือ ่ ตรวจสอบว่ากล ้องยังทํางาน
ได ้ตามปกติ

23
ข ้อควรระวังในการใช ้งาน

 หลีกเลีย ่ งการเก็บกล ้องไว ้ในบริเวณทีม ่ สี ารเคมี ซึง่ อาจทําให ้เกิดสนิมและการกัดกร่อน


เช่น ในห ้องแล็บทางเคมี
 เมือ ่ ไม่ได ้ใช ้กล ้องเป็ นระยะเวลานาน ควรทดสอบฟั งก์ชน ั่ ต่างๆ ทัง้ หมดก่อนการใช ้งาน
โดยเฉพาะหากจะมีการถ่ายภาพครัง้ สําคัญ เช่น การเดินทางท่องเทีย ่ วต่างประเทศที่
ใกล ้เข ้ามา ควรนํ ากล ้องไปตรวจสอบทีศ ่ นู ย์บริการของแคนนอนใกล ้บ ้านหรือตรวจสอบ
ด ้วยตัวเองให ้แน่ใจว่ากล ้องทํางานได ้ตามปกติ
 เมือ่ คุณใช ้การถ่ายภาพแบบต่อเนือ ่ ง ถ่ายภาพแบบ Live View หรือถ่ายภาพเคลือ ่ น
ไหวเป็ นระยะเวลานาน กล ้องอาจจะร ้อนขึน ้ ซึง่ ไม่ถอ
ื เป็ นความผิดปกติแต่อย่างใด
 หากมีแหล่งกําเนิดแสงทีส ่ ว่างจ ้าภายในหรือภายนอกพืน ้ ทีภ่ าพ อาจทําให ้เกิดแสงหลอน
จอ LCD
 แม ้ว่าจอ LCD ของกล ้องจะผลิตด ้วยเทคโนโลยีทม ี วามแม่นยําสูง ด ้วยพิกเซลทีใ่ ช ้
ี่ ค
งานได ้จริงถึง 99.99% แต่ก็อาจจะมีพก ิ เซลทีบ ่ กพร่องแสดงเป็ นจุดสีดําหรือสีแดง
ในส่วนทีเ่ หลือ 0.01% หรือน ้อยกว่า พิกเซลทีบ ่ กพร่องนี้ไม่ถอ ื เป็ นความผิดปกติ
และไม่มผ ี ลต่อการบันทึกภาพ
 หากเปิ ดจอ LCD ทิง้ ไว ้เป็ นเวลานาน อาจเกิดการเผาไหม ้ภายในหน ้าจอ ซึง่ คุณจะเห็น
สิง่ ทีแ
่ สดงอยูไ่ ม่ปะติดปะต่อ แต่นเี่ ป็ นเพียงอาการชัว่ คราวเท่านัน ้ และจะหายไปเมือ ่
ไม่ได ้ใช ้กล ้องในเวลาไม่กวี่ น

 จอ LCD อาจแสดงผลช ้ากว่าเดิมในทีซ ่ งึ่ มีอณ
ุ หภูม ิตํา่ หรือดูมด
ื ลงในทีซ ่ งึ่ มีอณ
ุ หภูมส ิ งู
และจะกลับเป็ นปกติทอ ี่ ณ
ุ หภูมห
ิ ้อง
การ์ด
เพือ
่ ปกป้ องการ์ดและข ้อมูลทีบ ั ทึก โปรดระมัดระวังสิง่ ต่อไปนี้:
่ น
 อย่าทําให ้การ์ดตกหล่น บิดงอ หรือเปี ยกนํ้ า อย่าให ้การ์ดโดนกระทบกระแทก หรือได ้
่ สะเทือนอย่างรุนแรง
รับความสัน
 อย่าแตะจุดสัมผัสอิเล็กทรอนิกส์ของการ์ดด ้วยนิว้ มือหรือโดยใช ้วัตถุทเี่ ป็ นโลหะ
 อย่าติดสติกเกอร์ใดๆ ลงบนการ์ด
 อย่าเก็บหรือใช ้การ์ดใกล ้กับสิง่ ทีม
่ สี นามแม่เหล็กแรงสูง เช่น ชุดอุปกรณ์โทรทัศน์
ลําโพง หรือแม่เหล็ก และหลีกเลีย ่ งสถานทีท ่ ม
ี่ แ
ี นวโน ้มเกิดไฟฟ้ าสถิตย์
 อย่าวางการ์ดทิง้ ไว ้กลางแดด หรือใกล ้แหล่งความร ้อน
 ควรเก็บการ์ดไว ้ในกล่อง
 ไม่ควรเก็บการ์ดไว ้ในทีร่ ้อน เต็มไปด ้วยฝุ่ น หรือมีความชืน ้ สูง

24
ข ้อควรระวังในการใช ้งาน

รอยเปื้ อนทีต
่ ด
ิ อยูห
่ น้าเซนเซอร์
นอกจากฝุ่ นจากภายนอกทีส ่ ามารถเล็ดลอดเข ้าไปในตัวกล ้อง ในบางกรณีซงึ่ เกิดขึน
้ ได ้ยาก
อาจมีสารหล่อลืน
่ จากชิน ้ ส่วนภายในของกล ้องเกาะติดด ้านหน ้าเซนเซอร์ หากพบจุดเล็กๆ
อยูบ
่ นภาพ แนะนํ าให ้ส่งกล ้องไปทําความสะอาดเซนเซอร์ทศ ี่ น
ู ย์บริการของแคนนอน
เลนส์ จุดสัมผัส
หลังจากถอดเลนส์ออกจากกล ้อง ควรวางเลนส์โดยหงายด ้านท ้ายขึน ้
และปิ ดฝาท ้ายเลนส์เพือ
่ ป้ องกันการขีดข่วนบนผิวเลนส์และจุดสัมผัส
อิเล็กทรอนิกส์

25
่ นต่างๆ ของกล้อง
สว
แฟลชในตัวกล ้อง/แสงไฟช่วยปรับโฟกัส จุดชีเ้ มาท์ใส่เลนส์ EF (น.45)
(น.166/103)
จุดสัมผัสในการซิงค์แฟลช
ปุ่ มโหมด (น.30)
ช่องเสียบแฟลชภายนอก (น.171)
<B> ปุ่ มเลือกพืน ้ ที่
โฟกัสอัตโนมัต ิ (น.105) จุดชีเ้ มาท์ใส่เลนส์ EF-S (น.45)
สวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้อง <D> ปุ่ มแฟลช (น.166)
(น.40)
<g> ปุ่ มปรับความ <V> จุดวัดระนาบโฟกัส
ไวแสง ISO (น.122) (น.78)

<6> ปุ่ มหมุนหลัก <k> หลอดไฟ Wi-Fi


<T> ปุ่ ม หูร ้อยสาย
แสดงภาพ (น.61) คล ้องคอ
(น.33)
ปุ่ มชัตเตอร์ ลําโพง (น.290)
(น.50)
หลอดไฟ
ไมโครโฟนใน
ลดตาแดง/
ตัวกล ้อง
ตัง้ เวลา
(น.222)
(น.167/114)

เซนเซอร์
รีโมทคอนโทรล
(น.163, 350)
ฝาปิ ด
กริ๊ ป ช่องเชือ่ มต่อ
อุปกรณ์
กระจกสะท ้อนภาพ (น.163, 274)
ปุ่ มปลดล็อคเลนส์
จุดสัมผัส (น.25) (น.46)

เมาท์ใส่เลนส์ ปุ่ มเช็คระยะชัดลึก (น.154)

สลักล็อคเลนส์

<q/C>
ช่องสัญญาณเสียง/วิดโี อออก/
ดิจต
ิ อล (น.301, 320, 400)

ฝาปิ ดกล ้อง (น.45) <F> ช่องรีโมทคอนโทรล (น.351)

<Y> ช่องต่อเข ้าไมโครโฟน


ภายนอก (น.251)
<D> ช่องส่งออกสัญญาณ
HDMI mini (น.298)

26
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง

<A> ปุ่ มถ่ายภาพแบบ Live View/ <g> ปุ่ มปรับค่ารูรับแสง/


ถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว (น.192/222) การชดเชยแสง

ปุ่ มปรับแก ้สายตา (น.49) <Q> ปุ่ มควบคุมทันใจ (น.51)

เลนส์ตาของช่องมองภาพ <A/I> ปุ่ มล็อค AE/


ล็อคแฟลช FE/ปุ่ มแสดงภาพ
ยางครอบช่องมองภาพ (น.351) แบบดัชนี/ลดขนาด
(น.162/169/278, 280)
<B> ปุ่ มแสดงข ้อมูล
(น.61, 97, 194, 227, 266) <S/u>
ปุ่ มเลือกจุด
<M> ปุ่ มเมนู AF/ปุ่ มขยายขนาด
(น.53) (น.106/280)

จอ LCD/ ไฟแสดงสถานะ
หน ้าจอสัมผัส (น.38)
(น.53, 257/
56, 281, 292) ฝาปิ ดช่องใส่การ์ด
(น.37)

ช่องเสียบสายไฟ
กระแสตรง (น.349)

<0> ปุ่ มปรับการ


p (เครือ
่ งหมาย N) ตัง้ ค่า (น.53)
หมายเลขผลิตภัณฑ์

ช่องสกรูยด
ึ ขาตัง้ กล ้อง ตัวปลดล็อคฝาปิ ดช่องใส่
แบตเตอรี่ (น.36)

<x> ปุ่ มเล่นภาพ (น.97) ฝาปิ ดช่องใส่แบตเตอรี่ (น.36)

<W><X><Y><Z>: ปุ่ มเลือ ่ น <S> (น.53) <L> ปุ่ มลบภาพ (น.304)


<WB> ปุ่ มปรับสมดุลแสงขาว (น.132)
<XA> ปุ่ มเลือกรูปแบบภาพ (น.125)
<YQi> ปุ่ มเลือกโหมดขับเคลือ ่ น (น.112, 114)
<Zf> ปุ่ มปรับการโฟกัสอัตโนมัต ิ (น.100)

ช่องใส่การ์ด (น.37)

27
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง

การตงค่ ่ ั ในการถ่ายภาพ (ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์, น.30)


ั้ าฟังก์ชน
ความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง

ตัวแสดงระดับค่าแสง ้ องปุ่ มควบคุมหลัก


c ตัวชีข
ชดเชยแสง (น.159)
ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ (น.136)
ช่วงการถ่ายภาพคร่อม (น.160)
ความไวแสง ISO (น.122)
โหมดการถ่ายภาพ เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง
รูปแบบภาพ (น.339)
(น.125) y ชดเชยระดับ
แสงแฟลช
การโฟกัสอัตโนมัต ิ
(น.168, 189)
(น.100)
X คุณภาพในการบันทึกภาพ
AF ครัง้ เดียว (น.116)
9 73 ใหญ่/ละเอียด
AI Focus AF 83 ใหญ่/ปกติ
Z 74 กลาง/ละเอียด
AI Servo AF 84 กลาง/ปกติ
MF 7a เล็ก 1/ละเอียด
โฟกัสด ้วยตนเอง 8a เล็ก 1/ปกติ
b เล็ก 2 (ละเอียด)
ไอคอนควบคุมทันใจ (น.52) c เล็ก 3 (ละเอียด)
ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่ (น.41) 1+73
zxcn RAW+ใหญ่/ละเอียด
1 RAW
โหมดเลือกพืน
้ ที่ AF (น.104)
จํานวนภาพทีถ
่ า่ ยได ้
สมดุลแสงขาว (น.132)
จํานวนภาพทีถ
่ า่ ยได ้ ระหว่าง
Q อัตโนมัต ิ
ถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว
W แสงแดด
E แสงในร่ม นั บถอยหลังการตัง้ เวลา
R เมฆครึม ้
Y หลอดไฟทังสเตน ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ (น.137)
U แสงหลอดฟลูออเรสเซนต์ขาว
u ปรับแก ้สมดุลแสงขาว (น.134)
I แสงแฟลช
B ถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว (น.135)
O กําหนดเอง
โหมดขับเคลือ่ น (น.112, 114)
สถานะการส่งสัญญาณ Eye-Fi (น.352) u ถ่ายภาพเดีย ่ ว
i ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง
โหมดวัดแสง (น.157) B ถ่ายภาพเดีย ่ วแบบเงียบ
q วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ M ถ่ายภาพต่อเนือ ่ งแบบเงียบ
w วัดแสงบางส่วน Q ตัง้ เวลา:10 วินาที/รีโมทคอนโทรล
r วัดแสงแบบจุด l ตัง้ เวลา:2 วินาที
e วัดแสงเฉลีย่ หนั กกลางภาพ q ตัง้ เวลา:ต่อเนื่อง
่ มต่อ GPS
ตัวแสดงการเชือ

หน ้าจอจะแสดงผลเฉพาะการตัง้ ค่าปั จจุบน


ั ทีถ ู ปรับใช ้
่ ก

28
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง

ข้อมูลภายในช่องมองภาพ
รอบวงการวัดแสงแบบจุด (น.157) โฟกัสอัตโนมัตแ
ิ บบโซน (เลือกโซนด ้วยตนเอง)
(น.104)
โฟกัสอัตโนมัตจิ ด
ุ เดียว (เลือกด ้วยตนเอง)
โฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด (น.104)
(น.104)
ฉากปรับโฟกัส

ตาราง (น.62) จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ


(น.104)
กรอบพืน
้ ที่ เส ้นอัตราส่วนภาพ
โฟกัสอัตโนมัต ิ (น.120)
(น.104)
การตรวจจับ
แสงวูบวาบ
(น.63, 144)
<g> ความไวแสง
<u> ปรับแก ้
สมดุล
แสงขาว
<o> ตัวแสดงการโฟกัส
<A> การล็อคการเปิ ดรับแสง/
ถ่ายภาพคร่อมกําลังทํางาน จํานวนภาพต่อเนือ
่ งสูงสุด

<D> แฟลชพร ้อมทํางาน <0> การถ่ายภาพขาวดํา


เตือนเมือ
่ ล็อคแฟลช
FE ไม่ได ้ผล ความไวแสง ISO
<e> ซิงค์แฟลชความเร็วสูง <A> เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง
<d> ล็อคแฟลช FE/ถ่ายภาพคร่อม
แสงแฟลชกําลังทํางาน ตัวแสดงระดับค่าแสง
ปริมาณการชดเชยแสง
<y> ชดเชยระดับแสง
ช่วง AEB
แฟลช
เปิ ดไฟลดตาแดง
ความเร็วชัตเตอร์ เลือกจุด AF
เปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์ (buLb) (M AF, SEL N, SEL AF)
ล็อคแฟลช FE (FEL)
ค่ารูรับแสง (น.152)
กําลังทํางาน (buSY)
แฟลชในตัวกล ้องเตรียมทํางาน (D buSY)
เตือนเมือ ่ ไม่มกี าร์ด (Card)
การ์ดมีความผิดพลาด (Card)
เตือนเมือ ่ การ์ดเต็ม (FuLL)
รหัสข ้อผิดพลาด (Err)

หน ้าจอจะแสดงผลเฉพาะการตัง้ ค่าปั จจุบน


ั ทีถ ู ปรับใช ้
่ ก
29
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง

ปุ่มโหมด
ปุ่ มโหมดประกอบด ้วยสองโซนทีแ
่ ยกประเภทตามฟั งก์ชนั่ : หนึง่ โซนสําหรับ
โหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ และหนึง่ โซนสําหรับโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน

การถ่ายภาพสร้างสรรค์
้ ว่ ยให ้คุณควบคุมการถ่าย
โหมดต่างๆ เหล่านีช
ภาพวัตถุทห
ี่ ลากหลายได ้ตามทีต ่ ้องการ
d : โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต ิ (น.148)
s : ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์ (น.150)
f : ระบุคา่ รูรับแสง (น.152)
a : ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง (น.155)

้ ฐาน
การถ่ายภาพพืน
สิง่ ทีค
่ ณ
ุ ต ้องทําเพียงแค่กดปุ่ มชัตเตอร์
กล ้องจะตัง้ ค่าทุกอย่างให ้เหมาะสมกับวัตถุ
หรือฉากในการถ่ายภาพ
A : ฉากอัตโนมัตอ
ิ จ
ั ฉริยะ (น.66)
7 : ปิ ดแฟลช (น.71)
C : อัตโนมัตแ
ิ บบสร ้างสรรค์ (น.72)
2 : บุคคล (น.76)
3 : วิว (น.77)
4 : ระยะใกล ้ (น.78)
5 : กีฬา (น.79)
8: ฉากพิเศษ (น.80)
C : เด็ก (น.81)
P : อาหาร (น.82)
x : แสงเทียน (น.83)
6 : บุคคลกลางคืน (น.84)
F : ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ (น.85)
G : ควบคุมแสงพืน
้ หลัง HDR (น.86)

30
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง

เลนส์ทไี่ ม่มส
ี เกลแสดงระยะโฟก ัส

วงแหวนโฟกัส (น.111, 216)

สวิตซ์เลือกโหมดโฟกัส (น.45)
เมาท์ฮด
ู (น.47) ้ ําแหน่งการซูม (น.46)
จุดชีต

เกลียวสําหรับติดตัง้ ฟิ ลเตอร์
(ด ้านหน ้าเลนส์)

วงแหวนซูม (น.46)

่ (น.48)
สวิตซ์ปรับระบบลดภาพสัน จุดสัมผัส (น.25)

จุดชีเ้ มาท์ใส่เลนส์ (น.45)

31
ส่วนต่างๆ ของกล ้อง

แท่นชาร์จแบตเตอรี่ รุน
่ LC-E17E
แท่นชาร์จสําหรับแบตเตอรีแ
่ พ็ค รุน
่ LP-E17 (น.34)

ช่องใส่แบตเตอรีแ
่ พ็ค สายไฟ

ไฟแสดงสถานะ
เมือ
่ ชาร์จเต็ม
ไฟแสดงสถานะขณะชาร์จ
ช่องเสียบสายไฟ

32
่ ต้นใชง้ าน
การเริม
1
บทนีไ
้ ด ้อธิบายขัน
้ ตอนการเตรียมความพร ้อมก่อนทีค
่ ณ
ุ จะเริม

ทําการถ่ายภาพ และการทํางานพืน ้ ฐานต่างๆ ของกล ้อง

การผูกติดสายคล้อง
สอดปลายสายคล ้องผ่านหูร ้อยสาย
คล ้องของกล ้องจากทางด ้านล่าง แล ้ว
สอดผ่านหัวรัดสายตามทีแ่ สดงในภาพ
ประกอบ ดึงสายให ้ตึงและแน่ใจว่าสาย
จะไม่หลวมหรือหลุดออกจากหัวรัด
ฝาปิ ดช่องมองภาพติดอยูก ่ บ
ั สายด ้วย
เช่นกัน (น.351)

ฝาปิ ดช่องมองภาพ

33
การชาร์จแบตเตอรี่
ถอดฝาครอบป้องก ันออก
1  ถอดฝาครอบป้ องกันทีใ่ ห ้มาพร ้อมกับ
แบตเตอรีอ
่ อก

2 ใส่
แบตเตอรี่
 ใส่แบตเตอรีล
่ งในแท่นชาร์จให ้แน่นพอดี
ดังทีแ ่ สดงในภาพประกอบ
 เมือ
่ ต ้องการถอดแบตเตอรีอ
่ อก ให ้ทําตาม
วิธใี นทิศทางกลับกัน

3 ชาร์
จแบตเตอรี่
่ มต่อสายไฟเข ้ากับแท่นชาร์จและเสียบ
 เชือ
ปลั๊กเข ้ากับเต ้ารับ
 การชาร์จจะเริม ่ ต ้นขึน
้ ทันทีและไฟแสดง
สถานะขณะชาร์จจะสว่างเป็ นสีส ้ม
 เมือ
่ แบตเตอรีไ่ ด ้ชาร์จจนเต็มแล ้ว ไฟแสดง
สถานะจะเปลีย ่ นเป็ นสีเขียว

 การชาร์จแบตเตอรีท ่ ไี่ ม่มพี ล ังงานเหลืออยู่ จะใช้เวลาประมาณ 2


ชว่ ั โมงทีอ
่ ณุ หภูมห ิ อ
้ ง (23°C / 73°F) ระยะเวลาในการชาร์จ
แบตเตอรีจ ่ ะต่างก ันไปขึน ้ อยูก
่ ับอุณหภูมแ ิ วดล้อมและความจุพล ังงาน
ของแบตเตอรีท ่ ย
ี่ ังคงร ับได้
 เพือ ่ ความปลอดภัย ควรชาร์จในทีอ ่ ณ
ุ หภูมต
ิ ํา่ (5°C - 10°C / 41°F - 50°F)
โดยจะใช ้ระยะเวลานานขึน ้ (ถึงประมาณ 4 ชัว่ โมง)

34
การชาร์จแบตเตอรี่

ํ หร ับการใชง้ านแบตเตอรีแ
คําแนะนําสา ่ ละแท่นชาร์จ
 เมือ ้ กล้องมา แบตเตอรีท
่ ซือ ่ ม
ี่ ใี ห้ย ังไม่ได้ชาร์จจนเต็ ม
ชาร์จแบตเตอรีก ่ นใช ้งาน
่ อ
 ชาร์จแบตเตอรีก
่ อ ่ นหนึง่ ว ันหรือในว ันทีจ ่ ะนํากล้องไปใช้
ขณะเก็บแบตเตอรีไ่ ว ้ แบตเตอรีท่ ช
ี่ าร์จแล ้วจะค่อยๆ คายประจุออกและมี
พลังงานลดลง
 ถอดแบตเตอรีแ
่ ละดึงปลก
๊ ั แท่นชาร์จออกจากเต้าร ับ เมือ ้ การ
่ เสร็ จสิน
ชาร์จ
 เมือ่ ไม่ได้ใช้กล้อง ควรถอดแบตเตอรีอ ่ อก
หากทิง้ แบตเตอรีไ่ ว ้ในกล ้องเป็ นระยะเวลานาน ประจุไฟฟ้ าจะถูกปล่อยออกที
ละน ้อย ส่งผลให ้มีการคายประจุมากเกินไปและอายุการใช ้งานของแบตเตอรี่
้ ลง ควรปิ ดฝาครอบป้ องกันแบตเตอรี่ (ทีจ
สัน ่ ัดให ้) ก่อนนํ าไปเก็บ การเก็บ
แบตเตอรีใ่ นขณะทีม ่ กี ารชาร์จไฟจนเต็ม อาจทําให ้ประสิทธิภาพการทํางาน
ของแบตเตอรีล ่ ดลง
 แท่นชาร์จแบตเตอรีส ่ ามารถนําไปใช้ในต่างประเทศได้
แท่นชาร์จแบตเตอรีร่ น ้ อกแบบให ้ใช ้งานได ้กับระบบไฟฟ้ ากระแสสลับทีม
ุ่ นีอ ่ ี
แรงดันไฟฟ้ าตัง้ แต่ 100 V จนถึง 240 V และมีความถีใ่ นช่วง 50/60 Hz หาก
มีความจําเป็ น สามารถใช ้ตัวต่อปลั๊กทีม่ จ ่ มต่อ
ี ําหน่ายทั่วไป สําหรับการเชือ
ปลั๊กไฟในแต่ละประเทศได ้ ห ้ามใช ้ตัวแปลงกระแสไฟฟ้ าแบบพกพาใดๆ
กับแท่นชาร์จแบตเตอรี่ เพราะอาจทําให ้แท่นชาร์จเสียหายได ้
 หากแบตเตอรีใ่ ช้งานได้ไม่นานหล ังจากทีม
่ ก
ี ารชาร์จไฟจนเต็ ม แสดง
ว่าแบตเตอรีอ ้ สุดอายุการใช้งาน
่ าจสิน
้ แบตเตอรี่
ตรวจสอบประสิทธิภาพในการชาร์จของแบตเตอรี่ (น.348) และซือ
ก ้อนใหม่

 หลังจากถอดปลั๊กไฟของแท่นชาร์จออก อย่าเพิง่ แตะขาปลั๊กก่อนอย่างน ้อย 5 วินาที


 ห ้ามชาร์จแบตเตอรีร่ นุ่ อืน
่ ๆ นอกเหนือจากแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน่ LP-E17
 แบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ออกแบบมาเพือ ่ ใช ้กับผลิตภัณฑ์ของแคนนอนทีเ่ ฉพาะ
้ หากนํ าไปใช ้ร่วมกับแท่นชาร์จแบตเตอรีห
เจาะจงเท่านั น ่ รือผลิตภัณฑ์ทไี่ ม่รองรับ
อาจส่งผลให ้เกิดความผิดปกติในการใช ้งานหรืออุบต ั เิ หตุ ซึง่ แคนนอนไม่สามารถ
รับผิดชอบต่อความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ ได ้
35
่ ละถอดแบตเตอรี่
การใสแ
ใส่แบตเตอรีแ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ทีช่ าร์จไฟจนเต็มลงในตัวกล ้อง ช่องมองภาพของ
กล ้องจะสว่างขึน
้ เมือ่ ใส่แบตเตอรี่ และมืดลงเมือ
่ ถอดแบตเตอรีอ
่ อก

การใส่แบตเตอรี่
เปิ ดฝาครอบ
1  เลือ
่ นตัวล็อคตามทิศทางของลูกศรในภาพ
และเปิ ดฝาออก

2 ใส่
แบตเตอรี่
 ใส่แบตเตอรีโ่ ดยหันขัว้ สัมผัสเข ้าทางด ้านใน
่ งไปจนกระทั่งล็อคเข ้าสู่
 ใส่แบตเตอรีล
ตําแหน่ง

3 ปิดฝาครอบ
ปิ ดฝาครอบจนกระทั่งมีเสียงปิ ดสนิท

การถอดแบตเตอรี่
เปิ ดฝาครอบและถอดแบตเตอรี่
 ดันสลักปลดล็อคแบตเตอรีต ่ ามทิศทางของ
ลูกศรในภาพ และดึงแบตเตอรีอ ่ อก
 เพือ่ ป้ องกันการลัดวงจรบริเวณขัว้ สัมผัส
ของแบตเตอรี่ แน่ใจว่าได ้สวมฝาครอบ
ป้ องกัน (ทีจ ่ ัดให ้, น.34) ไว ้กับแบตเตอรี่

หลังจากเปิ ดฝาครอบช่องใส่แบตเตอรีอ ่ อก ควรระมัดระวัง ไม่ใช ้แรงง ้างฝาครอบ


ไปทางด ้านหลังมากเกินไป มิฉะนั น
้ บานพับของฝาครอบอาจชํารุด

36
่ ละถอดการ์ด
การใสแ
การ์ด (แยกจําหน่าย) สามารถใช ้เมมโมรีก ่ าร์ด SD, SDHC หรือ SDXC
่ าร์ด SDHC และ SDXC แบบ UHS-I สามารถใช ้ได ้เช่นกัน
เมมโมรีก
และภาพทีถ ่ า่ ยจะถูกบันทึกลงบนการ์ด
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสวิตซ์ป้องก ันการบ ันทึกของการ์ดเลือ ้ ไป
่ นขึน
ทางด้านบน เพือ ่ เปิ ดใช้การบ ันทึกและการลบ

การใส่การ์ด
เปิ ดฝาครอบ
1  เลือ
่ นฝาครอบตามทิศทางของลูกศรใน
ภาพเพือ่ เปิ ดฝาออก

สวิตซ์ป้องกันการบันทึก
2 ใส่
การ์ด
 ห ันด้านฉลากของการ์ดเข้าหาต ัวคุณ
ตามทีแ ่ สดงในภาพ และใส่เข้าไปจน
กระทง่ ั คลิกลงตําแหน่ง

3 ปิดฝาครอบ
ปิ ดฝาครอบและเลือ
่ นเข ้าไปตามทิศทาง
ของลูกศรทีแ
่ สดงจนกระทั่งมีเสียงปิ ดสนิท
 เมือ
่ คุณปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่
<1> จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้จะแสดงขึน

บนจอ LCD

จํานวนภาพทีถ
่ า่ ยได ้

 จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้ ขึน


้ อยูก
่ บ
ั ความจุทเี่ หลืออยูข่ องการ์ด คุณภาพในการบันทึก
ภาพ ความไวแสง ISO และอืน ่ ๆ
 การตัง้ ค่า [z1: ลน ่ ั ช ัตเตอร์ขณะไม่มก ี าร์ด] ไปที่ [ไม่ใช้งาน] จะช่วยป้ อง
กันไม่ให ้คุณถ่ายภาพโดยไม่ได ้ใส่การ์ด (น.256)

37
การใส่และถอดการ์ด

การถอดการ์ด
เปิ ดฝาครอบ
1  ปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2>
 แน่ใจว่าไฟแสดงสถานะด ับลง แล้วเปิ ด
ฝาออก
 หาก [กําล ังบ ันทึกข้อมูล...] แสดงอยู่
ให ้ปิ ดฝาครอบลง
ไฟแสดงสถานะ

2 ถอดการ์ ด
 ดันการ์ดเข ้าเบาๆ แล ้วปล่อยให ้การ์ดเลือ
่ น
ออก
 ดึงการ์ดออกมาตรงๆ แล ้วปิ ดฝาครอบลง

 เมือ
่ ไฟแสดงสถานะสว่างขึน ้ หรือกะพริบ แสดงว่าไฟล์ภาพกําล ังถูกบ ันทึก
อ่านหรือลบออกจากการ์ด หรือกําล ังถ่ายโอนข้อมูล อย่าเปิ ดฝาครอบช่อง
ใส่การ์ดออกในระหว่างนี้ รวมทงกระทํ ั้ าสิง่ ต่อไปนีข ้ ณะทีไ่ ฟแสดงสถานะ
สว่างหรือกะพริบ มิฉะนนข้ ั้ อมูลภาพ การ์ด หรือกล้องอาจเสียหายได้
• ถอดการ์ดออก
• ถอดแบตเตอรีอ ่ อก
• เขย่าหรือกระแทกกล้อง
• ถอดและเสียบสายไฟ (เมือ ่ ใช้ชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้า AC)
 หากในการ์ดมีไฟล์ภาพทีบ ่ น ั ทึกอยูแ ่ ล ้ว หมายเลขของไฟล์ภาพอาจไม่เริม ่ ต ้นจาก
0001 (น.261)
 หากมีข ้อความแสดงข ้อผิดพลาดของการ์ดแสดงขึน ้ บนจอ LCD ให ้ถอดและใส่
การ์ดใหม่อก ี ครัง้ หากข ้อผิดพลาดยังคงแสดงอยู่ ให ้ลองใช ้การ์ดแผ่นอืน ่
หากคุณสามารถถ่ายโอนภาพทัง้ หมดภายในการ์ดทีม ่ ป
ี ั ญหาไปยังคอมพิวเตอร์ได ้
ให ้ถ่ายโอนภาพให ้เรียบร ้อย จากนั น ้ ทําการฟอร์แมตการ์ดโดยใช ้กล ้อง (น.59)
การ์ดอาจกลับมาทํางานได ้ตามปกติ
 อย่าใช ้นิว้ มือหรือวัตถุทเี่ ป็ นโลหะแตะบริเวณจุดสัมผัสของการ์ด อย่าปล่อยให ้จุด
สัมผัสโดนฝุ่ นหรือนํ้ า หากมีคราบสกปรกเกาะติดอยูบ ่ นจุดสัมผัส อาจทําให ้การ
อ่านข ้อมูลล ้มเหลว
 การ์ดมัลติมเี ดีย (MMC) ไม่สามารถใช ้ได ้ (ข ้อผิดพลาดของการ์ดจะแสดงขึน ้ )

38
้ อ LCD
การใชจ
ั่ ของเมนู ใช ้การถ่ายภาพ
หลังจากคุณพลิกเปิ ดจอ LCD คุณสามารถตัง้ ค่าฟั งก์ชน
แบบ Live View ถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว ดูภาพและเล่นภาพเคลือ ่ นไหว คุณสามารถ
เปลีย
่ นทิศทางและมุมของจอ LCD

พลิกเปิ ดจอ LCD


1

180° 2 หมุ
นจอ LCD
 เมือ
่ จอ LCD ถูกเปิ ดออก คุณสามารถหมุน
90° จอขึน
้ ลง หรือเกินกว่า 180° เพือ
่ หันไป
ทางวัตถุ
175°
 มุมทีแ
่ สดงเป็ นการประมาณเท่านั น้

3 หันจอเข้าหาต ัวคุณ
โดยปกติ ให ้ใช ้กล ้องโดยหันจอ LCD เข ้า
หาตัวคุณ

 ควรระมัดระวังไม่ฝืนและหักบานพับขณะหมุนจอ LCD
 เมือ ่ มต่อรีโมทสวิตซ์ รุน
่ เชือ ่ RS-60E3 หรือไมโครโฟนภายนอกเข ้ากับกล ้อง
ช่วงมุมการหมุนของจอ LCD ทีพ ่ ลิกออกจะถูกจํากัด

่ ไม่ใช ้กล ้อง ให ้ปิ ดจอ LCD โดยหันหน ้าจอเข ้าด ้านใน ซึง่ จะช่วยปกป้ องหน ้าจอ
 เมือ
 ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View หรือถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว การหันจอ LCD
ไปทางวัตถุจะแสดงภาพแบบในกระจกบนหน ้าจอ
39
์ ล้อง
การเปิ ดสวิตซก
เมือ
่ คุณเปิ ดสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล้อง และหน้าจอการตงค่ ั้ าว ันที/
่ เวลา/โซน
ปรากฏขึน ้ โปรดดูหน้า 42 เพือ ่ ตงว
ั้ ันที/
่ เวลา/โซน

<k> : เปิ ดการทํางานของกล ้อง คุณ


สามารถถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
(น.222)
<1> : เปิ ดการทํางานของกล ้อง คุณ
สามารถถ่ายภาพนิง่
<2> : ปิ ดกล ้อง และไม่มกี ารทํางานใดๆ
ให ้ปรับสวิตซ์มาทีต
่ ําแหน่งนีเ้ มือ

ไม่ได ้ใช ้กล ้อง

การทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอ ัตโนม ัติ


 เมือ
่ ใดก็ตามทีค
่ ณ
ุ ปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <1> หรือ <2> การ
ทําความสะอาดเซนเซอร์จะเริม ่ ต ้นขึน
้ โดยอัตโนมัต ิ (อาจได ้ยินเสียงเบาๆ)
ระหว่างการทําความสะอาดเซนเซอร์ จอ LCD จะแสดง <f>
 คุณยังคงสามารถถ่ายภาพได ้ในระหว่างการทําความสะอาดเซนเซอร์โดยการ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ (น.50) เพือ ่ หยุดทําความสะอาดแล ้วถ่ายภาพ
 หากคุณปรับสวิตซ์ <1>/<2> ซํ้าไปมาในช่วงเวลาสัน ้ ๆ ไอคอน
<f> อาจไม่แสดงขึน ้ ซึง่ ถือเป็ นเรือ่ งปกติและไม่ใช่ความผิดพลาดแต่
อย่างใด

์ ัตโนม ัติ
3 ปิ ดสวิตซอ
 เพือ
่ เป็ นการประหยัดพลังงาน กล ้องจะปิ ดลงโดยอัตโนมัตห ิ ลังจากไม่มก
ี าร
ใช ้งานใดๆ ประมาณ 30 วินาที หากต ้องการเปิ ดกล ้องอีกครัง้ เพียงแค่กดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ (น.50)
 คุณสามารถเปลีย ่ นเวลาปิ ดกล ้องอัตโนมัตโิ ดยใช ้ [52: ปิ ดสวิตช์อ ัตโนม ัติ]
(น.257)

หากคุณปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2> ในขณะทีก ่ ล ้องกําลังบันทึกภาพลงใน


การ์ด ข ้อความ [กําล ังบ ันทึกข้อมูล...] จะแสดงขึน
้ และกล ้องจะปิ ดลงหลังจากการ
บันทึกภาพเสร็จสิน้

40
การเปิ ดสวิตซ์กล ้อง

z การตรวจสอบระด ับแบตเตอรี่
เมือ
่ เปิ ดสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้อง พลังงานของแบตเตอรีจ
่ ะแสดงขึน
้ ในระดับใดระดับ
หนึง่ จากสีร่ ะดับนี้

z : พลังงานเพียงพอ
x : พลังงานตํา่ แต่กล ้องยังคงใช ้งานได ้
c : แบตเตอรีใ่ กล ้จะหมด (กะพริบ)
n : ชาร์จแบตเตอรี่

จํานวนภาพทีถ
่ า
่ ยได้ (จํานวนภาพโดยประมาณ)
อุณหภูมหิ อ
้ ง อุณหภูมติ า
ํ่
อุณหภูม ิ
(23°C / 73°F) (0°C / 32°F)
ไม่ใช ้แฟลช 550 470
ใช ้แฟลช 50% 440 400
 จํานวนทีไ่ ด ้นี้ขน ึ้ อยูก
่ บ
ั การทดสอบด ้วยแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ทีช
่ าร์จไฟจนเต็ม
ไม่ใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View และตรงตามมาตรฐานของ CIPA (Camera &
Imaging Products Association)
 จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้โดยใช ้กริ๊ ปแบตเตอรี่ รุน
่ BG-E18 (แยกจําหน่าย)
• ด ้วย LP-E17 สองก ้อน: ถ่ายภาพได ้ประมาณสองเท่าจากจํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้เมือ
่ ไม่
ใช ้กริ๊ ปแบตเตอรี่

 การกระทําสิง่ ใดๆ ต่อไปนีจ ้ ะทําให ้แบตเตอรีห ่ มดพลังงานเร็วขึน ้ :


• กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เป็ นระยะเวลานาน
• เปิ ดใช ้ระบบโฟกัสอัตโนมัตบ ิ อ่ ยๆ โดยไม่มก ี ารถ่ายภาพ
• การใช ้เลนส์ทม ี่ รี ะบบลดภาพสัน ่
• การใช ้จอ LCD บ่อยๆ
 จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้อาจลดลงขึน ้ อยูก
่ บ
ั สภาวะการถ่ายภาพทีแ ่ ท ้จริง
 การทํางานของเลนส์ใช ้พลังงานจากแบตเตอรีข ่ องกล ้อง พลังงานแบตเตอรีอ
่ าจ
หมดเร็วขึน ้ แล ้วแต่ชนิดของเลนส์ทใี่ ช ้
 สําหรับจํานวนภาพทีถ ่ ใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View โปรดดูหน ้า 193
่ ่ายได ้เมือ
 โปรดดู [53: ข้อมูลแบตเตอรี]่ เพือ ่ ตรวจสอบสภาพของแบตเตอรี่ (น.348)

41
3 การตงค่
ั้ าว ันที่ เวลา และโซนเวลา
่ คุณเปิ ดใช ้งานกล ้องเป็ นครัง้ แรก หรือเมือ
เมือ ่ วันที/่ เวลา/โซนทีต ่ งั ้ ไว ้ถูกรีเซ็ต
หน ้าจอการตัง้ ค่าวันที/่ เวลา/โซนจะปรากฏขึน ้ ให ้ทําตามขัน ้ ตอนด ้านล่างนี้ แน่
ใจว่าก่อนอืน ่ ได ้ตัง้ โซนเวลา ด ้วยการตัง้ ค่ากล ้องไปยังโซนเวลาทีค ่ ณ
ุ อาศัยอยู่
ในปั จจุบัน เมือ่ คุณออกเดินทาง คุณสามารถเปลีย ่ นการตัง้ ค่าไปยังโซนเวลาที่
ถูกต ้องของปลายทางของคุณและกล ้องจะปรับวันที/่ เวลาโดยอัตโนมัต ิ
โปรดทราบว่าว ันที/ ่ เวลาทีจ
่ ะแนบไปพร้อมก ับภาพยึดการตงค่ ั้ าว ันที/ ่
เวลาด ังกล่าวนี้ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ตงว ั้ ันที/
่ เวลาถูกต้องแล้ว

แสดงหน้าจอเมนู
1  กดปุ่ ม <M> เพือ
่ แสดงหน ้าจอเมนู

2 ภายใต้
โซน]
แท็บ [52] เลือก [ว ันที/
่ เวลา/

 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกแท็บ [52]


 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ่ เลือก [ว ันที/

เวลา/โซน] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

3 ตงโซนเวลา
ั้
[London] ถูกตงเป
ั้ ็ นค่าเริม
่ ต้น
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกกล่อง
แสดงโซนเวลา
 กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ให ้ <a> แสดงขึน ้
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือกโซนเวลา
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0> (กลับสู่ <b>)

 ขัน
้ ตอนการตัง้ ค่าเมนูได ้อธิบายไว ้ในหน ้า 54-55
 เวลาทีแ
่ สดงอยูต ่ รงมุมบนด ้านขวาในขัน ้ ตอนที่ 3 เป็ นความต่างของเวลาเมือ

เทียบกับเวลามาตรฐานสากล (UTC) หากคุณไม่เห็นโซนเวลาของคุณ ให ้ตัง้ โซน
เวลาโดยอ ้างอิงจากความต่างระหว่างเวลาท ้องถิน ่ กับเวลาสากล

42
3 การตัง้ ค่าวันที่ เวลา และโซนเวลา

4 ตงวั้ กดปุ่ันทีมแ่ <Y>


ละเวลา
<Z> เพือ
่ เลือกตัวเลข
 กดปุ่ ม <0> เพือ
่ ให ้ <a> แสดงขึน ้
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ ตัง้ ตัวเลข จากนั น

กดปุ่ ม <0> (กลับสู่ <b>)

5 ตงการปร
ั้ ับเวลาในฤดูรอ
่ ต ้องการใช ้
ตัง้ เมือ
้ น

 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ เลือก [Y]


 กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ให ้ <a> แสดงขึน ้
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือก [Z] จาก
นัน ้ กดปุ่ ม <0>
 เมือ ่ ตัง้ การปรับเวลาในฤดูร ้อนเป็ น [Z]
เวลาทีต ่ งั ้ ไว ้ในขัน
้ ตอนที่ 4 จะเร็วขึน้ 1
ชัว่ โมง หากตัง้ เป็ น [Y] จะยกเลิกการ
ปรับเวลาในฤดูร ้อน และเวลาจะถอย
กลับมา 1 ชัว่ โมง

6 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือก [ตกลง]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 วันที/่ เวลา/โซน และการปรับเวลาในฤดู
ร ้อนจะถูกบันทึกไว ้ และจะแสดงหน ้าเมนู
อีกครัง้

การตัง้ ค่าวันที/่ เวลา/โซนอาจถูกยกเลิกในกรณีตอ ่ ไปนี้ หากเกิดกรณีนี้ขน


ึ้ ให ้ตัง้ วันที/่
เวลา/โซนอีกครัง้
• เมือ
่ จัดเก็บกล ้องโดยถอดแบตเตอรีอ ่ อก
• เมือ่ แบตเตอรีข ่ องกล ้องหมดพลังงาน
• เมือ ่ กล ้องอยูภ่ ายใต ้สภาพอุณหภูมทิ ตี่ ํา่ กว่าจุดเยือกแข็งเป็ นระยะเวลานาน

 วันที/่ เวลาทีต
่ งั ้ จะเริม
่ เมือ
่ คุณกดปุ่ ม [ตกลง] ในขัน
้ ตอนที่ 6
 หลังจากมีการเปลีย ่ นโซนเวลา ให ้ตรวจสอบว่าวันทีแ ่ ละเวลาได ้ตัง้ ค่าถูกต ้องแล ้ว

43
้ สดง
3 การเลือกภาษาทีใ่ ชแ
แสดงหน้าจอเมนู
1  กดปุ่ ม <M> เพือ
่ แสดงหน ้าจอเมนู

2 ภายใต้ แท็บ [52] เลือก [ภาษาK]


 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ เลือกแท็บ [52]
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือก [ภาษาK]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

3 ตงภาษาที
ั้ ต
่ อ
้ งการ
กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือกภาษา จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาษาทีใ่ ช ้แสดงบนหน ้าจอจะเปลีย
่ นไป

44
การติดและถอดเลนส ์
้ ามารถใช ้กับเลนส์ EF และ EF-S ของแคนนอนทุกชนิด ไม่สามารถใช้
กล ้องนีส
ก ับเลนส์ EF-M ได้

การติดเลนส ์
ถอดฝาปิ ด
1  ถอดฝาปิ ดด ้านท ้ายเลนส์และฝาปิ ดกล ้อง
ออก โดยหมุนตามทิศทางของลูกศรใน
ภาพ


จุดสีขาว
2 ติดจัเลนส
ดตําแหน่งจุดสีขาวหรือสีแดงของเลนส์ให ้
ตรงกับจุดบนกล ้องทีม ี เี ดียวกัน หมุนเลนส์
่ ส
ตามทิศทางของลูกศรในภาพ จนกระทั่ง
คลิกลงตําแหน่ง

จุดสีแดง

ับสวิตซเ์ ลือกโหมดโฟก ัสของเลนส ์


3 ปร
ไปที่ <AF>
 <AF> หมายถึง Autofocus (การโฟกัส
อัตโนมัต)ิ
 <MF> หมายถึง Manual Focus (การ
โฟกัสด ้วยตนเอง)

4 ถอดฝาปิ ดหน้าเลนสอ์ อก

การลดฝุ่นเข้าไปภายในต ัวกล้อง
 ควรถอดเปลีย ่ นเลนส์อย่างรวดเร็วในบริเวณทีม ่ ฝ
ี ุ่ นละอองน ้อย
 เมือ
่ จัดเก็บกล ้องโดยไม่ได ้ติดเลนส์ไว ้ ควรแน่ใจว่าได ้ปิ ดฝากล ้องเสมอ
 กําจัดฝุ่ นบนฝากล ้องก่อนนํ าไปปิ ด

45
การติดและถอดเลนส์

การซูม
้ วิ้ มือหมุนวงแหวนซูมของเลนส ์
ใชน
 หากคุณต ้องการซูมภาพ ให ้ทําก่อนทีจ ่ ะ
โฟกัส เพราะการหมุนวงแหวนซูมหลังจาก
ทีโ่ ฟกัสได ้แล ้ว อาจทําให ้เสียการโฟกัส

การถอดเลนส ์
ขณะทีก ์ า้ งไว้
่ ดปุ่มปลดล็ อคเลนสค
ให้หมุนเลนสต ์ ามทิศทางของลูกศร
ในภาพ
 หมุนเลนส์ไปจนสุด แล ้วถอดออก
 ปิ ดฝาท ้ายเลนส์ทถ
ี่ อดแล ้ว
 สําหร ับผูใ้ ช้เลนส์ EF-S18-135mm f/3.5-5.6 IS STM:
คุณสามารถป้ องกันไม่ให ้เลนส์ยน
ื่ ออกมาในขณะทีค
่ ณุ กําลังพกพาได ้ โดยการ
ปรับวงแหวนซูมไปจนสุดช่วงมุมกว ้าง 18mm จากนั น ้ เลือ
่ นตัวล็อควงแหวนซูม
ไปที่ <LOCK> วงแหวนซูมจะสามารถล็อคไว ้ได ้ทีช ่ ว่ งมุมกว ้างเท่านั น

 ห ้ามส่องกล ้องดูดวงอาทิตย์โดยตรงไม่วา่ ใช ้เลนส์ชนิดใด เพราะอาจเป็ นอันตราย


ต่อสายตา
 เมือ
่ ทําการติดหรือถอดเลนส์ ควรปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2>
 หากส่วนหน ้าของเลนส์ (วงแหวนโฟกัส) หมุนขณะมีการโฟกัสอัตโนมัต ิ อย่าแตะ
ตรงส่วนทีก ่ ําลังหมุน
 หากคุณซือ ้ ชุดอุปกรณ์เลนส์ EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS STM,
เลนส์ EF-S18-135mm f/3.5-5.6 IS STM หรือเลนส์ EF-S55-250mm
f/4-5.6 IS STM โปรดดู “ข้อควรระว ังในการใช้งาน” ในหน้า 383

ขนาดของเซนเซอร์
มุมมอง
(โดยประมาณ)
เนือ
่ งจากเซนเซอร์มข ี นาดเล็กกว่าฟิ ลม์ (22.3 x 14.9 มม. /
้ มุมมองของเลนส์ทใี่ ช ้งาน
35 มม. ดังนั น 0.88 x 0.59 นิว้ )
จะเทียบเท่ากับมุมมองของเลนส์ท ี่ ขนาดของฟิ ลม์ 35 มม.
ระบุความยาวโฟกัสประมาณ 1.6x (36 x 24 มม. /
1.42 x 0.94 นิว้ )

46
การติดและถอดเลนส์

์ ด
การติดเลนสฮ ู
เลนส์ฮดู สามารถช่วยบังแสงทีไ่ ม่ต ้องการ และป้ องกันละอองฝน หิมะ ฝุ่ น และอืน่ ๆ
ทีจ
่ ะเกาะติดด ้านหน ้าของเลนส์ เมือ
่ เก็บเลนส์ใส่กระเป๋ ากล ้อง คุณยังสามารถสวม
ฮูดแบบกลับด ้านเพือ ่ ประหยัดพืน
้ ทีใ่ นการเก็บ
 หากไม่มจ ี ดุ เครือ
่ งหมายบนเลนส์และฮูด:
์ ด
ติดเลนสฮ ู
 หมุนฮูดตามทิศทางของลูกศรในภาพเพือ

ยึดให ้แน่น

 หากมีจด
ุ เครือ
่ งหมายบนเลนส์และฮูด:
จ ัดตําแหน่งจุดสีแดงบนฮูดและขอบ
1 เลนสใ์ ห้ตรงก ัน จากนนหมุ
ั้ นฮูดตาม
ทิศทางของลูกศรในภาพ

2 หมุ
นฮูดตามทีแ ่ สดงในภาพประกอบ

 หมุนฮูดตามเข็มนาฬกาจนกระทั ่งยึดแน่น

 หากติดเลนส์ฮด ู ไม่ถก
ู ต ้อง ฮูดอาจไปบังแสงบริเวณขอบภาพ ทําให ้ภาพดูมด ื ลง
 เมือ่ ทําการติดหรือถอดฮูด ให ้จับบริเวณฐานของฮูดเพือ ่ หมุน การจับทีป
่ ลายของ
ฮูดเพือ ่ หมุน อาจทําให ้ฮูดเสียรูปทรง ส่งผลให ้เกิดการติดขัดหรือหมุนไม่ได ้
่ ใช ้แฟลชในตัวกล ้อง ให ้ถอดฮูดออก ไม่เช่นนัน
 เมือ ้ ฮูดอาจไปปิ ดกัน
้ บางส่วนของ
แสงแฟลช
47
์ ม
เลนสท ่ั
ี่ รี ะบบลดภาพสน
่ คุณใช ้เลนส์ IS ทีม
เมือ ่ รี ะบบลดภาพสัน ่ ในตัว จะแก ้ไขการสัน ่ ของกล ้องเพือ
่ ให ้
ได ้ภาพทีค
่ มชัดยิง่ ขึน
้ ขัน ่ ธิบายต่อไปนี้ ใช ้เลนส์ EF-S18-55mm
้ ตอนทีอ
f/3.5-5.6 IS STM เป็ นตัวอย่าง
่ )
* IS หมายถึง Image Stabilizer (ระบบลดภาพสัน

ปร ับสวิตซ ์ IS ไปที่ <1>


1  ปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <1>
ด ้วยเช่นกัน

2 กดปุ่ มชตเตอร์
 ระบบลดภาพสัน
ลงครึง่ หนึง่
่ จะเริม
่ ทํางาน
ถ่ายภาพ
3  เมือ่ ภาพทีเ่ ห็นจากช่องมองภาพดูนงิ่ แล ้ว
ให ้กดชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ

 ระบบลดภาพสัน ่ จะไม่มป
ี ระสิทธิภาพ หากวัตถุมก ี ารเคลือ่ นทีใ่ นช่วงทีเ่ ปิ ดรับแสง
 เมือ่ ถ่ายภาพด ้วยการเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์ ให ้ปรับสวิตซ์ระบบลดภาพสัน ่ ไปที่
<2> หากปรับไปที่ <1> ระบบลดภาพสัน ่ อาจทํางานผิดพลาด
 ระบบลดภาพสัน ่ อาจไม่มป
ี ระสิทธิภาพ หากมีการสัน ่ ไหวมาก เช่น ขณะอยูบ ่ นเรือ
ทีโ่ คลงเคลง

 ระบบลดภาพสัน ่ สามารถทํางานได ้ไม่วา่ จะปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์


ไปที่ <AF> หรือ <MF>
 เมือ ่ ใช ้ขาตัง้ กล ้อง คุณยังคงสามารถถ่ายภาพได ้อย่างไม่มป ี ั ญหา แม ้จะปรับสวิตซ์
ระบบลดภาพสัน ่ ไปที่ <1> อย่างไรก็ตาม เพือ ่ ประหยัดพลังงานแบตเตอรี่
แนะนํ าให ้ปรับสวิตซ์ระบบลดภาพสัน ่ ไปที่ <2>
 ระบบลดภาพสัน ่ จะทํางานได ้อย่างมีประสิทธิภาพ แม ้ว่ากล ้องจะใช ้ขาตัง้ กล ้อง
แบบขาเดีย ่ วก็ตาม
 เมือ่ ใช ้เลนส์ EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS STM, เลนส์ EF-S18-135mm
f/3.5-5.6 IS STM หรือเลนส์ EF-S55-250mm f/4-5.6 IS STM โหมดลดภาพ
่ จะปรับอัตโนมัตเิ พือ
สัน ่ ให ้เหมาะกับสภาวะการถ่ายภาพ
48
การทํางานขนพื
ั้ น้ ฐาน

การปร ับความชดเจนในช่
องมองภาพ
หมุนปุ่มปร ับแก้สายตา
 หมุนปุ่ มไปทางซ ้ายหรือขวา เพือ
่ ให ้จุด
โฟกัสอัตโนมัตใิ นช่องมองภาพดูคมชัด
ทีส
่ ด

้ แนะนํ าให ้ใช ้


หากการปรับแก ้สายตายังไม่สามารถทําให ้ภาพในช่องมองภาพชัดขึน
ี่ ์ E (แยกจําหน่าย)
เลนส์ปรับแก ้สายตาซีรส

การถือกล้อง
เพือ
่ ให ้ได ้ภาพทีค
่ มชัด พยายามถือกล ้องให ้นิง่ ทีส
่ ด
ุ เพือ ่ ของกล ้อง
่ ลดการสัน

การถือกล ้องถ่ายภาพแนวนอน การถือกล ้องถ่ายภาพแนวตัง้

1. ใช ้มือขวาจับกริ๊ ปของกล ้องให ้มั่น


2. ใช ้มือซ ้ายประคองใต ้เลนส์
3. วางนิว้ ชีข้ องมือขวาบนปุ่ มชัตเตอร์เบาๆ
4. แนบแขนและข ้อศอกเข ้ากับลําตัวโดยไม่เกร็ง
5. เพือ
่ รักษาท่ายืนให ้มั่น แยกเท ้าข ้างหนึง่ ออกไปด ้านหน ้า ปลายเท ้าเปิ ด
6. แนบกล ้องกับใบหน ้าและมองผ่านช่องมองภาพ

สําหรับการถ่ายภาพด ้วยการมองจอ LCD โปรดดูหน ้า 191

49
การทํางานขัน
้ พืน
้ ฐาน


ปุ่มชตเตอร์
การทํางานของปุ่ มชัตเตอร์แบ่งเป็ นสองจังหวะ คุณสามารถกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่
หนึง่ จากนั น
้ กดปุ่ มชัตเตอร์ตอ
่ จนสุด

กดลงครึง่ หนึง่
ระบบโฟกัสอัตโนมัตแ ิ ละการเปิ ดรับแสง
อัตโนมัตจ ิ ะเริม
่ ทํางาน โดยจะตัง้ ค่าความเร็ว
ชัตเตอร์และค่ารูรับแสง
การตัง้ ค่าเปิ ดรับแสง (ความเร็วชัตเตอร์/ค่ารู
รับแสง) จะแสดงในช่องมองภาพ (0)
ขณะทีค ่ ณ
ุ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จอ LCD
จะดับลง (น.270)
กดลงจนสุด
กล ้องจะลั่นชัตเตอร์และถ่ายภาพ

ป้องก ันการสน ่ ั ของกล้อง


การเคลือ่ นไหวขณะใช ้มือถือกล ้องในระหว่างช่วงทีม ่ ก
ี ารเปิ ดรับแสงถือว่าเป็ นการ
่ ของกล ้อง ซึง่ อาจทําให ้ภาพเบลอ เพือ
สัน ่ ป้ องกันการสัน่ ของกล ้อง โปรดระวัง
ดังต่อไปนี:้
• ถือกล ้องให ้นิง่ ตามภาพทีแ ่ สดงก่อนหน ้านี้
• กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ
่ ทําการโฟกัสอัตโนมัต ิ จากนัน
้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลง
ช ้าๆ จนสุด

 หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดทันทีโดยไม่กดลงครึง่ หนึง่ ก่อน หรือหากคุณกด


ปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ แล ้วกดลงจนสุดทันที กล ้องจะใช ้เวลาสักครูก
่ อ
่ นทีจ
่ ะ
ถ่ายภาพ
 แม ้ในขณะทีแ ่ สดงเมนู เล่นภาพ หรือบันทึกภาพ คุณสามารถกลับไปเตรียมถ่าย
ภาพต่อได ้ทันทีโดยการกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่

50
่ ั การถ่ายภาพแบบท ันใจ
Q การควบคุมฟังก์ชน
ั่ การถ่ายภาพทีแ
คุณสามารถเลือกและตัง้ ค่าฟั งก์ชน ่ สดงบนจอ LCD ได ้โดยตรง
ซึง่ เรียกว่าการควบคุมทันใจ

กดปุ่ม <Q> (7)


1  หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน

่ ั ทีต
2 ตงค่
ั้ าฟังก์ชน
กดปุ่ มเลือ
่ อ
้ งการ
่ น <S> เพือ ั่
่ เลือกฟั งก์ชน
 ฟั งก์ชนั่ ทีเ่ ลือก และคําแนะนํ าคุณสมบัต ิ
(น.64) จะปรากฏขึน ้
 หมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ ปรับเปลีย
่ นการตัง้ ค่า

้ ฐาน
โหมดการถ่ายภาพพืน โหมดการถ่ายภาพสร้างสรรค์

3 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ
 ภาพทีถ
่ า่ ยจะแสดงขึน

 สําหรับฟั งก์ชนั่ ทีส


่ ามารถตัง้ ค่าได ้ในโหมดการถ่ายภาพพืน
้ ฐาน และขัน
้ ตอนการ
ตัง้ ค่า โปรดดูหน ้า 89
 ในขัน ้ ตอนที่ 1 และ 2 คุณยังสามารถใช ้หน ้าจอสัมผัสของจอ LCD (น.56)

51
ั่ การถ่ายภาพแบบทันใจ
Q การควบคุมฟั งก์ชน

ต ัวอย่างหน้าจอควบคุมท ันใจ
ค่ารูรับแสง (น.152)
ความเร็วชัตเตอร์ (น.150)
โหมดการถ่ายภาพ* (น.30) เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง* (น.339)
ชดเชยแสง/
ตัง้ ค่าถ่ายภาพคร่อม ความไวแสง ISO (น.122)
(น.159/160)
ชดเชยระดับแสงแฟลช
(น.168)
รูปแบบภาพ (น.125)
การโฟกัสอัตโนมัต ิ (น.100) ตัง้ ค่าระบบแฟลชในตัวกล ้อง
(น.176)
ย ้อนกลับ

สมดุลแสงขาว (น.132) คุณภาพในการบันทึกภาพ (น.116)


โหมดเลือกพืน
้ ที่ AF (น.105) ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ (น.136)
ปรับแก ้สมดุลแสงขาว (น.134) โหมดขับเคลือ
่ น (น.112)
โหมดวัดแสง (น.157) ถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว (น.135)

ั่ ทีม
* ฟั งก์ชน ่ เี ครือ
่ งหมายดอกจันไม่สามารถตัง้ ค่าได ้ด ้วยหน ้าจอควบคุมทันใจ

หน้าจอการตงค่ ่ั
ั้ าฟังก์ชน
 เลือกฟั งก์ชน ั่ ทีต ่ ้องการ และกดปุ่ ม <0>
หน ้าจอการตัง้ ค่าของฟั งก์ชน ั่ จะปรากฏขึน ้
 กดปุ่ ม <Y> <Z> หรือหมุนปุ่ ม <6>
เพือ่ ปรับเปลีย ่ นการตัง้ ค่า นอกจากนีย ้ งั
มีบางฟั งก์ชน ั่ ทีต ่ งั ้ ค่าโดยการกดปุ่ ม
<B>, <B> หรือ <L>
 กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ยืนยันการตัง้ ค่า และ
 <0> กลับสูห ่ น ้าจอควบคุมทันใจ
 เมือ
่ คุณเลือก <r> (น.104) และกดปุ่ ม
<M> หน ้าจอก่อนหน ้าจะปรากฏขึน ้
อีกครัง้

52
3 การทํางานของเมนู
คุณสามารถปรับการตัง้ ค่าต่างๆ โดยใช ้เมนู เช่น คุณภาพในการบันทึกภาพ วันที่
และเวลา และอืน
่ ๆ

ปุ่ ม <M>

ปุ่ ม <0>

จอ LCD ปุ่ มเลือ


่ น <S>

หน้าจอเมนู
แท็บเมนูและรายการต่างๆ ทีแ
่ สดงจะแตกต่างกันไปขึน
้ อยูก
่ บ
ั โหมดการถ่ายภาพ

้ ฐาน
โหมดการถ่ายภาพพืน การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

โหมดการถ่ายภาพสร้างสรรค์
3เล่นภาพ 5ตัง้ ค่า
Aถ่ายภาพแบบ Live View
zถ่ายภาพ 9เมนูสว่ นตัว
แท็บ

รายการเมนู ตัง้ ค่าเมนู

53
3 การทํางานของเมนู

ขนตอนการต
ั้ งค่
ั้ าเมนู

1 แสดงหน้ าจอเมนู
 กดปุ่ ม <M> เพือ่ แสดงหน ้าจอเมนู
เลือกแท็ บ
2  กดปุ่ ม <Y> <Z> ของปุ่ มเลือ่ นเพือ่
เลือกแท็บ (กลุม่ ฟั งก์ชน ั่ ต่างๆ)
 ตัวอย่างเช่น ในคูม
่ อื นี้ “แท็บ [z3]”
หมายถึงหน ้าจอทีแ ่ สดงเมือ ่ แท็บ z
(ถ่ายภาพ) ทีส่ ามจากทางซ ้าย [t]
ถูกเลือก

3 เลื
อกรายการทีต ่ อ
้ งการ
 กดปุ่ ม <W> <X> ของปุ่ มเลือ
่ นเพือ

เลือกรายการ จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

4 เลื
อกการตงค่ ั้ า
 กดปุ่ ม <W> <X> หรือ <Y> <Z>
ของปุ่ มเลือ
่ นเพือ ่ เลือกการตัง้ ค่าทีต
่ ้องการ
(บางครัง้ คุณจําเป็ นต ้องกดทัง้ ปุ่ ม <W>
<X> หรือ <Y> <Z> เพือ ่ เลือกการ
ตัง้ ค่า)
 การตัง้ ค่าปั จจุบันทีเ่ ลือกจะแสดงเป็ นสี
นํ้ าเงิน

5 ปร ับการตงค่
ั้ าทีต
่ อ
 กดปุ่ ม <0> เพือ
้ งการ
่ ตัง้ ค่า

6 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ น ้าทีแ
่ กลับสูห ่ สดง
ั่ การถ่ายภาพ
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

54
3 การทํางานของเมนู

 ในขัน
้ ตอนที่ 2 คุณยังสามารถหมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ เลือกแท็บเมนู
 ในขัน้ ตอนที่ 2 ถึง 5 คุณยังสามารถใช ้หน ้าจอสัมผัสของจอ LCD (น.56)
 คําอธิบายเกีย ั่ ต่างๆ ของเมนูในทีน
่ วกับฟั งก์ชน ่ ี้ ถือว่าคุณได ้กดปุ่ ม <M> เพือ

แสดงหน ้าจอเมนูแล ้ว
 หากต ้องการยกเลิก ให ้กดปุ่ ม <M>
 สําหรับรายละเอียดเกีย ่ วกับแต่ละรายการเมนู โปรดดูหน ้า 362

รายการเมนูทม
ี่ ส ี าง
ี จ
ตัวอย่างเช่น: เมือ
่ ตัง้ ค่าลด
[ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ]
รายการเมนูทม
ี่ ส ี างไม่สามารถตัง้ ค่าได ้
ี จ
รายการเมนูจะจางลงหากการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ อืน

ครอบคลุมรายการนี้

คุณสามารถดูฟังก์ชน ั่ ทีม ่ ผ
ี ลครอบคลุมได ้โดย
เลือกรายการเมนูทมี่ ส ี จี างและกดปุ่ ม <0>
หากคุณยกเลิกการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ทีม
่ ผ
ี ลครอบ
คลุม รายการเมนูทม ี่ ส ี จี างจะกลับมาตัง้ ค่าได ้

รายการเมนูทม
ี่ ส ี างบางรายการจะไม่แสดงฟั งก์ชน
ี จ ั่ ทีม
่ ผ
ี ลครอบคลุม

่ ใช ้ [ลบการตงค่
เมือ ั้ ากล้องทงหมด] ั้ ภายใต ้ [54: ลบการตงค่
ั้ า] คุณสามารถ
ั่ ของเมนูเป็ นค่าเริม
รีเซ็ตฟั งก์ชน ่ ต ้น (น.267)

55
้ น้าจอสมผ
d การใชห ั ัส
จอ LCD เป็ นแผงทีไ่ วต่อการสัมผัสซึง่ คุณสามารถสัง่ งานได ้ด ้วยนิว้ มือของคุณ

แตะ
การควบคุมท ันใจ (ต ัวอย่างการแสดงผล)
 ใช ้นิว้ ของคุณแตะ (สัมผัสชัว่ ครูแ่ ล ้วเอานิว้
ออก) บนจอ LCD
 ด ้วยการแตะ คุณสามารถเลือกเมนู ไอคอน
ฯลฯ ทีแ ่ สดงอยูบ ่ นจอ LCD
 เมือ่ การทํางานของหน ้าจอสัมผัสสามารถ
ใช ้ได ้ กรอบจะปรากฏขึน ้ รอบไอคอน
(นอกจากบนหน ้าจอเมนู)
ตัวอย่างเช่น เมือ ่ คุณแตะบน [Q] หน ้าจอ
ควบคุมทันใจจะปรากฏขึน ้ คุณสามารถ
กลับสูห ่ น ้าจอก่อนหน ้าได ้โดยการแตะบน
[2]

การทํางานทีใ่ ช้ได้ดว้ ยการแตะหน้าจอ


 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ของเมนูหลังจากกดปุ่ ม <M>
 การควบคุมทันใจ
 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ หลังจากกดปุ่ ม <B>, <g>, <S>, <WB>,
<XA>, <YQi> หรือ <Zf>
 ชัตเตอร์แบบแตะระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View
 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View
ั่ ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ
 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ่ นไหว
 การเล่นภาพ

56
d การใช ้หน ้าจอสัมผัส

ลาก
หน้าจอเมนู (ต ัวอย่างการแสดงผล)
 เลือ
่ นนิว้ ของคุณขณะกําลังแตะจอ LCD

การแสดงสเกล (ต ัวอย่างการแสดงผล)

การทํางานทีใ่ ช้ได้ดว้ ยการลากนิว้ ของคุณบนหน้าจอ


 การเลือกแท็บเมนูหรือรายการหลังจากกดปุ่ ม <M>
 การตัง้ ค่าควบคุมสเกล
 การควบคุมทันใจ
 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View
ั่ ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ
 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ่ นไหว
 การเล่นภาพ

ั ัส
3 การปิ ดเสียงเตือนระหว่างการทํางานแบบสมผ
หากตัง้ ค่า [z1: เสียงเตือน] เป็ น
[แตะเพือ ่ y] เสียงเตือนจะไม่ดังขึน

ระหว่างการทํางานแบบสัมผัส

57
d การใช ้หน ้าจอสัมผัส

3 การตงค่ ั ัส
ั้ าควบคุมการสมผ
ั ัส]
เลือก [แบบสมผ
1  ภาพใต ้แท็บ [53] เลือก [แบบส ัมผ ัส]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

ั ัส
2 ตงค่
ั้ าควบคุมการสมผ
เลือกการตัง้ ค่าทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>
 [มาตรฐาน] เป็ นการตัง้ ค่าตามปกติ
 [ไว] ให ้ปฏิกริ ย
ิ าตอบสนองการสัมผัสที่
เร็วกว่า [มาตรฐาน] ลองใช ้ทัง้ สองการ
ตัง้ ค่าและเลือกค่าทีค
่ ณ
ุ ต ้องการ
 หากต ้องการปิ ดการทํางานของหน ้าจอ
สัมผัส ให ้เลือก [ไม่ใช้งาน]

ข้อควรระว ังสําหร ับการทํางานของหน้าจอส ัมผ ัส


่ งจากจอ LCD ไม่ไวต่อแรงกด อย่าใช ้วัตถุแหลมคม เช่น เล็บ หรือปากกาลูกลืน
 เนือ ่
สําหรับการทํางานแบบสัมผัส
 อย่าใช ้นิว้ ทีเ่ ปี ยกสําหรับการทํางานของหน ้าจอสัมผัส
 หากจอ LCD มีความชืน ้ หรือนิว้ ของคุณเปี ยก หน ้าจอสัมผัสอาจไม่ตอบสนองหรือ
เกิดการทํางานผิดพลาด ในกรณีนี้ ให ้ปิ ดสวิตซ์กล ้องและใช ้ผ ้าเช็ดจอ LCD
 อย่าติดแผ่นฟิ ลม ์ กันรอย (ทีม ี ําหน่ายทัว่ ไป) หรือสติ๊ กเกอร์บนจอ LCD ซึง่ อาจทํา
่ จ
ให ้การทํางานแบบสัมผัสตอบสนองช ้า
 หากคุณใช ้การทํางานแบบสัมผัสอย่างรวดเร็ว เมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น [ไว] การตอบสนอง
การสัมผัสอาจช ้าลง

58
3 การฟอร์แมตการ์ด
หากการ์ดทีใ่ ช ้เป็ นการ์ดใหม่หรือเคยฟอร์แมตโดยใช ้กล ้องตัวอืน่ หรือคอมพิวเตอร์
ควรฟอร์แมตการ์ดด ้วยกล ้องนีก ้ อ ่ น
เมือ
่ ทําการฟอร์แมตการ์ด ภาพและข้อมูลทงหมดในการ์ ั้ ดจะถูกลบ
ถึงแม้ภาพทีถ ่ ก
ู ป้องก ันไว้ก็จะถูกลบเช่นก ัน ด ังนนควรแน่
ั้ ใจว่าไม่ม ี
ไฟล์หรือข้อมูลใดๆ ทีต ่ อ ้ งการจะเก็บไว้ หากไม่แน่ใจ ให้ถา่ ยโอน
ภาพและข้อมูลไปย ังคอมพิวเตอร์กอ ่ นฟอร์แมตการ์ด

เลือก [ฟอร์แมตการ์ด]
1  ภายใต ้แท็บ [51] เลือก [ฟอร์แมตการ์ด]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 ฟอร์แมตการ์ด
 เลือก [ตกลง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 การ์ดจะถูกฟอร์แมต
 เมือ ้ เมนูจะปรากฏขึน
่ การฟอร์แมตเสร็จสิน ้
อีกครัง้

 สําหรับการฟอร์แมตแบบ Low Level ให ้


กดปุ่ ม <L> เพือ ่ ใช ้ [ฟอร์แมตแบบ
Low Level] โดยทําเครือ ่ งหมาย <X>
จากนัน ้ เลือก [ตกลง]

59
3 การฟอร์แมตการ์ด

่ ไปนี:้
ทําการ [ฟอร์แมตการ์ด] ในกรณีตอ
 เมือ
่ การ์ดเป็นการ์ดใหม่
 เมือ่ การ์ดเคยฟอร์แมตโดยใช้กล้องต ัวอืน ่ หรือคอมพิวเตอร์
 เมือ ่ การ์ดบ ันทึกภาพหรือข้อมูลจนเต็ ม
 เมือ ่ การ์ดแสดงข้อผิดพลาด (น.382)

การฟอร์แมตแบบ Low Level


 ทําการฟอร์แมตแบบ Low Level หากพบว่าความเร็วในการบันทึกหรือการอ่านของ
การ์ดลดลง หรือเมือ ่ คุณต ้องการลบข ้อมูลทัง้ หมดในการ์ด
 เนื่องจากการฟอร์แมตแบบ Low Level จะลบส่วนทีส ่ ามารถบันทึกข ้อมูลทัง้ หมด
ออกโดยสิน ้ เชิง ดังนั น
้ จึงใช ้เวลานานกว่าการฟอร์แมตแบบธรรมดาเล็กน ้อย
 คุณสามารถหยุดการฟอร์แมตแบบ Low Level ได ้โดยเลือก [ยกเลิก] ถึงแม ้จะสัง่
ยกเลิก การฟอร์แมตแบบธรรมดาจะดําเนินต่อไปจนเสร็จสิน ้ และคุณสามารถใช ้การ์ด
ได ้ตามปกติ

 เมือ่ การ์ดถูกฟอร์แมตหรือข ้อมูลถูกลบ เป็ นการเปลีย ่ นแปลงเฉพาะข ้อมูลในการ


จัดการไฟล์เท่านัน ้ ข ้อมูลจริงจะยังไม่ถก ู ลบออกอย่างสมบูรณ์ ควรระมัดระวังใน
เรือ
่ งนี้ เมือ
่ จะขายหรือทิง้ การ์ด ควรทําการฟอร์แมตแบบ Low Level หรือทําลาย
การ์ดก่อนทิง้ เพือ ่ ป้ องกันไม่ให ้ข ้อมูลส่วนตัวรั่วไหล
 ก่อนใช้งานการ์ด Eye-Fi แผ่นใหม่ จะต้องติดตงซอฟต์ ั้ แวร์ของการ์ดลงใน
คอมพิวเตอร์ให้เรียบร้อยก่อน จากนนจึ ั้ งใช้กล้องฟอร์แมตการ์ด

 ความจุของการ์ดทีแ ่ สดงบนหน ้าจอขณะทําการฟอร์แมต อาจน ้อยกว่าความจุท ี่


ระบุไว ้บนแผ่นการ์ด
่ นีร้ องรับเทคโนโลยี exFAT ซึง่ เป็ นลิขสิทธิข
 กล ้องรุน ์ อง Microsoft

60
การปร ับเปลีย
่ นการแสดงผลของจอ LCD
จอ LCD สามารถแสดงหน ้าจอตัง้ ค่าการถ่ายภาพ หน ้าจอเมนู ภาพทีถ
่ า่ ย และอืน
่ ๆ

การตงค่
ั้ าการถ่ายภาพ
 เมือ
่ คุณเปิ ดสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้อง การตัง้ ค่า
การถ่ายภาพจะแสดงขึน ้ มา
 เมือ่ คุณกดปุ่มช ัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ การ
แสดงผลจะด ับลง และเมือ ่ ปล่อยนิว้ ออก
จากปุ่มช ัตเตอร์ จะเปิ ดการแสดงผล
อีกครงั้
 คุณยังสามารถปิ ดการแสดงผลได ้โดย
กดปุ่ ม <T> กดปุ่ มนีอ
้ ก
ี ครัง้ เพือ
่ เปิ ด
การแสดงผล
 โดยกดปุ่ ม <B> คุณสามารถสลับการ
แสดงของจอ LCD ระหว่างการตัง้ ค่าการ
ถ่ายภาพ (น.28) และการตัง้ ค่ากล ้องได ้
(น.266)

่ ั ของเมนู
ฟังก์ชน ภาพทีถ
่ า่ ย

 แสดงขึน ้ เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <M>  แสดงขึน ้ เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <x>
กดปุ่ มนีอ้ ก
ี ครัง้ เพือ ่ น ้าจอ
่ กลับสูห กดปุ่ มนีอ้ ก
ี ครัง้ เพือ ่ น ้าจอ
่ กลับสูห
ตัง้ ค่าการถ่ายภาพ ตัง้ ค่าการถ่ายภาพ

 คุณสามารถตัง้ ค่า [52: ปุ่ม ปิ ด/เปิ ด LCD] เพือ่ ให ้จอ LCD ไม่ปิดและเปิ ด
(น.270)
 ถึงแม ้หน ้าจอเมนูหรือภาพทีถ่ า่ ยจะแสดงอยู่ การกดปุ่ มชัตเตอร์จะทําให ้กล ้อง
พร ้อมทีจ
่ ะถ่ายภาพต่อได ้ทันที
61
lการแสดงตาราง
คุณสามารถแสดงตารางในช่องมองภาพเพือ
่ ช่วยในการตรวจสอบความเอียงของ
กล ้องหรือจัดองค์ประกอบภาพ

เลือก [การแสดงช่องมองภาพ]
1  ภายใต ้แท็บ [52] เลือก [การแสดงช่อง
มองภาพ] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [การแสดงตาราง]
 เลือก [การแสดงตาราง] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

3 เลื
อก [แสดง]
 เลือก [แสดง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 เมือ
่ คุณออกจากเมนู ตารางจะปรากฏใน
ช่องมองภาพ

คุณสามารถแสดงตารางบนจอ LCD ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View และก่อนที่


คุณจะเริม
่ ถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว (น.204, 250)

62
การแสดงการตรวจจ ับแสงวูบวาบK
ั่ นี้ <G> จะปรากฏขึน
หากคุณตัง้ ค่าฟั งก์ชน ้ ในช่องมองภาพเมือ
่ กล ้อง
ตรวจจับแสงวูบวาบทีเ่ กิดจากการกะพริบของแหล่งกําเนิดแสง โดยค่าเริม่ ต ้น
การตรวจจับแสงวูบวาบจะถูกตัง้ ค่าเป็ น [แสดง]

เลือก [การแสดงช่องมองภาพ]
1  ภายใต ้แท็บ [52] เลือก [การแสดงช่อง
มองภาพ] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [การตรวจจ ับแสงวูบวาบ]
 เลือก [การตรวจจ ับแสงวูบวาบ] จากนั น

กดปุ่ ม <0>

3 เลื
อก [แสดง]
 เลือก [แสดง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

หากคุณตัง้ ค่า [z3: ถ่ายลดแสงวูบวาบ] เป็ น [ใช้งาน] คุณสามารถถ่ายภาพได ้


โดยลดความไม่สมํา่ เสมอของการเปิ ดรับแสงทีเ่ กิดจากแสงวูบวาบ (น.144)

63
คําแนะนําคุณสมบ ัติ
คําแนะนํ าคุณสมบัตจ ิ ะปรากฏขึน ้ เมือ่ คุณเปลีย
่ นโหมดการถ่ายภาพหรือตัง้ ค่า
ั่ การถ่ายภาพ, การถ่ายภาพแบบ Live View, การถ่ายภาพเคลือ
ฟั งก์ชน ่ นไหว,
หรือการควบคุมทันใจขณะเล่นภาพ และจะแสดงรายละเอียดสัน ้ ๆ สําหรับโหมด
ฟั งก์ชน ั่ หรือตัวเลือกนั น
้ ๆ รวมทัง้ จะแสดงรายละเอียดเมือ ั่ หรือ
่ คุณเลือกฟั งก์ชน
ตัวเลือกบนหน ้าจอควบคุมทันใจ คําแนะนํ าคุณสมบัตจิ ะปิ ดลงเมือ ่ คุณแตะบน
รายละเอียดหรือดําเนินการใช ้งานต่อ
 โหมดการถ่ายภาพ (ตัวอย่าง)

 การควบคุมท ันใจ (ตัวอย่าง)

การตัง้ ค่าการถ่ายภาพ การถ่ายภาพแบบ Live View การเล่นภาพ

3 การปิ ดใชง้ านคําแนะนําคุณสมบ ัติ


เลือก [คําแนะนําคุณสมบ ัติ]
 ภายใต ้แท็บ [53] เลือก [คําแนะนํา
คุณสมบ ัติ] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 เลือก [ไม่ใช้งาน] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>

64
การถ่ายภาพขนพื ้ ฐาน
ั้ น
2
และการเล่นภาพ
บทนีไ ี ารใช ้โหมดการถ่ายภาพพืน
้ ด ้อธิบายวิธก ้ ฐานโดยใช ้ปุ่ ม
โหมดเพือ ่ ผลการถ่ายภาพทีด ่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ รวมถึงวิธก
ี ารเล่นภาพ
ด ้วยโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน สิง่ ทีค
่ ณ
ุ ต ้องทําเพียงแค่เล็งกล ้องและถ่าย
ภาพ ในขณะที่ กล ้องจะตัง้ ค่าทุกอย่างให ้โดยอัตโนมัต ิ (น.89, 354)
และเพือ ่ ป้ องกันภาพเสียจากการปรับการทํางานของกล ้องทีผ ่ ด
ิ พลาด
ั่ การถ่ายภาพขัน
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ้ สูงจะไม่สามารถเปลีย ่ นแปลงได ้

าน
การถา่ ยภาพพ้ น
ื ฐ

หากคุณปรับปุ่ มโหมดไปที่ <8> เมือ่ จอ LCD ปิ ดอยู่ กดปุ่ ม <Q>


เพือ
่ ตรวจสอบโหมดถ่ายภาพก่อนการถ่ายภาพ (น.80)
65
A การถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติ (ฉากอ ัตโนม ัติอ ัจฉริยะ)
<A> เป็นโหมดการถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติ กล้องจะวิเคราะห์ล ักษณะ
ของฉากทีถ ่ า่ ยและปร ับการตงค่
ั้ าให้เหมาะสมทีส ่ ด
ุ โดยอ ัตโนม ัติ รวมทัง้ ปรับ
โฟกัสอัตโนมัตโิ ดยการตรวจสอบว่าวัตถุนัน
้ หยุดนิง่ หรือกําลังเคลือ
่ นที่ (น.69)

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <A>
1
กรอบพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ
2 เล็ว ัตถุงกรอบพืน้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติไปย ัง
 จุดโฟกัสอัตโนมัตทิ กุ จุดจะถูกใช ้ในการ
โฟกัส และกล ้องจะโฟกัสไปยังวัตถุทอ ี่ ยู่
ใกล ้ทีส
่ ด

 การเล็งตรงกลางกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ
ไปยังวัตถุจะทําให ้การโฟกัสง่ายขึน ้

3 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ วงแหวนโฟกัส
ของเลนส์จะหมุนเพือ ่ ทําการโฟกัส
 จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ จี่ ับโฟกัสได ้จะแสดง
ขึน
้ มา พร ้อมกับเสียงเตือนจะดังขึน ้ และตัว
แสดงการโฟกัส <o> ในช่องมองภาพ
จะสว่างขึน้
 ในสภาวะแสงน ้อย จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะ
สว่างขึน
้ เป็ นสีแดงในเวลาสัน ้ ๆ
 แฟลชในตัวกล ้องจะทํางานโดยอัตโนมัต ิ
หากมีความจําเป็ น

ตัวแสดงการโฟกัส

66
A การถ่ายภาพแบบอัตโนมัต ิ (ฉากอัตโนมัตอ
ิ จ
ั ฉริยะ)

4 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ
 ภาพทีถ่ า่ ยจะแสดงบนจอ LCD เป็ นเวลา
ประมาณ 2 วินาที
 หลังจากคุณเสร็จสิน้ การถ่ายภาพ ให ้ใช ้นิว้
มือดันแฟลชในตัวกล ้องลง

โหมด <A> ช่วยปรับสีสน ั ของภาพธรรมชาติ ภาพถ่ายนอกสถานที่ ตลอดจนภาพ


บรรยากาศพระอาทิตย์ตกดูน่าประทับใจยิง่ ขึน
้ หากคุณไม่ได ้โทนสีทต
ี่ ้องการ ให ้
เปลีย
่ นโหมดไปทีโ่ หมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์และเลือกรูปแบบภาพอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่
<D> แล ้วถ่ายภาพอีกครัง้ (น.125)

คําถามทีพ
่ บบ่อย

 ต ัวแสดงการโฟก ัส <o> กะพริบและกล้องจ ับโฟก ัสไม่ได้


เล็งกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตไิ ปยังบริเวณทีม ่ ค
ี วามเปรียบต่างของแสงมากๆ
จากนั น้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ (น.50) หากคุณอยูใ่ กล ้วัตถุมากเกินไป
ให ้ถอยออกห่างและลองโฟกัสอีกครัง้
 เมือ่ กล้องจ ับโฟก ัสได้แล้ว จุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติไม่สว่างขึน ้ เป็นสีแดง
จุดโฟกัสอัตโนมัตส ิ ว่างขึน
้ เป็ นสีแดงเมือ
่ จับโฟกัสได ้ในสภาวะแสงน ้อยเท่านัน

 จุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติหลายจุดสว่างขึน ้ พร้อมๆ ก ัน
กล ้องจับโฟกัสตรงจุดเหล่านั น
้ ได ้ทุกจุด คุณสามารถถ่ายภาพได ้หากจุด
โฟกัสอัตโนมัตทิ ค
ี่ รอบคลุมวัตถุทต ี่ ้องการสว่างขึน

67
A การถ่ายภาพแบบอัตโนมัต ิ (ฉากอัตโนมัตอ
ิ จ
ั ฉริยะ)

้ เบาๆ ติดๆ ก ัน (ต ัวแสดงการโฟก ัส <o> ไม่สว่างขึน


 เสียงเตือนด ังขึน ้ )
แสดงว่ากล ้องกําลังจับโฟกัสวัตถุทกี่ ําลังเคลือ
่ นทีอ
่ ย่างต่อเนือ ่ ง (ตัวแสดง
การโฟกัส <o> ไม่สว่างขึน ้ ) คุณสามารถถ่ายภาพวัตถุทก ี่ ําลังเคลือ่ นทีไ่ ด ้
อย่างคมชัด
โปรดทราบว่าการล็อคโฟกัส (น.69) จะไม่ทํางานในกรณีนี้
 การกดปุ่มช ัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ไม่ทําให้กล้องโฟก ัสว ัตถุ
หากสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสบนเลนส์ปรับอยูท ่ ี่ <MF> (โฟกัสด ้วยตนเอง)
ให ้ปรับไปที่ <AF> (โฟกัสอัตโนมัต)ิ
 มีการยิงแสงแฟลชแม้จะถ่ายภาพในตอนกลางว ัน
เมือ ่ ถ่ายภาพวัตถุแบบย ้อนแสง แฟลชจะทํางานเพือ ่ ให ้ความสว่างกับบริเวณ
ทีม ่ ดื บนวัตถุ หากคุณไม่ต ้องการยิงแสงแฟลช ให ้ใช ้การควบคุมทันใจเพือ ่
ตัง้ ค่า [ยิงไฟแฟลช] เป็ น [b] (น.88) หรือตัง้ ค่าเป็ นโหมด <7> (ปิ ด
แฟลช) แล ้วถ่ายภาพ (น.71)
 มีการยิงแสงแฟลชและภาพทีไ่ ด้ดส ู ว่างจ้ามาก
ให ้ถอยห่างจากวัตถุกว่าเดิมแล ้วลองถ่ายภาพใหม่ เมือ ่ ถ่ายภาพโดยใช ้แฟลช
และวัตถุอยูใ่ กล ้กับกล ้องมากเกินไป ภาพทีไ่ ด ้อาจดูสว่างจ ้ามาก (ค่าแสง
มากเกินไป)
 ในสภาวะแสงน้อย แฟลชในต ัวกล้องจะยิงแสงเป็นชุด
การกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ อาจยิงแสงแฟลชในตัวกล ้องออกมาเป็ นชุดเพือ

ช่วยในการโฟกัส ซึง่ เรียกว่าแสงไฟช่วยปรับโฟกัส ในระยะทีม ่ ผ
ี ลประมาณ
4 เมตร/13.1 ฟุต แฟลชในตัวกล ้องจะทําให ้เกิดเสียงเมือ ่ ยิงแสงอย่างต่อ
่ ง ซึง่ ถือเป็ นเรือ
เนือ ่ งปกติและไม่ใช่ความผิดพลาดแต่อย่างใด
 ส่วนล่างของภาพดูมด ื ผิดปกติเมือ ่ ใช้แฟลช
เงาของกระบอกเลนส์ตด ิ อยูใ่ นภาพขณะทีถ ่ า่ ย เพราะวัตถุอยูใ่ กล ้กับกล ้อง
มากเกินไป ให ้ถอยออกห่างจากวัตถุมากขึน ้ แล ้วลองถ่ายภาพใหม่ หากเลนส์
มีการติดฮูด ให ้ถอดฮูดออกก่อนทีจ ่ ะถ่ายภาพโดยใช ้แฟลช

68
A เทคนิคการถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติ
(ฉากอ ัตโนม ัติอ ัจฉริยะ)
การจ ัดองค์ประกอบภาพ

ในบางฉากการถ่ายภาพ การวางตําแหน่งของวัตถุไปทางซ ้ายหรือขวาของภาพ


เพือ่ สร ้างความสมดุลกับฉากหลัง ทําให ้ได ้มุมมองภาพทีส ่ วยงามขึน้
ในโหมด <A> การกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ ่ โฟกัสไปยังวัตถุทอี่ ยูใ่ น
สภาพนิง่ จะล็อคโฟกัสอยูท ่ วี่ ัตถุนัน
้ จัดองค์ประกอบภาพใหม่ในขณะทีก ่ ดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ค ้างไว ้ จากนัน ้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ่ ถ่ายภาพ ซึง่ เรียก
ว่า “การล็อคโฟกัส” ล็อคโฟกัสยังสามารถใช ้งานร่วมกับโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน
อืน
่ ๆ (ยกเว ้น <5> <C>)

การถ่ายภาพว ัตถุทก
ี่ า
ํ ล ังเคลือ
่ นที่

ในโหมด <A> หากวัตถุมก ี ารเคลือ


่ นที่ (ระยะห่างจากกล ้องเปลีย
่ นไป) ใน
ขณะหรือหลังจากทีค ่ ณ
ุ โฟกัสได ้แล ้ว AI Servo AF จะทํางานเพือ ่ โฟกัสทีว่ ตั ถุนัน

อย่างต่อเนือ
่ ง (เสียงเตือนจะดังขึน ้ เบาๆ ติดๆ กัน) หากคุณให ้กรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัส
อัตโนมัตอิ ยูเ่ หนือตําแหน่งของวัตถุขณะกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ การโฟกัสจะ
ทํางานอย่างต่อเนือ ่ ง เมือ
่ คุณต ้องการถ่ายภาพ ให ้กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด

69
A เทคนิคการถ่ายภาพแบบอัตโนมัต ิ (ฉากอัตโนมัตอ
ิ ัจฉริยะ)

A การถ่ายภาพแบบ Live View


คุณสามารถถ่ายภาพในขณะทีม ่ องภาพผ่านจอ LCD ได ้ ซึง่ เรียกว่า “การถ่าย
ภาพแบบ Live View” สําหรับรายละเอียด โปรดดูหน ้า 191
แสดงภาพแบบ Live View บนจอ
1 LCD
 กดปุ่ ม <A>
 ภาพแบบ Live View จะปรากฏบนจอ LCD

2 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ
่ โฟกัส
 เมือ
่ จับโฟกัสได ้แล ้ว จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะ
เปลีย่ นเป็ นสีเขียวและมีเสียงเตือนดังขึน

3 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด
 กล ้องจะถ่ายภาพ และภาพทีถ ่ า่ ยจะแสดง
บนจอ LCD
 เมือ ้ สุดการแสดงภาพ กล ้องจะกลับสู่
่ สิน
การถ่ายภาพแบบ Live View อีกครัง้ โดย
อัตโนมัต ิ
 กดปุ่ ม <A> เพือ ่ ยุตก
ิ ารถ่ายภาพแบบ
Live View
คุณยังสามารถหมุนจอ LCD ได ้อีกหลากหลายมุม (น.39)

มุมปกติ มุมตํา่ มุมสูง

70
7 การปิ ดใชง้ านแฟลช
กล ้องจะวิเคราะห์ลักษณะของฉากทีถ ่ า่ ยและปรับการตัง้ ค่าให ้เหมาะสมทีส ่ ด
ุ โดย
อัตโนมัต ิ ในสถานทีซ ่ งึ่ มีการห ้ามถ่ายภาพโดยใช ้แฟลช เช่น พิพธ ิ ภัณฑ์ หรือ
พิพธิ ภัณฑ์สตั ว์นํ้า ให ้ใช ้โหมด <7> (ปิ ดแฟลช)

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 ป้องก ันการสน ่ ั ของกล้องหากการแสดงต ัวเลขในช่องมองภาพเกิดการ


กะพริบ
ภายใต ้สภาวะแสงน ้อย การสัน ่ ของกล ้องมีแนวโน ้มทีจ ่ ะเกิดขึน
้ การแสดง
ความเร็วชัตเตอร์ในช่องมองภาพจะกะพริบ พยายามถือกล ้องให ้นิง่ หรือใช ้
ขาตัง้ กล ้อง เมือ ่ ใช ้เลนส์ซม
ู ควรเลือกใช ้ช่วงถ่ายภาพมุมกว ้างเพือ ่ ลดอาการ
ภาพเบลอจากการสัน ่ ของกล ้องแม ้ขณะใช ้มือถือกล ้อง

 ถ่ายภาพบุคคลโดยไม่ใช้แฟลช
ในสภาวะแสงน ้อย ควรบอกให ้บุคคลในภาพอยูน ่ งิ่ ๆ จนกระทั่งถ่ายภาพเสร็จ
เรียบร ้อย การเคลือ ่ นไหวใดๆ ของบุคคลระหว่างการถ่ายภาพ อาจส่งผลให ้
ภาพบุคคลทีถ ่ า่ ยดูเบลอ

71
C การถ่ายภาพอ ัตโนม ัติแบบสร้างสรรค์
ในโหมด <C> คุณสามารถตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ การถ่ายภาพได ้ดังต่อไปนี:้
(1) ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ (2) ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ (3) เบลอ
ฉากหลัง (4) โหมดขับเคลือ ่ น และ (5) ส่องแสงแฟลช การตัง้ ค่าเริม
่ ต ้นจะ
เหมือนกับในโหมด <A>
* CA หมายถึง Creative Auto (อัตโนมัตแ
ิ บบสร ้างสรรค์)

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <C>
1
2 กดปุ
่ ม <Q> (7)
 หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน

่ ั ทีต
3 ตงฟั
ั้ งก์ชน
กดปุ่ มเลือ
่ อ
้ งการ
่ น <S> เพือ ั่
่ เลือกฟั งก์ชน
ั่ ทีเ่ ลือก และคําแนะนํ าคุณสมบัต ิ
 ฟั งก์ชน
(น.64) จะปรากฏขึน ้
 กด <0> เพือ ั่
่ ตัง้ ค่าฟั งก์ชน
 สําหรับขัน ้ ตอนการตัง้ ค่าและรายละเอียด
ของแต่ละฟั งก์ชน ั่ โปรดดูหน ้า 73-75

4 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ

72
C การถ่ายภาพอัตโนมัตแ
ิ บบสร ้างสรรค์

(1) (2)
ความเร็วชัตเตอร์
(3)
ค่ารูรับแสง
(5)
ความไวแสง ISO

(4)

หากคุณตัง้ ค่าเป็ น (1), (2) หรือ (3) เมือ


่ กล ้องตัง้ ค่าเป็ นการถ่ายภาพแบบ Live
View คุณสามารถดูเอฟเฟคบนหน ้าจอได ้ก่อนทีค ่ ณ ุ จะทําการถ่ายภาพ
(1) ถ่ายภาพด้วยลูกเล่นพิเศษ
• คุณสามารถเลือกลูกเล่นสําหรับการถ่ายภาพได ้ดังต่อไปนี:้ ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์
(น.200), รูปแบบภาพ (น.125) และถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ (น.90)
• กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือก [ : ใช้งาน] หมุนปุ่ ม <6> เพือ ่
เลือกเอฟเฟคการถ่ายภาพแล ้วจึงถ่ายภาพ
• เมือ
่ คุณถ่ายภาพ ภาพทีถ ่ กู บันทึกไว ้จะมีสองภาพ ภาพหนึง่ มีการใช ้เอฟเฟค
และอีกภาพหนึง่ ไม่มก ี ารใช ้เอฟเฟคใดๆ ภาพถ่ายทัง้ สองจะถูกแสดงขึน ้ ด ้วย
กันโดยทันทีภายหลังจากทีค ่ ณุ ถ่ายภาพ ภาพถ่ายทีไ่ ม่มเี อฟเฟคจะแสดงอยู่
ทางด ้านซ ้าย และภาพถ่ายทีม ่ กี ารใช ้เอฟเฟคจะแสดงอยูท ่ างด ้านขวา
การบ ันทึกเอฟเฟคการถ่ายภาพโปรดของคุณ
• ระหว่างการแสดงภาพโดยทันทีหลังจากการถ่ายภาพและระหว่างการดูภาพ
ภาพทีม ี ารใช ้เอฟเฟคจะมีไอคอน [s
่ ก ] หลังจากคุณกดปุ่ ม <0>
แล ้วกดปุ่ ม <B> คุณสามารถตรวจสอบเอฟเฟคทีถ ู ใช ้ในภาพได ้
่ ก
• คุณสามารถบันทึกเอฟเฟคการถ่ายภาพใน [9:เอฟเฟคโปรด] ได ้ไม่เกิน
สองเอฟเฟค
• เมือ่ คุณเลือก [9:เอฟเฟคโปรด] ทีบ ่ ันทึกไว ้ คุณจะสามารถถ่ายภาพโดย
ใช ้เอฟเฟคการถ่ายภาพนัน ้ ได ้ คุณสามารถเขียนทับ [9:เอฟเฟคโปรด]
ได ้

 หากคุณใช ้การ์ด Eye-Fi และตัง้ ค่าไว ้ให ้ลบภาพถ่ายหลังจากการถ่ายโอน ภาพ


ี ารใช ้เอฟเฟคจะไม่แสดงขึน
ถ่ายทีไ่ ม่มก ้ ในการดูภาพโดยทันทีหลังจากการถ่าย
ภาพ
 ภาพแบบ Live View ทีแ ่ สดงโดยใช ้ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ อาจมีความแตก
ต่างจากภาพทีถ ่ ่ายจริงบ ้าง

73
C การถ่ายภาพอัตโนมัตแ
ิ บบสร ้างสรรค์

(2) ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ
• คุณสามารถเลือกและถ่ายภาพโดยใช ้บรรยากาศแสงทีต ่ ไปใน
่ ้องการสือ
ภาพถ่าย
• กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือกบรรยากาศ สําหรับรายละเอียด โปรดดูหน ้า 90

(3) เบลอฉากหล ัง

• หากตัง้ ค่าเป็ น [ปิ ด] ระดับความเบลอของฉากหลังจะเปลีย ่ นไป ขึน้ อยูก


่ ับ
ความสว่าง
• หากตัง้ ค่าเป็ นค่าใดๆ นอกเหนือจาก [ปิ ด] คุณสามารถปรับระดับความ
เบลอของฉากหลังได ้โดยไม่ต ้องขึน ้ อยูก
่ บั ความสว่าง
• หากคุณหมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ เลือ
่ นเคอร์เซอร์ไปทางขวา ฉากหลังจะคม
ชัดขึน ้
• หมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ นเคอร์เซอร์ไปทางซ ้าย ฉากหลังของวัตถุจะถูก
่ เลือ
เบลอ โปรดทราบว่าตัวเลือ ่ นการปรับค่าบางค่าอาจไม่สามารถเลือกได ้
ทัง้ นีข
้ น ึ้ อยูก ่ บ
ั รูรับแสงกว ้างสุดของเลนส์ (f/number น ้อยทีส ่ ด
ุ )
• หากคุณใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View คุณสามารถดูความเบลอของภาพ
ด ้านหน ้าและหลังจุดโฟกัสได ้ เมือ ่ คุณหมุนปุ่ ม <6> [จําลองการเบลอ]
จะแสดงขึน ้ บนหน ้าจอ LCD
• หากคุณต ้องการทําให ้ฉากหลังเบลอ โปรดดู “การถ่ายภาพบุคคล” ในหน ้า 76
• ฉากหลังอาจดูไม่เบลอเท่าทีค ่ วร ขึน้ อยูก
่ บั เลนส์ทใี่ ช ้และสภาวะการถ่ายภาพ
• ฟั งก์ชน ั่ นีไ้ ม่สามารถตัง้ ค่าได ้หากคุณใช ้แฟลช หากตัง้ ค่าใช ้ <a> ไว ้และ
คุณตัง้ ค่าใช ้ฉากหลังเบลอ <b> จะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ

 หาก [จําลองการเบลอ] ใช ้งานได ้ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View ภาพที่


แสดงโดยมี <g> (น.194) กะพริบอยู่ ภาพอาจมีน๊อยส์มากกว่าภาพจริง
ทีถ
่ ก
ู บันทึก หรือภาพอาจดูมด ื ลง
 คุณไม่สามารถตัง้ ค่าใช ้ทัง้ (1) ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ และ (2) ถ่ายภาพตาม
การเลือกบรรยากาศ พร ้อมกันได ้
 คุณไม่สามารถตัง้ ค่าใช ้ทัง้ (1) ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ และ (3) เบลอฉากหลัง
พร ้อมกันได ้

74
C การถ่ายภาพอัตโนมัตแ
ิ บบสร ้างสรรค์

(4) โหมดข ับเคลือ ่ น: ใช ้ปุ่ ม <6> เพือ ่ เลือก


<u>ถ่ายภาพเดีย ่ ว:
ถ่ายภาพครัง้ ละหนึง่ ภาพ
<i>ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง:
เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดค ้างไว ้ กล ้องจะถ่ายภาพ
อย่างต่อเนือ ่ ง คุณสามารถถ่ายภาพต่อเนือ ่ งได ้สูงสุด 5.0
ภาพต่อวินาที
<B>ถ่ายภาพเดีย ่ วแบบเงียบ*:
ถ่ายภาพเดีย ่ วทีม
่ เี สียงถ่ายภาพเบากว่า <u>
<M>ถ่ายภาพต่อเนือ ่ งแบบเงียบ*:
ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง (สูงสุดประมาณ 3.0 ภาพ/วินาที) ทีม ่ ี
เสียงถ่ายภาพเบากว่า <i>
<Q>ตงเวลา:
ั้ 10 วิ/ รีโมทคอนโทรล:
กล ้องจะใช ้เวลาประมาณ 10 วินาที เพือ ่ ถ่ายภาพหลังจาก
คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ สามารถใช ้รีโมทคอนโทรลได ้เช่นกัน
<l>ตงเวลา: ั้ 2 วินาที:
กล ้องจะใช ้เวลาประมาณ 2 วินาที เพือ ่ ถ่ายภาพหลังจาก
คุณกดปุ่ มชัตเตอร์
<q>ตงเวลา: ั้ ต่อเนือ ่ ง:
กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือกจํานวนภาพทีต ่ ้องการถ่าย
(2 ถึง 10) โดยใช ้การตัง้ เวลา หลังจากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์แล ้ว
10 วินาที กล ้องจะถ่ายภาพตามจํานวนภาพทีต ่ งั ้ ไว ้
* ไม่สามารถตัง้ ค่าได ้ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View
(5) ส่องแสงไฟแฟลช: หมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ เลือกการตัง้ ค่าทีต ่ ้องการ
<a> แฟลชอ ัตโนม ัติ : ยิงแฟลชโดยอัตโนมัตเิ มือ ่ จําเป็ น
<I> บ ังค ับใช้แฟลช : ยิงแฟลชทุกครัง้ ทีถ
่ า่ ยภาพ
<b> ปิ ดแฟลช : แฟลชจะไม่ทํางาน

 เมือ่ ใช ้การตัง้ เวลาถ่ายภาพ โปรดดูข ้อมูลเสริม ในหน ้า 114


่ ใช ้ <b> โปรดดู “การปิ ดใช ้งานแฟลช” ในหน ้า 71
 เมือ
 หากคุณตัง้ ค่าใช ้งาน ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ 1+73, 1 และ <i>
<M> <q> ไม่สามารถตัง้ ค่าได ้
 หากคุณตัง้ ค่าใช ้งานเบลอฉากหลัง คุณไม่สามารถใช ้แฟลชได ้

75
2 การถ่ายภาพบุคคล
โหมด <2> (บุคคล) ทําให ้ฉากหลังเบลอเพือ ่ บุคคลในภาพดูเด่นขึน
้ นอกจาก
นีย
้ ังช่วยปรับโทนสีผวิ และผมให ้ดูนุ่มนวลขึน

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 เลือกสถานทีท ่ วี่ ัตถุมรี ะยะห่างจากฉากหล ังมากทีส


่ ด

ยิง่ บุคคลอยูไ่ กลจากฉากหลัง ยิง่ ทําให ้ฉากหลังดูเบลอมากขึน
้ บุคคลในภาพ
จะเด่นขึน้ เมือ่ เทียบกับฉากหลังทีม ่ ด
ื กระจาย
 ใช้เลนส์ถา่ ยภาพระยะไกล
หากคุณมีเลนส์ซม ู ให ้ใช ้ช่วงถ่ายภาพระยะไกล เพือ
่ ให ้ภาพบุคคลจากส่วน
เอวขึน
้ ไปพอดีกับขนาดเฟรม ขยับเข ้าใกล ้ขึน้ หากจําเป็ น
 โฟก ัสทีใ่ บหน้า
ตรวจสอบจุดโฟกัสอัตโนมัตบ ิ นใบหน ้าว่าสว่างขึน
้ สําหรับการถ่ายภาพใบ
หน ้าบุคคลในระยะใกล ้ ให ้โฟกัสทีด
่ วงตา

การตัง้ ค่าเริม
่ ต ้นเป็ น <i> (ถ่ายภาพต่อเนือ
่ ง) หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดค ้างไว ้
กล ้องจะถ่ายภาพอย่างต่อเนื่อง เพือ ่ เก็บรายละเอียดของท่าทางและการแสดงออกทาง
สีหน ้าทีเ่ ปลีย
่ นไป (สูงสุดประมาณ 5.0 ภาพต่อวินาที)
76
3 การถ่ายภาพวิว
ใช ้โหมด <3> (ภาพวิว) สําหรับทัศนียภาพในทีก ่ ว ้าง หรือเมือ
่ ต ้องการให ้ทุก
ส่วนของภาพอยูใ่ นโฟกัสตัง้ แต่ระยะใกล ้จนถึงไกล ภาพทีไ่ ด ้จะมีความคมชัดมาก
และส่วนทีเ่ ป็ นสีฟ้าหรือสีเขียวจะดูสดขึน

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 เมือ่ ใช้เลนส์ซูม ให้ใช้ชว ่ งถ่ายภาพมุมกว้าง


่ ใช ้ช่วงถ่ายภาพมุมกว ้างของเลนส์ซม
เมือ ู วัตถุทอ
ี่ ยูใ่ นระยะใกล ้และไกลจะอยู่
ในโฟกัสได ้ดีกว่าใช ้ช่วงถ่ายภาพระยะไกล รวมทัง้ ยังทําให ้ภาพวิวดูกว ้างขึน

 การถ่ายภาพฉากกลางคืน
โหมด <3> เหมาะสมสําหรับการถ่ายภาพในฉากกลางคืน เนือ ่ งจากแฟลช
ในตัวกล ้องจะไม่ทํางานในโหมดนี้ เมือ่ ถ่ายภาพฉากกลางคืน ควรใช ้ขาตัง้
กล ้องเพือ ่ ของกล ้อง
่ ป้ องกันการสัน

 แฟลชในตัวกล ้องจะไม่ทํางาน แม ้ในสภาพย ้อนแสงและในสภาวะแสงน ้อย


 หากคุณใช ้ Speedlite ภายนอก Speedlite นั น
้ จะยิงแสง

77
4 การถ่ายภาพระยะใกล้
่ คุณต ้องการถ่ายภาพดอกไม ้หรือสิง่ ของเล็กๆ ในระยะใกล ้ ให ้ใช ้โหมด
เมือ
<4> (ระยะใกล ้) และเพือ ่ ทําให ้สิง่ เล็กๆ ในภาพทีถ
่ า่ ยปรากฏขนาดใหญ่ขน
ึ้
ให ้ใช ้เลนส์มาโคร (แยกจําหน่าย)

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 เลือกฉากหล ังทีเ่ รียบง่าย


ฉากหลังทีเ่ รียบง่ายทําให ้วัตถุเล็กๆ เช่น ดอกไม ้ ดูเด่นขึน

 ขย ับเข้าใกล้ว ัตถุทสี่ ด
ุ เท่าทีจ่ ะทําได้
ตรวจสอบระยะโฟกัสใกล ้ทีส ุ ของเลนส์ทใี่ ช ้ สําหรับบางรุน
่ ด ่ จะมีการระบุไว ้บน
เลนส์ เช่น <MACRO 0.25m/0.8ft> ระยะโฟกัสใกล ้สุดของเลนส์คอ ื
ระยะทีว่ ัดจากเครือ
่ งหมาย <V> (ระนาบโฟกัส) ด ้านบนของตัวกล ้องไปจน
ถึงวัตถุ หากคุณอยูใ่ กล ้วัตถุมากเกินไป ไฟยืนยันการโฟกัส <o> จะกะพริบ
หากคุณใช ้แฟลชและด ้านล่างของภาพดูมด ื ผิดปกติ ให ้ถอยห่างจากวัตถุ
 เมือ ่ งถ่ายภาพระยะไกล
่ ใช้เลนส์ซูม ให้ใช้ชว
หากคุณมีเลนส์ซม ู การใช ้ช่วงถ่ายภาพระยะไกลจะทําให ้วัตถุดใู หญ่ขน
ึ้

78
5 การถ่ายภาพว ัตถุทก
ี่ า
ํ ล ังเคลือ
่ นที่
ใช ้โหมด <5> (กีฬา) เพือ่ ถ่ายภาพวัตถุทก
ี่ ําลังเคลือ
่ นที่ เช่น บุคคลทีก
่ ําลังวิง่
หรือยานพาหนะทีก
่ ําลังเคลือ
่ นที่

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 ใช้เลนส์ถา ่ ยภาพระยะไกล
แนะนํ าให ้ใช ้เลนส์ถา่ ยภาพระยะไกลสําหรับการถ่ายภาพจากบริเวณทีอ
่ ยูไ่ กล
 ติดตามว ัตถุดว้ ยกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติ
เล็งกึง่ กลางของจุดโฟกัสไปยังวัตถุ จากนัน ้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ่ ให ้
กล ้องเริม่ การโฟกัสอัตโนมัตใิ นกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ ในขณะทีก ่ ารโฟกัส
กําลังทํางาน เสียงเตือนจะดังขึน ้ เบาๆ ติดๆ กัน หากกล ้องไม่สามารถจับ
โฟกัสได ้ ตัวแสดงการโฟกัส <o> จะกะพริบ
การตัง้ ค่าเริม่ ต ้นเป็ น <i> (ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง) เมือ
่ คุณต ้องการถ่ายภาพ
ให ้กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดค ้างไว ้ คุณจะยัง
สามารถรักษาการโฟกัสไว ้ได ้ ในระหว่างการถ่ายภาพวัตถุทก ี่ ําลังเคลือ่ นที่
แบบต่อเนือ ่ ง (สูงสุดประมาณ 5.0 ภาพต่อวินาที)

 ภายใต ้สภาวะแสงน ้อย การสัน ่ ของกล ้องมีแนวโน ้มทีจ


่ ะเกิดขึน
้ การแสดงความ
เร็วชัตเตอร์ในช่องมองภาพทางด ้านล่างซ ้ายจะกะพริบ พยายามถือกล ้องให ้นิง่
แล ้วถ่ายภาพ
 AF ครัง้ เดียวจะใช ้งานในระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View (น.101)
 หากคุณใช ้ Speedlite ภายนอก Speedlite นั น ้ จะยิงแสง

79
8: โหมดฉากพิเศษ
กล ้องจะเลือกการตัง้ ค่าทีเ่ หมาะสมให ้โดยอัตโนมัต ิ เมือ
่ คุณเลือกโหมดถ่ายภาพ
สําหรับวัตถุหรือฉากของคุณ

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <8>
1
2 กดปุ
่ ม <Q> (7)
 หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน

3 เลื
อกโหมดถ่ายภาพ
 กดปุ่ ม <S> เพือ
่ เลือกไอคอนโหมดถ่าย
ภาพทีต ่ ้องการ
 หมุนปุ่ ม <6> เพือ
่ เลือกโหมดถ่ายภาพ

 คุณยังสามารถเลือกไอคอนโหมดถ่ายภาพ
แล ้วกด <0> เพือ่ แสดงตัวเลือกในโหมด
ถ่ายภาพทีค
่ ณ
ุ สามารถเลือกได ้

โหมดถ่ายภาพทีเ่ ลือกได้ในโหมด <8>


โหมดการถ่ายภาพ หน้า โหมดการถ่ายภาพ หน้า
C เด็ก น.81 6 บุคคลกลางคืน น.84
P อาหาร น.82 F ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ น.85
x แสงเทียน น.83 G ควบคุมแสงพืน
้ หลัง HDR น.86

80
C การถ่ายภาพเด็ก
เมือ ่ งและถ่ายภาพเด็กๆ ขณะวิง่ เล่น ใช ้ <C>
่ คุณต ้องการโฟกัสอย่างต่อเนือ
(เด็ก) โทนสีผวิ จะดูมส
ี ข
ุ ภาพดี

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 ติดตามว ัตถุดว้ ยกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติ


เล็งกึง่ กลางของจุดโฟกัสไปยังวัตถุ จากนัน ้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ
่ ให ้
กล ้องเริม่ การโฟกัสอัตโนมัตใิ นกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ ในขณะทีก ่ ารโฟกัส
กําลังทํางาน เสียงเตือนจะดังขึน ้ เบาๆ ติดๆ กัน หากกล ้องไม่สามารถจับโฟกัส
ได ้ ตัวแสดงการโฟกัส <o> จะกะพริบ
 ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง
การตัง้ ค่าเริม
่ ต ้นเป็ น <i> (ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง) เมือ
่ คุณต ้องการถ่ายภาพ
ให ้กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดค ้างไว ้ คุณจะ
สามารถรักษาการโฟกัสอัตโนมัตไิ ว ้ได ้ ในระหว่างการถ่ายวัตถุทม ี่ ก
ี ารเปลีย
่ น
แปลงสีหน ้าและการเคลือ ่ นไหวได ้อย่างต่อเนือ
่ ง (สูงสุดประมาณ 5.0 ภาพ
ต่อวินาที)

 ในขณะทีแ ่ ฟลชกําลังเตรียมทํางาน “IbuSY” จะแสดงในช่องมองภาพ


และคุณจะไม่สามารถถ่ายภาพได ้ ให ้ถ่ายภาพหลังจากการแสดงนีป ้ ิ ดลง ระหว่าง
การถ่ายภาพแบบ Live View “BUSY” จะแสดงบนจอ LCD และคุณไม่สามารถดู
วัตถุได ้
 AF ครัง้ เดียวจะใช ้งานในระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View (น.101).

81
P การถ่ายภาพอาหาร
่ ถ่ายภาพอาหาร ใช ้ <P> (อาหาร) ภาพถ่ายจะดูสว่างและสดใส
เมือ

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 เปลีย ่ นโทนสี
คุณสามารถเปลีย ่ น [โทนสี] ได ้ ภาพถ่ายอาหารทีม ่ ก
ี ารแต ้มโทนสีแดงจะทํา
ให ้อาหารดูสดใส หากต ้องการเพิม ่ โทนสีแดงให ้อาหาร ให ้ปรับไปทาง [โทน
สีอนุ่ ] ปรับไปทาง [โทนสีเย็ น] หากภาพดูแดงมากเกินไป
 ถ่ายภาพว ัตถุในระยะใกล้
หากคุณมีเลนส์ซม
ู เลือกช่วงถ่ายภาพระยะไกลเพือ
่ ถ่ายภาพอาหารในระยะใกล ้
 หลีกเลีย ่ งการใช้แฟลช
หากคุณใช ้แฟลช แสงอาจสะท ้อนกับจานหรืออาหารและจะส่งผลให ้เกิดเงา
ทีไ่ ม่เป็ นธรรมชาติ โดยค่ามาตรฐานจะตัง้ ไว ้เป็ น <b> (ปิ ดแฟลช) พยายาม
ป้ องกันกล ้องสัน่ ในขณะการถ่ายภาพในสภาวะแสงน ้อย

 เนือ
่ งจากการตัง้ ค่าในโหมดนีต
้ งั ้ ค่าโทนสีไว ้เพือ
่ ให ้อาหารดูสดใส วัตถุทเี่ ป็ นบุคคล
อาจมีโทนสีผวิ ทีไ่ ม่เหมาะสม
 หากคุณใช ้แฟลช การตัง้ ค่า [โทนสี] จะสลับไปเป็ นค่ามาตรฐาน

82
x การถ่ายภาพบุคคลใต้แสงเทียน
่ ถ่ายภาพบุคคลในแสงเทียน ใช ้ <x> (แสงเทียน) โทนสีของแสงเทียนจะ
เมือ
ถูกรักษาไว ้ในภาพ

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 ใช้จดุ โฟก ัสกึง่ กลางในการโฟก ัสภาพ


เล็งกึง่ กลางของจุดโฟกัสในช่องมองภาพไปยังวัตถุ แล ้วจึงถ่ายภาพ
 ป้องก ันกล้องสน ่ ั หากความเร็ วช ัตเตอร์ในช่องมองภาพกะพริบ
ภายใต ้สภาวะแสงน ้อย การสัน ่ ของกล ้องมีแนวโน ้มทีจ ่ ะเกิดขึน
้ การแสดง
ความเร็วชัตเตอร์ในช่องมองภาพจะกะพริบ พยายามถือกล ้องให ้นิง่ หรือใช ้
่ ใช ้เลนส์ซม
ขาตัง้ กล ้อง เมือ ู ควรเลือกใช ้ช่วงถ่ายภาพมุมกว ้างเพือ ่ ลดอาการ
ภาพเบลอจากการสัน ่ ของกล ้องแม ้ขณะใช ้มือถือกล ้อง

 เปลีย่ นโทนสี
คุณสามารถเปลีย ่ น [โทนสี] ได ้ หากต ้องการเพิม
่ โทนสีแดงให ้กับแสงเทียน
ให ้ปรับไปทาง [โทนสีอนุ่ ] ปรับไปทาง [โทนสีเย็ น] หากภาพดูแดงมากเกิน
ไป

 ไม่สามารถใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View ได ้


 แฟลชในตัวกล ้องจะไม่ทํางาน ในสภาวะแสงน ้อย แสงไฟช่วยปรับโฟกัสอาจจะ
ปล่อยออกมา (น.103)
 หากคุณใช ้ Speedlite ภายนอก Speedlite นั น
้ จะยิงแสง
83
6 การถ่ายภาพบุคคลในเวลากลางคืน
(ด้วยขาตงกล้
ั้ อง)
เพือ่ ถ่ายภาพบุคคลในเวลากลางคืนและได ้ฉากหลังในบรรยากาศกลางคืนทีด ่ ู
เป็ นธรรมชาติ ให ้ใช ้โหมด <6> (บุคคลกลางคืน) แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 ใช้เลนส์ถา ่ ยภาพมุมกว้างและขาตงกล้ ั้ อง
่ ใช ้เลนส์ซม
เมือ ู ควรเลือกใช ้ช่วงถ่ายภาพมุมกว ้างเพือ ่ ให ้ได ้ภาพทิวทัศน์
กลางคืนทีก ่ ว ้างออกไป และควรใช ้ขาตัง้ กล ้องเพือ่ ป้ องกันการสัน ่ ของกล ้อง
 ตรวจสอบความสว่างของบุคคลในภาพ
ภายใต ้สภาวะแสงน ้อย แฟลชในตัวกล ้องจะทํางานโดยอัตโนมัตเิ พือ่ ให ้
บุคคลได ้รับแสงทีเ่ หมาะสม
แนะนํ าให ้ดูภาพหลังจากทีถ่ า่ ย เพือ
่ ตรวจสอบความสว่างของภาพ หาก
บุคคลในภาพดูมด ื ให ้ขยับใกล ้ขึน้ แล ้วลองถ่ายภาพอีกครัง้
 หรือถ่ายภาพด้วยโหมดถ่ายภาพอืน ่
เนือ ่ ได ้ง่ายในการถ่ายภาพในเวลากลางคืน แนะนํ าให ้
่ งจากกล ้องมีโอกาสสัน
ถ่ายภาพด ้วย <A> และ <F>

 ควรบอกให ้บุคคลในภาพอยูน ่ งิ่ ๆ แม ้หลังจากทีย


่ งิ แฟลชไปแล ้ว
 หากคุณใช ้การตัง้ เวลาร่วมกับแฟลช หลอดไฟของระบบตัง้ เวลาถ่ายภาพจะสว่าง
ขึน ้ ๆ หลังจากถ่ายภาพ
้ เป็ นเวลาสัน
 โปรดดูข ้อควรระวังในหน ้า 87

84
F การถ่ายภาพฉากกลางคืน (มือถือกล้อง)
ใช ้ขาตัง้ กล ้องในการถ่ายภาพกลางคืนจะให ้ผลดีทสี่ ด
ุ อย่างไรก็ตาม โหมด <F>
(ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ) ช่วยให ้คุณถ่ายภาพกลางคืนได ้แม ้ขณะใช ้มือถือกล ้อง
สําหรับภาพถ่ายหนึง่ ภาพ จะมีการถ่ายอย่างต่อเนือ
่ งสีภ ่ าพ และภาพถ่ายผลลัพธ์
หนึง่ ในสีภ่ าพทีก ั่ จะถูกบันทึก
่ ล ้องไม่สน

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 จ ับกล้องให้แน่น
ขณะการถ่ายภาพ จับกล ้องให ้แน่นและมั่นคง ในโหมดนี้ ภาพเกิดจากการ
ถ่ายภาพต่อเนือ ่ าพแล ้วจัดรวมเข ้าด ้วยกันเป็ นภาพเดียว อย่างไรก็ตาม
่ งสีภ
หากมีความคลาดแนวทีเ่ ห็นได ้ชัดในภาพใดภาพหนึง่ ในสีภ ่ าพเนือ
่ งจากการ
่ ของกล ้อง ภาพอาจไม่จัดแนวได ้อย่างสมบูรณ์ในภาพผลลัพธ์
สัน
 สําหร ับการถ่ายภาพคน ให้เปิ ดแฟลช
หากคุณต ้องการถ่ายภาพคนในภาพถ่ายกลางคืน กดปุ่ ม <Q> เพือ ่ ตัง้ ค่า
<D> (บังคับใช ้แฟลช) ในการถ่ายภาพบุคคลทีด ่ ี ภาพแรกจะใช ้แฟลช
บอกให ้บุคคลอย่าขยับเขยือ ้ การถ่ายภาพอย่างต่อเนือ
้ นจนกว่าจะเสร็จสิน ่ งทัง้
่ าพ
สีภ

โปรดดูข ้อควรระวังในหน ้า 87

85
G การถ่ายภาพฉากย้อนแสง
เมือ
่ ถ่ายภาพฉากทีม ่ ท
ี งั ้ พืน ่ ว่างและมืด ใช ้โหมด <G> (ควบคุมแสงพืน
้ ทีส ้ หลัง
HDR) เมือ ่ คุณถ่ายภาพหนึง่ ครัง้ ในโหมดนี้ ภาพถ่ายอย่างต่อเนือ ่ งอีกสามภาพจะ
ถูกถ่ายด ้วยค่าแสงทีแ ่ ตกต่างกัน ซึง่ จะทําให ้ภาพทีไ่ ด ้มีชว่ งโทนสีกว ้าง ซึง่ จะ
ช่วยลดเงาทีเ่ กิดจากแสงด ้านหลัง

คําแนะนําในการถ่ายภาพ

 จ ับกล้องให้แน่น
ขณะการถ่ายภาพ จับกล ้องให ้แน่นและมั่นคง ในโหมดนี้ ภาพเกิดจากการ
ถ่ายภาพสามภาพแล ้วจัดรวมเข ้าด ้วยกันเป็ นภาพเดียว อย่างไรก็ตาม หากมี
ความคลาดแนวทีเ่ ห็นได ้ชัดในภาพใดภาพหนึง่ ในสามภาพเนือ ่
่ งจากการสัน
ของกล ้อง ภาพอาจไม่จัดแนวได ้อย่างสมบูรณ์ในภาพผลลัพธ์

 แฟลชจะไม่ทํางาน ในสภาวะแสงน ้อย แสงไฟช่วยปรับโฟกัสอาจจะปล่อยออกมา


(น.103)
 โปรดดูข ้อควรระวังในหน ้า 87

HDR หมายถึง High Dynamic Range (ช่วงรับแสงสูงพิเศษ)

86
ข้อควรระว ัง สําหร ับทงั้ <6> (บุคคลกลางคืน) และ <F> (ถ่ายกลางคืน
แบบมือถือ)
 ในระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View อาจยากทีจ ่ ะโฟกัสไปยังจุดต่างๆ ของ
แสงในฉากกลางคืน ในกรณีนี้ ให ้ปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่
<MF> และโฟกัสด ้วยตนเอง
 ภาพแบบ Live View ทีแ ่ สดง อาจมีความแตกต่างจากภาพทีถ่ า่ ยจริงบ ้าง
ข้อควรระว ัง สําหร ับ <F> (ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ)
 เมือ่ ถ่ายภาพโดยใช ้แฟลช และวัตถุอยูใ่ กล ้กับกล ้องมากเกินไป ภาพทีไ่ ด ้อาจดู
สว่างจ ้ามาก (ค่าแสงมากเกินไป)
 หากคุณใช ้แฟลชในการถ่ายภาพกลางคืนในทีแ ่ สงน ้อย ภาพถ่ายอาจปรับแนวได ้
ไม่ถกู ต ้อง ซึง่ อาจเป็ นผลให ้ภาพเบลอ
 หากคุณใช ้แฟลชและวัตถุทเี่ ป็ นบุคคลอยูใ่ นตําแหน่งใกล ้กับฉากหลังทีถ ่ ก
ู ส่องด ้วย
แสงแฟลช ภาพถ่ายอาจปรับแนวได ้ไม่ถก ู ต ้อง ซึง่ อาจเป็ นผลให ้ภาพเบลอ อาจ
เกิดเงาทีไ่ ม่เป็ นธรรมชาติและสีทไี่ ม่เหมาะสมอีกด ้วย
 การครอบคลุมแฟลชภายนอก:
• เมือ่ ใช ้ Speedlite โดยตัง้ ค่าการครอบคลุมแสงแฟลชโดยอัตโนมัต ิ ตําแหน่ง
การซูมจะถูกจํากัดตามช่วงกว ้าง ไม่วา่ ตําแหน่งการซูมของเลนส์จะอยูท ่ ใี่ ด
• หากคุณได ้ตัง้ ค่าครอบคลุมแสงแฟลชด ้วยตนเอง ตัง้ ค่าตัวกระจายแสง (หัว
แฟลช) เป็ นช่วงมุมกว ้างก่อนการถ่ายภาพ
ข้อควรระว ัง สําหร ับ <6> (บุคคลกลางคืน)
 การโฟกัสอาจทําได ้ยากในการถ่ายภาพแบบ Live View หากหน ้าของวัตถุนัน ้ มืด
ในกรณีนี้ ให ้ปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่ <MF> และโฟกัสด ้วย
ตนเอง
ข้อควรระว ัง สําหร ับทงั้ <F> (ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ) และ <G> (ควบคุม
แสงพืน ้ หล ัง HDR)
 ขอบเขตการถ่ายภาพในโหมดนีจ ้ ะแคบกว่า เมือ่ เปรียบเทียบกับโหมดถ่ายภาพอืน ่ ๆ
 1+73 หรือ 1 ไม่สามารถเลือกได ้ หาก 1+73 หรือ 1 ถูกตัง้ ค่าไว ้
73 จะถูกตัง้ ค่า
 หากคุณถ่ายภาพวัตถุทก ี่ ําลังเคลือ
่ นที่ การเคลือ่ นทีข
่ องวัตถุอาจทิง้ ร่องรอยไว ้
หรือพืน ้ ทีโ่ ดยรอบวัตถุนัน ้ อาจมืดลง
 การปรับแนวภาพอาจไม่ทํางานอย่างสมบูรณ์กบ ั ลวดลายทีเ่ ป็ นแบบแผน (ตาราง
ริว้ ฯลฯ) เรียบแบน หรือภาพโทนสีเดียว หรือภาพทีค ่ ลาดแนวอย่างเห็นได ้ชัด
เนื่องจากการสัน ่ ของกล ้อง
 การบันทึกภาพลงในการ์ดจะใช ้เวลาสักพัก เนื่องจากจะต ้องซ ้อนภาพเข ้าด ้วยกัน
หลังจากการถ่าย ระหว่างการประมวลผลภาพ “BUSY” จะแสดงขึน ้ และคุณจะ
ไม่สามารถถ่ายภาพต่อไปได ้จนกว่าการประมวลผลภาพจะเสร็จสมบูรณ์
 หากโหมดถ่ายภาพตัง้ ค่าเป็ น <F> หรือ <G> ไม่สามารถพิมพ์โดยตรงได ้

87
Q การควบคุมทันใจ

ข้อควรระว ัง สําหร ับ <G> (ควบคุมแสงพืน ้ หล ัง HDR)


 โปรดทราบว่าภาพอาจไม่ประมวลผลด ้วยระดับสีทเี่ รียบเนียน และอาจดูไม่ปกติ
หรือมีน๊อยส์ทเี่ ห็นได ้ชัด
 ควบคุมแสงพืน ้ หลัง HDR อาจไม่สามารถทํางานได ้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าทีค ่ วร
ในฉากทีม ่ ก
ี ารย ้อนแสงมากเกินไปหรือฉากทีม ่ ค
ี วามเปรียบต่างสูง
 เมือ
่ ถ่ายภาพวัตถุทม ี่ ค
ี วามสว่างเพียงพอ ตัวอย่างเช่น สําหรับฉากสว่างโดยทัว่ ไป
ภาพถ่ายอาจดูไม่เป็ นธรรมชาติเนื่องจากการใช ้เอฟเฟค HDR

Q การควบคุมท ันใจ
ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน เมือ ั่ การถ่ายภาพแสดงขึน
่ หน ้าจอการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ้
คุณสามารถกดปุ่ ม <Q> เพือ ่ แสดงหน ้าจอควบคุมทันใจ ตารางในหน ้าต่อไป
ั่ ต่างๆ ทีส
แสดงฟั งก์ชน ่ ามารถตัง้ ค่าด ้วยหน ้าจอควบคุมทันใจ ในโหมดถ่ายภาพ
พืน
้ ฐานแต่ละโหมด

1 พืปรน้ ับปุ
ฐาน
่ มโหมดไปทีโ่ หมดการถ่ายภาพ

ตัวอย่าง: โหมดภาพบุคคล
2 กดปุ ่ ม <Q> (7)
 หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน ้

่ั
3 ตงค่
ั้ าฟังก์ชน
กดปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ ั่
่ เลือกฟั งก์ชน
(ขัน้ ตอนนีไ้ ม่มค ี วามจําเป็ นในโหมด 7)
 ฟั งก์ชนั่ ทีเ่ ลือก และคําแนะนํ าคุณสมบัต ิ
(น.64) จะปรากฏขึน ้
 กดปุ่ ม <Y> <Z> หรือหมุนปุ่ ม <6>
เพือ ่ ปรับเปลีย ่ นการตัง้ ค่า
 คุณยังสามารถเลือกได ้จากรายการโดยการ
เลือกฟั งก์ชน ั่ แล ้วกดปุ่ ม <0>

88
Q การควบคุมทันใจ

่ ั ทีส
ฟังก์ชน ่ ามารถตงค่ ้ ฐาน
ั้ าได้ในโหมดการถ่ายภาพพืน
o: ่ ต ้น k: ผู ้ใช ้สามารถเลือกได ้
ตัง้ ค่าเริม : เลือกไม่ได ้
่ั
ฟังก์ชน A 7 C 2 3 4 5
u: ถ่ายภาพเดีย ่ ว o o o k o o k
i: ถ่ายภาพต่อเนื่อง k k k o k k o
B: ถ่ายภาพเดีย ่ วแบบเงียบ k k k k k k k
โหมดขับเคลือ
่ น
M: ถ่ายภาพต่อเนือ ่ งแบบเงียบ k k k k k k k
(น.112)
Q (10 วินาที) k k k k k k k
l (2 วินาที) k k k k k k k
q (ต่อเนือ ่ ง) k k k k k k k
a: แฟลชอัตโนมัต ิ o o o o
ส่องแสงไฟ
D: บังคับใช ้แฟลช (ยิงไฟแฟลชทุกครัง้ ) k k k k
แฟลช
b: ปิ ดแฟลช k o k k o k o
ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ (น.90) k k k k k
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ (น.94) k k k k
เบลอฉากหลัง (น.74) k
โทนสี (น.82, 83)
ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ (น.73) k

8
่ั
ฟังก์ชน
C P x 6 F G
u: ถ่ายภาพเดีย
่ ว k o o o o o
i: ถ่ายภาพต่อเนื่อง o k k k k k
B: ถ่ายภาพเดีย่ วแบบเงียบ k k k k k k
โหมดขับเคลือ
่ น
M: ถ่ายภาพต่อเนือ่ งแบบเงียบ k k k k k k
(น.112)
Q (10 วินาที) k k k k k k
l (2 วินาที) k k k k k k
q (ต่อเนือ
่ ง) k k k k k k
a: แฟลชอัตโนมัต ิ o o
ส่องแสงไฟ
D: บังคับใช ้แฟลช (ยิงไฟแฟลชทุกครัง้ ) k k k
แฟลช
b: ปิ ดแฟลช k o o o o
ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ (น.90) k k k k k
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ (น.94) k
เบลอฉากหลัง (น.74)
โทนสี (น.82, 83) k k
ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ (น.73)
* หากคุณเปลีย ั่ ทัง้ หมด
่ นโหมดถ่ายภาพหรือปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2> ฟั งก์ชน
่ ารตัง้ ค่าเริม
จะกลับสูก ่ ต ้น (ยกเว ้นการตัง้ เวลา)
89
การถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ
คุณสามารถเลือกบรรยากาศสําหรับการถ่ายภาพได ้ ยกเว ้นในโหมดถ่ายภาพ
พืน
้ ฐาน <A> <7>และ <G>
C/2/3/ 8
บรรยากาศ ลูกเล่นบรรยากาศ
4/5 C/6/F P/x
m ค่ามาตรฐาน k k k ไม่มก
ี ารตัง้ ค่า
n สดใส k k ตํา่ / ปกติ / สูง
o นุ่มนวล k k ตํา่ / ปกติ / สูง
p อบอุน
่ k k ตํา่ / ปกติ / สูง
t หนักแน่น k k ตํา่ / ปกติ / สูง
u เยือกเย็น k k ตํา่ / ปกติ / สูง
v สว่างขึน
้ k k k ตํา่ / ปานกลาง / สูง
x มืดลง k k k ตํา่ / ปานกลาง / สูง
y ภาพขาวดํา k k k สีนํ้าเงิน / สีขาว/ดํา / สีซเี ปี ย

ปร ับปุ่มโหมดไปทีโ่ หมดต่อไปนี:้
1 <C>, <2>, <3>, <4>,
<5> หรือ <8>
 หากโหมดถ่ายภาพเป็ น <8> ให ้ตัง้
ค่าอย่างใดอย่างหนึง่ ต่อไปนี:้ <C>,
<P>, <x>, <6> หรือ <F>

2 แสดงภาพแบบ Live View


 กดปุ่ ม <A> เพือ
่ แสดงภาพแบบ Live
View (ยกเว ้น <x>)

3 บนหน้าจอควบคุมท ันใจ ให้เลือก


บรรยากาศทีต
่ อ
้ งการ
 กดปุ่ ม <Q> (7)
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือก [m ค่า
มาตรฐาน] จากนัน
้ [ถ่ายภาพตามการ
เลือกบรรยากาศ] จะปรากฏบนหน ้าจอ

90
การถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ

 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ


่ เลือกบรรยากาศ
ทีต
่ ้องการ
 จอ LCD จะแสดงผลของภาพตาม
บรรยากาศทีเ่ ลือก

4 ปร ับลูกเล่นบรรยากาศ
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือกลูกเล่น
และให ้ [ลูกเล่น] ปรากฏขึน
้ ทางด ้านล่าง
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกลูกเล่นที่
ต ้องการ

5 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ
 หากต ้องการกลับสูก ่ ารถ่ายภาพด ้วยช่อง
มองภาพ ให ้กดปุ่ ม <A> เพือ ่ ออกจาก
การถ่ายภาพแบบ Live View จากนั น ้ กด
ปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ ่ ถ่ายภาพ
 หากคุณเปลีย ่ นโหมดถ่ายภาพหรือปรับ
สวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2> การตัง้
ค่าจะกลับไปเป็ น [m ค่ามาตรฐาน]

 ภาพแบบ Live View ทีแ ่ สดงทีม


่ ก
ี ารปรับบรรยากาศ อาจมีความแตกต่างจากภาพ
ทีถ
่ า่ ยจริงบ ้าง
 ผลของลูกเล่นบรรยากาศทีไ่ ด ้อาจลดน ้อยลงเมือ ่ ใช ้แฟลช
 เมือ
่ ถ่ายภาพกลางแจ ้งในบริเวณทีม ่ แ
ี สงสว่างจ ้า ภาพแบบ Live View ทีเ่ ห็นบนจอ
LCD อาจมีความสว่างแตกต่างจากภาพทีถ ่ า่ ยจริงบ ้าง ตัง้ ค่า [52: ความสว่างจอ
LCD] เป็ น 4 แล ้วมองภาพแบบ Live View เพือ ่ ไม่ให ้จอ LCD ได ้รับผลกระทบ
จากแสงภายนอก

หากคุณไม่ต ้องการให ้ภาพแบบ Live View แสดงขึน ้ ในระหว่างทีก ั่


่ ําลังปรับตัง้ ฟั งก์ชน
ให ้กดปุ่ ม <Q> หลังจากผ่านขัน
้ ตอนที่ 1 แล ้วตัง้ ค่า [ถ่ายภาพตามการเลือก
บรรยากาศ] และ [ลูกเล่น]
91
การถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ

การตงค่
ั้ าบรรยากาศ
mค่ามาตรฐาน
ลักษณะภาพแบบมาตรฐานสําหรับโหมดการถ่ายภาพนัน ้ ๆ โปรดทราบว่า
<2> จะปรับให ้ลักษณะภาพเหมาะกับภาพถ่ายบุคคล และ <3> ปรับให ้
เหมาะกับภาพวิว ในแต่ละบรรยากาศจะเป็ นการปรับแก ้ลักษณะภาพของ
โหมดการถ่ายภาพทีเ่ กีย
่ วข ้อง
n สดใส
วัตถุจะดูคมชัดและสดใส ทําให ้ภาพดูน่าประทับใจยิง่ ขึน
้ กว่าภาพทีถ
่ า่ ยด ้วย
[m ค่ามาตรฐาน]
o นุม
่ นวล
วัตถุจะดูนุ่มนวลและงดงาม เหมาะสําหรับถ่ายภาพบุคคล สัตว์เลีย
้ ง ดอกไม ้
ฯลฯ
p อบอุน ่
วัตถุจะดูนุ่มนวลด ้วยสีทอ ี่ บอุน
่ ขึน
้ เหมาะสําหรับถ่ายภาพบุคคล สัตว์เลีย
้ ง
และวัตถุอน ื่ ๆ ทีต
่ ้องการให ้ภาพดูอบอุน ่
t หน ักแน่น
ในขณะทีค ่ วามสว่างของภาพโดยรวมสลัวลง วัตถุจะถูกเน ้นให ้ดูมค
ี วามรู ้สึก
้ ทําให ้คนหรือสิง่ มีชวี ต
หนั กแน่นขึน ิ โดดเด่นยิง่ ขึน

u เยือกเย็ น
ความสว่างของภาพโดยรวมสลัวลง ใกล ้เคียงกับสีโทนเย็น วัตถุภายใต ้ร่มเงา
จะแลดูเยือกเย็นและน่าประทับใจยิง่ ขึน

92
การถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ


v สว่างขึน
ภาพจะแลดูสว่างขึน

x มืดลง
ภาพจะแลดูมด
ื ลง
y ภาพขาวดํา
ภาพจะเป็ นภาพขาวดํา คุณสามารถเลือกโทนสีเป็ นสีนํ้าเงิน สีขาวดํา หรือสี
ซีเปี ย ขณะทีเ่ ลือก [ภาพขาวดํา] จะปรากฏ <0> ในช่องมองภาพ

93
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ
ในโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน <2> <3> <4> <5> และ <C> คุณ
สามารถถ่ายภาพด ้วยการตัง้ ค่าทีเ่ หมาะสมกับชนิดของแสงหรือบรรยากาศ โดย
ปกติ [e ตงค่ั้ าเริม
่ ต้น] จะเหมาะสมอยูแ่ ล ้ว แต่หากเจาะจงการตัง้ ค่าให ้เหมาะ
กับสภาพแสงหรือบรรยากาศ ภาพก็จะดูตรงกับทีต ่ าเห็นมากขึน ้
สําหรับการถ่ายภาพแบบ Live View หากคุณตัง้ ค่าทัง้ [ถ่ายภาพตามแสงหรือ
บรรยากาศ] และ [ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ] (น.90) แนะนํ าให ้ตัง้
ค่า [ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ] ก่อน เพือ ่ ช่วยให ้ง่ายต่อการสังเกต
เห็นผลของภาพบนจอ LCD

8
แสงหรือบรรยากาศ 2 3 4 5
C
e ตัง้ ค่าเริม
่ ต ้น k k k k k
f แสงแดด k k k k k
g แสงในร่ม k k k k k
h เมฆครึม
้ k k k k k
i หลอดไฟทังสเตน k k k k
j หลอดฟลูออเรสเซนต์ k k k k
r อาทิตย์ตก k k k k k

ปร ับปุ่มโหมดไปทีโ่ หมดต่อไปนี:้
1 <2>, <3>, <4>, <5> หรือ
<8>
 เพือ
่ <8>ตัง้ ค่าเป็ น <C>

2 แสดงภาพแบบ Live View


 กดปุ่ ม <A> เพือ
่ แสดงภาพแบบ Live
View

94
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ

3 บนหน้
าจอควบคุมท ันใจ ให้เลือก
สภาพแสงหรือบรรยากาศ
 กดปุ่ ม <Q> (7)
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือก [e ตงค่
ั้ า
เริม
่ ต้น] จะปรากฏ [ถ่ายภาพตามแสง
หรือบรรยากาศ] บนหน ้าจอ
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกสภาพแสง
หรือบรรยากาศ
 ผลของภาพจากการเลือกปรับสภาพแสง
หรือบรรยากาศจะแสดงขึน ้

4 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ
 หากต ้องการกลับสูก ่ ารถ่ายภาพด ้วยช่อง
มองภาพ ให ้กดปุ่ ม <A> เพือ ่ ออกจาก
การถ่ายภาพแบบ Live View จากนั น ้ กด
ปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ ่ ถ่ายภาพ
 หากคุณเปลีย ่ นโหมดถ่ายภาพหรือปรับ
สวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2> การตัง้
ค่าจะกลับไปเป็ น [e ตงค่ ั้ าเริม
่ ต้น]

 หากคุณใช ้แฟลช การตัง้ ค่าจะเปลีย ่ นไปเป็ น [e ตงค่ั้ าเริม ่ ต้น] (อย่างไรก็ตาม


ข ้อมูลการถ่ายภาพจะแสดงสภาพแสงหรือบรรยากาศทีต ่ งั ้ ค่าไว ้)
 หากคุณต ้องการตัง้ ค่านีร้ ว่ มกับ [ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ] ให ้ปรับ
สภาพแสงหรือบรรยากาศทีเ่ หมาะสมทีส ่ ด
ุ กับลูกเล่นทีต่ งั ้ ไว ้แล ้ว เช่นในกรณีทต ี่ งั ้
เป็ น [อาทิตย์ตก] สีโทนอุน ่ จะเด่นชัดจนทําให ้ลูกเล่นบรรยากาศทีต ่ งั ้ ไว ้ไม่มผ
ี ล
เท่าทีค่ วร

หากคุณไม่ต ้องการให ้ภาพแบบ Live View แสดงขึน ้ ในระหว่างทีก ั่


่ ําลังปรับตัง้ ฟั งก์ชน
ให ้กดปุ่ ม <Q> หลังจากผ่านขัน
้ ตอนที่ 1 แล ้วตัง้ ค่า [ถ่ายภาพตามแสงหรือ
บรรยากาศ]

95
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ

การตงค่
ั้ าสภาพแสงหรือบรรยากาศ
e ตงค่
ั้ าเริม ่ ต้น
่ ต ้นเหมาะสําหรับการถ่ายภาพวัตถุสว่ นใหญ่
ค่าเริม
f แสงแดด
สําหรับถ่ายภาพวัตถุทอ
ี่ ยูใ่ ต ้แสงแดด ทําให ้ท ้องฟ้ าสีฟ้าและใบไม ้สีเขียวดู
เป็ นธรรมชาติมากขึน
้ และให ้สีของดอกไม ้ทีม ่ ส ี อ
ี อ ่ นได ้ผลออกมาดียงิ่ ขึน

g แสงในร่ม
สําหรับถ่ายภาพวัตถุทอ ่ ช่วยปรับสีผวิ ของคนซึง่ มักจะอมสี
ี่ ยูใ่ นร่มเงา เพือ
นํ้ าเงินในสภาพแสงแบบนี้ และยังเหมาะสําหรับดอกไม ้ทีม ่ ส ี อ
ี อ ่ น
h เมฆครึม ้
สําหรับถ่ายภาพวัตถุภายใต ้ท ้องฟ้ าทีเ่ ต็มไปด ้วยเมฆหมอก เพือ
่ ช่วยปรับ
ไม่ให ้สีผวิ ของคนและทิวทัศน์ดอู มึ ครึม และช่วยให ้สีของภาพอุน่ ขึน
้ ด ้วย
รวมทัง้ ยังได ้ผลดีสําหรับดอกไม ้ทีม่ ส ี อ
ี อ ่ น
i หลอดไฟท ังสเตน
สําหรับถ่ายภาพวัตถุทไี่ ด ้รับแสงจากหลอดไฟทังสเตน เพือ
่ แก ้ไม่ให ้ภาพอม
สีส ้มแดง ซึง่ เกิดจากสีของแสงไฟชนิดนี้
j หลอดฟลูออเรสเซนต์
สําหรับถ่ายภาพวัตถุภายใต ้แสงไฟฟลูออเรสเซนต์ สามารถใช ้ได ้กับหลอด
ไฟฟลูออเรสเซนต์ทก ุ ชนิด
r อาทิตย์ตก
เหมาะสําหรับใช ้ถ่ายภาพเพือ
่ แสดงบรรยากาศทีน
่ ่าประทับใจขณะพระอาทิตย์ตก

96
x การเล่นภาพ
วิธที งี่ า่ ยทีส
่ ดุ ในการเล่นภาพได ้อธิบายไว ้ด ้านล่างนี้ สําหรับรายละเอียดเพิม
่ เติม
เกีย
่ วกับวิธก ี ารเล่นภาพ โปรดดูหน ้า 277

เล่นดูภาพ
1  กดปุ่ ม <x>
 ภาพสุดท ้ายทีถ
่ า่ ยหรือดูจะปรากฏขึน

2 เลื
อกภาพ
 หากต ้องการดูภาพโดยเริม
่ จากภาพสุดท ้าย
ทีถ่ า่ ย ให ้กดปุ่ ม <Y> หากต ้องการดู
ภาพโดยเริม ่ จากภาพแรกทีถ ่ า่ ย ให ้กดปุ่ ม
<Z>
 แต่ละครัง้ ทีค ่ ณุ กดปุ่ ม <B> การแสดง
ข ้อมูลจะเปลีย ่ นไป

ไม่แสดงข้อมูล ้ ฐาน
การแสดงข้อมูลพืน

แสดงข้อมูลการถ่ายภาพ

97
x การเล่นภาพ

3 ออกจากการเล่ นภาพ
 กดปุ่ ม <x> เพือ
่ ออกจากการเล่นภาพ
่ ถานะเตรียมพร ้อมถ่ายภาพ
และกลับสูส

การแสดงข้อมูลการถ่ายภาพ
ในขณะแสดงหน ้าจอข ้อมูลการถ่ายภาพ (น.97) คุณสามารถกดปุ่ ม <W> <X>
เพือ
่ เปลีย
่ นข ้อมูลการถ่ายภาพทีแ
่ สดงทางด ้านล่างของหน ้าจอดังต่อไปนี้
สําหรับรายละเอียด โปรดดูหน ้า 307-308

ข ้อมูลแบบละเอียด

ข ้อมูล GPS เลนส์ / ข ้อมูลฮิสโตแกรม

ข ้อมูลแก ้ไขความคลาดเคลือ
่ นของเลนส์ ข ้อมูลสมดุลแสงขาว

พิกด
ั สี / ข ้อมูลลดจุดรบกวน ข ้อมูลรูปแบบภาพ

 ข ้อมูลทีแ
่ สดงแตกต่างกันไปขึน้ อยูก
่ บ
ั โหมดถ่ายภาพและการตัง้ ค่า
 หากไม่ได ้บันทึกข ้อมูล GPS สําหรับภาพถ่าย หน ้าจอข ้อมูล GPS จะไม่ปรากฏขึน

98
การตงค่
ั้ าโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
3
และโหมดข ับเคลือ ่ น
จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ 19 จุดในช่องมอง
ภาพทําให ้การถ่ายภาพโดยใช ้การโฟกัส
อัตโนมัตเิ หมาะกับความหลากหลาย
ของวัตถุและฉากต่างๆ

คุณยังสามารถเลือกการโฟกัสอัตโนมัตแิ ละโหมดขับเคลือ
่ นให ้
เหมาะทีส
่ ด
ุ สําหรับสภาวะการถ่ายภาพและวัตถุ
 ไอคอน J ด ้านบนขวาตรงหัวข ้อของหน ้า หมายถึงฟั งก์ชน ั่ นัน

สามารถใช ้ได ้เฉพาะในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ (น.30)
 ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน การโฟกัสอัตโนมัตแ ิ ละจุดโฟกัส
อัตโนมัต ิ (โหมดเลือกพืน้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต)ิ จะถูกตัง้ ค่าโดย
อัตโนมัต ิ

<AF> หมายถึง Autofocus (การโฟกัสอัตโนมัต)ิ <MF> หมายถึง


Manual Focus (การโฟกัสด ้วยตนเอง)
99
f: การปร ับเปลีย่ นการทํางานของระบบโฟก ัสอ ัตโนม ัติK
คุณสามารถเลือกลักษณะการโฟกัสอัตโนมัต ิ (AF) ให ้เหมาะกับสภาวะการถ่าย
ภาพหรือวัตถุ ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน กล ้องจะตัง้ ระบบโฟกัสทีเ่ หมาะสมที่
ิ ําหรับโหมดการถ่ายภาพแต่ละโหมด
สุดให ้โดยอัตโนมัตส

ปร ับสวิตซเ์ ลือกโหมดโฟก ัสของเลนส ์


1 ไปที่ <AF>

2 กดปุ
่ ม <Zf>
 [การโฟก ัสอ ัตโนม ัติ] จะปรากฏขึน

3 เลื
อกการโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกการโฟกัส
อัตโนมัตท
ิ ต
ี่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

4 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 เล็งจุดโฟกัสอัตโนมัตไิ ปยังวัตถุ และกด
ปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จากนั น
้ กล ้องจะจับ
โฟกัสโดยอัตโนมัต ิ ด ้วยระบบโฟกัสที่
เลือกไว ้

100
f: การปรับเปลีย
่ นการทํางานของระบบโฟกัสอัตโนมัตK

AF ครงเดี ํ หร ับว ัตถุทอ


ั้ ยวสา ี่ ยูน
่ งิ่
เหมาะสําหร ับใช้ถา่ ยภาพว ัตถุทอ ี่ ยูน
่ งิ่ เมือ ่
คุณกดปุ่มช ัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ กล้องจะทํา
การโฟก ัสเพียงครงเดี ั้ ยว
 เมือ ่ โฟกัสได ้แล ้ว จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ จี่ ับ
โฟกัสได ้จะแสดงขึน ้ มา และตัวแสดงการ
โฟกัส <o> ในช่องมองภาพจะสว่างขึน ้
เช่นกัน
 เมือ ่ ใช ้โหมดวัดแสงประเมินทัง้ ภาพ กล ้อง
จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
ตัวแสดงการโฟกัส จะปรับการตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงให ้ในเวลา
เดียวกับทีจ ่ ับโฟกัสได ้
 ในขณะทีค ่ ณ
ุ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ค ้างไว ้ โฟกัสจะถูกล็อค จากนัน ้ คุณ
สามารถจัดองค์ประกอบภาพใหม่ได ้ตามต ้องการ

 หากกล ้องไม่สามารถจับโฟกัสได ้ ตัวแสดงการโฟกัส <o> ในช่องมองภาพจะ


กะพริบ หากเป็ นเช่นนี้ จะถ่ายภาพไม่ได ้แม ้จะกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดก็ตาม ให ้จัด
องค์ประกอบภาพใหม่ หรือดู “วัตถุทย ี่ ากต่อการโฟกัส” (น.110) แล ้วลองโฟกัส
อีกครัง้
 หาก [z1: เสียงเตือน] ถูกตัง้ ค่าเป็ น [ปิ ด] เสียงเตือนจะไม่ดังขึน ้ เมือ่ จับโฟกัสได ้
 หลังจากจับโฟกัสได ้โดยใช ้ AF ครัง้ เดียว คุณสามารถล็อคโฟกัสอยูท ่ วี่ ตั ถุและจัด
องค์ประกอบภาพใหม่ได ้ ซึง่ เรียกว่า “การล็อคโฟกัส” นีจ ่ ะสะดวกเมือ ่ คุณต ้องการ
โฟกัสไปยังวัตถุบริเวณขอบภาพทีไ่ ม่ครอบคลุมด ้วยกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ
่ ใช ้เลนส์ทม
 เมือ ี่ รี ะบบโฟกัสด ้วยตนเองแบบอิเล็กทรอนิกส์ หลังจากทีจ ่ ับโฟกัสได ้
แล ้ว คุณสามารถทําการโฟกัสด ้วยตนเองได ้โดยการหมุนวงแหวนโฟกัสของเลนส์
ในขณะทีก ่ ดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่
101
f: การปรับเปลีย
่ นการทํางานของระบบโฟกัสอัตโนมัตK

ํ หร ับว ัตถุทก
AI Servo AF สา ี่ า
ํ ล ังเคลือ
่ นที่
การโฟก ัสอ ัตโนม ัติแบบนีเ้ หมาะสําหร ับใช้ถา่ ยภาพว ัตถุทก ี่ า ํ ล ังเคลือ
่ นที่
ซึง่ ทําให้ระยะโฟก ัสเปลีย ่ นแปลงไปตลอดเวลา ในขณะทีค ่ ณ ุ กดปุ่ม
ช ัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ค้างไว้ ว ัตถุจะถูกโฟก ัสอย่างต่อเนือ ่ ง
 ค่าการเปิ ดรับแสงจะถูกกําหนดในช่วงขณะทีถ ่ า่ ยภาพ
 เมือ ่ โหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตถ ิ ก
ู ตัง้ ค่าเป็ นโฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ
19 จุด (น.104) กล ้องจะใช ้จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกเองเพือ ่ โฟกัสก่อน
ในขณะทีก ่ ารโฟกัสอัตโนมัตก ิ ําลังทํางาน หากวัตถุมก ี ารเคลือ ่ นทีอ ่ อกจากจุด
โฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกเอง การติดตามการโฟกัสจะดําเนินต่อไปตราบใดที่
วัตถุยงั อยูภ
่ ายในกรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ

่ เลือกใช ้ AI Servo AF เสียงเตือนจะไม่ดังขึน


เมือ ้ แม ้ว่าจับโฟกัสได ้ และตัวแสดงการ
โฟกัส <o> ในช่องมองภาพก็จะไม่สว่างขึน ้ เช่นกัน

AI Focus AF สําหร ับปร ับเปลีย


่ นการทํางานของระบบโฟก ัสโดยอ ัตโนม ัติ
AI Focus AF จะปร ับเปลีย ่ นการทํางานของระบบโฟก ัสจาก AF ครงเดี ั้ ยว
ไปเป็น AI Servo AF โดยอ ัตโนม ัติ หากว ัตถุทอ ี่ ยูน
่ งิ่ เริม
่ เคลือ่ นที่
 หลังจากวัตถุถก ู โฟกัสในโหมด AF ครัง้ เดียว หากวัตถุนัน ้ เริม
่ เคลือ
่ นที่ กล ้อง
จะตรวจจับการเคลือ ่ นไหวแล ้วเปลีย ่ นการโฟกัสไปเป็ น AI Servo AF โดย
อัตโนมัต ิ และเริม
่ ติดตามวัตถุทกี่ ําลังเคลือ
่ นที่

่ จับโฟกัสด ้วยโหมด AI Focus AF ได ้แล ้วโดยทีเ่ ปิ ดใช ้งาน Servo อยู่ เสียงเตือน
เมือ
จะดังเบาๆ อย่างต่อเนือ่ ง แต่ตวั แสดงการโฟกัส <o> ในช่องมองภาพจะไม่สว่างขึน ้
โปรดทราบว่าจะไม่มก ี ารล็อคโฟกัสในกรณีนี้

102
f: การปรับเปลีย
่ นการทํางานของระบบโฟกัสอัตโนมัตK

้ เป็นสีแดง
จุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติสว่างขึน
ตามค่าเริม่ ต ้น จุดโฟกัสอัตโนมัตจิ ะสว่างขึน
้ เป็ นสีแดงเมือ
่ จับโฟกัสได ้ในสภาวะ
แสงน ้อย ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ คุณสามารถตัง้ ค่าให ้จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
สว่างขึน
้ เป็ นสีแดงหรือไม่สว่างเมือ่ จับโฟกัสได ้ (น.342)

แสงไฟช่วยปร ับโฟก ัสด้วยแฟลชในต ัวกล้อง


ภายใต ้สภาวะแสงน ้อย เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ แฟลชในตัวกล ้องอาจ
ยิงแสงออกมาในช่วงเวลาสัน ้ ๆ ซึง่ จะส่องสว่างวัตถุเพือ
่ ช่วยในการโฟกัสอัตโนมัต ิ

 แฟลชในตัวกล ้องจะไม่ปล่อยแสงไฟช่วยปรับโฟกัสออกมาในโหมดการถ่ายภาพ
ต่อไปนี:้ <7>, <3>, <5> และ <C>
 แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะไม่ถก ู ปล่อยออกมาเมือ ่ ใช ้งาน AI Servo AF
่ ยิงแสงอย่างต่อเนื่อง ซึง่ ถือเป็ นเรือ
 แฟลชในตัวกล ้องทําให ้เกิดเสียงเมือ ่ งปกติ
และไม่ใช่ความผิดพลาดแต่อย่างใด

 ช่วงของแสงไฟช่วยปรับโฟกัสทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีป่ ล่อยออกมาโดยแฟลชในตัว


กล ้องมีระยะประมาณ 4 เมตร/13.1 ฟุต
 ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ เมือ ่ คุณยกแฟลชในตัวกล ้องด ้วยปุ่ ม <I>
(น.166) แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะปล่อยออกมาเมือ ่ จําเป็ น ทัง้ นีข
้ น
ึ้ อยูก
่ บ
ั การตัง้ ค่า
สําหรับ [4: เปิ ดแสงไฟช่วยปร ับโฟก ัส] ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว
(C.Fn)] แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะไม่ถก ู ปล่อยออกมา (น.340)

103
S การเลือกพืน้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติและจุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติK
จุดโฟกัสทัง้ 19 จุดมีไว ้สําหรับการโฟกัสอัตโนมัต ิ คุณสามารถเลือกโหมดเลือก
พืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตแ
ิ ละจุดโฟกัสอัตโนมัตทิ เี่ หมาะกับฉากหรือวัตถุ

้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติ


โหมดเลือกพืน
คุณสามารถเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตไิ ด ้จากหนึง่ ในสามโหมด โปรดดูหน ้าถัดไป
สําหรับวิธก
ี ารเลือก
h: โฟก ัสอ ัตโนม ัติจด
ุ เดียว (เลือก
ด้วยตนเอง)
เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัตห
ิ นึง่ จุดเพือ
่ โฟกัส

q: โฟก ัสอ ัตโนม ัติแบบโซน (เลือก


โซนด้วยตนเอง)
จุดโฟกัสอัตโนมัตทิ งั ้ 19 จุดถูกแบ่งออกเป็ น
ห ้าโซนสําหรับการโฟกัส

r: โฟก ัสแบบเลือกอ ัตโนม ัติ 19 จุด


จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ งั ้ หมดจะถูกใช ้เพือ
่ โฟกัส
โหมดนีจ ้ ะถูกตงค่
ั้ าโดยอ ัตโนม ัติในโหมด
การถ่ายภาพพืน ้ ฐาน (ยกเว ้น <x>)

กรอบพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ

104
S การเลือกพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตแ
ิ ละจุดโฟกัสอัตโนมัตK

้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติ


การเลือกโหมดเลือกพืน
กดปุ่ม <S> หรือ <B> (9)
1  มองผ่านช่องมองภาพและกดปุ่ ม <S>
หรือ <B>

2 กดปุ
่ ม <B>
 แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <B> โหมดเลือก
พืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะเปลีย ่ นไป
 โหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกอยู่
ในปั จจุบันจะถูกระบุอยูบ ่ ริเวณด ้านบนของ
ช่องมองภาพ
h: AF จุดเดียว
โหมดเลือกพืน
้ ที่ AF
(เลือกด้วยตนเอง)
q: โฟก ัสอ ัตโนม ัติโซนกว้าง
(เลือกโซนด้วยตนเอง)
r: โฟก ัสแบบเลือกอ ัตโนม ัติ 19 จุด

ภายใต ้ [54: การตงค่ ้ ที่ AF]


ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากคุณตัง้ ค่า [5: วิธเี ลือกพืน
เป็ น [1: j9ปุ่มหมุนหล ัก] คุณสามารถเลือกโหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ
ได ้โดยกดปุ่ ม <S> หรือ <B> จากนัน ้ หมุนปุ่ ม <6> (น.340)

105
S การเลือกพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตแ
ิ ละจุดโฟกัสอัตโนมัตK

การเลือกจุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติดว้ ยตนเอง


คุณสามารถเลือกจุดโฟกัสอัตโนมัตห ิ รือโซนได ้ด ้วยตนเอง หากตัง้ ค่าเป็ นโฟกัส
แบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด + AI Servo AF คุณจะสามารถเลือกให ้ AI Servo AF
เริม
่ ทีต
่ ําแหน่งใดก็ได ้
กดปุ่ม <S> หรือ <B> (9)
1
 จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะแสดงขึน้ ในช่องมอง
ภาพ
 ในโหมดโฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบโซน โซนที่
เลือกจะแสดงขึน ้

2 เลื
อกจุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
 คุณสามารถเลือกจุดโฟกัสอัตโนมัตไิ ด ้โดย
<6>
การปรับด ้วยปุ่ มหมุน <6> สําหรับแนว
นอน หรือด ้วยปุ่ มหมุน <6> สําหรับ
<g> + <6> แนวตัง้ ขณะทีก ่ ดปุ่ ม <g> ค ้างไว ้ หาก
คุณกด <0> จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ด
ุ กลาง
(หรือโซนกลาง) จะถูกเลือก
 ในโหมดโฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบโซน การหมุน
ปุ่ ม <6> จะเปลีย ่ นโซนวนไปตามลําดับ
 คุณยังสามารถเลือกจุดโฟกัสอัตโนมัตห ิ รือ
โซนโดยการปรับในแนวนอนด ้วยปุ่ ม
<Y> <Z> หรือในแนวตัง้ ด ้วยปุ่ ม
<W> <X>

เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <S> หรือ <B> ช่องมองภาพจะแสดงดังต่อไปนี้:
• โฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด และโฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบโซน (เลือกโซนด ้วย
ตนเอง): M AF
• โฟกัสอัตโนมัตจ ิ ุดเดียว (เลือกด ้วยตนเอง): SEL N (กึง่ กลาง)/SEL AF (นอก
จุดกึง่ กลาง)

106
้ ทีโ่ ฟก ัสอ ัตโนม ัติK
โหมดเลือกพืน
h โฟก ัสอ ัตโนม ัติจด
ุ เดียว (เลือกด้วยตนเอง)
เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัตห ่ ะใช ้สําหรับ
ิ นึง่ จุด <S> ทีจ
การโฟกัส

q โฟก ัสอ ัตโนม ัติแบบโซน (เลือกโซนด้วยตนเอง)


จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ ัง้ 19 จุดถูกแบ่งออกเป็ นห ้าโซนสําหรับการโฟกัส จุดโฟกัส
อัตโนมัตทิ กุ จุดในโซนทีเ่ ลือกจะถูกใช ้สําหรับการเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัต ิ
และได ้ผลดีกับวัตถุทก ี่ ําลังเคลือ
่ นที่
อย่างไรก็ตาม การโฟกัสไปยังเป้ าหมายทีเ่ จาะจงจะยากกว่าการใช ้โฟกัส
อัตโนมัตจ
ิ ดุ เดียว เนือ ่ งจากค่อนข ้างเน ้นโฟกัสไปยังวัตถุทใี่ กล ้ทีส
่ ด

จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ จี่ ับโฟกัสได ้จะแสดงเป็ น <S>

107
โหมดเลือกพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตK

r โฟก ัสแบบเลือกอ ัตโนม ัติ 19 จุด


ิ ัง้ หมดจะถูกใช ้เพือ
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ่ โฟกัส โหมดนีจ ้ ะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตใิ น
โหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน (ยกเว ้น <x>)
เมือ ่ ใช ้ AF ครัง้ เดียว การกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จะ
แสดงจุดโฟกัสอัตโนมัต ิ <S> ทีจ ่ ับโฟกัสได ้ หากจุด
โฟกัสอัตโนมัตห ิ ลายจุดแสดงขึน ้ หมายความว่าจุดเหล่า
นั น
้ ทัง้ หมดจับโฟกัสได ้
่ ใช ้ AI Servo AF จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ <S> ทีเ่ ลือกเอง
เมือ
(น.106) จะถูกใช ้เพือ่ จับโฟกัสก่อน จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ ี่
จับโฟกัสได ้จะแสดงเป็ น <S>

การโฟก ัสอ ัตโนม ัติโดยการตรวจจ ับโทนสี


การกําหนดค่าดังต่อไปนีจ ้ ะช่วยให ้การโฟกัสบุคคลทีอ ่ ยูน่ งิ่ ง่ายขึน

• ปรับการโฟกัสอัตโนมัตไิ ปที่ AF ครัง้ เดียว
• ปรับโหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตเิ ป็ นโฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบโซน (เลือกโซนด ้วยตนเอง)
หรือโฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด
• ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] ตัง้ ค่า [6: เลือกจุด AF อ ัตโนม ัติ:
ติดตามสี] เป็ น [0: AF ครงเดี ั้ ยวเท่านน] ั้ (หากตัง้ ค่าเป็ น [1: ไม่ใช้งาน] โดยทัว่
ไปวัตถุทอี่ ยูใ่ กล ้ทีส
่ ด
ุ จะถูกโฟกัส) (น.341)

 เมือ่ โหมด AI Servo AF ถูกตัง้ ค่าร่วมกับการโฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด หรือ


โฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบโซน จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ ใี่ ช ้งาน <S> จะปรับเปลีย ่ นอยู่
ตลอดเพือ ่ ติดตามวัตถุ อย่างไรก็ตาม ภายใต ้บางสภาวะการถ่ายภาพ (เช่น เมือ ่
วัตถุมข ี นาดเล็ก) อาจไม่สามารถติดตามวัตถุได ้ นอกจากนี้ในทีอ ่ ณ
ุ หภูมติ ํา่ การ
ตอบสนองการติดตามจะช ้าลง
 หากกล ้องไม่สามารถทําการโฟกัสเมือ ่ ใช ้แสงไฟช่วยปรับโฟกัสของ Speedlite
ภายนอกสําหรับ EOS โดยเฉพาะ ให ้ตัง้ ค่าโหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตเิ ป็ น
โฟกัสอัตโนมัตจิ ุดเดียว (เลือกด ้วยตนเอง) และเลือกจุดโฟกัสจุดกลางเพือ ่ ทําการ
โฟกัสอัตโนมัต ิ
 เมือ
่ จุดโฟกัสสว่างขึน ้ บางส่วนหรือทัง้ ช่องมองภาพอาจสว่างเป็ นสีแดง นีเ่ ป็ น
ลักษณะของการแสดงจุดโฟกัสโดยใช ้ผลึกเหลว
 ในทีอ ่ ณุ หภูมต ิ ํ่า บางครัง้ อาจยากทีจ
่ ะเห็นการแสดงจุดโฟกัสเนื่องจากลักษณะ
ของการใช ้ผลึกเหลว
108
โหมดเลือกพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตK

การโฟก ัสอ ัตโนม ัติและค่ารูร ับแสงสูงสุดของเลนส ์


ค่ารูร ับแสงสูงสุดของเลนส์: f/3.2 - f/5.6
เมือ่ เทียบกับจุดโฟกัสอัตโนมัตท
ิ งั ้ หมด โฟกัสอัตโนมัตแ
ิ บบกากบาทสามารถไว
ทัง้ ตามเส ้นแนวตัง้ และแนวนอน อย่างไรก็ตาม หากใช ้งานเลนส์เหล่านี้ จุดโฟกัส
อัตโนมัตบ ิ ริเวณขอบภาพจะตรวจจับได ้เพียงเส ้นแนวตัง้ หรือเส ้นแนวนอนเท่านัน

(ไม่มก ี ารโฟกัสแบบกากบาท)

เลนส์ทไี่ ม่รองร ับการโฟก ัสแบบกากบาทโดยใช้จด


ุ โฟก ัสอ ัตโนม ัติ
บริเวณขอบภาพ

โฟกัสแบบกากบาท
โฟกัสไวตามเส ้นแนวตัง้
โฟกัสไวตามเส ้นแนวนอน

การโฟกัสแบบกากบาททีจ ่ ุดโฟกัสอัตโนมัต ิ < > และ < > จะไม่สามารถทําได ้


กับเลนส์ตอ
่ ไปนี้:
EF35-80mm f/4-5.6, EF35-80mm f/4-5.6 II, EF35-80mm f/4-5.6 III,
EF35-80mm f/4-5.6 USM, EF35-105mm f/4.5-5.6, EF35-105mm f/4.5-5.6 USM,
EF80-200mm f/4.5-5.6 II, EF80-200mm f/4.5-5.6 USM

ค่ารูร ับแสงสูงสุดของเลนส์: f/1.0 - f/2.8


นอกเหนือจากการโฟกัสแบบกากบาท (ตรวจจับเส ้นแนวตัง้ และแนวนอนพร ้อมกัน)
ุ กลางจะสามารถทําการโฟกัสอัตโนมัตไิ วตามเส ้นแนวตัง้ ทีม
จุดโฟกัสอัตโนมัตจิ ด ่ ี
ความแม่นยําสูงได ้เช่นกัน*
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ หลืออีก 18 จุดจะทําการโฟกัสแบบกากบาท ด ้วยค่ารูรับ
แสงสูงสุดที่ f/3.2 - f/5.6
* ยกเว ้น EF28-80mm f/2.8-4L USM และ EF50mm f/2.5 Compact Macro

109
ว ัตถุทย
ี่ ากต่อการโฟก ัส
โฟกัสอัตโนมัตอ ิ าจจับโฟกัสล ้มเหลว (ไฟยืนยันการโฟกัสของช่องมองภาพ
<o> กะพริบ) สําหรับวัตถุบางประเภทดังต่อไปนี:้
 วัตถุทม ี่ ค
ี วามเปรียบต่างตํา่
(ตัวอย่าง: ท ้องฟ้ าสีฟ้า กําแพงทีม ่ ส ี บ
ี ท ึ ฯลฯ)
 วัตถุในสภาวะแสงทีน ่ ้อยมาก
 วัตถุทถี่ า่ ยแบบย ้อนแสงมากๆ หรือวัตถุทม ี่ ผ
ี วิ สะท ้อน
(ตัวอย่าง: รถทีม ่ ผ
ี วิ สะท ้อนในระดับสูง ฯลฯ)
 วัตถุในระยะใกล ้และไกลทีถ ่ ก
ู จับภาพใกล ้กับจุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
(ตัวอย่าง: สัตว์ในกรง ฯลฯ)
 วัตถุจําพวกจุดแสงทีถ ่ ก
ู จับภาพใกล ้กับจุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
(ตัวอย่าง: ฉากกลางคืน ฯลฯ)
 ลวดลายทีเ่ ป็ นแบบแผน
(ตัวอย่าง: กลุม ่ หน ้าต่างของตึกสูง แป้ นพิมพ์คอมพิวเตอร์ ฯลฯ)
ในกรณีดังกล่าว ให ้ปฏิบัตด ิ งั นี:้
(1) ด ้วย AF ครัง้ เดียว ให ้โฟกัสวัตถุทอ
ี่ ยูใ่ นระยะเดียวกับวัตถุทจ
ี่ ะถ่าย และ
ล็อคโฟกัสก่อนจัดองค์ประกอบภาพใหม่ (น.69)
(2) ปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่ <MF> และโฟกัสด ้วยตนเอง

 อาจสามารถจับโฟกัสได ้ด ้วยการจัดองค์ประกอบภาพใหม่เล็กน ้อยและดําเนินการ


โฟกัสอัตโนมัตอิ ก
ี ครัง้ โดยขึน
้ อยูก
่ บ
ั วัตถุ
 สภาวะซึง่ อาจทําให ้ยากต่อการโฟกัสเมือ ่ ใช ้การโฟกัสอัตโนมัตริ ะหว่างการถ่าย
ภาพแบบ Live View หรือการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวแสดงเป็ นรายการในหน ้า 212

110
วัตถุทย
ี่ ากต่อการโฟกัส

MF: โฟก ัสด้วยตนเอง


ับสวิตซเ์ ลือกโหมดโฟก ัสของ
1 ปร
เลนสไ์ ปที่ <MF>

2 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 โฟกัสโดยการหมุนวงแหวนโฟกัสของเลนส์
จนกว่าวัตถุจะดูคมชัดในช่องมองภาพ
วงแหวนโฟกัส

หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ในระหว่างการโฟกัสด ้วยตนเอง จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ


ทีจ
่ ับโฟกัสได ้และตัวแสดงการโฟกัส <o> จะสว่างขึน ้ ในช่องมองภาพ
111
i การเลือกโหมดข ับเคลือ
่ น
มีโหมดขับเคลือ
่ นถ่ายภาพเดีย
่ วและถ่ายภาพต่อเนือ
่ ง

กดปุ่ม <YQi>
1  [โหมดข ับเคลือ
่ น] จะปรากฏขึน

2 เลื
อกโหมดข ับเคลือ
่ น
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกโหมดขับ
เคลือ
่ นทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

u : ถ่ายภาพเดีย ่ ว
เมือ ่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด จะถ่ายภาพเพียงภาพเดียว
i : ถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง (สูงสุดประมาณ 5.0 ภาพ/วินาที)
เมือ ่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดค ้างไว ้ กล ้องจะถ่ายภาพอย่างต่อเนือ
่ ง
B : ถ่ายภาพเดีย ่ วแบบเงียบ
ถ่ายภาพเดีย ่ วทีม ่ เี สียงถ่ายภาพเบากว่า <u>
M : ถ่ายภาพต่อเนือ ่ งแบบเงียบ (สูงสุดประมาณ 3.0 ภาพ/วินาที)
ถ่ายภาพต่อเนือ ่ งทีม ่ เี สียงถ่ายภาพเบากว่า <i>
Q : ตงเวลา: ั้ 10 วิ/ รีโมทคอนโทรล
l : ตงเวลา:
ั้ 2 วินาที
q : ตงเวลา:
ั้ ต่อเนือ ่ ง
สําหรับการถ่ายภาพโดยใช ้การตัง้ เวลา โปรดดูหน ้า 114 สําหรับการถ่าย
ภาพโดยใช ้รีโมทคอนโทรล โปรดดูหน ้า 350

112
i การเลือกโหมดขับเคลือ
่ น

 หากตัง้ ค่าเป็ น <B> หรือ <M> เวลาทีใ่ ช ้เมือ ่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดจน


กระทั่งภาพถูกถ่ายจะนานกว่าเมือ ่ ถ่ายภาพเดีย ่ วหรือถ่ายภาพต่อเนือ ่ งแบบปกติ
 การถ่ายภาพแบบ Live View จะไม่สามารถตัง้ ค่า <B> และ <M> ได ้
 เมือ ่ ระดับพลังงานแบตเตอรีต ่ ํา่ ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจช ้าลงเล็กน ้อย
 ในโหมด AI Servo AF ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจช ้าลงเล็กน ้อยทัง้ นี้
ขึน
้ อยูก ่ บ ี่ า่ ยและเลนส์ทใี่ ช ้งาน
ั วัตถุทถ
 i: ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนื่องสูงสุดทีป ่ ระมาณ 5.0 ภาพ/วินาทีจะสามารถ
ทําได ้ภายใต ้สภาวะต่อไปนี้*: ความเร็วชัตเตอร์ 1/500 วินาทีหรือเร็วกว่า, ค่ารูรับ
แสงสูงสุด (อาจแตกต่างกันไปขึน ้ อยูก ั เลนส์), แก ้ไขความคลาดส่วน: ไม่ใช ้งาน
่ บ
และ ถ่ายลดแสงวูบวาบ: ไม่ใช ้งาน ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจลดลง
ขึน้ อยูก ่ บั ความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง สภาพวัตถุ ความสว่าง เลนส์ การใช ้แฟลช
อุณหภูม ิ ระดับแบตเตอรีท ่ เี่ หลืออยู่ เป็ นต ้น
่ (IS) เมือ
* ตัง้ ค่าโหมดการโฟกัสอัตโนมัตเิ ป็ น AF ครัง้ เดียว และปิ ดระบบลดภาพสัน ่ ใช ้งาน
เลนส์ตอ ่ ไปนี:้ EF300mm f/4L IS USM, EF28-135mm f/3.5-5.6 IS USM, EF75-300mm
f/4-5.6 IS USM และ EF100-400mm f/4.5-5.6L IS USM

113
้ ารตงเวลา
j การใชก ั้
1 กดปุ่ ม <YQi>
 [โหมดข ับเคลือ
่ น] จะปรากฏขึน้

2 เลื
อกการตงเวลา
ั้
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ เลือกการตัง้ เวลา
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
Q: ตงเวลา
ั้ 10 วินาที
สามารถใช ้รีโมทคอนโทรลได ้เช่นกัน
(น.350)
l: ตงเวลา
ั้ 2 วินาที (น.75)
q: ตงเวลา ั้ 10 วินาทีบวกก ับการถ่าย
ภาพต่อเนือ ่ ง
กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือกจํานวน
ภาพทีต ่ ้องการถ่าย (2 ถึง 10)
โดยใช ้การตัง้ เวลา

3 ถ่ายภาพ
มองผ่านช่องมองภาพ โฟกัสไปยังวัตถุ
จากนัน ้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด
 คุณสามารถตรวจสอบการทํางานของการ
ตัง้ เวลาได ้จากหลอดไฟการตัง้ เวลา เสียง
เตือน และการแสดงผลการนั บถอยหลัง
(เป็ นวินาที) บนจอ LCD
 สองวินาทีกอ่ นการถ่ายภาพ หลอดไฟการตัง้ เวลาจะสว่างและเสียงเตือนจะ
ดังเร็วขึน

 ด ้วย <q> ช่วงพักระหว่างการถ่ายภาพอาจนานขึน ้ โดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั การตัง้ ค่า
ั่ ถ่ายภาพ เช่น คุณภาพในการบันทึกภาพหรือแฟลช
ฟั งก์ชน
 หากคุณไม่มองผ่านช่องมองภาพเมือ ่ กดปุ่ มชัตเตอร์ ให ้ปิ ดฝาปิ ดช่องมองภาพ
(น.351) หากมีแสงจากแหล่งอืน ่ ๆ ลอดผ่านช่องมองภาพขณะถ่ายภาพ อาจส่ง
ผลกระทบต่อการเปิ ดรับแสงได ้

 หลังถ่ายภาพแบบตัง้ เวลา แนะนํ าให ้เล่นดูภาพ (น.97) เพือ ่ ตรวจสอบการโฟกัส


และการเปิ ดรับแสง
่ ใช ้การตัง้ เวลาเพือ
 เมือ ่ ถ่ายภาพตัวเอง ให ้ใช ้การล็อคโฟกัส (น.69) กับวัตถุทอ
ี่ ยู่
ในระยะเดียวกับตําแหน่งทีค ่ ณ
ุ จะยืน
 หากต ้องการยกเลิกการตัง้ เวลาหลังจากเริม ่ ทํางานแล ้ว ให ้แตะจอ LCD หรือกดปุ่ ม
<YQi>

114
การตงค่
ั้ าภาพ
4
บทนีอ ั่ เกีย
้ ธิบายการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ่ วกับภาพ: คุณภาพในการ
บันทึกภาพ ความไวแสง ISO รูปแบบภาพ สมดุลแสงขาว ปรับ
แสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ ลดจุดรบกวน แก ้ไขความคลาดเคลือ ่ น
ของเลนส์ ถ่ายลดแสงวูบวาบ และฟั งก์ชน ั่ อืน
่ ๆ
 ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน รายการดังต่อไปนีเ้ ท่านัน
้ ทีส
่ ามารถ
ตัง้ ค่าตามทีไ่ ด ้อธิบายไว ้ในบทนี:้ คุณภาพในการบันทึกภาพ และ
แก ้ไขความคลาดเคลือ ่ นของเลนส์
 ไอคอน J ด ้านบนขวาตรงหัวข ้อของหน ้า หมายถึงฟั งก์ชน ั่ นัน

สามารถใช ้ได ้เฉพาะในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ (น.30)

115
3 การตงค่
ั้ าคุณภาพในการบ ันทึกภาพ
คุณสามารถเลือกจํานวนพิกเซลและคุณภาพของภาพ คุณภาพในการบันทึกภาพ
ทีต
่ งั ้ ค่าได ้มี 10 แบบดังนี:้ 73, 83, 74, 84, 7a, 8a, b, c,
1+73, 1

เลือกคุณภาพในการบ ันทึกภาพ
1  ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [คุณภาพของ
ภาพ] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 [คุณภาพของภาพ] จะปรากฏขึน ้

พิกเซลทีบ
่ น
ั ทึก (จํานวนพิกเซล)
จํานวนภาพทีถ่ า่ ยได ้
2 ตงค่
ั้ าคุณภาพในการบ ันทึกภาพ
จํานวนพิกเซลในแต่ละคุณภาพการบันทึก
และจํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้จะแสดงขึน้ เพือ

ช่วยให ้คุณเลือกระดับคุณภาพทีต ่ ้องการ
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

116
3 การตัง้ ค่าคุณภาพในการบันทึกภาพ

คําแนะนําการตงค่
ั้ าคุณภาพในการบ ันทึกภาพ (โดยประมาณ)
พิกเซลทีบ
่ ันทึก ขนาดไฟล์ จํานวนภาพ จํานวนภาพต่อ
คุณภาพของภาพ
(ล้านพิกเซล) (MB) ทีถ
่ า่ ยได้ เนือ
่ งสูงสุด
73 7.6 940 180 (940)
คุณภาพสูง 24 (24M)
83 3.9 1810 1810 (1810)
74 คุณภาพ 4.0 1770 1770 (1770)
10.6 (11M)
84 ปานกลาง 2.0 3500 3500 (3500)
JPEG
7a 2.5 2830 2830 (2830)
5.9 (5.9M)
8a 1.3 5320 5320 (5320)
คุณภาพตํา่
b 2.5 (2.5M) 1.3 5320 5320 (5320)
c 0.35 (0.3M) 0.3 20180 20180 (20180)
1+73 28.1+7.6 190 6 (6)
คุณภาพสูง 24 (24M)
1 28.1 240 7 (8)
* ขนาดไฟล์ จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้ และจํานวนภาพต่อเนือ่ งสูงสุดระหว่างการถ่ายภาพต่อ
เนื่องขึน
้ อยูก
่ บ
ั มาตรฐานการทดสอบของแคนนอน (อัตราส่วนภาพ 3:2, ISO 100 และรูป
แบบภาพปกติ) โดยใช ้การ์ด 8 GB ค่าเหล่านีจ ้ ะเปลีย
่ นแปลงไปตามสภาพของว ัตถุ
ยีห
่ อ้ ของการ์ด อ ัตราส่วนภาพ ความไวแสง ISO รูปแบบภาพ การตงค่ ั้ าระบบ
ส่วนต ัว และการตงค่ ั้ าอืน ่ ๆ
* จํานวนในวงเล็บขึน ้ อยูก ั มาตรฐานการทดสอบของแคนนอนใช ้การ์ดทีร่ องรับ UHS-I
่ บ
ขนาด 8 GB

แม ้ว่าคุณจะใช ้การ์ด UDMA ตัวแสดงจํานวนภาพต่อเนือ


่ งสูงสุดจะยังคงเหมือนเดิม
อย่างไรก็ตาม จํานวนภาพต่อเนื่องสูงสุดในวงเล็บในตารางด ้านบน จะถูกใช ้ขณะถ่าย
ภาพต่อเนื่อง
117
3 การตัง้ ค่าคุณภาพในการบันทึกภาพ

คําถามทีพ
่ บบ่อย
 ฉ ันต้องการเลือกคุณภาพในการบ ันทึกภาพให้เหมาะสมก ับขนาด
กระดาษทีใ่ ช้พม ิ พ์
ขนาดกระดาษ อ ้างอิงจากแผนภาพด ้านซ ้าย เมือ
่ เลือกคุณ
ภาพในการบันทึกภาพ หากคุณต ้องการ
A2(59.4x42ซม./23.4x16.5นิว้ )
ครอบตัดภาพ แนะนํ าให ้เลือกคุณภาพทีส ่ งู ขึน

73
A3(42x29.7ซม./ 83
(พิกเซลเพิม่ ขึน
้ ) เช่น 73, 83, 1+73
16.5x11.7นิว้ ) 1+73 หรือ 1
74 1
84 b เหมาะสําหรับการเล่นภาพในกรอบแสดง
7a ภาพแบบดิจต ิ อล c เหมาะสําหรับการส่ง
b 8a
ภาพทางอีเมล์ หรือใช ้แสดงบนเวปไซต์
A4(29.7x21ซม./11.7x8.3นิว้ )
12.7x8.9ซม./5.0x3.5นิว้
 7 และ 8 แตกต่างก ันอย่างไร
้ สดงถึงระดับความแตกต่างของคุณภาพของภาพ ซึง่
การตัง้ ค่าทัง้ สองแบบนีแ
เกิดจากอัตราการบีบอัดไฟล์ทต ี่ า่ งกัน 7 ให ้คุณภาพของภาพทีส ่ งู กว่าในขณะ
ทีจ
่ ํานวนพิกเซลเท่ากัน ถึงแม ้ 8 จะให ้คุณภาพของภาพทีต ่ ํา่ กว่าเล็กน ้อย
แต่จะสามารถบันทึกภาพลงในการ์ดได ้มากกว่า ทัง้ b และ c มีคณ ุ ภาพ
7 (ละเอียด)
 ฉ ันสามารถถ่ายภาพได้มากกว่าจํานวนภาพทีถ ่ า
่ ยได้ทรี่ ะบุไว้
คุณอาจสามารถถ่ายภาพได ้มากกว่าจํานวนภาพทีร่ ะบุไว ้ ทัง้ นีข ้ น
ึ้ อยูก
่ บ

สภาวะการถ่ายภาพ หรืออาจน ้อยกว่าทีร่ ะบุไว ้ได ้เช่นกัน จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้
ซึง่ แสดงในตารางเป็ นเพียงค่าโดยประมาณ
 กล้องแสดงจํานวนภาพต่อเนือ ่ งสูงสุดได้หรือไม่
จํานวนภาพต่อเนือ่ งสูงสุดจะแสดงอยูท่ างด ้านขวาของช่องมองภาพ เนือ ่ ง
จากเป็ นการแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียว 0 - 9 จํานวนใดๆ ทีส ่ งู กว่า 8 จะ
แสดงเป็ น “9” เท่านัน
้ โปรดทราบว่าจํานวนนีจ ้ ะยังคงแสดงขึน
้ แม ้ไม่ได ้ใส่
การ์ดลงในกล ้องก็ตาม ควรระวังไม่ทําการถ่ายภาพโดยไม่มก ี าร์ดภายใน
กล ้อง
 เมือ
่ ใดทีฉ
่ ันควรใช้ 1
ภาพ 1 ต ้องทําการประมวลผลบนคอมพิวเตอร์ สําหรับรายละเอียด โปรดดู
“1” และ “1+73” ในหน ้าถัดไป

118
3 การตัง้ ค่าคุณภาพในการบันทึกภาพ

1
1 เป็ นข ้อมูลดิบของภาพก่อนทีจ ่ ะแปลงไปเป็ น 73 หรือไฟล์ภาพชนิดอืน ่ ๆ
ภาพ 1 ไม่สามารถดูได ้บนคอมพิวเตอร์ทไี่ ม่มก ี ารติดตัง้ ซอฟต์แวร์ EOS เช่น
Digital Photo Professional (น.402) แต่คณ ุ สามารถทําการปรับแต่งต่างๆ บน
ภาพชนิดนี้ ซึง่ จะไม่สามารถทําได ้กับภาพชนิดอืน ่ ๆ เช่น 73 1 จึงเหมาะ
สําหรับการปรับแต่งภาพแบบพิถพ ี ถ
ิ ันด ้วยตัวคุณเอง หรือเมือ ่ ต ้องการถ่ายภาพ
สําคัญ
1+73
1+73 จะบันทึกภาพ 1 และภาพ 73 ในขณะทีถ ่ า่ ยเพียงครัง้ เดียว และ
ภาพทัง้ สองชนิดจะถูกบันทึกลงในการ์ดพร ้อมกัน ภายในโฟลเดอร์เดียวกัน ด ้วย
หมายเลขไฟล์ทเี่ หมือนกัน (สกุล .JPG สําหรับ JPEG และ .CR2 สําหรับ RAW)
ภาพ 73 สามารถดูหรือพิมพ์ได ้จากคอมพิวเตอร์ทไี่ ม่มก
ี ารติดตัง้ ซอฟต์แวร์ EOS

ภาพ 1 0001 . CR2

ภาพ 73 0001 . JPG

เลขทีไ่ ฟล์ นามสกุลไฟล์

ซอฟต์แวร์ประมวลผลภาพ RAW
 แนะนํ าให ้ใช ้ “Digital Photo Professional” (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402) เมือ ่ ต ้องการ
ดูภาพ RAW บนคอมพิวเตอร์
 Digital Photo Professional เวอร์ชน ั่ เก่าอาจไม่สามารถประมวลผลภาพ RAW
ทีถ่ า่ ยด ้วยกล ้องนี้ได ้ หากคอมพิวเตอร์ของคุณติดตัง้ Digital Photo Professional
เวอร์ชน ั่ เก่ากว่า ให ้อัพเดท (เขียนทับ) ซอฟต์แวร์ดังนี้
• เมือ ่ CD-ROM ซอฟต์แวร์ (EOS DIGITAL Solution Disk) มีให ้พร ้อมกล ้อง:
 ติดตัง้ Digital Photo Professional จาก CD-ROM
• เมือ ่ CD-ROM ซอฟต์แวร์ (EOS DIGITAL Solution Disk) ไม่มใี ห ้พร ้อมกล ้อง:
 ดาวน์โหลด Digital Photo Professional เวอร์ชน ั่ ทีก
่ ล ้องนีร้ องรับจากเวปไซต์
ของแคนนอน
 ซอฟต์แวร์จัดการภาพทีม ่ จี ําหน่ายทัว่ ไป อาจไม่สามารถแสดงภาพ RAW ทีถ ่ ่าย
ด ้วยกล ้องนีไ ้ ด ้ สําหรับข ้อมูลเกีย่ วกับความเข ้ากันได ้ โปรดติดต่อสอบถามผู ้ผลิต
ซอฟต์แวร์

119
3การปร ับเปลีย ่ นของภาพK
่ นอ ัตราสว
คุณสามารถเปลีย ่ นอัตราส่วนภาพได ้ [3:2] ถูกตัง้ เป็ นค่าเริม
่ ต ้น เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น
[4:3], [16:9] หรือ [1:1] เส ้นจะแสดงขึน้ เพือ
่ บ่งบอกขอบเขตการถ่ายภาพ
ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View ภาพจะแสดงขึน ้ และพืน ้ ทีโ่ ดยรอบจะถูก
คลุมด ้วยสีดํา

เลือกอ ัตราส่วนภาพ
1  ภายใต ้แท็บ [z3] เลือก [อ ัตราส่วน
ภาพ] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 [อ ัตราส่วนภาพ] จะปรากฏขึน ้

2 ตงค่
ั้ าอ ัตราส่วนภาพ
เลือกอัตราส่วนภาพ จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

 ภาพ JPEG
ภาพจะถูกบันทึกด ้วยอัตราส่วนภาพทีต ่ งั ้ ค่าไว ้
 ภาพ RAW
ภาพจะถูกบันทึกด ้วยอัตราส่วนภาพ [3:2] เสมอ ข ้อมูลอัตราส่วนภาพที่
เลือกจะถูกเพิม ่ ไปยังไฟล์ภาพ RAW เมือ ่ คุณประมวลผลภาพ RAW
ด ้วยซอฟต์แวร์ EOS จะทําให ้คุณสามารถสร ้างภาพทีม ่ อ
ี ต
ั ราส่วนภาพ
เดียวกับทีต่ งั ้ ค่าตอนถ่ายภาพได ้ ในกรณีทอ ี่ ต
ั ราส่วนภาพเป็ น [4:3] [16:9]
และ [1:1] เส ้นอัตราส่วนภาพจะปรากฏในระหว่างการเล่นภาพ แต่ความเป็ นจริงเส ้น
จะไม่ถกู บันทึกลงบนภาพ

120
3การปรับเปลีย
่ นอัตราส่วนของภาพK

ตารางด ้านล่างแสดงอัตราส่วนภาพและจํานวนพิกเซลทีใ่ ช ้บันทึกภาพสําหรับ


แต่ละคุณภาพในการบันทึกภาพ

คุณภาพ อ ัตราส่วนภาพและจํานวนพิกเซล (โดยประมาณ)


ของภาพ 3:2 4:3 16:9 1:1
3 6000x4000 5328x4000* 6000x3368* 4000x4000
1 (24.0 ล ้านพิกเซล) (21.3 ล ้านพิกเซล) (20.2 ล ้านพิกเซล) (16.0 ล ้านพิกเซล)
3984x2656 3552x2664 3984x2240* 2656x2656
4
(10.6 ล ้านพิกเซล) (9.5 ล ้านพิกเซล) (8.9 ล ้านพิกเซล) (7.1 ล ้านพิกเซล)
2976x1984 2656x1992 2976x1680* 1984x1984
a
(5.9 ล ้านพิกเซล) (5.3 ล ้านพิกเซล) (5.0 ล ้านพิกเซล) (3.9 ล ้านพิกเซล)
1920x1280 1696x1280* 1920x1080 1280x1280
b
(2.5 ล ้านพิกเซล) (2.2 ล ้านพิกเซล) (2.1 ล ้านพิกเซล) (1.6 ล ้านพิกเซล)
720x480 640x480 720x408* 480x480
c
(0.35 ล ้านพิกเซล) (0.31 ล ้านพิกเซล) (0.29 ล ้านพิกเซล) (0.23 ล ้านพิกเซล)

 การตัง้ ค่าคุณภาพในการบันทึกภาพทีม ่ เี ครือ่ งหมายดอกจันจะไม่เหมาะพอดีกบ ั


อัตราส่วนภาพทีส ั พันธ์กน
่ ม ั
 ขอบเขตการถ่ายภาพทีแ ่ สดงในอัตราส่วนภาพทีม ่ เี ครือ
่ งหมายดอกจันจะใหญ่กว่า
พืน
้ ทีท
่ บ
ี่ ันทึกเล็กน ้อย ให ้ตรวจสอบภาพทีถ ่ ่ายบนจอ LCD เมือ ่ ทําการถ่ายภาพ
 หากคุณใช ้กล ้องตัวอืน ่ เพือ
่ พิมพ์ภาพทีถ ่ า่ ยด ้วยกล ้องนีโ้ ดยตรงในอัตราส่วนภาพ
1:1 อาจทําให ้พิมพ์ภาพได ้ไม่ถก ู ต ้อง
121
g: การปร ับความไวแสง ISO ให้เหมาะสมก ับแสงK
ตัง้ ค่าความไวแสง ISO (การตอบสนองต่อแสงของเซนเซอร์ภาพ) ให ้เหมาะกับ
สภาพแสงโดยรอบ ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน กล ้องจะตัง้ ค่าความไวแสงโดย
อัตโนมัต ิ (น.124)

กดปุ่ม <g> (9)


1

2 ตงค่
ั้ าความไวแสง ISO
ขณะทีม
่ องในช่องมองภาพหรือทีจ
่ อ LCD
ให ้กดปุ่ ม <Y> <Z> หรือหมุนปุ่ ม
<6> เพือ ่ เลือกความไวแสงทีต ่ ้องการ
จากนัน้ กดปุ่ ม <0>
 เลือก [อ ัตโนม ัติ] เพือ
่ ตัง้ ค่าความไวแสง
ISO โดยอัตโนมัต ิ (น.124)
คําแนะนําในการปร ับความไวแสง ISO
ล ักษณะการถ่ายภาพ
ความไวแสง ISO ระยะการทํางานของแฟลช
(ไม่ใช ้แฟลช)
ISO 100 - ISO 400 ภายนอกอาคารทีม
่ แ
ี สงแดดจัด
ความไวแสงยิง่ สูง ระยะการ
ท ้องฟ้ าหลัว ทํางานของแฟลชจะยิง่ ไกล
ISO 400 - ISO 1600
หรือบรรยากาศในตอนเย็น ขึน
้ (น.166)
ISO 1600 - ISO 12800, H ภายในอาคารทีม
่ ด
ื หรือกลางคืน
* ยิง่ ใช ้ความไวแสง ISO สูงขึน
้ ภาพก็จะดูหยาบขึน

ภายใต ้ [54: ตงค่


ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [2: ขยายความไวแสง
ISO] เป็ น [1: เปิ ด] ยังสามารถเลือก “H” (เทียบเท่า ISO 25600) ได ้ (น.338)

 ภายใต ้ [54: ตงค่ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพบริเวณ


สว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน] จะไม่สามารถเลือกความไวแสง ISO 100 และ “H”
(เทียบเท่า ISO 25600) ได ้ (น.339)
 การถ่ายภาพในทีม ่ อ
ี ณ
ุ หภูมส
ิ งู อาจส่งผลให ้ภาพดูเป็ นเม็ดหยาบยิง่ ขึน
้ และการ
เปิ ดรับแสงนานยังอาจทําให ้ภาพมีสผ ี ด
ิ เพีย
้ นได ้

122
g: การปรับความไวแสง ISO ให ้เหมาะสมกับแสงK

 เมือ่ คุณถ่ายภาพด ้วยการใช ้ความไวแสง ISO สูง น๊อยส์ (เช่น จุดแสงและแถบแสง)


อาจปรากฏให ้เห็นชัดขึน ้
 หากคุณใช ้ความไวแสง ISO สูงและแฟลชเพือ ่ ถ่ายภาพวัตถุในระยะใกล ้ อาจส่ง
ผลให ้มีการเปิ ดรับแสงมากเกินไป
 เมือ ่ ถ่ายภาพในสภาวะทีท ่ ําให ้เกิดน๊ อยส์จํานวนมาก เช่น ใช ้ค่าความไวแสง ISO
สูงร่วมกับอุณหภูมท ิ ส
ี่ งู และการเปิ ดรับแสงนาน ภาพถ่ายอาจไม่ได ้รับการบันทึก
อย่างสมบูรณ์
 “H” (เทียบเท่า ISO 25600) คือการขยายช่วงความไวแสงให ้สูงขึน ้ น๊อยส์ (เช่น
จุดแสงและแถบแสง) และสีผด ิ เพีย
้ นอาจปรากฏให ้เห็นชัดขึน้ และความละเอียด
ของภาพจะลดตํา่ ลงกว่าปกติด ้วย
 เนือ ่ งจากความไวแสง ISO สูงสุดสามารถตัง้ ค่าได ้แตกต่างกันระหว่างการถ่าย
ภาพนิง่ และการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว (ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง) ความไวแสง
ISO ทีค ่ ณุ ตัง้ ค่าอาจเปลีย ่ นแปลงเมือ ่ คุณสลับจากการถ่ายภาพนิง่ เป็ นการถ่ายภาพ
เคลือ ่ นไหว แม ้ว่าคุณจะเปลีย ่ นกลับไปยังการถ่ายภาพนิง่ แต่ความไวแสง ISO จะ
ไม่กลับไปเป็ นการตัง้ ค่าเดิม ความแตกต่างในการตัง้ ค่าความไวแสง ISO สูงสุดนัน ้
ขึน
้ อยูก ่ บ ั การตัง้ ค่าสําหรับ [2: ขยายความไวแสง ISO] ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ า
ระบบส่วนต ัว (C.Fn)]
• เมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น [0: ปิ ด]: หากคุณตัง้ ค่าความไวแสง ISO 12800 ระหว่างการถ่าย
ภาพนิง่ แล ้วสลับเป็ นถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ความไวแสง ISO จะเปลีย ่ นเป็ น
ISO 6400
• เมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น [1: เปิ ด]: หากคุณตัง้ ค่าความไวแสง ISO 12800 หรือ “H”
(เทียบเท่า ISO 25600) ระหว่างการถ่ายภาพนิง่ แล ้วสลับเป็ นถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
ความไวแสง ISO จะเปลีย ่ นเป็ น “H” (เทียบเท่า ISO 12800)

3 การตงค่ ํ หร ับ [AUTO]K
ั้ าความไวแสง ISO สูงสุดสา
สําหรับ ISO อัตโนมัต ิ คุณสามารถตัง้ ค่าระดับความไวแสง ISO สูงสุดได ้ในช่วง
ISO 400 - ISO 6400

ภายใต ้แท็บ [z3] เลือก [ISO อ ัตโนม ัติ]


จากนัน
้ กดปุ่ ม <0> เลือกความไวแสง ISO
จากนัน้ กดปุ่ ม <0>

123
g: การปรับความไวแสง ISO ให ้เหมาะสมกับแสงK

ISO [AUTO]
หากตัง้ ค่าความไวแสงเป็ น [AUTO] ความ
ไวแสงจริงทีก ่ ล ้องกําหนดจะแสดงขึน้ เมือ
่ คุณ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ดังรายละเอียดด ้าน
ล่าง ความไวแสง ISO จะถูกตัง้ ค่าโดย
อัตโนมัตเิ พือ
่ ให ้เหมาะกับโหมดการถ่ายภาพ

การตงค่
ั้ าความไวแสง ISO
โหมดการถ่ายภาพ
ไม่ใช้แฟลช ใช้แฟลช
A/7/C/2/4/5 ISO 100 - ISO 6400
3 ISO 100 - ISO 1600
C/P/x/6/G ISO 100 - ISO 6400 ISO 400*2
8
F ISO 100 - ISO 12800 (ยกเว ้นในโหมด A, C,
d/s/f/a ISO 100 - ISO 6400*1 6 และ F)
ถ่ายโดยเปิ ดหน ้ากล ้องค ้าง
ชัตเตอร์ ISO 400

*1: ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ระดับความไวแสง ISO สูงสุดทีต
่ งั ้ ไว ้ (น.123)
*2: (1) หากการเติมแฟลชส่งผลให ้มีการเปิ ดรับแสงมากเกินไป กล ้องจะตัง้ ค่าความไวแสง
ISO เป็ น ISO 100 หรือสูงกว่า
(2) ในโหมด C, 2, 3, 4, 5, x, P และ <d> หากคุณใช ้การสะท ้อนแสง
แฟลชด ้วย Speedlite ภายนอก ความไวแสง ISO จะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตภ ิ ายใน
ช่วง ISO 400 - ISO 1600 (หรือไม่เกินระดับสูงสุดทีต ่ งั ้ ไว ้)

เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น [AUTO] ความไวแสง ISO จะแสดงเพิม ่ ขึน
้ แบบเต็มสต๊อป อย่างไรก็ตาม
ความไวแสงทีก ่ ล ้องเลือกใช ้จริงจะละเอียดกว่านั น
้ ดังนัน
้ ในข ้อมูลการถ่ายภาพ (น.306)
คุณอาจจะเห็นค่าความไวแสง ISO แสดงเป็ น ISO 125 หรือ ISO 640

124
A การเลือกรูปแบบภาพK
ด ้วยการเลือกใช ้รูปแบบภาพ คุณสามารถปรับลักษณะภาพทีถ ่ า่ ยในแบบทีค
่ ณ

่ ออกมาในภาพนั น
ต ้องการสือ ้ ๆ หรือให ้เหมาะกับวัตถุ
ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน [D] (อัตโนมัต)ิ จะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ

กดปุ่ม <XA>
1  หน ้าจอการเลือกรูปแบบภาพจะปรากฏขึน

2 เลื
อกรูปแบบภาพ
 เลือกรูปแบบภาพ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 รูปแบบภาพจะถูกตัง้ ค่า

คุณยังสามารถเลือกรูปแบบภาพด ้วย [z2: รูปแบบภาพ]

ล ักษณะเฉพาะของรูปแบบภาพ
D อ ัตโนม ัติ
โทนสีของภาพจะถูกปรับโดยอัตโนมัต ิ เพือ
่ ให ้เหมาะกับฉากทีถ ั จะ
่ า่ ย สีสน
ดูสดใส โดยเฉพาะภาพท ้องฟ้ าสีฟ้า ใบไม ้สีเขียว และพระอาทิตย์ตก ใน
ฉากธรรมชาติ กลางแจ ้ง และยามพระอาทิตย์ตกดิน

หากโทนสีไม่เป็ นไปตามทีต ่ เลือก [อ ัตโนม ัติ] ให ้ใช ้รูปแบบภาพอืน


่ ้องการเมือ ่

P ปกติ
ภาพจะดูมส ี น
ี ส ั สดใส และคมชัด เป็ นรูปแบบทีเ่ หมาะกับลักษณะการถ่าย
ภาพโดยส่วนใหญ่

125
A การเลือกรูปแบบภาพK

Q ภาพบุคคล
โทนสีผวิ จะเป็ นธรรมชาติ ทําให ้ภาพแลดูนุ่มนวล เหมาะสําหรับถ่ายภาพ
บุคคลในระยะใกล ้
ด ้วยการเปลีย
่ น [โทนสี] (น.128) คุณสามารถปรับโทนของสีผวิ ได ้
R ภาพวิว
ภาพทีไ่ ด ้จะมีความคมชัดมาก และส่วนทีเ่ ป็ นสีฟ้าหรือสีเขียวจะดูสดขึน

เหมาะสําหรับภาพทิวทัศน์ทด ี่ ต
ู น
ื่ ตา
S ภาพเป็นกลาง
รูปแบบภาพนีเ้ หมาะสําหรับผู ้ทีช่ อบปรับแต่งภาพเองโดยใช ้คอมพิวเตอร์
เพือ
่ ให ้ได ้ภาพทีม
่ ส ี อ
ี อ ่ นลงและเป็ นธรรมชาติ มีความสว่างและความอิม
่ ตัว
ของสีทเี่ รียบง่าย
U ภาพตามจริง
รูปแบบภาพนีเ้ หมาะสําหรับผู ้ทีช ่ อบปรับแต่งภาพเองโดยใช ้คอมพิวเตอร์
สีของวัตถุทถ ี่ ก
ู ถ่ายภายใต ้แสงแดดด ้วยอุณหภูมข ิ องสีท ี่ 5200K จะถูกปรับ
เพือ
่ ให ้ตรงกับสีจริงของวัตถุนัน้ เพือ่ ให ้ได ้ภาพทีม
่ ค
ี วามสว่างและความอิม ่
ตัวของสีทเี่ รียบง่าย
V ภาพขาวดํา
สร ้างสรรค์ภาพขาวดํา

ภาพขาวดําทีถ ่ า่ ยด ้วยรูปแบบ JPEG ไม่สามารถเปลีย


่ นกลับมาเป็ นภาพสีได ้
หากคุณต ้องการถ่ายภาพเป็ นภาพสีตอ ่ ในภายหลัง ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าได ้
ยกเลิกการตัง้ ค่า [ภาพขาวดํา] แล ้ว ขณะทีเ่ ลือก [ภาพขาวดํา] จะปรากฏ
<0> ในช่องมองภาพ

W ผูใ้ ช้กา ํ หนด 1-3


คุณสามารถบันทึกรูปแบบภาพพืน ้ ฐานได ้ เช่น [บุคคล] [ภาพวิว] ไฟล์
รูปแบบภาพและอืน ่ ๆ และปรับตามความต ้องการ (น.130) รูปแบบภาพที่
ผู ้ใช ้กําหนดใดๆ ทีไ่ ม่ได ้ตัง้ ค่าไว ้ จะใช ้ค่ามาตรฐานเดียวกับรูปแบบภาพ
[อ ัตโนม ัติ]

126
A การกําหนดรูปแบบภาพเองK
คุณสามารถกําหนดรูปแบบภาพเองได ้โดยการปรับพารามิเตอร์แต่ละตัว เช่น
[ความคมช ัด] และ [ความเปรียบต่าง] ในการดูผลลัพธ์ทไี่ ด ้ ให ้ถ่ายภาพ
ทดสอบ ในการกําหนด [ภาพขาวดํา] เอง โปรดดูหน ้า 129

1 กดปุ่ ม <XA>
 หน ้าจอการเลือกรูปแบบภาพจะปรากฏขึน

2 เลื
อกรูปแบบภาพ
 เลือกรูปแบบภาพ จากนัน้ กดปุ่ ม <B>

3 เลื
อกพารามิเตอร์
 เลือกพารามิเตอร์ เช่น [ความคมช ัด]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

4 ปร ับพารามิเตอร์
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ ปรับพารามิเตอร์
ตามต ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ บันทึกพารามิเตอร์
ทีป่ รับ หน ้าจอเลือกรูปแบบภาพจะปรากฏ
ขึน
้ อีกครัง้
 การตัง้ ค่าพารามิเตอร์ใดๆ ทีต ่ า่ งจากค่า
มาตรฐานจะแสดงเป็ นสีนํ้าเงิน

 โดยการเลือก [ตงค่ ั้ าเริม ่ ต้น] ในขัน ้ ตอนที่ 3 คุณจะสามารถย ้อนรูปแบบภาพนัน ้


่ ารตัง้ ค่าพารามิเตอร์เริม
กลับสูก ่ ต ้นได ้
 ในการถ่ายด ้วยรูปแบบภาพทีค ่ ณุ ปรับ โปรดทําตามขัน ้ ตอนที่ 2 ในหน ้า 125 เพือ่
เลือกรูปแบบภาพทีป ่ รับ จากนัน ้ จึงถ่ายภาพ

127
A การกําหนดรูปแบบภาพเองK

การตงค่
ั้ าพารามิเตอร์และล ักษณะพิเศษ
g ความคมช ัด
ปร ับความคมช ัดของภาพ
ในการลดความคมชัด ให ้ปรับไปทางด ้าน E ยิง่ ใกล ้ E ภาพจะยิง่ ดูนุ่มนวล
ในการเพิม
่ ความคมชัด ให ้ปรับไปทางด ้าน F ยิง่ ใกล ้ F ภาพจะยิง่ ดูคมชัด
h ความเปรียบต่าง
ปร ับความเปรียบต่างของภาพและความสดใสของสี
ในการลดความเปรียบต่าง ให ้ปรับไปทางด ้านลบ ยิง่ ใกล ้ G ภาพจะยิง่ ดูจด ื
ในการเพิม
่ ความเปรียบต่าง ให ้ปรับไปทางด ้านบวก ยิง่ ใกล ้ H ภาพจะยิง่ ดูสด
i ความอิม
่ ต ัวของสี
ปร ับความอิม ่ ต ัวของสีในภาพ
ในการลดความอิม ่ ตัวของสี ให ้ปรับไปทางด ้านลบ ยิง่ ใกล ้ G สีจะยิง่ ดูจาง
ในการเพิม่ ความอิม ่ ตัวของสี ให ้ปรับไปทางด ้านบวก ยิง่ ใกล ้ H สีจะยิง่ ดูเข ้ม
j โทนสี
ปร ับโทนสีของผิว
ในการทําให ้โทนสีผวิ แดงขึน
้ ให ้ปรับไปทางด ้านลบ ยิง่ ใกล ้ G โทนสีผวิ จะ
ยิง่ ดูแดงขึน

ในการลดความแดงของสีผวิ ให ้ปรับไปทางด ้านบวก ยิง่ ใกล ้ H โทนสีผวิ จะ
ยิง่ ดูเหลืองขึน

128
A การกําหนดรูปแบบภาพเองK

V การปร ับภาพขาวดํา
สําหรับภาพขาวดํา คุณสามารถปรับ [ลูกเล่นฟิ ลเตอร์] และ [ลูกเล่นโทนสี]
่ เติมจาก [ความคมช ัด] และ [ความเปรียบต่าง] ทีอ
เพิม ่ ธิบายในหน ้าก่อนหน ้า
ได ้อีกด ้วย
kลูกเล่นฟิ ลเตอร์
ด ้วยการใช ้ลูกเล่นฟิ ลเตอร์กบ
ั ภาพขาวดํา คุณ
จะสามารถทําให ้เมฆสีขาวหรือต ้นไม ้สีเขียว
โดดเด่นยิง่ ขึน

ฟิ ลเตอร์ ต ัวอย่างลูกเล่น
N: ไม่ใช ้ ภาพขาวดําธรรมดาโดยไม่ใช ้ลูกเล่นฟิ ลเตอร์
Ye: เหลือง ท ้องฟ้ าจะดูเป็ นธรรมชาติขน
ึ้ และเมฆสีขาวจะดูสดขึน

Or: ส ้ม ท ้องฟ้ าจะดูมด
ื ลงเล็กน ้อย อาทิตย์ตกจะดูสวยขึน

R: แดง ท ้องฟ้ าจะดูคอ
่ นข ้างมืด ใบไม ้ร่วงจะดูสดและสว่างขึน

G: เขียว โทนสีผวิ และริมฝี ปากจะดูจด
ื ต ้นไม ้สีเขียวจะดูสดและสว่างขึน

การเพิม ั เจนยิง่ ขึน


่ [ความเปรียบต่าง] จะทําให ้ลูกเล่นฟิ ลเตอร์ชด ้

lลูกเล่นโทนสี
ด ้วยการใช ้ลูกเล่นโทนสี คุณจะสามารถสร ้าง
ภาพขาวดําในสีนัน ้ ได ้ ซึง่ สามารถทําให ้ภาพดู
น่าประทับใจยิง่ ขึน
้ ได ้
สีเหล่านีส
้ ามารถเลือกได ้: [N:ไม่ใช้]
[S:ซีเปี ย] [B:นํา้ เงิน] [P:ม่วง] หรือ
[G:เขียว]

129
A การบ ันทึกรูปแบบภาพK
คุณสามารถเลือกรูปแบบภาพพืน ้ ฐาน เช่น [ภาพบุคคล] หรือ [ภาพวิว] ปรับ
พารามิเตอร์ของรูปแบบนั น้ ตามต ้องการแล ้วบันทึกภายใต ้ [ผูใ้ ช้กา ํ หนด 1]
[ผูใ้ ช้กา
ํ หนด 2] หรือ [ผูใ้ ช้กาํ หนด 3]
คุณสามารถสร ้างรูปแบบภาพหลายรูปแบบทีม ่ ก
ี ารตัง้ ค่าพารามิเตอร์ทแี่ ตกต่าง
กันไป เช่น ความคมชัดและความเปรียบต่าง
คุณยังสามารถปรับพารามิเตอร์ของรูปแบบภาพทีบ ่ น
ั ทึกลงในกล ้องด ้วย EOS
Utility (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402) ได ้อีกด ้วย

1 กดปุ่ ม <XA>
 หน ้าจอการเลือกรูปแบบภาพจะปรากฏขึน ้
้ า
2 เลื
อก [ผูใ้ ชก ํ หนด *]
 เลือก [ผูใ้ ช้กาํ หนด *] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<B>
 หน ้าจอการตัง้ ค่าละเอียดจะปรากฏขึน

3 กดปุ
่ ม <0>
 เมือ
่ เลือก [รูปแบบภาพ] ไว ้ ให ้กดปุ่ ม
<0>

้ ฐาน
4 เลื
อกรูปแบบภาพพืน
 เลือกรูปแบบภาพพืน
้ ฐาน จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>
 ในการปรับพารามิเตอร์ของรูปแบบภาพที่
บันทึกลงในกล ้องด ้วย EOS Utility
(ซอฟต์แวร์ EOS) ให ้เลือกรูปแบบภาพทีน
่ ี่

130
A การบันทึกรูปแบบภาพK

5 เลื
อกพารามิเตอร์
 เลือกพารามิเตอร์ เช่น [ความคมช ัด]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

6 ปร ับพารามิเตอร์
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ ปรับพารามิเตอร์
ตามต ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
สําหรับรายละเอียด โปรดดู “การกําหนด
รูปแบบภาพเอง” ในหน ้า 127-129

 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ บันทึกรูปแบบภาพ


ทีแ่ ก ้ไข จากนัน ้ หน ้าจอเลือกรูปแบบภาพ
จะปรากฏขึน ้ อีกครัง้
 รูปแบบภาพพืน ้ ฐานจะระบุไว ้ทางด ้านขวา
ของ [ผูใ้ ช้กา ํ หนด *]

 หากรูปแบบภาพถูกบันทึกไว ้แล ้วภายใต ้ [ผูใ้ ช้กําหนด *] การเปลีย ่ นรูปแบบ


ภาพพืน ้ ฐานในขัน ้ ตอนที่ 4 จะยกเลิกการตัง้ ค่าพารามิเตอร์ของรูปแบบภาพที่
บันทึกไว ้
 หากคุณทําการ [ลบการตงค่ ั้ ากล้องทงหมด]
ั้ (น.267) รูปแบบภาพและ
พารามิเตอร์ทต ี่ งั ้ ค่าภายใต ้ [ผูใ้ ช้กําหนด] จะคืนสูก่ ารตัง้ ค่าเริม
่ ต ้น รูปแบบ
ภาพทีบ ่ ันทึกผ่าน EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS) จะมีเพียงแค่พารามิเตอร์ท ี่
แก ้ไขเท่านั น
้ ทีค ่ น ่ ารตัง้ ค่าเริม
ื สูก ่ ต ้น

 ในการถ่ายภาพด ้วยรูปแบบภาพทีบ ่ นั ทึกไว ้ ให ้ทําตามขัน


้ ตอนที่ 2 ในหน ้า 125
เพือ
่ เลือก [ผูใ้ ช้กําหนด*] จากนัน้ จึงถ่ายภาพ
 สําหรับขัน้ ตอนการบันทึกไฟล์รปู แบบภาพไปยังกล ้อง โปรดดูคม ื การใช ้งาน
ู่ อ
EOS Utility (น.404)

131
ี องภาพตามแหล่งกําเนิดแสงK
B: การปร ับสข
ั่ ซึง่ ปรับโทนสีเพือ
ฟั งก์ชน ่ ว่าวัตถุสขี าวในภาพจะดูเป็ นสีขาวนี้ เรียกว่าสมดุลแสง
ขาว (WB) โดยปกติการตัง้ ค่า [Q] (อัตโนมัต)ิ จะได ้สมดุลแสงขาวทีเ่ หมาะสม
หากสีสน ั ทีไ่ ด ้ไม่เป็ นธรรมชาติเมือ ่ ใช ้ [Q] คุณสามารถเลือกสมดุลแสงขาวให ้
เหมาะกับแหล่งกําเนิดแสง หรือปรับด ้วยตนเองโดยการถ่ายภาพวัตถุทม ี่ ส ี าว
ี ข

กดปุ่ม <WB>
1  [สมดุลแสงขาว] จะปรากฏขึน

2 เลื
อกการตงค่ั้ าสมดุลแสงขาว
 เลือกการตัง้ ค่าทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>
 “ประมาณ ****K” (K: เคลวิน) ทีแ ่ สดงใน
การตัง้ ค่าสมดุลแสงขาวต่อไปนี้ <W>,
<E>, <R>, <Y> หรือ <U>
คืออุณหภูมส ี เี่ กีย
ิ ท ่ วข ้อง

O สมดุลแสงขาวกําหนดเอง
สมดุลแสงขาวกําหนดเองช่วยให ้คุณสามารถตัง้ ค่าสมดุลแสงขาวสําหรับแหล่ง
กําเนิดแสงเฉพาะเพือ
่ ความแม่นยําทีส ้ ตอนนีโ้ ดยใช ้แหล่งกําเนิด
่ งู กว่า กระทําขัน
แสงทีแ ่ ท ้จริง

ี าว
ถ่ายภาพว ัตถุสข
1  มองผ่านช่องมองภาพ และเล็งกรอบเส ้น
ประทัง้ หมด (แสดงในภาพประกอบ) เหนือ
วัตถุสขี าว
 โฟกัสด ้วยตนเองและถ่ายด ้วยการเปิ ดรับ
แสงมาตรฐานทีต ี าว
่ งั ้ ค่าสําหรับวัตถุสข
 คุณสามารถใช ้การตัง้ ค่าสมดุลแสงขาวใดก็
ได ้

132
B: การปรับสีของภาพตามแหล่งกําเนิดแสงK

2 เลื
อก [สมดุลแสงขาวกําหนดเอง]
 ภายใต ้แท็บ [z2] เลือก [สมดุลแสง
ขาวกําหนดเอง] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอการเลือกสมดุลแสงขาวทีก ่ ําหนด
เองจะปรากฏขึน ้

3 นําเข้าข้อมูลสมดุลแสงขาว
เลือกภาพทีถ
่ า่ ยในขัน
้ ตอนที่ 1 จากนัน
้ กด
ปุ่ ม <0>
 ในหน ้าจอกล่องโต ้ตอบทีป ่ รากฏขึน้ ให ้
เลือก [ตกลง] และข ้อมูลจะถูกนํ าเข ้า
 เมือ ่ เมนูปรากฏขึน
้ อีกครัง้ กดปุ่ ม <M>
เพือ ่ ออกจากเมนู

4 เลื
อก [O (กําหนดเอง)]
 กดปุ่ ม <WB>
 เลือก [O (กําหนดเอง)] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

 หากการเปิ ดรับแสงทีไ่ ด ้ในขัน ้ ตอนที่ 1 แตกต่างจากการเปิ ดรับแสงมาตรฐาน


อย่างมาก อาจส่งผลให ้ไม่ได ้สมดุลแสงขาวทีถ ่ กู ต ้อง
 ในขัน้ ตอนที่ 3 ภาพเหล่านีไ ้ ม่สามารถเลือกได ้: ภาพทีถ ่ ่ายขณะรูปแบบภาพถูกตัง้
ค่าเป็ น [ภาพขาวดํา] (น.126) ภาพทีม ี ารใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ ภาพทีถ
่ ก ่ ูกครอบ
ตัด และภาพทีถ ่ า่ ยด ้วยกล ้องอืน่

 นอกเหนือจากวัตถุสข ี าว สามารถใช ้แผ่นภาพสีเทาหรือแผ่นสะท ้อนแสงสีเทา 18%


(มีจําหน่ายทั่วไป) เพือ ่ ให ้ได ้สมดุลแสงขาวทีถ่ ก
ู ต ้องมากขึน

 สมดุลแสงขาวส่วนตัวทีบ ่ ันทึกด ้วย EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402) จะถูก
บันทึกภายใต ้ [O] หากคุณทําตามขัน ้ ตอนที่ 3 ข ้อมูลสําหรับสมดุลแสงขาว
ส่วนตัว ทีบ
่ ันทึกไว ้จะถูกลบ

133
ี ําหร ับแหล่งกําเนิดแสงK
u การปร ับแก้โทนสส
คุณสามารถแก ้ไขสมดุลแสงขาวทีต ่ งั ้ ค่าไว ้ได ้ การปรับจะให ้ผลแบบเดียวกันกับ
การใช ้ฟิ ลเตอร์แปลงอุณหภูมส ี รือฟิ ลเตอร์ชดเชยสีซงึ่ มีจําหน่ายทั่วไป แต่ละสี
ิ ห
สามารถแก ้ไขเป็ นหนึง่ ในเก ้าระดับ
สําหรับผู ้ใช ้งานขัน
้ สูงซึง่ คุ ้นเคยกับการใช ้ฟิ ลเตอร์แปลงอุณหภูมส ี รือฟิ ลเตอร์
ิ ห
ชดเชยสี

ปร ับแก้สมดุลแสงขาว
เลือก [ปร ับ/คร่อมแสงขาว]
1  ภายใต ้แท็บ [z2] เลือก [ปร ับ/คร่อม
แสงขาว] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอปรับแก ้สมดุลแสงขาว/ถ่ายภาพ
คร่อมสมดุลแสงขาวจะปรากฏขึน ้

2 ตงค่
ั้ าการแก้ไขสมดุลแสงขาว
กดปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ
่ เลือ
่ นสัญลักษณ์
“ ” ไปยังตําแหน่งทีเ่ หมาะสม
 B สําหรับสีนํ้าเงิน, A สําหรับสีเหลือง,
M สําหรับสีมว่ ง และ G สําหรับสีเขียว
สมดุลสีของภาพจะถูกปรับไปทางสีใน
ตัวอย่างการตัง้ ค่า: A2, G1 ทิศทางทีเ่ ลือ
่ น
 ทีม
่ ม
ุ บนขวา “ปร ับเลือ ่ น” แสดงถึงทิศทาง
และปริมาณทีแ ่ ก ้ไขตามลําดับ
 การกดปุ่ ม <L> จะยกเลิกการตัง้ ค่า
[ปร ับ/คร่อมแสงขาว]
 กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ออกจากการตัง้ ค่าและ
กลับสูเ่ มนู

 เมือ
่ สมดุลแสงขาวได ้ถูกแก ้ไข <u> จะแสดงขึน ้ ในช่องมองภาพและบนจอ LCD
 การแก ้ไขสีนํ้าเงิน/เหลืองหนึง่ ระดับจะเท่ากับฟิ ลเตอร์แปลงอุณหภูมส ี ระมาณ
ิ ป
5 ไมเรด (Mired: หน่วยการวัดซึง่ แสดงถึงระดับความทึบของฟิ ลเตอร์แปลง
อุณหภูมส ิ )ี

134
u การปรับแก ้โทนสีสําหรับแหล่งกําเนิดแสงK

ถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาวอ ัตโนม ัติ


ด ้วยการกดถ่ายเพียงครัง้ เดียว จะสามารถบันทึกภาพถ่ายสามภาพด ้วยโทนสีท ี่
แตกต่างพร ้อมๆ กันได ้ เมือ
่ วัดกับอุณหภูมส ี องการตัง้ ค่าสมดุลแสงขาวปั จจุบัน
ิ ข
แล ้ว ภาพจะถูกถ่ายคร่อมด ้วยการตัง้ ค่าสีนํ้าเงิน/เหลืองหรือการตัง้ ค่าสีมว่ ง/เขียว
ซึง่ เรียกว่า ถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว (WB Bkt.) การถ่ายภาพคร่อมสมดุล
แสงขาวสามารถทําได ้ถึง ±3 ระดับโดยปรับทีละระดับ

ตงค่
ั้ าจํานวนถ่ายภาพคร่อมสมดุล
แสงขาว
 ในขัน ้ ตอนที่ 2 ของ “ปรับแก ้สมดุลแสงขาว”
เมือ
่ คุณหมุนปุ่ ม <6> สัญลักษณ์ “ ”
บนหน ้าจอจะเปลีย ่ นเป็ น “ ” (3 จุด)
การหมุนปุ่ มไปทางขวาจะปรับการถ่ายคร่อม
การตัง้ ค่า B/A ±3 ระดับ
B/A และการหมุนไปทางซ ้ายจะปรับการถ่าย
คร่อม M/G
 ทีด
่ ้านขวา “ถ่ายคร่อม” จะแสดงถึงทิศ
ทางการถ่ายคร่อมและจํานวนทีแ ่ ก ้ไข
 การกดปุ่ ม <L> จะยกเลิกการตัง้ ค่า
[ปร ับ/คร่อมแสงขาว]
 กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ออกจากการตัง้ ค่าและ
กลับสูเ่ มนู
ลําด ับการถ่ายคร่อม
ภาพจะถูกถ่ายคร่อมตามลําดับต่อไปนี:้ 1. สมดุลแสงขาวมาตรฐาน, 2. การตัง้
ค่าสีนํ้าเงิน (B) และ 3. การตัง้ ค่าสีเหลือง (A) หรือ 1. สมดุลแสงขาวมาตรฐาน,
2. การตัง้ ค่าสีมว่ ง (M) และ 3. การตัง้ ค่าสีเขียว (G)
ระหว่างถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว จํานวนภาพต่อเนือ่ งสูงสุดของการถ่ายภาพต่อ
เนือ
่ งจะลดลงและจํานวนของภาพทีถ
่ า่ ยจะลดเหลือประมาณหนึง่ ในสามของจํานวน
ปกติด ้วยเช่นกัน

 คุณสามารถตัง้ ค่าการแก ้ไขสมดุลแสงขาวและ AEB พร ้อมกันได ้ด ้วยการถ่ายภาพ


คร่อมสมดุลแสงขาว หากคุณตัง้ ค่า AEB ด ้วยการถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว
จํานวนภาพทัง้ หมดเก ้าภาพจะถูกบันทึกด ้วยการถ่ายเพียงครัง้ เดียว
 เนื่องจากกล ้องจะบันทึกภาพสามภาพด ้วยการถ่ายเพียงครัง้ เดียว การ์ดจึงใช ้เวลา
ในการบันทึกภาพถ่ายนานขึน ้
 ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View หรือการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ไอคอนสมดุล
แสงขาวจะกะพริบ
 “Bkt” หมายถึง Bracketing (การถ่ายภาพคร่อม)

135
3 การปร ับความสว่างและ
ความเปรียบต่างโดยอ ัตโนม ัติK
หากภาพออกมามืดหรือความเปรียบต่างตํา่ สามารถแก ้ไขความสว่างและความ
เปรียบต่างได ้โดยอัตโนมัต ิ คุณสมบัตน ิ เี้ รียกว่าปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ การ
่ ต ้นเป็ น [มาตรฐาน] สําหรับภาพ JPEG การแก ้ไขจะถูกปรับใช ้ใน
ตัง้ ค่าเริม
จังหวะทีถ ่ า่ ยภาพ
ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน จะปรับเป็ น [มาตรฐาน] โดยอัตโนมัต ิ

เลือก [ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ]


1  ภายใต ้แท็บ [z2] เลือก [ปร ับแสง
เหมาะสมอ ัตโนม ัติ] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

2 เลื
อกการตงค่ั้ า
 เลือกการตัง้ ค่าทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

3 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกด ้วยความสว่างและความ
เปรียบต่างทีแ
่ ก ้ไขแล ้วตามความจําเป็ น

 ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพ


บริเวณสว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน], [ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] จะถูกตัง้ ค่า
โดยอัตโนมัตเิ ป็ น [ไม่ใช้งาน]
 หากปรับการตัง้ ค่าไว ้เป็ นอย่างอืน ่ นอกเหนือจาก [ไม่ใช้งาน] และคุณใช ้การ
ชดเชยแสงหรือชดเชยระดับแสงแฟลชเพือ ่ ทําให ้การเปิ ดรับแสงมืดลง ภาพทีไ่ ด ้
อาจยังคงสว่างอยู่ หากคุณต ้องการการเปิ ดรับแสงทีม ่ ด ั่ นีเ้ ป็ น
ื ลง ให ้ปรับฟั งก์ชน
[ไม่ใช้งาน]
 น๊อยส์อาจเพิม
่ ขึน้ โดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั สภาวะในการถ่ายภาพ

้ ตอนที่ 2 หากคุณกดปุ่ ม <B> และไม่เลือก [X] การตัง้ ค่า [ปิ ดเมือ


ในขัน ่ ตงั้
ระด ับแสงเอง] จะยังสามารถตัง้ ค่าปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัตไิ ด ้ในโหมด <a>

136
3 การตงค่
ั้ าลดจุดรบกวนK
การลดจุดรบกวนจากความไวแสง ISO สูง
คุณสมบัตน ิ ส ้ ในภาพ ถึงแม ้ว่าการลดจุดรบกวนจะใช ้
ี้ ามารถลดจุดรบกวนทีเ่ กิดขึน
ได ้กับความไวแสงทุกค่า แต่จะได ้ผลดีเป็ นพิเศษในขณะทีใ่ ช ้ความไวแสง ISO
่ ใช ้ความไวแสง ISO ตํา่ จุดรบกวนในส่วนทีม
สูง เมือ ่ ด
ื ของภาพ (บริเวณเงามืด)
จะถูกปรับลดลง ควรปรับการตัง้ ค่าให ้เหมาะสมกับระดับของจุดรบกวน

เลือก [ลดจุดรบกวนจากความไวแสง
1 ISO สูง]
 ภายใต ้แท็บ [z3] เลือก [ลดจุดรบกวน
จากความไวแสง ISO สูง] จากนัน ้ กดปุ่ ม
<0>

2 ตงระด
ั้ ับ
เลือกระดับการลดจุดรบกวนทีต
่ ้องการ
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

 [M: ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ]
การตัง้ ค่านีใ้ ช ้เพือ
่ ลดจุดรบกวนโดยคงคุณภาพของภาพทีส ่ งู กว่าเมือ
่ เทียบกับ
[สูง] สําหรับภาพเดีย ่ วทีไ่ ด ้ เกิดจากการถ่ายภาพต่อเนือ ่ าพแล ้วจัดรวม
่ งสีภ
เข ้าด ้วยกันโดยอัตโนมัตเิ ป็ นภาพเดีย ่ วแบบ JPEG

3 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกโดยปรับใช ้การลดจุดรบกวน

หากคุณเล่นภาพหรือพิมพ์ภาพ 1+73 หรือ 1 ด ้วยกล ้องโดยตรง อาจไม่เห็น


ผลการลดจุดรบกวนจากการใช ้ความไวแสง ISO สูงได ้อย่างชัดเจน ตรวจสอบผลการ
ลดจุดรบกวนหรือพิมพ์ภาพทีผ
่ า่ นการลดจุดรบกวนได ้ด ้วย Digital Photo Professional
(ซอฟต์แวร์ EOS, น.402)

137
3 การตัง้ ค่าลดจุดรบกวนK

เมือ
่ ตงค่ ั้ า [ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ] อยู่
 หากมีความคลาดแนวทีเ่ ห็นได ้ชัดในภาพทีเ่ กิดจากการสัน ่ ของกล ้อง ลูกเล่นการ
ลดจุดรบกวนอาจลดลง
 หากคุณกําลังถือกล ้องถ่าย ให ้ถือให ้มัน ่ เพือ่ ป้ องกันไม่ให ้กล ้องสัน ่ แนะนํ าให ้ใช ้
ขาตัง้ กล ้อง
 หากคุณถ่ายภาพวัตถุทก ี่ ําลังเคลือ
่ นไหว วัตถุทก ี่ ําลังเคลือ ่ นไหวนัน ้ อาจมีรอ่ งรอย
หลงเหลืออยู่
 การปรับแนวภาพอาจไม่ทํางานอย่างสมบูรณ์กบ ั ลวดลายทีเ่ ป็ นแบบแผน (ตาราง
ริว้ ฯลฯ) หรือเรียบแบน ภาพโทนสีเดียว
 หากความสว่างของวัตถุเปลีย ่ นแปลงในการถ่ายภาพทีถ ่ า่ ยติดต่อกันสีภ ่ าพ อาจ
ส่งผลให ้ภาพมีคา่ แสงทีไ่ ม่สมํ่าเสมอ
 การบันทึกภาพลงในการ์ดจะใช ้เวลาสักพัก เนือ ่ งจากมีการใช ้การลดจุดรบกวนและ
จะต ้องซ ้อนภาพเข ้าด ้วยกันหลังจากการถ่าย ระหว่างการประมวลผลภาพ “BUSY”
จะแสดงขึน ้ และคุณจะไม่สามารถถ่ายภาพต่อไปได ้จนกว่าการประมวลผลภาพจะ
เสร็จสมบูรณ์
 1+73 หรือ 1 ไม่สามารถเลือกได ้ การถ่ายภาพคร่อมและถ่ายภาพคร่อม
สมดุลแสงขาวไม่สามารถใช ้ได ้[z3: ลดจุดรบกวนจากการเปิ ดช ัตเตอร์นาน]
ไม่สามารถตัง้ ค่าได ้ หากรายการเหล่านีถ ้ ก
ู เลือกหรือตัง้ ค่าไว ้แล ้ว จะไม่สามารถ
ตัง้ ค่า [ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ] ได ้
 การตัง้ ค่า [ภาพบิดเบีย ้ ว] จะถูกปรับโดยอัตโนมัตเิ ป็ น [ไม่ใช้งาน]
 การยิงแฟลชไม่สามารถใช ้งานได ้ แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะถูกปล่อยออกมาตาม
การตัง้ ค่า [4: เปิ ดแสงไฟช่วยปร ับโฟก ัส] ของ [54: การตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว
(C.Fn)]
 คุณไม่สามารถตัง้ ค่า [ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ] สําหรับเปิ ดหน ้ากล ้องค ้าง
ชัตเตอร์ได ้
 หากคุณปิ ดกล ้องและเปลีย ่ นโหมดการถ่ายภาพเป็ นโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน
ถ่ายภาพแบบเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์ หรือถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว การตัง้ ค่าจะถูก
เปลีย ่ นเป็ น [มาตรฐาน] โดยอัตโนมัต ิ
 [z3: เก็บข้อมูลลบภาพฝุ่น] ไม่สามารถตัง้ ค่าได ้


การลดจุดรบกวนจากการเปิ ดชตเตอร์
นาน
การลดจุดรบกวนนีใ้ ช ้ได ้กับภาพทีม
่ ก
ี ารเปิ ดรับแสง 1 วินาทีหรือนานกว่า
เลือก [ลดจุดรบกวนจากการเปิ ด
1 ั
ชตเตอร์ นาน]
 ภายใต ้แท็บ [z3] เลือก [ลดจุดรบกวน
จากการเปิ ดช ัตเตอร์นาน] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

138
3 การตัง้ ค่าลดจุดรบกวนK

2 ปร ับการตงค่
ั้ าทีต ่ อ
 เลือกการตัง้ ค่าทีต
้ งการ
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

 [อ ัตโนม ัติ]
สําหรับภาพทีม ่ ก
ี ารเปิ ดรับแสง 1 วินาทีหรือนานกว่า การลดจุดรบกวนจะ
ทํางานโดยอัตโนมัตห ิ ากตรวจพบจุดรบกวนทีเ่ กิดขึน้ จากการเปิ ดชัตเตอร์นาน
การตัง้ ค่า [อ ัตโนม ัติ] เหมาะสําหรับการถ่ายภาพเกือบทุกแบบ
 [เปิ ด]
การลดจุดรบกวนจะทํางานสําหรับทุกภาพทีม ่ ก
ี ารเปิ ดรับแสง 1 วินาทีหรือ
นานกว่า การตัง้ ค่าเป็ น [เปิ ด] อาจช่วยลดจุดรบกวนทีไ่ ม่สามารถตรวจจับได ้
ในขณะทีต่ งั ้ ค่าเป็ น [อ ัตโนม ัติ]

3 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกโดยปรับใช ้การลดจุดรบกวน

 เมือ่ ใช ้ [อ ัตโนม ัติ] และ [เปิ ด] กระบวนการลดจุดรบกวนภายหลังจากการถ่าย


ภาพอาจใช ้เวลาเท่ากับการเปิ ดรับแสง คุณไม่สามารถถ่ายภาพเพิม ่ เติมได ้จนกว่า
จะลดจุดรบกวนเสร็จ
 ภาพทีถ ่ ่ายด ้วย ISO 1600 หรือสูงกว่าเมือ ่ ตัง้ ค่า [เปิ ด] อาจดูเป็ นเม็ดหยาบมาก
กว่าเมือ่ ตัง้ ค่า [ปิ ด] หรือ [อ ัตโนม ัติ]
่ ใช ้ [อ ัตโนม ัติ] และ [เปิ ด] หากถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงนานโดยแสดงภาพ
 เมือ
แบบ Live View “BUSY” จะแสดงขึน ้ ระหว่างกระบวนการลดจุดรบกวน การแสดง
ภาพ Live View จะไม่ปรากฏจนกว่าจะลดจุดรบกวนเสร็จ (คุณไม่สามารถถ่าย
ภาพเพิม ่ เติมได ้)

139
3 การแก้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพและความคลาดเคลือ่ นของเลนส ์
ระดับแสงบริเวณขอบภาพทีล ่ ดลง เกิดจากลักษณะเฉพาะของเลนส์ทส ี่ ง่ ผลให ้
่ ม
มุมของภาพทัง้ สีม ุ ดูมด
ื ลง สีทผ ี่ ด
ิ ปกติรอบขอบวัตถุเรียกว่าความคลาดสี และ
การบิดเบีย
้ วของภาพเนือ ่ งจากลักษณะเฉพาะของเลนส์เรียกว่าความคลาดส่วน
ความคลาดเคลือ ่ นของเลนส์และระดับแสงทีล ่ ดลงสามารถแก ้ไขได ้ ค่าเริม ่ ต ้น
ของการแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพและความคลาดสีถก ู ตัง้ เป็ น [ใช้งาน]
และการแก ้ไขความคลาดส่วนถูกตัง้ เป็ น [ไม่ใช้งาน]
หาก [แก้ไขไม่ได้ - ไม่มข ี อ
้ มูล] แสดงขึน ้ ให ้ดู “ข ้อมูลแก ้ไขเลนส์” ในหน ้า 142

การแก้ไขระด ับแสงบริเวณขอบภาพ
เลือก [แก้ไขความคลาดเคลือ
่ นของ
1 เลนส]์
 ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [แก้ไขความ
คลาดเคลือ ่ นของเลนส์] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

2 เลื
อกการตงค่
ั้ า
 ตรวจสอบว่า [มีขอ
้ มูลแก้ไข] สําหรับ
เลนส์ทใี่ ช ้แสดงขึน

 เลือก [ระด ับแสงขอบภาพ] จากนัน ้ กด
ปุ่ ม <0>
 เลือก [ใช้งาน] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

3 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกโดยมีการแก ้ไขระดับแสง
บริเวณขอบภาพแล ้ว

อาจมีน๊อยส์ปรากฏทีข
่ อบภาพโดยขึน
้ อยูก
่ บ
ั สภาวะในการถ่ายภาพ

่ รับใช ้จะตํา่ กว่าปริมาณการแก ้ไขสูงสุดทีท


 ปริมาณการแก ้ไขทีป ่ ําได ้ด ้วย Digital
Photo Professional (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402)
 ความไวแสง ISO ยิง่ มาก ปริมาณการแก ้ไขยิง่ น ้อยลง

140
3 การแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพและความคลาดเคลือ
่ นของเลนส์

การแก้ไขความคลาดสี
เลือกการตงค่
ั้ า
1  ตรวจสอบว่า [มีขอ ้ มูลแก้ไข] สําหรับ
เลนส์ทใี่ ช ้แสดงขึน

 เลือก [สีคลาดเคลือ ่ น] จากนัน ้ กดปุ่ ม
<0>
 เลือก [ใช้งาน] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

2 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกโดยมีการแก ้ไขความ
คลาดสีแล ้ว

การแก้ไขความคลาดส่วน
เลือกการตงค่
ั้ า
1  ตรวจสอบว่า [มีขอ ้ มูลแก้ไข] สําหรับ
เลนส์ทใี่ ช ้แสดงขึน

 เลือก [ภาพบิดเบีย ้ ว] จากนัน ้ กดปุ่ ม
<0>
 เลือก [ใช้งาน] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

2 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกบันทึกโดยมีการแก ้ไขความ
คลาดส่วนแล ้ว

141
3 การแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพและความคลาดเคลือ
่ นของเลนส์

่ ใช ้งานแก ้ไขความคลาดส่วน กล ้องจะบันทึกช่วงของภาพแคบกว่าภาพทีม


 เมือ ่ อง
เห็นผ่านช่องมองภาพ (ขอบภาพจะถูกครอบและความละเอียดจะถูกลดลงเล็กน ้อย)
 แก ้ไขความคลาดส่วนจะมีผลในภาพทีถ ่ า่ ย แต่จะไม่มผ
ี ลในช่องมองภาพหรือใน
ภาพแบบ Live View ระหว่างการถ่ายภาพ
 หากคุณตัง้ ค่า [ภาพบิดเบีย ้ ว] เป็ น [ใช้งาน] ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนื่องจะ
ลดลง
 แก ้ไขความคลาดส่วนไม่สามารถตัง้ ค่าได ้ในโหมด <F> หรือ <G> เมือ ่ มีการ
ถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว หรือตัง้ ค่าลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพไว ้
 เก็บข ้อมูลลบภาพฝุ่ น (น.272) จะไม่ถูกผนวกลงในภาพทีบ ่ น ่ ใช ้งานแก ้ไข
ั ทึกเมือ
ความคลาดส่วน

ข้อมูลแก้ไขเลนส ์
กล ้องประกอบด ้วยข ้อมูลสําหรับการแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพ การแก ้ไข
ความคลาดสี และการแก ้ไขความคลาดส่วนของเลนส์ประมาณ 30 ตัว หากคุณ
เลือก [ใช้งาน] การแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพ การแก ้ไขความคลาดสี
และการแก ้ไขความคลาดส่วนจะถูกปรับใช ้โดยอัตโนมัตส ิ ําหรับเลนส์ทม
ี่ ข
ี ้อมูล
แก ้ไขบันทึกไว ้ในกล ้อง
ด ้วย EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS) คุณจะสามารถตรวจสอบได ้ว่าเลนส์ตัวใด
บ ้างทีม
่ ข ี ้อมูลแก ้ไขบันทึกอยูใ่ นกล ้อง คุณยังสามารถบันทึกข ้อมูลแก ้ไขของ
เลนส์ทย ี่ ังไม่มกี ารบันทึกไว ้ได ้อีกด ้วย สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ื การใช ้งาน
ู่ อ
EOS Utility (น.404)
สําหรับเลนส์ทม
ี่ ก
ี ารรวมข ้อมูลแก ้ไข ไม่จําเป็ นต ้องบันทึกข ้อมูลแก ้ไขลงในกล ้อง

142
3 การแก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพและความคลาดเคลือ
่ นของเลนส์

ข้อควรระว ังสําหร ับแก้ไขเลนส์


 แก ้ไขขอบภาพมืด แก ้ไขความคลาดสี และแก ้ไขความคลาดส่วน ไม่สามารถปรับ
ใช ้กับภาพ JPEG ทีถ ่ า่ ยไปแล ้วได ้
 เมือ่ ใช ้เลนส์ทไี่ ม่ใช่ของแคนนอน ขอแนะนํ าให ้ตัง้ ค่าการแก ้ไขเป็ น [ไม่ใช้งาน]
ถึงแม ้ว่า [มีขอ
้ มูลแก้ไข] จะแสดงอยูก ่ ็ตาม
 หากคุณใช ้การดูภาพแบบขยายระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View แก ้ไขขอบ
ภาพมืดและแก ้ไขความคลาดสีจะไม่มผ ี ลในภาพทีแ ่ สดงบนหน ้าจอ
 ปริมาณการแก ้ไขจะน ้อย หากเลนส์ทใี่ ช ้ไม่มข ี ้อมูลระยะห่าง

ข้อควรทราบสําหร ับแก้ไขเลนส์
 หากมองไม่เห็นผลของการแก ้ไข ให ้ขยายภาพหลังจากทีถ ่ า่ ยและตรวจสอบอีกครัง้
 การแก ้ไขสามารถปรับใช ้แม ้ติดตัวขยายกําลังหรือตัวแปลงขนาดเท่าตัวอยูก่ ็ตาม

143
3 การลดแสงวูบวาบK
หากคุณถ่ายภาพโดยใช ้ความเร็วชัตเตอร์สงู ภายใต ้แหล่งกําเนิดแสง เช่น หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ การกะพริบของหลอดไฟทําให ้เกิดแสงวูบวาบและภาพอาจมี
การเปิ ดรับแสงในแนวตัง้ ไม่สมํา่ เสมอ หากใช ้การถ่ายภาพต่อเนือ
่ งภายใต ้สภาวะ
เหล่านี้ อาจส่งผลให ้การเปิ ดรับแสงหรือสีโดยรวมของภาพไม่สมํา่ เสมอ
ด ้วยการถ่ายลดแสงวูบวาบ กล ้องจะตรวจสอบความถีใ่ นการกะพริบของแหล่ง
กําเนิดแสงและถ่ายภาพเมือ ่ การเปิ ดรับแสงหรือสีได ้รับผลกระทบจากแสงวูบวาบ
น ้อยลง

เลือก [ถ่ายลดแสงวูบวาบ]
1  ภายใต ้แท็บ [z3] เลือก [ถ่ายลดแสง
วูบวาบ] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

อก [ใชง้ าน]
2 เลื
 เลือก [ใช้งาน] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

3 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกถ่ายโดยลดความไม่สมํา่ เสมอ
ของการเปิ ดรับแสงหรือสีทเี่ กิดจากแสง
วูบวาบ

 เมือ่ ตัง้ ค่า [ใช้งาน] และคุณถ่ายภาพภายใต ้แหล่งแสงวูบวาบ เวลาทีใ่ ช ้ตอบสนอง


ชัตเตอร์อาจมากขึน ้ เล็กน ้อย นอกจากนี้ ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจช ้าลง
และช่วงเวลาถ่ายอาจไม่สมํา่ เสมอ
 ฟั งก์ชน ั่ นีไ
้ ม่สามารถทํางานกับการถ่ายภาพแบบ Live View และการถ่ายภาพ
เคลือ ่ นไหว
 ในโหมด <d> หรือ <f> หากความเร็วชัตเตอร์เปลีย ่ นแปลงระหว่างการถ่าย
ภาพต่อเนือ ่ ง หรือหากคุณถ่ายหลายภาพในฉากเดียวกันด ้วยความเร็วชัตเตอร์
ต่างกัน โทนสีอาจไม่สมํา่ เสมอ เพือ ่ งโทนสีไม่สมํา่ เสมอ ให ้ใช ้โหมด
่ หลีกเลีย
<s> หรือ <a> กับความเร็วชัตเตอร์ตายตัว
 โทนสีของภาพทีถ ่ า่ ยเมือ
่ ตัง้ ค่า [ถ่ายลดแสงวูบวาบ] เป็ น [ใช้งาน] อาจแตก
ต่างจากเมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น [ไม่ใช้งาน]
 แสงวูบวาบทีม ่ ค ี วามถีน ่ อกเหนือไปจาก 100 Hz หรือ 120 Hz ไม่สามารถถูกตรวจ
พบได ้

144
3 การลดแสงวูบวาบK

 ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากคุณตัง้ ค่า [9: ถ่ายภาพโดย


ล็อคกระจกขึน ้ ] เป็ น [1: ใช้งาน] การตัง้ ค่า [ถ่ายลดแสงวูบวาบ] จะสลับเป็ น
[ไม่ใช้งาน] โดยอัตโนมัต ิ
 หากวัตถุมฉ ี ากหลังมืด หรือหากมีแสงสว่างจ ้าในภาพ แสงวูบวาบอาจไม่ถก ู ตรวจ
พบ
 ภายใต ้สภาวะทีม ่ แ ี สงชนิดพิเศษ กล ้องอาจไม่สามารถลดผลของแสงวูบวาบได ้
แม ้ในขณะที่ <G> แสดงอยู่
 แสงวูบวาบอาจไม่ถก ู ตรวจพบอย่างสมบูรณ์ ขึน้ อยูก
่ บ
ั ชนิดของแหล่งแสง
 หากคุณจัดองค์ประกอบภาพใหม่ <G> อาจปรากฏและหายไปอย่างไม่
ต่อเนื่อง
 ขึน
้ อยูก ั แหล่งแสง หรือสภาวะการถ่ายภาพ ถึงแม ้คุณใช ้ฟั งก์ชน
่ บ ั่ นีผ
้ ลอาจไม่เป็ น
ไปตามทีค ่ าดไว ้

 แนะนํ าให ้ทดสอบถ่ายภาพ


 หาก <G> ไม่แสดงขึน ้ ในช่องมองภาพ ภายใต ้ [52: การแสดงช่อง
มองภาพ] ตัง้ ค่า [การตรวจจ ับแสงวูบวาบ] เป็ น [แสดง] (น.63) เมือ ่ กล ้อง
ทําการลดผลของแสงวูบวาบขณะทีค ่ ณ
ุ ถ่ายภาพ <G> จะสว่างขึน ้ ภาย
ใต ้แหล่งแสงทีไ่ ม่มแี สงวูบวาบ หรือไม่มแ ี สงวูบวาบถูกตรวจพบ <G>
จะไม่แสดงขึน ้
 หาก [การตรวจจ ับแสงวูบวาบ] ถูกตัง้ ค่าเป็ น [แสดง] และ [ถ่ายลดแสง
วูบวาบ] ถูกตัง้ ค่าเป็ น [ไม่ใช้งาน] การวัดแสงภายใต ้แหล่งแสงวูบวาบจะทําให ้
<G> กะพริบเตือนในช่องมองภาพ แนะนํ าให ้ตัง้ ค่า [ใช้งาน] ก่อนการ
ถ่ายภาพ
 ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน <G> จะไม่แสดงขึน ้ มา แต่ผลของแสง
วูบวาบจะลดลงเมือ ่ คุณถ่ายภาพ
 ถ่ายลดแสงวูบวาบสามารถใช ้งานกับแฟลชได ้ อย่างไรก็ตาม คุณอาจไม่ได ้ผล
ตามทีค่ าดไว ้จากการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สาย

145
3 การตงค่ ่ งการปร ับค่าการแสดงสK
ั้ าชว ี
ช่วงสําหรับปรับค่าการแสดงสีเรียกว่าพิกด
ั สี ด ้วยกล ้องตัวนี้ คุณสามารถปรับ
พิกดั สีสําหรับการถ่ายภาพเป็ น sRGB หรือ Adobe RGB สําหรับการถ่ายภาพ
ทั่วไป ควรใช ้ sRGB
ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน sRGB จะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ

เลือก [พิก ัดสี]


1  ภายใต ้แท็บ [z2] เลือก [พิก ัดสี] จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>
้ ทีส ี ต
2 ปร ับพืน ่ ท ี่ อ
้ งการ
 เลือก [sRGB] หรือ [Adobe RGB] จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>

Adobe RGB
ั สีนใี้ ช ้สําหรับงานพิมพ์เชิงพาณิชย์หรือการใช ้งานในอุตสาหกรรมอืน
พิกด ่ เป็ นหลัก
ไม่แนะนํ าให ้ใช ้การตัง้ ค่านีห
้ ากคุณไม่มค ี วามคุ ้นเคยกับการประมวลผลภาพ Adobe
RGB และกฎของการออกแบบระบบไฟล์สําหรับกล ้อง Camera File System 2.0
(Exif 2.21 หรือสูงกว่า) ภาพจะดูหมองมากเมือ ่ เปิ ดในสภาพแวดล ้อมของ
คอมพิวเตอร์แบบ sRGB และใช ้เครือ ่ งพิมพ์ทไี่ ม่รองรับ Camera File System 2.0
(Exif 2.21 หรือสูงกว่า) ทัง้ นีจ ้ งึ จําเป็ นต ้องนํ าภาพไปดําเนินการต่อด ้วยซอฟต์แวร์
คอมพิวเตอร์

 หากภาพนิง่ ทีถ ่ า่ ยปรับพิกด


ั สีไว ้เป็ น Adobe RGB อักขระตัวแรกของชือ่ ไฟล์จะ
เป็ นขีดล่าง “_”
 ไม่มกี ารผนวกโปรไฟล์ ICC สําหรับคําอธิบายเกีย ่ วกับโปรไฟล์ ICC โปรดดูคมู่ อ

การใช ้งาน Digital Photo Professional (น.404)

146
การทํางานขนสู
ั้ ง
5
รรค์
ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์

รา้ ง คุณสามารถปรับการตัง้ ค่าต่างๆ
พส
ของกล ้องตามต ้องการเพือ ่ ให ้ได ้

ยภ

ผลการถ่ายภาพทีห ่ ลากหลาย โดย


่า
การถ

การเลือกความเร็วชัตเตอร์และ/
หรือค่ารูรับแสง ปรับค่าแสงตามที่
คุณต ้องการ เป็ นต ้น

 ไอคอน J ด ้านบนขวาตรงหัวข ้อของหน ้า หมายถึงฟั งก์ชน ั่ นัน



สามารถใช ้ได ้เฉพาะในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์
 หลังจากทีค ่ ณ
ุ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ แล ้วปล่อยออก ค่าการเปิ ด
รับแสงจะยังคงแสดงอยูใ่ นช่องมองภาพประมาณ 4 วินาที (0)
ตามระยะเวลาทีใ่ ช ้ในการวัดแสง
 สําหรับฟั งก์ชนั่ ทีส
่ ามารถตัง้ ค่าได ้ในแต่ละโหมดการถ่ายภาพ โปรด
ดูหน ้า 356

้ องปุ่มควบคุมหล ัก
c ต ัวชีข
ไอคอนตัวชี้ <c> จะแสดงพร ้อมกับความ
เร็วชัตเตอร์ การตัง้ ค่ารูรับแสง หรือปริมาณ
การชดเชยแสงทีบ ่ ง่ บอกว่าคุณสามารถหมุนปุ่ ม
<6> เพือ ่ ปรับการตัง้ ค่าเหล่านั น
้ ได ้
147
d: โปรแกรมระด ับแสงอ ัตโนม ัติ
กล ้องจะตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงให ้เหมาะกับความสว่างของวัตถุ
โดยอัตโนมัต ิ ซึง่ เรียกระบบนีว้ า่ โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต ิ
* <d> หมายถึง Program (โปรแกรม)
* AE หมายถึง Auto Exposure (ค่าแสงอัตโนมัต)ิ

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <d>
1
2 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ
 มองผ่านช่องมองภาพและเล็งจุดโฟกัส
อัตโนมัตไิ ปยังวัตถุ จากนัน้ กดปุ่ มชัตเตอร์
ลงครึง่ หนึง่
 เมือ
่ จับโฟกัสได ้แล ้ว ตัวแสดงการโฟกัส
<o> ทางด ้านล่างขวาของช่องมองภาพ
จะสว่างขึน้ (เมือ
่ อยูใ่ นโหมด AF ครัง้ เดียว)
 ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงจะถูกตัง้ ค่า
โดยอัตโนมัตแ ิ ละแสดงในช่องมองภาพ

3 ตรวจสอบการแสดงค่ า
 หากการแสดงค่าความเร็วชัตเตอร์และค่า
รูรับแสงไม่กะพริบ จะได ้การเปิ ดรับแสง
มาตรฐาน

4 ถ่ายภาพ
จัดองค์ประกอบภาพและกดปุ่ มชัตเตอร์ลง
จนสุด

148
d: โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต ิ

คําแนะนําในการถ่ายภาพ
 ปร ับความไวแสง ISO ใช้แฟลชในต ัวกล้อง
่ ทําให ้ระดับความสว่างวัตถุและสิง่ แวดล ้อมตรงกัน คุณสามารถปรับความ
เพือ
ไวแสง ISO (น.122) หรือใช ้แฟลชในตัวกล ้อง (น.166) ในโหมด <d> แฟลช
ในตัวกล ้องจะไม่ทํางานโดยอัตโนมัต ิ ดังนั น
้ กดปุ่ ม <I> (แฟลช) เพือ่ ยก
แฟลชในตัวกล ้องขึน ้ เมือ
่ ถ่ายภาพภายในอาคารหรือในสภาวะแสงน ้อย
 เปลีย่ นโปรแกรมโดยใช้การสล ับโปรแกรม
หลังจากกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ให ้หมุนปุ่ ม <6> เพือ
่ ปรับเปลีย
่ นชุด
การตัง้ ค่าของความเร็วชัตเตอร์และรูรับแสง (โปรแกรม) การสลับโปรแกรมจะ
ถูกยกเลิกโดยอัตโนมัตห ิ ลังจากถ่ายภาพ การสลับโปรแกรมไม่สามารถทําได ้
่ ใช ้แฟลช
เมือ

 หากความเร็วชัตเตอร์ “30"” และ f/number ตํา่ สุดกะพริบ


แสดงว่าการเปิ ดรับแสงน ้อยเกินไป ให ้ปรับเพิม
่ ความไวแสง
ISO หรือใช ้แฟลช
 หากความเร็วชัตเตอร์ “4000” และ f/number สูงสุดกะพริบ
แสดงว่าการเปิ ดรับแสงมากเกินไป ให ้ปรับลดความไวแสง

ความแตกต่างระหว่าง <d> และ <A> (ฉากอ ัตโนม ัติอ ัจฉริยะ)


ในโหมด <A> ฟั งก์ชน ั่ ต่างๆ เช่น การโฟกัสอัตโนมัต ิ และโหมดวัดแสง จะถูก
ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตเิ พือ ั่ ทีค
่ ป้ องกันภาพเสีย ฟั งก์ชน ่ ณ
ุ สามารถตัง้ ค่าได ้เองมีจํากัด แต่
ด ้วยโหมด <d> ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงเท่านัน ้ ทีจ
่ ะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ
คุณสามารถตัง้ ค่าการโฟกัสอัตโนมัต ิ โหมดวัดแสง และฟั งก์ชน ั่ อืน
่ ๆ ได ้เอง (น.354)

149
ื่ ถึงการเคลือ
s: การสอ ่ นทีข
่ องว ัตถุ
คุณสามารถหยุดการเคลือ ่ เบลอได ้ด ้วยโหมด <s> (ระบุ
่ นไหวหรือสร ้างโมชัน
ค่าความเร็วชัตเตอร์) บนปุ่ มโหมด
* <s> หมายถึง Time value (ค่าเวลา)

เบลอจากการเคลือ ่ นไหว การเคลือ่ นไหวหยุดนิง่


(ความเร็วชัตเตอร์ตํา่ : 1/30 วินาที) (ความเร็วชัตเตอร์สงู : 1/2000 วินาที)

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <s>
1

2 ตงค่
ั้ าความเร็วชตเตอร์ ทตี่ อ
้ งการ
ดู “เคล็ดลับการถ่ายภาพ” ในหน ้าถัดไป
สําหรับคําแนะนํ าเกีย ่ วกับการตัง้ ความเร็ว
ชัตเตอร์
 การหมุนปุ่ ม <6> ไปทางขวาจะตัง้
ความเร็วชัตเตอร์ให ้สูงขึน ้ และการหมุนไป
ทางซ ้ายจะตัง้ ให ้ตํา่ ลง

3 ถ่ายภาพ
เมือ
่ คุณโฟกัสและกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด
ภาพจะถูกถ่ายทีค
่ วามเร็วชัตเตอร์ทเี่ ลือก
ไว ้

การแสดงความเร็ วช ัตเตอร์
จอ LCD จะแสดงความเร็วชัตเตอร์เป็ นเศษส่วน อย่างไรก็ตาม ช่องมองภาพจะแสดง
เฉพาะตัวส่วนเท่านัน
้ “0"5” บ่งบอกถึง 0.5 วินาที และ “15"” คือ 15 วินาที

150
่ ถึงการเคลือ
s: การสือ ่ นทีข
่ องวัตถุ

คําแนะนําในการถ่ายภาพ
 ในการหยุดการเคลือ ่ นไหวของว ัตถุทเี่ คลือ
่ นทีอ่ ย่างรวดเร็ ว
ให ้ใช ้ความเร็วชัตเตอร์สงู เช่น 1/4000 วินาที ถึง 1/500 วินาที
 ในการทําให้เด็ กทีก ่ าํ ล ังวิง่ หรือส ัตว์เบลอ เพือ
่ ให้รส ึ ถึงการเคลือ
ู้ ก ่ นไหว
ให ้ใช ้ความเร็วชัตเตอร์ปานกลาง เช่น 1/250 วินาที ถึง 1/30 วินาที ติดตาม
วัตถุทก ี่ ําลังเคลือ
่ นทีผ
่ า่ นทางช่องมองภาพ แล ้วกดปุ่ มชัตเตอร์เพือ ่ ถ่ายภาพ
หากคุณใช ้เลนส์ถา่ ยภาพระยะไกล ให ้ถือให ้มั่นเพือ ่
่ ป้ องกันไม่ให ้กล ้องสัน
 ในการทําให้แม่นํา้ ทีก ่ า
ํ ล ังไหลหรือนํา้ พุเบลอ
ให ้ใช ้ความเร็วชัตเตอร์ตํา่ ที่ 1/30 หรือตํา่ กว่า ใช ้ขาตัง้ กล ้องเพือ
่ ป้ องกันการ
่ จากการถือกล ้องถ่าย
สัน
 ตงความเร็
ั้ วช ัตเตอร์ให้การแสดงค่ารูร ับแสงไม่กะพริบ
หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ แล ้วเปลีย ่ นความเร็ว
ชัตเตอร์ขณะทีค ่ า่ รูรับแสงแสดงอยู่ การแสดงค่ารูรับแสง
จะเปลีย ่ นเพือ ่ รักษาค่าการเปิ ดรับแสง (ปริมาณของแสง
ทีเ่ ข ้าสูเ่ ซนเซอร์ภาพ) ให ้คงเดิมด ้วย หากค่าของคุณ
เกินกว่าช่วงค่ารูรับแสงทีป ่ รับได ้ การแสดงค่ารูรับแสงจะ
กะพริบเพือ ่ บ่งบอกว่าไม่สามารถปรับเป็ นการเปิ ดรับแสง
มาตรฐานได ้
หากการเปิ ดรับแสงจะมืดเกินไป ค่ารูรับแสงกว ้างสุด (f/number ตํา่ สุด)
จะกะพริบ หากเกิดกรณีนข ี้ นึ้ ให ้หมุนปุ่ ม <6> ไปทางซ ้ายเพือ
่ ตัง้ ค่าความ
เร็วชัตเตอร์ให ้ตํา่ ลงหรือเพิม ่ ความไวแสง
หากการเปิ ดรับแสงจะสว่างเกินไป ค่ารูรับแสงแคบสุด (เลขมากทีส ่ ด
ุ ) จะ
กะพริบ หากเกิดกรณีนข ี้ น
ึ้ ให ้หมุนปุ่ ม <6> ไปทางขวาเพือ ่ ตัง้ ค่าความ
เร็วชัตเตอร์ให ้สูงขึน ้ หรือลดความไวแสง

้ ฟลชในต ัวกล้อง
D การใชแ
ในการปรับให ้ได ้ค่าการเปิ ดรับแสงแฟลชทีถ ่ ก
ู ต ้อง กําลังของแฟลชจะถูกตัง้ โดย
อัตโนมัต ิ (ปรับค่าการเปิ ดรับแสงแฟลชอัตโนมัต)ิ เพือ ่ ให ้ตรงกับขนาดรูรับแสงที่
ตัง้ อัตโนมัต ิ สามารถตัง้ ความเร็วชัตเตอร์ได ้ตัง้ แต่ 1/200 วินาที ถึง 30 วินาที

151
f: การปร ับเปลีย
่ นชว ั
่ งความชด
ในการเบลอฉากหลังหรือทําให ้ทุกอย่างทัง้ ใกล ้และไกลคมชัด ให ้ปรับปุ่ มโหมด
ไปที่ <f> (ระบุคา่ รูรับแสง) เพือ
่ ปรับความชัดลึก (ช่วงระยะโฟกัสทีย่ อมรับได ้)
* <f> หมายถึง Aperture value (ค่ารูรับแสง) ซึง่ ก็คอ
ื ขนาดของรูมา่ นไดอะแฟรมภาย
ในเลนส์

ฉากหลังเบลอ ฉากหน ้าและฉากหลังคมชัด


(ใช ้ค่ารูรับแสงตํา่ f/number: f/5.6) (ใช ้ค่ารูรับแสงสูง f/number: f/32)

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <f>
1
2 ตงค่
ั้ ารูร ับแสงทีต่ อ
ค่า f/number ทีส
้ งการ
่ งู ขึน
้ จะทําให ้ความชัด
ลึกกว ้างขึน ้ และทําให ้ได ้การโฟกัสทีค ่ มชัด
ขึน
้ ทัง้ ฉากหน ้าและฉากหลัง
 การหมุนปุ่ ม <6> ไปทางขวาจะตัง้ ค่า
f/number ให ้สูงขึน ้ (เปิ ดรูรับแสงแคบลง
และการหมุนไปทางซ ้ายจะตัง้ ค่า f/number
ให ้ตํา่ ลง (เปิ ดรูรับแสงกว ้างขึน ้ )

3 ถ่ายภาพ
โฟกัสและกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด ภาพจะ
ถูกถ่ายด ้วยค่ารูรับแสงทีเ่ ลือก

การแสดงค่ารูร ับแสง
ค่า f/number ยิง่ สูงขึน
้ การเปิ ดรูรับแสงยิง่ แคบลง f/number ทีแ ่ สดงจะแตกต่างกัน
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั เลนส์ หากไม่มเี ลนส์ตดิ อยูก
่ บ
ั ตัวกล ้องเลย ค่ารูรับแสงจะแสดงเป็ น “00”

152
f: การปรับเปลีย
่ นช่วงความชัด

คําแนะนําในการถ่ายภาพ
 เมือ
่ ใช้คา่ รูร ับแสงทีม
่ ี f/number สูง หรือถ่ายภาพในฉากทีแ ่ สงน้อย
โปรดทราบว่าอาจเกิดการสน ่ ั ของกล้องได้
ค่ารูรับแสงหรือ f/number ทีส ่ งู จะทําให ้ค่าความเร็วชัตเตอร์ลดตํา่ ลง ภายใต ้
แสงน ้อย ความเร็วชัตเตอร์อาจนานได ้ถึง 30 วินาที ในกรณีนี้ ให ้เพิม ่ ความไว
แสงและถือกล ้องให ้มั่นหรือใช ้ขาตัง้ กล ้อง
 ความช ัดลึกไม่ได้ขน ึ้ อยูก
่ ับค่ารูร ับแสงเพียงอย่างเดียวเท่านน ั้ แต่ย ัง
้ อยูก
ขึน ่ ับเลนส์และระยะว ัตถุอก ี ด้วย
เนือ
่ งจากเลนส์มม ุ กว ้างมีระยะชัดลึกกว ้าง (ช่วงโฟกัสด ้านหน ้าและด ้านหลัง
จุดโฟกัสทีย ่ อมรับได ้) คุณจําเป็ นต ้องตัง้ ค่ารูรับแสง f/number ให ้สูง เพือ ่ ให ้
ได ้ภาพทีค ่ มชัดตัง้ แต่ฉากหน ้าไปจนถึงฉากหลัง ในอีกทางหนึง่ เลนส์ถา่ ย
ภาพระยะไกลจะมีความชัดลึกแคบ
และยิง่ วัตถุอยูใ่ กล ้ขึน
้ ความชัดลึกจะยิง่ แคบลง วัตถุทอ ี่ ยูไ่ กลกว่าจะมีความ
ชัดลึกกว ้างกว่า
 ตงค่
ั้ ารูร ับแสงเพือ ่ ให้ความเร็ วช ัตเตอร์ทแ ี่ สดงไม่กะพริบ
หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ แล ้วเปลีย ่ นค่ารูรับแสง
ขณะทีค ่ วามเร็วชัตเตอร์แสดงอยู่ การแสดงความเร็ว
ชัตเตอร์จะเปลีย ่ นเพือ ่ รักษาค่าการเปิ ดรับแสง (ปริมาณ
ของแสงทีเ่ ข ้าสูเ่ ซนเซอร์ภาพ) ให ้คงเดิมด ้วย หากค่า
ของคุณเกินกว่าช่วงความเร็วชัตเตอร์ทป ี่ รับได ้ การแสดง
ความเร็วชัตเตอร์จะกะพริบเพือ ่ บ่งบอกว่าไม่สามารถปรับ
เป็ นการเปิ ดรับแสงมาตรฐานได ้
หากภาพจะมืดเกินไป การแสดงความเร็วชัตเตอร์ “30"” (30 วินาที) จะกะพริบ
หากเกิดกรณีนข ี้ นึ้ ให ้หมุนปุ่ ม <6> ไปทางซ ้ายเพือ ่ ตัง้ ค่า f/number ให ้ตํา่
ลงหรือเพิม ่ ความไวแสง
หากภาพจะสว่างเกินไป การแสดงความเร็วชัตเตอร์ “4000” (1/4000 วินาที)
จะกะพริบ หากเกิดกรณีนข ี้ น
ึ้ ให ้หมุนปุ่ ม <6> ไปทางขวาเพือ ่ ตัง้ ค่า
f/number ให ้สูงขึน ้ หรือลดความไวแสง

153
f: การปรับเปลีย
่ นช่วงความชัด

้ ฟลชในต ัวกล้อง
D การใชแ
ในการปรับให ้ได ้ค่าการเปิ ดรับแสงแฟลชทีถ ่ กู ต ้อง กําลังของแฟลชจะถูกตัง้ โดย
อัตโนมัต ิ (ปรับค่าการเปิ ดรับแสงแฟลชอัตโนมัต)ิ เพือ ่ ให ้ตรงกับขนาดรูรับแสงที่
ตัง้ ไว ้ ความเร็วชัตเตอร์จะถูกตัง้ โดยอัตโนมัตไิ ว ้ระหว่าง 1/200 วินาที - 30 วินาที
เพือ ่ ให ้เหมาะสมกับความสว่างของฉาก
ในสภาพแสงน ้อย จะปรับค่าการเปิ ดรับแสงของวัตถุหลักด ้วยแสงแฟลชอัตโนมัต ิ
และจะปรับค่าการเปิ ดรับแสงของฉากหลังด ้วยความเร็วชัตเตอร์ตํา่ ทีต ่ งั ้ ค่าโดย
อัตโนมัต ิ ทัง้ วัตถุและฉากหลังจะมีการเปิ ดรับแสงอย่างเหมาะสมและรับรู ้ได ้ถึง
บรรยากาศ (การซิงค์แฟลชความเร็วตํา่ อัตโนมัต)ิ หากคุณกําลังถือกล ้องถ่าย
ให ้ถือให ้มัน ่ เพือ ่ แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง
่ ป้ องกันไม่ให ้กล ้องสัน
เพือ ่ ป้ องกันการใช ้ความเร็วชัตเตอร์ตํา่ ใน [z1: ควบคุมแฟลช] ให ้ตัง้ ค่า
[ความเร็ วซิงค์แฟลชในโหมด Av] เป็ น [1/200-1/60 วินาที อ ัตโนม ัติ]
หรือ [1/200 วินาที (คงที)่ ] (น.174)

ั กK
การเช็ คระยะชดลึ
การเปิ ดรูรับแสง (ม่านไดอะแฟรม) จะเปลีย ่ นในจังหวะทีถ ่ า่ ยภาพเท่านัน้ ในช่วง
เวลาอืน่ ค่ารูรับแสงจะเปิ ดกว ้างเต็มที่ ดังนัน ้ เมือ
่ คุณดูฉากผ่านช่องมองภาพหรือ
บนจอ LCD จะเห็นความชัดลึกแคบ
กดปุ่ มเช็คระยะชัดลึกเพือ ่ หยุดเลนส์ไว ้ทีก
่ าร
ตัง้ ค่ารูรับแสงปั จจุบัน และเช็คระยะชัดลึก
(ช่วงโฟกัสทีร่ ับได ้)

ขณะดูภาพแบบ Live View (น.192) และกดปุ่ มเช็คระยะชัดลึกค ้างไว ้ คุณจะสามารถ


ดูได ้ว่าช่วงโฟกัสทีร่ ับได ้จะเปลีย
่ นไปตามทีค
่ ณ
ุ ปรับค่ารูรับแสงอย่างไร

154
a: ตงค่
ั้ าระด ับแสงด้วยตนเอง
คุณสามารถตัง้ ค่าทัง้ ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงด ้วยตนเองได ้ตามต ้องการ
ขณะทีด
่ ตู ัวแสดงระดับการเปิ ดรับแสงในช่องมองภาพ คุณสามารถตัง้ การเปิ ดรับ
แสงได ้ตามต ้องการ วิธน ี เี้ รียกว่าการตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง
* <a> หมายถึง Manual (แมนนวล)

ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <a>
1

2 ตงค่ั้ าความไวแสง ISO (น.122)


3 ตงค่
ั้ าความเร็วชตเตอร์ และค่ารูร ับแสง
ในการตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์ ให ้หมุนปุ่ ม
<6> <6>
<g> + <6>  ในการตัง้ ค่ารูรับแสง ให ้กดปุ่ ม <g>
ค ้างไว ้แล ้วหมุนปุ่ ม <6>
้ า่ แสงมาตรฐาน
จุดบ่งชีค
4 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ
 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่
 การตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงจะแสดงในช่อง
มองภาพ
สัญลักษณ์ระดับการเปิ ดรับแสง
 สัญลักษณ์ระดับการเปิ ดรับแสง <h> จะ
บ่งบอกว่าระดับการเปิ ดรับแสงปั จจุบันห่าง
จากระดับการเปิ ดรับแสงมาตรฐานเท่าใด
5 ตงการเปิ
ั้ ดร ับแสงแล้วถ่ายภาพ
 ตรวจสอบตัวแสดงระดับค่าแสงและตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสง
ตามต ้องการ
 หากระดับการเปิ ดรับแสงเกินกว่า ±2 สต๊อปจากการเปิ ดรับแสงมาตรฐาน
ปลายของตัวแสดงการเปิ ดรับแสงจะแสดง <I> หรือ <J> ในช่องมอง
ภาพ (<I> หรือ <J> จะแสดงขึน ้ บนจอ LCD หากระดับการเปิ ดรับแสง
เกินกว่า ±3 สต๊อป)
หากตัง้ ค่า ISO อัตโนมัตไิ ว ้ ค่าความไวแสง ISO จะปรับเปลีย ่ นให ้เหมาะกับความเร็ว
ชัตเตอร์และรูรับแสงเพือ ่ ให ้ได ้การเปิ ดรับแสงมาตรฐาน ดังนัน้ คุณอาจไม่ได ้ผลของ
การเปิ ดรับแสงตามทีต ่ ้องการ

ภายใต ้ [z2: ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] หากเครือ ่ งหมายถูก <X> สําหรับ


[ปิ ดเมือ่ ตงระด
ั้ ับแสงเอง] ถูกยกเลิก ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัตสิ ามารถตัง้ ค่า
ได ้แม ้ในโหมด <a> (น.136)
155
a: ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง

 เมือ
่ ตัง้ ค่า ISO อัตโนมัตไิ ว ้ คุณสามารถกดปุ่ ม <A> เพือ
่ ล็อคความไวแสง
 หากคุณกดปุ่ ม <A> และจัดองค์ประกอบภาพใหม่ คุณจะเห็นความแตกต่างของ
ระดับค่าแสงทีต ่ วั แสดงระดับค่าแสงเปรียบเทียบกับเมือ่ กดปุ่ ม <A>

้ ฟลชในต ัวกล้อง
I การใชแ
ในการปรับให ้ได ้ค่าการเปิ ดรับแสงแฟลชทีถ ่ ก
ู ต ้อง กําลังของแฟลชจะถูกตัง้ โดย
อัตโนมัต ิ (ปรับค่าการเปิ ดรับแสงแฟลชอัตโนมัต)ิ เพือ ่ ให ้ตรงกับขนาดรูรับแสงที่
ตัง้ ด ้วยตนเอง สามารถตัง้ ความเร็วชัตเตอร์ได ้ตัง้ แต่ 1/200 วินาที ถึง 30 วินาที
หรือชัตเตอร์ B

BULB: เปิ ดหน้ากล้องค้างชตเตอร์
ชัตเตอร์ B จะเปิ ดชัตเตอร์ไว ้นานตราบเท่าที่
คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ค ้างไว ้ ซึง่ สามารถใช ้เพือ ่
ถ่ายภาพดอกไม ้ไฟและวัตถุอน ่ ้องใช ้การ
ื่ ๆ ทีต
เปิ ดรับแสงนาน
ในขัน้ ตอนที่ 3 ของหน ้าก่อนหน ้านี้ ให ้หมุนปุ่ ม
<6> ไปทางซ ้ายเพือ ่ ปรับเป็ น <BULB>
เวลาเปิ ดรับแสงทีใ่ ช ้ไปจะแสดงบนจอ LCD

เวลาเปิ ดรับแสงทีใ่ ช ้ไป

 อย่าหันกล ้องชีไ้ ปทางแหล่งแสงทีส ่ ว่างจ ้า เช่น ดวงอาทิตย์ หรือแสงจ ้าทีเ่ กิดจาก


ฝี มอื มนุษย์ การกระทําเช่นนีอ
้ าจทําให ้เซนเซอร์ภาพหรือส่วนประกอบภายในของ
กล ้องเสียหายได ้
 เนื่องจากชัตเตอร์ B จะสร ้างน๊อยส์มากกว่าปกติ ภาพจึงอาจดูหยาบเล็กน ้อย
 คุณสามารถลดน๊อยส์จากการเปิ ดรับแสงนานได ้โดยการตัง้ ค่า [z3: การลด
น๊อยส์จากการปิ ดร ับแสงนาน] เป็ น [อ ัตโนม ัติ] หรือ [เปิ ด] (น.138)

 สําหรับชัตเตอร์ B แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้องและรีโมทสวิตซ์ (แยกจําหน่าย, น.351)


 คุณยังสามารถใช ้ตัวควบคุมรีโมท (แยกจําหน่าย, น.350) สําหรับการถ่ายภาพ
ค ้างชัตเตอร์ เมือ่ คุณกดปุ่ มส่งสัญญาณของตัวควบคุมรีโมท เปิ ดหน ้ากล ้องค ้าง
ชัตเตอร์จะเริม ่ ขึน
้ ทันที หรืออีก 2 วินาทีให ้หลัง กดปุ่ มอีกครัง้ เพือ
่ หยุดการทํางาน
เปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์
 คุณสามารถปิ ดการแสดงเวลาเปิ ดรับแสงทีใ่ ช ้ไปได ้โดยกดปุ่ ม <T>

156
q การปร ับเปลีย
่ นโหมดว ัดแสงK
วิธก ี วี่ ธิ ี (โหมดวัดแสง) โดยปกติแล ้ว แนะนํ าให ้ใช ้
ี ารวัดความสว่างของวัตถุมส
การวัดแสงประเมินทัง้ ภาพ
ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน โหมดวัดแสงจะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ

เลือก [โหมดว ัดแสง]


1  ภายใต ้แท็บ [z2] เลือก [โหมดว ัดแสง]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 ปร ับโหมดว ัดแสง
 เลือกโหมดวัดแสงทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

q ว ัดแสงประเมินทงภาพ
ั้
โหมดวัดแสงซึง่ เหมาะสําหรับการถ่ายภาพทั่วไปหรือ
แม ้แต่วัตถุทย
ี่ ้อนแสง กล ้องจะปรับการเปิ ดรับแสง
โดยอัตโนมัตเิ พือ ่ ให ้เหมาะสมกับฉาก

w ว ัดแสงบางส่วน
ได ้ผลดีเมือ
่ มีแสงสว่างรอบๆ วัตถุมากกว่าเนือ ่ งจาก
แสงด ้านหลัง เป็ นต ้น บริเวณสีเทาในรูปทางด ้านซ ้าย
คือตําแหน่งทีใ่ ช ้วัดแสงเพือ
่ ให ้ได ้การเปิ ดรับแสง
มาตรฐาน
r ว ัดแสงแบบจุด
ได ้ผลดีเมือ
่ วัดแสงเฉพาะจุดของวัตถุหรือฉากทีถ ่ า่ ย
บริเวณสีเทาในรูปทางด ้านซ ้ายคือตําแหน่งทีใ่ ช ้วัด
แสงเพือ ่ ให ้ได ้การเปิ ดรับแสงมาตรฐาน โหมดวัดแสง
นีเ้ หมาะสําหรับผู ้ใช ้ขัน
้ สูง

157
q การปรับเปลีย
่ นโหมดวัดแสงK

e ว ัดแสงเฉลีย
่ หน ักกลางภาพ
ความสว่างจะวัดทีจ ่ ด
ุ กึง่ กลางภาพ จากนัน
้ เฉลีย

ตลอดทั่วทัง้ ฉาก โหมดวัดแสงนีเ้ หมาะสําหรับผู ้ใช ้
ขัน
้ สูง

ด ้วย q (วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ) การตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงจะถูกล็อคเมือ ่ คุณกดปุ่ ม


ชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ และจับโฟกัสได ้แล ้ว ในโหมด w (วัดแสงบางส่วน), r (วัด
แสงแบบจุด) และ e (วัดแสงเฉลีย ่ หนักกลางภาพ) การเปิ ดรับแสงจะถูกตัง้ ค่าใน
จังหวะทีถ
่ า่ ยภาพ (การกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จะไม่ล็อคการเปิ ดรับแสง)

158
การตงค่
ั้ าการชดเชยแสงK
ปรับการชดเชยแสงหากการเปิ ดรับแสง (ไม่ใช ้แฟลช) ไม่ได ้ตามทีต ่ ้องการ
คุณสมบัตน ี้ ามารถใช ้ได ้ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ (ยกเว ้น <a>)
ิ ส
คุณสามารถปรับการชดเชยแสงได ้จนถึง ±5 สต๊อป โดยจะปรับทีละ 1/3 สต๊อป

ตรวจสอบต ัวแสดงระด ับค่าแสง


1  กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ (0) และตรวจ
สอบตัวแสดงระดับค่าแสงในช่องมองภาพ
หรือบนจอ LCD
ค่าแสงเพิม
เพือ
่ ขึน

่ ให ้ภาพสว่างขึน
้ 2 ปร ับปริมาณการชดเชย
 หากระดับแสงมืดเกินไป ให ้กดปุ่ ม
<g> ค ้างไว ้แล ้วหมุนปุ่ ม <6>
ไปทางขวา (เพือ่ เพิม
่ การเปิ ดรับแสง)
หากระดับแสงสว่างเกินไป ให ้กดปุ่ ม
<g> ค ้างไว ้แล ้วหมุนปุ่ ม <6>
ไปทางซ ้าย (เพือ
่ ลดการเปิ ดรับแสง)
ค่าแสงลดลง
เพือ
่ ให ้ภาพมืดลง 3 ถ่ายภาพ
หากต ้องการยกเลิกการชดเชยแสง ให ้
ปรับปริมาณการชดเชยแสงกลับไปเป็ น
<E>

หากตัง้ ค่า [z2: ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] (น.136) ไว ้เป็ นอย่างอืน


่ นอกเหนือ
จาก [ไม่ใช้งาน] ภาพอาจยังดูสว่างอยูถ
่ งึ แม ้จะปรับลดการชดเชยแสงสําหรับภาพมืด

 ปริมาณการชดเชยแสงแฟลชจะยังคงอยูแ ่ ม ้ว่าคุณจะปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่


<2>
 ปริมาณการชดเชยแสงทีแ ่ สดงในช่องมองภาพจะปรับได ้เพียง ±2 สต๊อป หาก
ปริมาณการชดเชยแสงเกินกว่า ±2 สต๊อป ปลายของตัวแสดงการเปิ ดรับแสงจะ
แสดง <I> หรือ <J>
 หากคุณต ้องการปรับการชดเชยแสงเกินกว่า ±2 สต๊อป แนะนํ าให ้ตัง้ ค่าโดยใช ้
[z2: ชดเชยแสง/AEB] (น.160) หรือด ้วยหน ้าจอควบคุมทันใจ (น.51)

159
3 การถ่ายภาพคร่อมการเปิ ดร ับแสงอ ัตโนม ัติK
คุณสมบัตน ิ น
ี้ ํ าการชดเชยแสงไปอีกขัน้ โดยการแบ่งการเปิ ดรับแสงโดยอัตโนมัต ิ
(ไม่เกิน ±2 สต๊อป โดยปรับทีละ 1/3 สต๊อป) ออกเป็ นสามภาพตามทีแ ่ สดงไว ้
ทางด ้านล่าง จากนั น ้ คุณจะสามารถเลือกการเปิ ดรับแสงทีด
่ ท
ี ส ุ ได ้ ซึง่ เรียกว่า
ี่ ด
AEB (ถ่ายภาพคร่อมการเปิ ดรับแสงอัตโนมัต)ิ

ค่าแสงมาตรฐาน การเปิ ดรับแสงมืดลง การเปิ ดรับแสงสว่างขึน้


(ลดการเปิ ดรับแสง) (เพิม
่ การเปิ ดรับแสง)

เลือก [ชดเชยแสง/AEB]
1  ภายใต ้แท็บ [z2] เลือก [ชดเชยแสง/
AEB] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

2 ปร ับช่วง AEB
 หมุนปุ่ ม <6> เพือ
่ ปรับช่วง AEB
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ ปรับปริมาณการ
ชดเชยแสง หากใช ้ AEB ร่วมกับการชด
เชยแสง จะปรับใช ้ AEB ตรงกลางระดับ
ของการชดเชยแสง
 กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ตัง้ ค่า
ช่วง AEB
 เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <M> เพือ ่ ออกจากเมนู
ช่วง AEB จะแสดงบนจอ LCD

3 ถ่ายภาพ
โฟกัสและกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด ภาพที่
ถ่ายคร่อมสามภาพจะถ่ายตามลําดับดังนี:้
การเปิ ดรับแสงมาตรฐาน ลดการเปิ ดรับแสง
และเพิม่ การเปิ ดรับแสง

160
3 การถ่ายภาพคร่อมการเปิ ดรับแสงอัตโนมัตK

การยกเลิก AEB
 ทําตามขัน ้ ตอนที่ 1 และ 2 เพือ
่ ปิ ดการแสดงช่วง AEB (ตัง้ เป็ น 0)
 การตัง้ ค่า AEB จะถูกยกเลิกโดยอัตโนมัตเิ ช่นกัน หากปรับสวิตช์เปิ ด/ปิ ด
กล ้องไปที่ <2> แฟลชเตรียมทํางานเสร็จสมบูรณ์ ฯลฯ

คําแนะนําในการถ่ายภาพ
 การใช้ AEB ก ับการถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง
หากโหมดขับเคลือ ่ นตัง้ ค่าเป็ น <i> หรือ <M> (น.112) และคุณกดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงจนสุด จะทําการถ่ายคร่อมสามภาพอย่างต่อเนือ่ งตามลําดับดังนี:้
การเปิ ดรับแสงมาตรฐาน ลดการเปิ ดรับแสง และเพิม
่ การเปิ ดรับแสง จากนั น

การถ่ายภาพจะหยุดลงโดยอัตโนมัต ิ
 การใช้ AEB ก ับการถ่ายภาพเดีย ่ ว (u/B)
กดปุ่ มชัตเตอร์สามครัง้ เพือ
่ ทําการถ่ายคร่อมสามภาพ ภาพทีถ
่ า่ ยคร่อมสาม
ภาพจะถูกถ่ายตามลําดับต่อไปนี:้ การเปิ ดรับแสงมาตรฐาน ลดการเปิ ดรับแสง
และเพิม่ การเปิ ดรับแสง
 การใช้ AEB ก ับการตงเวลาหรืั้ อต ัวควบคุมรีโมท (แยกจําหน่าย)
ด ้วยการตัง้ เวลาหรือการถ่ายภาพด ้วยรีโมทคอนโทรล (<Q> หรือ <l>)
คุณจะสามารถถ่ายภาพต่อเนือ ่ ง 3 ภาพหลังจากการตัง้ เวลารอ 10 วินาทีหรือ
2 วินาที หากปรับ <q> (น.114) ไว ้ จํานวนการถ่ายต่อเนือ ่ งจะเป็ นสามเท่า
ของจํานวนทีต ่ งั ้ ไว ้

 ระหว่าง AEB <A> ในช่องมองภาพและช่วง AEB จะกะพริบ


 AEB ไม่สามารถใช ้กับแฟลช [ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ] ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์
หรือการเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์
 หากตัง้ ค่า [z2: ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] (น.136) ไว ้เป็ นอย่างอืน
่ นอก
เหนือจาก [ไม่ใช้งาน] ผลของ AEB อาจลดน ้อยลง

161
A การล็ อคการเปิ ดร ับแสงK
คุณสามารถล็อคการเปิ ดรับแสงเมือ ่ บริเวณโฟกัสแตกต่างจากบริเวณทีว่ ด
ั แสง
หรือเมือ่ คุณต ้องการถ่ายภาพหลายภาพด ้วยการเปิ ดรับแสงเท่ากัน กดปุ่ ม <A>
เพือ
่ ล็อคการเปิ ดรับแสง จากนัน ้ จัดองค์ประกอบภาพและถ่ายภาพ เรียกระบบนีว้ า่
การล็อค AE ซึง่ ได ้ผลดีสําหรับการถ่ายภาพวัตถุย ้อนแสง เป็ นต ้น

โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


1  กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่
 การตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงจะแสดงขึน
้ มา

2 กดปุ
่ ม <A> (0)
 ไอคอน <A> จะสว่างขึน
้ ในช่องมอง
ภาพเพือ ่ บ่งบอกว่าการตัง้ ค่าการเปิ ดรับ
แสงถูกล็อคไว ้ (ล็อค AE)
 แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <A> การตัง้ ค่า
การเปิ ดรับแสงอัตโนมัตใิ นปั จจุบันจะถูก
ล็อค

3 จัดองค์ประกอบภาพและถ่ายภาพ
หากคุณต ้องการคงการล็อค AE ไว ้ในขณะ
ทีถ่ า่ ยภาพเพิม
่ เติม ให ้กดปุ่ ม <A>
ค ้างไว ้และกดปุ่ มชัตเตอร์เพือ ่ ถ่ายภาพต่อ
ไป

เอฟเฟคต่างๆ ของการล็ อค AE

โหมดว ัดแสง วิธก


ี ารเลือกจุด AF (น.106)
(น.157) เลือกอ ัตโนม ัติ เลือกด้วยตนเอง
ปรับใช ้ล็อค AE ทีจ
่ ุด AF ทีจ
่ ับ ปรับใช ้ล็อค AE ทีจ
่ ุด AF ทีเ่ ลือก
q*
โฟกัสได ้
wre ปรับใช ้ล็อค AE ทีจ
่ ุด AF จุดกลาง
* เมือ ู ปรับไปที่ <MF> ล็อค AE จะปรับใช ้กับจุด AF
่ สวิตช์ปรับโหมดโฟกัสของเลนส์ถก
จุดกลาง

ล็อค AE ไม่สามารถใช ้งานได ้กับเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์

162
้ เพือ
การถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ่ั K
่ ลดกล้องสน
การสัน ่ สะเทือนของกล ้องทีเ่ กิดจากการสะท ้อนกลับของกระจกเรียกว่า “แรงสัน ่
ของกระจก” การล็อคกระจกสามารถลดอาการภาพเบลอจากการสัน ่ ของกล ้องได ้
ซึง่ เป็ นประโยชน์โดยเฉพาะเมือ ่ คุณใช ้เลนส์ถา่ ยภาพไกลช่วงพิเศษหรือการถ่าย
ระยะใกล ้ (การถ่ายภาพมาโคร)
การถ่ายภาพโดยล็ อคกระจกขึน ้ เปิ ดใช้งานได้โดยตงค่
ั้ า [9: ถ่ายภาพ
โดยล็ อคกระจกขึน ้ ] เป็น [1: ใช้งาน] ใน [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)]
(น.342)

1 โฟก ัสทีว่ ัตถุ จากนนกดปุ


ั้ ั
่ มชตเตอร์
ลงจนสุด
 กระจกจะเปิ ดขึน

2 กดปุ่มชตเตอร์
ั ลงจนสุดอีกครงั้
 ภาพจะถูกถ่ายและกระจกจะปิ ดลง
้ ] เป็ น
 หลังจากถ่ายภาพแล ้ว ตัง้ ค่า [9: ถ่ายภาพโดยล็ อคกระจกขึน
[0: ไม่ใช้งาน]

คําแนะนําในการถ่ายภาพ
 การใช้งานการตงเวลา ั้ <Q>, <l> ก ับการถ่ายภาพโดยล็ อค
กระจกขึน ้
เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด กระจกจะล็อค ภาพจะถูกถ่ายหลังจาก 10
วินาทีหรือ 2 วินาที
 การถ่ายภาพด้วยรีโมทคอนโทรล
เนือ
่ งจากคุณไม่ได ้สัมผัสกล ้องเมือ
่ ทําการถ่ายภาพ การถ่ายภาพด ้วยรีโมทคอน
โทรลพร ้อมกับการล็อคกระจกขึน ้ จะช่วยลดการสัน่ ของกล ้องได ้ดีขน ึ้ (น.350)
หากตัง้ ตัวควบคุมรีโมท รุน
่ RC-6 (แยกจําหน่าย) เป็ นตัง้ เวลารอ 2 วินาที ให ้กดปุ่ ม
ส่งสัญญาณเพือ ่ ล็อคกระจกขึน ้ และภาพจะถูกถ่าย 2 วินาทีหลังจากการล็อค
กระจก

163
การถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน
้ เพือ ่ K
่ ลดกล ้องสัน

 อย่าหันกล ้องชีไ้ ปทางแหล่งแสงทีส ่ ว่างจ ้า เช่น ดวงอาทิตย์ หรือแสงจ ้าทีเ่ กิดจาก


ฝี มอ
ื มนุษย์ การกระทําเช่นนีอ ้ าจทําให ้เซนเซอร์ภาพหรือส่วนประกอบภายในของ
กล ้องเสียหายได ้
 ในสภาวะแสงสว่างจ ้า เช่นชายหาดหรือลานสกีในวันทีม ่ แ ี ดดจัด ให ้ถ่ายภาพทันที
หลังจากล็อคกระจกขึน ้ เรียบร ้อยแล ้ว
 หากคุณใช ้การตัง้ เวลาและการเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์รว่ มกับการถ่ายภาพโดย
ล็อคกระจกขึน ้ ให ้กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดค ้างไว ้ (เวลาทีต ่ งั ้ เวลาไว ้ + เวลาเปิ ด
หน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์) หากคุณปล่อยปุ่ มชัตเตอร์ระหว่างการตัง้ เวลานับถอยหลัง
จะมีเสียงลัน
่ ชัตเตอร์แต่จะไม่มก ี ารถ่ายภาพเกิดขึน ้
 ระหว่างการถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ้ การตัง้ ค่าฟั งก์ชนั่ ถ่ายภาพและการทํางาน
ของเมนู ฯลฯ จะถูกปิ ดใช ้งาน
 หากคุณใช ้แฟลช ไฟลดตาแดงจะไม่สว่างขึน ้ (น.167)

 แม ้ว่าคุณตัง้ ค่าโหมดขับเคลือ่ นเป็ น <i>, <M> หรือ <q> กล ้องจะยัง


คงทําการถ่ายภาพในโหมดถ่ายภาพเดีย ่ ว
 เมือ
่ ตัง้ ค่า [z3: ลดจุดรบกวนจากความไวแสง ISO สูง] เป็ น [ลดจุด
รบกวนถ่ายหลายภาพ] ภาพถ่ายต่อเนือ ่ าพจะถูกถ่ายเป็ นภาพเดียวไม่วา่
่ งสีภ
การตัง้ ค่า [9: ถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ้ ] จะเป็ นอย่างไร
 ภายหลังจากหมดเวลา 30 วินาที หลังจากการถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ้ กระจก
จะปิ ดลงทีเ่ ดิมอัตโนมัต ิ การกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดจะล็อคกระจกขึน ้ อีกครัง้

164
้ ฟลช
การถ่ายภาพแบบใชแ
6
บทนีอ้ ธิบายวิธก ี ารถ่ายภาพด ้วยแฟลชในตัวกล ้องและ Speedlite
ภายนอก (ซีรส ี่ ์ EX แยกจําหน่าย) วิธก
ี ารตัง้ ค่าแฟลชด ้วยหน ้าจอ
เมนูของกล ้อง และวิธก ี ารใช ้แฟลชในตัวกล ้องเพือ่ การถ่ายภาพ
แบบใช ้แฟลชไร ้สาย

 ไม่สามารถใช ้แฟลชได ้กับการถ่ายภาพเคลือ


่ นไหว เนือ
่ งจากแฟลชจะ
ไม่ทํางาน
 ถ่ายภาพคร่อมไม่สามารถใช ้แฟลชได ้
165
้ ฟลชในต ัวกล้อง
D การใชแ
ในทีร่ ม
่ ทีแ
่ สงน ้อย หรือสภาวะย ้อนแสงตอนกลางวัน เพียงยกแฟลชในตัวกล ้อง
ขึน ่ ถ่ายภาพโดยใช ้แฟลช ในโหมด <d> ความเร็ว
้ และกดปุ่ มชัตเตอร์เพือ
ชัตเตอร์ (1/60 วิ. - 1/200 วิ.) จะมีการตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตเิ พือ ่
่ ป้ องกันการสัน
ของกล ้อง

กดปุ่ม <D>
1  ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ คุณ
สามารถกดปุ่ ม <D> เมือ
่ ใดก็ได ้เพือ
่ ถ่าย
ภาพโดยใช ้แฟลช
 ในขณะทีแ
่ ฟลชกําลังเตรียมทํางาน
“DbuSY” จะแสดงในช่องมองภาพ และ
[BUSYD] จะแสดงบนจอ LCD

2 กดปุ
่ มชตเตอร์ ลงครึง่ หนึง่
 ทางด ้านซ ้ายล่างของช่องมองภาพ ให ้
ตรวจสอบว่าไอคอน <D> สว่างอยู่

3 ถ่ายภาพ
เมือ
่ จับโฟกัสได ้และคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลง
จนสุด แฟลชจะสว่างขึน
้ สําหรับถ่ายภาพ

ระยะทีม
่ ผ
ี ลของแฟลชในต ัวกล้อง (เมตร/ฟุตโดยประมาณ)
EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS STM, EF-S18-135mm f/3.5-5.6 IS STM,
ความไวแสง EF-S55-250mm f/4-5.6 IS STM
ISO
มุมกว้าง ระยะไกล
(น.122)
f/3.5 f/4 f/5.6
ISO 100 1 - 3.4 / 3.3 - 11.2 1 - 3 / 3.3 - 9.8 1 - 2.1 / 3.3 - 6.9
ISO 400 1 - 6.9 / 3.3 - 22.6 1 - 6 / 3.3 - 19.7 1 - 4.3 / 3.3 - 14.1
ISO 1600 1.7 - 13.7 / 5.6 - 44.9 1.5 - 12 / 4.9 - 39.4 1.1 - 8.6 / 3.6 - 28.2
ISO 6400 3.4 - 27.4 / 11.2 - 89.9 3 - 24 / 9.8 - 78.7 2.1 - 17.1 / 6.9 - 56.1
* เมือ
่ ตัง้ ค่าความไวแสง ISO สูงและระยะโฟกัสไกล อาจจะไม่ได ้ค่าแสงทีเ่ หมาะสมทัง้ นี้ขน
ึ้
อยูก่ บ
ั สภาวะของวัตถุ ฯลฯ

166
D การใช ้แฟลชในตัวกล ้อง

คําแนะนําในการถ่ายภาพ
 ในทีแ
่ สงจ้า ให้ลดความไวแสงลง
หากการตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงในช่องมองภาพกะพริบ ให ้ลดความไวแสงลง
 ถอดเลนส์ฮด ู อย่าอยูใ่ กล้ว ัตถุมากเกินไป
หากเลนส์มฮ ี ด ู ติดอยูห
่ รือคุณอยูใ่ กล ้กับวัตถุมากเกินไป ส่วนล่างของภาพอาจ
ดูมด
ื เนือ
่ งจากแฟลชถูกบัง สําหรับการถ่ายภาพทีส ่ ําคัญ ให ้ตรวจสอบภาพบน
จอ LCD เพือ ่ ให ้แน่ใจว่าการเปิ ดรับแสงของแฟลชดูเป็ นธรรมชาติ (ไม่มด ื ตรง
ส่วนล่าง)

3 การลดตาแดง
การใช ้ไฟลดตาแดงก่อนถ่ายภาพโดยใช ้แฟลชสามารถช่วยลดตาแดงได ้
การลดตาแดงสามารถใช ้งานได ้ดีในโหมดการถ่ายภาพใดๆ ยกเว ้น <7>,
<3>, <5>, <x> หรือ <G>

 ภายใต ้แท็บ [z1] ให ้เลือก [เปิ ด/ปิ ด


ลดตาแดง] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 เลือก [เปิ ด] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>
 สําหรับการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลช เมือ ่ คุณ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ไฟลดตาแดงจะ
สว่างขึน
้ จากนั น
้ เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลง
จนสุด จะทําการถ่ายภาพ

 คุณสมบัตล ิ ดตาแดงจะทํางานได ้ดีขน ่ สิง่ ทีถ


ึ้ เมือ ่ า่ ยมองไฟลดตาแดง เมือ ่ ห ้องมี
แสงสว่างเพียงพอ หรือเมือ ่ คุณอยูใ่ กล ้กับสิง่ ทีถ ่ า่ ย
 เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ สเกลทีแ ่ สดงอยูท ่ ด ี่ ้าน
ล่างของช่องมองภาพจะหดและปิ ดลง เพือ ่ ผลลัพธ์ทด ี่ ท ี สี่ ด

ให ้ถ่ายภาพหลังจากการแสดงสเกลนี้ปิดลง
 ประสิทธิภาพของการลดตาแดงแตกต่างออกไปโดยขึน ้ อยูก ั แต่ละสิง่ ทีถ
่ บ ่ า่ ย

167
D การใช ้แฟลชในตัวกล ้อง

y การชดเชยระด ับแสงแฟลชK
ปรับชดเชยระดับแสงแฟลชหากการเปิ ดรับแสงแฟลชของวัตถุไม่ได ้ตามที่
ต ้องการ คุณสามารถปรับการชดเชยแสงได ้จนถึง ±2 สต๊อป โดยจะปรับทีละ
1/3 สต๊อป

กดปุ่ม <Q> (7)


1  หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน
้ (น.51)

2 เลื
อก [y]
 กดปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ
่ เลือก [y*]
 [ชดเชยระด ับแสงแฟลช] จะแสดงขึน

ทางด ้านล่าง

3 ปร ับปริมาณการชดเชยแสง
 หากระดับแสงมืดเกินไป ให ้หมุนปุ่ ม
<6> ไปทางขวา (เพือ ่ เพิม
่ การเปิ ด
รับแสง)
ค่าระดับแสงสว่างเกินไป ให ้หมุนปุ่ ม
<6> ไปทางซ ้าย (เพือ ่ ลดการเปิ ด
รับแสง)
 เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ไอคอน <y> จะปรากฏในช่องมองภาพ
 หล ังจากถ่ายภาพแล้ว ให้ยกเลิกชดเชยระด ับแสงแฟลชโดยการปร ับ
กล ับไปที่ 0

 หาก [z2: ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] (น.136) ถูกปรับไว ้เป็ นอย่างอืน ่ นอก
เหนือจาก [ไม่ใช้งาน] ภาพอาจยังดูสว่างอยูถ ่ งึ แม ้จะปรับลดการชดเชยระดับแสง
แฟลช
 หากชดเชยระดับแสงแฟลชถูกตัง้ ค่าไว ้กับ Speedlite ภายนอก (แยกจําหน่าย,
น.171) คุณจะไม่สามารถตัง้ ค่าชดเชยระดับแสงแฟลชด ้วยกล ้องได ้ (การควบคุม
ั่ แฟลชภายนอก) หากตัง้ ค่าไว ้กับทัง้ กล ้องและ
ทันใจหรือการตัง้ ค่าฟั งก์ชน
Speedlite การตัง้ ค่าของ Speedlite จะมีผลทับการตัง้ ค่าของกล ้อง

168
D การใช ้แฟลชในตัวกล ้อง

 ปริมาณการชดเชยแสงแฟลชจะยังคงอยูแ ่ ม ้ว่าคุณจะปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่


<2>
 นอกจากนีค ้ ณ
ุ ยังสามารถปรับชดเชยระดับแสงแฟลชด ้วย [ตงค่ ั้ าระบบแฟลช
ในต ัวกล้อง] ใน [z1: ควบคุมแฟลช] (น.176)

A การล็ อคแสงแฟลช (ล็อค FE)K


หากวัตถุอยูท่ างด ้านข ้างของเฟรมและคุณใช ้แฟลช วัตถุอาจสว่างหรือมืดเกินไป
โดยขึน
้ อยูก
่ บั ฉากหลัง ฯลฯ ในกรณีนใี้ ห ้ใช ้การล็อค FE หลังจากตัง้ ค่าการเปิ ดรับ
แสงแฟลชให ้เหมาะสมกับวัตถุแล ้ว คุณสามารถจัดองค์ประกอบใหม่ (วางวัตถุไป
ทางด ้านข ้าง) แล ้วถ่ายภาพได ้ คุณสมบัตน ี้ ังสามารถใช ้กับ Speedlite ซีรส
ิ ย ี่ ์ EX
ของแคนนอนได ้อีกด ้วย
* FE หมายถึง Flash Exposure (ค่าแสงแฟลช)

กดปุ่ม <D>
1  แฟลชในตัวกล ้องจะยกขึน ้
 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ แล ้วดูในช่องมอง
ภาพเพือ ่ ตรวจสอบว่าไอคอน <D> สว่าง
อยู่

2 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


3 กดปุ
่ ม <A> (8)
 เล็งศูนย์กลางช่องมองภาพไปทีว่ ัตถุทค
ี่ ณ

ต ้องการล็อคการเปิ ดรับแสงแฟลช จากนั น ้
กดปุ่ ม <A>
 แฟลชจะยิงแฟลชนํ าและจะคํานวณกําลัง
แฟลชทีจ ่ ําเป็ นแล ้วเก็บไว ้ในหน่วยความจํา
 “FEL” จะแสดงในช่องมองภาพชัว่ ขณะ
หนึง่ และ <d> จะสว่างขึน ้
 ในแต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <A> จะทําการยิงแฟลชนํ าและคํานวณกําลัง
แฟลชแล ้วเก็บไว ้ในหน่วยความจํา

169
D การใช ้แฟลชในตัวกล ้อง

4 ถ่ายภาพ
จัดองค์ประกอบภาพและกดปุ่ มชัตเตอร์ลง
จนสุด
 แฟลชจะยิง และภาพจะถูกถ่าย

 หากวัตถุอยูไ่ กลเกินไปและอยูน ่ อกระยะทําการของแฟลช ไอคอน <D> จะกะพริบ


ให ้ขยับเข ้าใกล ้วัตถุแล ้วทําซํ้าขัน
้ ตอนที่ 2 ถึง 4
 ล็อค FE ไม่สามารถทําได ้ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View
170
D การใช ้ Speedlite ภายนอก
ี่ ์ EX สา
Speedlite ซีรส ํ หร ับรุน
่ EOS โดยเฉพาะ
้ ฐานการทํางานเหมือนแฟลชภายในกล้องทีง่ า
พืน ่ ยต่อการใช้งาน
เมือ
่ ติดตัง้ Speedlite ซีรส ี่ ์ EX (แยกจําหน่าย) เข ้ากับกล ้องแล ้ว กล ้องจะควบคุม
แฟลชอัตโนมัตเิ กือบทัง้ หมด อีกนั ยหนึง่ คือเหมือนนํ าแฟลชภายนอกทีม ่ ก
ี ําลัง
ไฟสูงมาใช ้แทนทีแ ่ ฟลชภายในกล ้อง
สําหร ับรายละเอียดการใช้งาน โปรดดูคม ู่ อ
ื การใช้งาน Speedlite ซีรส ี่ ์ EX
กล ้องรุน ่ นีเ้ ป็ นกล ้อง Type-A ซึง่ สามารถใช ้งานคุณสมบัตท ิ งั ้ หมดของ Speedlite
ซีรสี่ ์ EX ได ้

Shoe-mount Speedlite Macro Lite

 Speedlite ซีรส ี่ ์ EX ไม่สามารถใช ้ร่วมกับการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ แฟลชได ้ (น.173)


มีเพียง [ชดเชยระด ับแสงแฟลช] และ [E-TTL II] ทีส ่ ามารถปรับสําหรับ
[ตงค่
ั้ าระบบแฟลชติดตงภายนอก] ั้ ได ้ ([ช ัตเตอร์ซงิ ค์] ยังสามารถปรับใช ้กับ
Speedlite ซีรส ี่ ์ EX บางรุน
่ ได ้อีกด ้วย)
 หากตัง้ ค่าชดเชยระดับแสงแฟลชกับ Speedlite ภายนอก ไอคอนชดเชยระดับ
แสงแฟลชทีแ ่ สดงบนจอ LCD ของกล ้องจะเปลีย ่ นจาก y เป็ น 0
171
D การใช ้ Speedlite ภายนอก

Speedlite ของแคนนอนรุน
่ อืน ี่ ์ EX
่ ๆ นอกเหนือจากซีรส
 สําหร ับ Speedlite ซีรส ี่ ์ EZ/E/EG/ML/TL ทีต ่ งค่
ั้ าโหมดแฟลช
อ ัตโนม ัติไว้ท ี่ TTL หรือ A-TTL แฟลชจะยิงแสงเต็มกําล ังไฟเท่านน ั้
ตัง้ ค่าโหมดการถ่ายภาพของกล ้องเป็ น <a> (ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง)
หรือ <f> (ระบุคา่ รูรับแสง) และปรับการตัง้ ค่ารูรับแสงก่อนถ่ายภาพ
 เมือ ่ คุณใช ้งาน Speedlite ทีม ่ โี หมดแฟลชกําหนดเอง ให ้ถ่ายภาพในโหมด
แฟลชกําหนดเอง

การใชง้ านแฟลชทีไ่ ม่ใช่ของแคนนอน


ความเร็วการซิงค์
กล ้องสามารถซิงโครไนซ์กบ ั แฟลชขนาดเล็กยีห ่ ้ออืน ่ ได ้ที่ ความเร็วชัตเตอร์
1/200 วินาทีหรือตํา่ กว่า ให ้ใช ้ความเร็วการซิงค์ทต ี่ ํา่ กว่า 1/200 วินาที
โปรดทดสอบการใช ้งานแฟลชล่วงหน ้าเพือ ่ ให ้แน่ใจว่าแฟลชสามารถ
ซิงโครไนซ์เข ้ากับกล ้องได ้อย่างสมบูรณ์
ข้อควรระว ังในการถ่ายภาพแบบ Live View
แฟลชทีไ่ ม่ใช่ของแคนนอนจะไม่ยงิ แสงออกมาระหว่างการถ่ายภาพแบบ
Live View

 หากใช ้งานกล ้องร่วมกับแฟลชหรืออุปกรณ์เสริมสําหรับแฟลชซึง่ ออกแบบมาเพือ ่


การใช ้งานร่วมกับยีห่ ้ออืน
่ กล ้องอาจไม่สามารถทํางานอย่างสมบูรณ์แบบได ้และ
อาจส่งผลให ้ทํางานผิดปกติ
 อย่าใช ้แฟลชทีม่ แ
ี รงดันไฟฟ้ าสูงมากกับฐานเสียบอุปกรณ์เสริมของกล ้อง เนือ
่ ง
จากแฟลชอาจไม่ทํางาน

172
3 การตงค่
ั้ าแฟลชK
ด ้วยแฟลชในตัวกล ้องหรือแฟลช Speedlite ซีรส ี่ ์ EX ภายนอกทีใ่ ช ้ร่วมกับการตัง้
ค่าระบบแฟลช คุณสามารถใช ้เมนูของกล ้องเพือ ่ ตัง้ ค่าระบบแฟลชหรือระบบส่วน
ตัวของ Speedlite ภายนอกได ้
หากคุณใช้ Speedlite ภายนอก ให้ตด ิ Speedlite ก ับกล้องและเปิ ด
Speedlite ก่อนการตงค่ั้ าระบบแฟลช สําหรับรายละเอียดเกีย ่ วกับระบบแฟลช
Speedlite ภายนอก โปรดดูคม ื การใช ้งาน Speedlite
ู่ อ

เลือก [ควบคุมแฟลช]
 ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [ควบคุม
แฟลช] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอการควบคุมแสงแฟลชจะปรากฏขึน

[ส่องแสงไฟแฟลช]
 โดยปกติแล ้ว ให ้ตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน]
 หากตงค่ั้ าเป็น [ไม่ใช้งาน] ทงแฟลช ั้
ภายในกล้องและ Speedlite ภายนอก
จะไม่สอ ่ งแสง นีจ
่ ะเป็ นประโยชน์เมือ่ ต ้อง
การใช ้งานเพียงแสงไฟช่วยปรับโฟกัสของ
แฟลชเท่านั น ้

[E-TTL II]
 สําหรับการวัดแสงแฟลชทั่วไป ให ้ปรับเป็ น
[ประเมิน]
 สําหรับผู ้ใช ้งานขัน
้ สูง ให ้ปรับเป็ น [เฉลีย
่ ]
และด ้วย Speedlite ภายนอก บริเวณทีว่ ด ั
แสงจะถูกเฉลีย ่ อาจจําเป็ นต ้องใช ้ชดเชย
ระดับแสงแฟลช

แม ้จะตัง้ ค่า [ส่องแสงไฟแฟลช] เป็ น [ไม่ใช้งาน] ก็ตาม หากจับโฟกัสได ้ยากใน


สภาวะแสงน ้อย แฟลชอาจยังคงยิงแสงเป็ นชุด (แสงไฟช่วยปรับโฟกัส, น.103)

173
3 การตัง้ ค่าแฟลชK

[ความเร็ วซิงค์แฟลชในโหมด Av]


คุณสามารถปรับความเร็วการซิงค์แฟลช
สําหรับการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชในโหมดระบุ
ค่ารูรับแสง (f)

 N: อ ัตโนม ัติ
ความเร็วการซิงค์แฟลชจะปรับอัตโนมัตใิ นช่วงระหว่าง 1/200 วินาที ถึง
30 วินาที เพือ
่ ให ้เหมาะสมกับความสว่างของฉากหลัง และสามารถซิงค์
แฟลชความเร็วสูงได ้
 V: 1/200-1/60 วินาที อ ัตโนม ัติ
ป้ องกันการใช ้ความเร็วชัตเตอร์ตํา่ ในสภาวะแสงน ้อย เหมาะสําหรับป้ องกันไม่
ให ้วัตถุในภาพเบลอและปั ญหากล ้องสัน ่ อย่างไรก็ตาม ในขณะทีว่ ัตถุรับแสง
แฟลชได ้อย่างสมบูรณ์ ฉากหลังจะมืด
 W: 1/200 วินาที (คงที)่
ความเร็วการซิงค์แฟลชถูกตัง้ ค่าคงทีไ่ ว ้ที่ 1/200 วินาที ซึง่ เหมาะต่อการป้ องกัน
การเบลอของวัตถุและปั ญหากล ้องสัน ่ มากกว่าการตัง้ ค่า [1/200-1/60
วินาที อ ัตโนม ัติ] อย่างไรก็ตาม ในสภาวะแสงน ้อย ฉากหลังของวัตถุจะออก
มามืดกว่าการตัง้ ค่า [1/200-1/60 วินาที อ ัตโนม ัติ]

หากตัง้ ค่า [1/200-1/60 วินาที อ ัตโนม ัติ] หรือ [1/200 วินาที (คงที)่ ] จะไม่
่ ใช ้โหมด <f> กับ Speedlite ภายนอก
สามารถซิงค์ความเร็วสูงได ้เมือ

174
3 การตัง้ ค่าแฟลชK

การแสดงหน้าจอการตงค่
ั้ าระบบแฟลชโดยตรง
่ คุณใช ้แฟลชในตัวกล ้องหรือแฟลช
เมือ
Speedlite ซีรสี่ ์ EX ภายนอกทีใ่ ช ้กับการตัง้ ค่า
ระบบแฟลช คุณสามารถกดปุ่ ม <D> เพือ ่
แสดงหน ้าจอ [ตงค่ ั้ าระบบแฟลชในต ัว
กล้อง] หรือ [ตงค่ ั้ าระบบแฟลชติดตงภาย ั้
นอก] ได ้โดยตรงโดยไม่ต ้องแสดงหน ้าจอ
เมนูกอ ่ น

 ด้วยแฟลชในต ัวกล้อง
กดปุ่ม <D> สองครงั้
 แฟลชในตัวกล ้องจะยกขึน ้
 กดปุ่ มนีอ
้ ก
ี ครัง้ เพือ
่ แสดงหน ้าจอ [ตงค่
ั้ า
ระบบแฟลชในต ัวกล้อง]

 ด้วย Speedlite ภายนอก


กดปุ่ม <D>
 เมือ
่ เปิ ด Speedlite ภายนอกแล ้ว ให ้กดปุ่ ม
<D> เพือ ่ แสดงหน ้าจอ [ตงค่
ั้ าระบบ
แฟลชติดตงภายนอก]
ั้

 เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <D> เพือ
่ แสดงหน ้าจอการตัง้ ค่าระบบแฟลช คุณจะไม่สามารถตัง้
ค่า [ส่องแสงไฟแฟลช], [E-TTL II], [ความเร็วซิงค์แฟลชในโหมด Av]
หรือ [ตงค่
ั้ า C.Fn ของแฟลชภายนอก] ตัง้ ค่าระบบเหล่านี้ด ้วย [z1:
ควบคุมแฟลช] แทน
 หากตัง้ ค่า [ส่องแสงไฟแฟลช] เป็ น [ไม่ใช้งาน] และเมือ ่ คุณกดปุ่ ม <D> หน ้า
จอ [z1: ควบคุมแฟลช] จะปรากฏขึน ้

175
3 การตัง้ ค่าแฟลชK

[ตงค่
ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง] และ [ตงค่
ั้ าระบบแฟลชติดตงภายนอก]
ั้
ั่ ในตารางด ้านล่างนี้ ฟั งก์ชน
คุณสามารถตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ภายใต ้ [ตงค่
ั้ าระบบแฟลช
ติดตงภายนอก]
ั้ แตกต่างกันไปขึน ้ อยูก
่ บ
ั รุน
่ ของ Speedlite
 เลือก [ตงค่ ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง]
หรือ [ตงค่ ั้ าระบบแฟลชติดตงภายนอก] ั้
 หน ้าจอการตัง้ ค่าระบบแฟลชจะแสดงขึน ้
สําหรับ [ตงค่ ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง]
จะสามารถเลือกและตัง้ ค่าเฉพาะฟั งก์ชน ั่ ที่
ไฮไลท์เท่านัน ้

หน้าจอต ัวอย่าง โหมดทํางานแฟลช


ระบบไร ้สาย
ซูมแฟลช (การครอบ
คลุมแสงแฟลช)
ถ่ายภาพคร่อมด ้วยแฟลช
ชดเชยระดับแสง
แฟลช
ชัตเตอร์ซงิ ค์

[ตงค่
ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง] [ตงค่
ั้ าระบบแฟลชติดตงภายนอก]
ั้

ฟังก์ชน่ ั หล ักสําหร ับ [ตงค่


ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง] และ
[ตงค่
ั้ าระบบแฟลชติดตงภายนอก] ั้
[ตงค่
ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง] [ตงค่
ั้ าระบบ
่ั
ฟังก์ชน ไี่ วร์เลส ค ัสต์ไวร์เลส แฟลชติดตงั้ หน้า
ยิงแสงปกติ อีซ ภายนอก]
(น.182) (น.185)
โหมดทํางานแฟลช k k 177
ช ัตเตอร์ซงิ ค์ k k 177
FEB* k
ระบบไร้สาย k k 177
ชดเชยระด ับแสงแฟลช k k k k 168
การควบคุมอ ัตรา
k
ส่วนแฟลช
แสงไฟแฟลชหล ัก k
ซูมแฟลช* k
* สําหรับ [FEB] (ถ่ายภาพคร่อมด ้วยแฟลช) และ [ซูมแฟลช] โปรดดูคม ื การใช ้งานของ
ู่ อ
่ ามารถใช ้กับฟั งก์ชน
Speedlite ทีส ั่ นีไ
้ ด้

176
3 การตัง้ ค่าแฟลชK

 โหมดทํางานแฟลช
่ ใช ้ Speedlite ภายนอก คุณสามารถเลือกโหมดแฟลชเพือ
เมือ ่ ให ้เหมาะกับ
การถ่ายภาพโดยใช ้แฟลชตามทีค ่ ณ
ุ ต ้องการได ้
 [E-TTL II] เป็ นโหมดมาตรฐานของ
Speedlite ซีรส ี่ ์ EX สําหรับการยิงแฟลช
อัตโนมัต ิ
 [แฟลชกําหนดเอง] มีไว ้สําหรับผู ้ใช ้งาน
ขัน้ สูงทีต
่ ้องการตัง้ ค่า [กําล ังแฟลช]
(1/1 ถึง 1/128) ด ้วยตนเอง
 สําหรับโหมดทํางานแฟลชอืน ่ ๆ โปรดดู
คูม
่ อื การใช ้งานของ Speedlite ทีส ่ ามารถ
ใช ้กับฟั งก์ชนั่ นีไ้ ด้

 ช ัตเตอร์ซงิ ค์
โดยปกติแล ้ว ให ้ตัง้ ค่าเป็ น [ม่านช ัตเตอร์แรก] เพือ ่ ให ้แฟลชยิงทันทีทเี่ ริม

เปิ ดรับแสง
หากตัง้ ค่าเป็ น [ม่านช ัตเตอร์ท ี่ 2] แฟลชจะยิงก่อนทีช ั เตอร์จะปิ ดลงพอดี
่ ต
เมือ่ รวมกับความเร็วชัตเตอร์ทช ี่ ้า คุณจะสามารถเก็บภาพเส ้นแสงทีส ่ วยงาม
เช่น แสงของไฟหน ้ารถยนต์ในเวลากลางคืน ด ้วยความรู ้สึกทีเ่ ป็ นธรรมชาติ
มากขึน ้ ด ้วย E-TTL II (ระดับแสงแฟลชอัตโนมัต)ิ กล ้องจะยิงแฟลชสอง
ครัง้ : ครัง้ แรกเมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด และอีกครัง้ ในทันทีกอ ่ นทีก่ าร
รับแสงจะสิน ้ สุดลง และหากความเร็วชัตเตอร์เป็ น 1/30 วินาทีหรือเร็วกว่า
การซิงค์มา่ นชัตเตอร์แรกจะถูกปรับใช ้โดยอัตโนมัต ิ
หากติด Speedlite ภายนอก คุณยังสามารถเลือก [ซิงค์ความเร็ วสูง] (e)
สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ู่ อ ื การใช ้งาน Speedlite
 ระบบไร้สาย
่ ทําการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายโดยส่งข ้อมูลผ่านแสงโดยใช ้ฟั งก์ชน
เมือ ั่
หลักของแฟลชในตัวกล ้อง โปรดดู “การใช ้แฟลชแบบไร ้สาย” ในหน ้า 179
เมือ่ ทําการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายโดยส่งข ้อมูลผ่านคลืน่ วิทยุหรือแสง
โดยใช ้ฟั งก์ชนั่ หลักของ Speedlite ภายนอก โปรดดูคม ื การใช ้งาน
ู่ อ
Speedlite
 ชดเชยระด ับแสงแฟลช
โปรดดู “การชดเชยระดับแสงแฟลช” ในหน ้า 168

177
3 การตัง้ ค่าแฟลชK

การตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัวของ Speedlite ภายนอก
การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวภายใต ้ [ตงค่
ั้ า C.Fn ของแฟลชภายนอก] แตกต่างกัน
ไปขึน
้ อยูก ่ บ
ั รุน
่ ของ Speedlite
แสดงการตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว
1  เมือ
่ กล ้องพร ้อมถ่ายภาพด ้วย Speedlite
ภายนอก ให ้เลือก [ตงค่ั้ า C.Fn ของ
แฟลชภายนอก] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

2 ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว
กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกหมายเลข
ั่ จากนั น
ฟั งก์ชน ั่ ขัน
้ ตัง้ ค่าฟั งก์ชน ้ ตอนนี้
เหมือนกันกับการตัง้ ค่าระบบส่วนตัวของ
กล ้อง (น.336)
ขณะใช ้งาน Speedlite ซีรส
ี่ ์ EX หากการตัง้ ค่าระบบส่วนตัว [โหมดว ัดแสงแฟลช] ตัง้
ไว ้เป็ น [ว ัดแสงแฟลช TTL] (แฟลชอัตโนมัต)ิ Speedlite จะยิงแสงเต็มกําลังไฟเสมอ

การลบการตงค่
ั้ า
เลือก [ลบการตงค่
ั้ า]
1  ภายใต ้แท็บ [z1: ควบคุมแฟลช]
เลือก [ลบการตงค่
ั้ า] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

2 เลื
อกการตงค่ั้ าทีต
 เลือก [ลบการตงค่
่ อ
้ งการจะลบ
ั้ าแฟลชในต ัวกล้อง],
[ลบการตงค่ ั้ าแฟลชภายนอก] หรือ
[ลบระบบส่วนต ัวแฟลชภายนอกทงั้
หมด] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 เมือ
่ คุณเลือก [ตกลง] การตัง้ ค่าแฟลชที่
เลือกจะถูกลบ
ระบบส่วนตัวของ Speedite (P.fn) จะไม่สามารถถูกตัง้ ค่าหรือยกเลิกได ้ด ้วยหน ้าจอ
[ควบคุมแฟลช] ของกล ้อง ให ้ตัง้ ค่านัน
้ กับ Speedlite
178
้ ฟลชแบบไร้สายK
การใชแ
แฟลชในตัวกล ้องจะทํางานเป็ นตัวหลักสําหรับ Speedlite ซีรส ี่ ์ EX ภายนอกของ
แคนนอนทีม ่ คี ณ ิ ัวรองไร ้สาย ซึง่ จะสามารถสัง่ Speedlite ให ้ยิงแฟลช
ุ สมบัตต
ด ้วยการส่งข ้อมูลผ่านแสง
โปรดตรวจสอบให ้แน่ใจว่าคุณได ้อ่านวิธก ี ารใช ้งานและข ้อควรระวังเกีย ่ วกับการ
ถ่ายภาพโดยใช ้แฟลชแบบไร ้สาย (ด ้วยการส่งข ้อมูลผ่านแสง) ในคูม ื การใช ้งาน
่ อ
Speedlite

การตงค่
ั้ าต ัวรองและการวางตําแหน่ง
สําหรับการใช ้ Speedlite (ตัวรอง) โปรดดูคม ื การใช ้งานและตัง้ ค่าดังนี้ การตัง้
ู่ อ
ค่าทีน
่ อกเหนือจากทีอ่ ยูด ้ ําหรับการควบคุมตัวรองจะตัง้ ค่าด ้วยกล ้อง
่ ้านล่างนีส
Speedlite ตัวรองแบบต่างๆ สามารถใช ้ด ้วยกันและควบคุมด ้วยกันได ้
(1) ตงค่ ั้ า Speedlite ภายนอกเป็นแฟลชต ัวรอง
ั้ าช่องร ับส ัญญาณ Speedlite เป็นช่องเดียวก ับทีต
(2) ตงค่ ่ งค่ ี่ ล้อง*1
ั้ าไว้ทก
(3) สําหร ับการควบคุมอ ัตราส่วนแฟลช (น.187) ให้ตงกลุ ั้ ม ่ แฟลชต ัวรอง
(4) วางกล้องและแฟลชต ัวรองไว้ในระยะทีแ ่ สดงด้านล่าง
(5) ห ันเซนเซอร์ไร้สายของแฟลชต ัวรองไปทางกล้อง*2
ตัวอย่างการวางตําแหน่งแฟลชไร ้สาย

ประมาณ
ในอาคาร 10 เมตร/32.8 ฟุต

นอกอาคาร ประมาณ 7 เมตร/


23.0 ฟุต

ประมาณ 80°

ประมาณ 5 เมตร/ ประมาณ 7 เมตร/


16.4 ฟุต 23.0 ฟุต

179
การใช ้แฟลชแบบไร ้สายK

*1: หาก Speedlite ไม่มฟ ั่ การตัง้ ค่าช่องสัญญาณ ตัวแฟลชจะทํางานไม่วา่ การตัง้ ช่องใน


ี ั งก์ชน
กล ้องจะเป็ นอย่างไร
*2: ในห ้องขนาดเล็ก แฟลชตัวรองอาจทํางานแม ้ว่าเซนเซอร์ไร ้สายจะไม่หน ั ไปทางกล ้อง
สัญญาณไร ้สายของกล ้องสามารถสะท ้อนกับผนั งและส่งไปถึงแฟลชตัวรองได ้ เมือ ่ ใช ้
Speedlite ซีรส ี่ ์ EX กับหน่วยปล่อยแสงคงที่ (หัวแฟลช) และเซนเซอร์ไร ้สาย ให ้ทําการ
ถ่ายภาพเมือ ่ แน่ใจว่าแฟลชจะยิงออกมา

 การยกเลิกการปิ ดสวิตซ์อ ัตโนม ัติของแฟลชต ัวรอง


หากต ้องการยกเลิกการปิ ดสวิตซ์อตั โนมัตขิ องแฟลชตัวรอง ให ้กดปุ่ ม <A>
ของกล ้อง หากคุณใช ้งานแฟลชกําหนดเอง กดปุ่ มทดลองยิงของแฟลชตัวรอง
(PILOT) เพือ
่ ยกเลิกการปิ ดสวิตซ์อตั โนมัต ิ

ั่ หลักของกล ้องจะไม่สามารถใช ้ในการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายด ้วยการ


ฟั งก์ชน
ส่งข ้อมูลผ่านคลืน
่ วิทยุได ้

180
การใช ้แฟลชแบบไร ้สายK

การตงค่ ้ ฟลชไร้สาย
ั้ าถ่ายภาพแบบใชแ
ตารางด ้านล่างนีแ้ สดงการตัง้ ค่าการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีส
่ ามารถทําได ้
เลือกการตัง้ ค่าทีเ่ หมาะสมกับวัตถุ, สภาวะการถ่ายภาพ, จํานวนของ Speedlite
ภายนอกทีค ่ ณุ ใช ้ ฯลฯ

Speedlite ภายนอก การตงค่


ั้ า
แฟลช
อ ัตราส่วน ในต ัว หน้า
จํานวน แฟลช กล้อง ระบบไร้สาย กลุม
่ แฟลช
A:B
เดีย
่ ว - - น.182 0 1 ทุกตัว
เดีย
่ ว - ใช้งาน น.185 0:3 -
หลายอ ัน - - น.184 0 1 ทุกตัว
อ ัตโนม ัติ หลายอ ัน ตงค่
ั้ า - น.187 0 1(A:B)
(E-TTL II
แฟลช 1 ทุกตัวและ
หลายอ ัน - ใช้งาน 0+3
อ ัตโนม ัติ) น.188 2
หลายอ ัน ตงค่
ั้ า ใช้งาน 0+3 1(A:B)2
• ชดเชยระด ับแสงแฟลช
น.189
• ล็อคแฟลช FE

Speedlite ภายนอก การตงค่


ั้ า
แฟลช
อ ัตราส่วน ในต ัว หน้า
จํานวน แฟลช กล้อง ระบบไร้สาย กลุม
่ แฟลช
A:B
เดีย
่ ว/ - - 0 1 ทุกตัว
หลายอ ัน
แฟลช หลายอ ัน ตงค่
ั้ า - 0 1(A:B)
น.190
กําหนดเอง เดีย
่ ว/ 1 ทุกตัวและ
- ใช้งาน 0+3
หลายอ ัน 2
หลายอ ัน ตงค่
ั้ า ใช้งาน 0+3 1(A:B)2

แม้วา่ คุณจะปิ ดใช้งานแฟลชในต ัวกล้องไม่ให้ยงิ แฟลช แต่แฟลชด ังกล่าวจะ


ย ังทํางานเพือ
่ ควบคุมแฟลชต ัวรองด้วยการส่งข้อมูลผ่านแสง ดังนัน ้ แฟลชที่
ถูกยิงออกมาเพือ่ ควบคุมตัวรองอาจปรากฏในภาพได ้ ขึน
้ อยูก
่ บ
ั สภาวะการถ่ายภาพ
181
้ ฟลชไร้สายอย่างง่ายK
การถ่ายภาพแบบใชแ
การใช ้งานพืน ้ ฐานของการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายอัตโนมัตอ
ิ ย่างง่าย
อธิบายไว ้ด ้านล่างนี้

การถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติดว้ ย Speedlite ภายนอกหนึง่ ต ัว


ขนตอนที
ั้ ่ 1 ถึง 4 และ 6 ใช้ได้ก ับการ
ถ่ายภาพแบบใช้แฟลชไร้สายทงหมด ั้
เพราะฉะนน ั้ ให้ละขนตอนเหล่
ั้ านีก ้ ับการ
ตงค่
ั้ าแฟลชแบบไร้สายอืน ่ ทีจ
่ ะอธิบายใน
หน้าหล ังจากนี้

กดปุ่ม <I> เพือ


่ ยกแฟลชในต ัวกล้อง
1  สําหรับการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สาย
ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าได ้ยกแฟลชในตัว
กล ้องขึน
้ แล ้ว

2 เลื
อก [ควบคุมแฟลช]
 ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [ควบคุม
แฟลช] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

3 เลื
อก [ประเมิน]
 สําหรับ [E-TTL II] เลือก [ประเมิน]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

182
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายอย่างง่ายK

4 เลื
อก [ตงค่
ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง]
 เลือก [ตงค่
ั้ าระบบแฟลชในต ัวกล้อง]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

อก [อีซไี่ วร์เลส]
5 เลื
 สําหรับ [แฟลชในต ัวกล้อง] เลือก
[อีซไี่ วร์เลส] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>


6 ตงค่
ั้ า [ช่องสญญาณ]
ตัง้ ค่าช่องสัญญาณ (1-4) ให ้เหมือนกับ
ช่องของแฟลชตัวรอง

7 ถ่ายภาพ
ตัง้ ค่ากล ้องและถ่ายภาพด ้วยวิธเี ดียวกันกับ
การถ่ายภาพปกติ
้ ฟลช
ออกจากการถ่ายภาพแบบใชแ
8 ไร้สาย
 สําหรับ [แฟลชในต ัวกล้อง] เลือก
[ยิงแสงปกติ]

 แนะนํ าให ้ตัง้ ค่า [E-TTL II] เป็ น [ประเมิน]


 แม ้ว่าจะปิ ดไม่ให ้แฟลชในตัวกล ้องยิงแฟลชออกมาเมือ่ ตัง้ ค่าเป็ น [อีซไี่ วร์เลส]
แต่แฟลชดังกล่าวจะยังคงยิงแสงออกมาเล็กน ้อยเพือ ่ ควบคุมแฟลชตัวรอง และ
แฟลชทีถ ่ กู ยิงออกมาเพือ่ ควบคุมตัวรองอาจปรากฏในภาพได ้ โดยขึน ้ อยูก ่ บ

สภาวะการถ่ายภาพ
 ไม่สามารถทําการยิงแฟลชทดสอบกับแฟลชตัวรองได ้

183
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายอย่างง่ายK

การถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติดว้ ย Speedlite ภายนอกหลายต ัว


คุณสามารถยิงแฟลชตัวรองหลายตัวให ้เหมือนกับว่าแฟลชตัวรองเหล่านั น
้ คือ
Speedlite ตัวเดียว ซึง่ จะสะดวกเมือ
่ คุณต ้องการกําลังแฟลชใหญ่
การตงค่ ้ ฐาน:
ั้ าพืน
โหมดทํางานแฟลช : E-TTL II
E-TTL II : ประเมิน
แฟลชในต ัวกล้อง : อีซไี่ วร์เลส
ช่อง : (เหมือนกันกับแฟลชตัวรอง)

แฟลชตัวรองทัง้ หมดจะยิงออกมาทีก ่ ําลัง


แฟลชเดียวกัน และจะถูกควบคุมเพือ ่ ให ้ได ้ค่า
แสงมาตรฐาน
ไม่วา่ แฟลชสํารองจะอยูใ่ นกลุม
่ แฟลชใด
(A, B หรือ C) แฟลชทัง้ หมดจะยิงพร ้อมกัน
เป็ นกลุม
่ เดียวกัน

การชดเชยระด ับแสงแฟลช
หากระดับแสงแฟลชดูมด ื หรือสว่างมากเกินไป คุณสามารถปรับชดเชยระดับแสง
แฟลชเพือ่ ตัง้ ค่ากําลังแฟลชของแฟลชตัวรอง
 เลือก [ชดเชยแสงแฟลช1] จากนัน ้ กด
ปุ่ ม <0>
 หากระดับแสงแฟลชดูมด ื เกินไป กดปุ่ ม
<Z> เพือ ่ เพิม
่ ระดับแสงแฟลชให ้ดูสว่าง
ขึน ้ หากระดับแสงแฟลชดูสว่างเกินไป กด
ปุ่ ม <Y> เพือ ่ ลดระดับแสงแฟลชให ้ดูมด ื
ลง

184
้ ฟลชไร้สายทีก
การถ่ายภาพแบบใชแ ่ าํ หนดเองK

การถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติดว้ ย Speedlite ภายนอกหนึง่ ต ัวและแฟลชในต ัวกล้อง


นีค
่ อื การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สาย
อัตโนมัตด ิ ้วย Speedlite ภายนอกหนึง่ ตัว
และแฟลชในตัวกล ้อง
คุณสามารถเปลีย ่ นอัตราส่วนแฟลชระหว่าง
Speedlite ภายนอกและแฟลชในตัวกล ้อง
เพือ่ ปรับมุมมองแสงเงาบนวัตถุ
บนหน ้าจอเมนู ไอคอน <0> และ <1>
แสดงถึง Speedlite ภายนอก และไอคอน
<3> และ <2> แสดงถึงแฟลชในตัว
กล ้อง

เลือก [ค ัสต์ไวร์เลส]
1  ทําตามขัน้ ตอนที่ 5 ในหน ้า 183 เพือ
่ เลือก
[ค ัสต์ไวร์เลส] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [ระบบไร้สาย]
 สําหรับ [ระบบไร้สาย] เลือก [0:3]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

3 ตจึงงค่
ั้ าอ ัตราส่วนแฟลชทีต
ถ่ายภาพ
่ อ
้ งการแล้ว

 เลือก [0:3] และตัง้ ค่าอัตราส่วน


แฟลชระหว่าง 8:1 ถึง 1:1 ไม่สามารถตัง้
ค่าอัตราส่วนแฟลชไปทางขวาของ 1:1 ได ้
 หากกําลังแฟลชของแฟลชในตัวกล ้องไม่
เพียงพอ ตัง้ ค่าความไวแสงให ้สูงขึน้ (น.122)

อัตราส่วนแฟลช 8:1 ถึง 1:1 จะเทียบเท่ากับ 3:1 ถึง 1:1 สต๊อป (โดยปรับทีละ 1/2 สต๊อป)

185
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีก
่ ําหนดเองK

การถ่ายภาพแบบอ ัตโนม ัติดว้ ย Speedlite ภายนอกหลายต ัว


แฟลชตัวรองทีเ่ ป็ น Speedlite ภายนอกหลายตัว สามารถยิงแฟลชรวมกันเป็ น
หนึง่ หน่วย หรือแยกเป็ นกลุม
่ แฟลชตัวรองสําหรับการถ่ายภาพทีม ่ ก
ี ารควบคุม
อัตราส่วนแฟลช
การตัง้ ค่าพืน
้ ฐานจะแสดงอยูด ่ ้านล่างนี้ ด ้วยการเปลีย
่ นการตัง้ ค่า [กลุม่ แฟลช]
คุณสามารถถ่ายด ้วยการตัง้ ค่าแฟลชไร ้สายหลายแบบกับ Speedlite หลายตัว
การตงค่ ้ ฐาน:
ั้ าพืน
โหมดทํางานแฟลช : E-TTL II
E-TTL II : ประเมิน
ระบบไร้สาย :0
ช่อง : (เหมือนกันกับแฟลชตัวรอง)

[1ทุกต ัว] การยิงแฟลช Speedlite ต ัวรองหลายต ัวรวมก ันเป็นหนึง่ หน่วย


ซึง่ จะสะดวกเมือ่ คุณต ้องการกําลังแฟลชใหญ่
แฟลชตัวรองทัง้ หมดจะยิงออกมาทีก ่ ําลัง
แฟลชเดียวกัน และจะถูกควบคุมเพือ ่ ให ้ได ้ค่า
แสงมาตรฐาน
ไม่วา่ แฟลชสํารองจะอยูใ่ นกลุม่ แฟลชใด
(A, B หรือ C) แฟลชทัง้ หมดจะยิงพร ้อมกัน
เป็ นกลุม
่ เดียวกัน

ตงค่
ั้ า [กลุม
่ แฟลช] เป็น [1ทุกต ัว]
จากนนทํ
ั้ าการถ่ายภาพ

186
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีก
่ ําหนดเองK

[1 (A:B)] การยิงแฟลชต ัวรองหลายต ัวในหลายกลุม


่ แฟลช
คุณสามารถแบ่งแฟลชตัวรองไปอยูใ่ นกลุม ่
แฟลช A หรือ B และเปลีย ่ นอัตราส่วนแฟลช
เพือ
่ ให ้ได ้ลูกเล่นของแสงทีต ่ ้องการ
โปรดดูคม ื การใช ้งาน Speedlite และตัง้ ค่า
ู่ อ
แฟลชสํารองหนึง่ ตัวเข ้าไปในกลุม ่ แฟลช A
และแฟลชสํารองอีกตัวหนึง่ เข ้าไปในกลุม ่
A B แฟลช B ให ้วางตําแหน่ง Speedlite ตามที่
แสดงในภาพประกอบ

เลือก [ระบบไร้สาย]
1  ทําตามขัน
้ ตอนที่ 2 ในหน ้า 185 เพือ
่ เลือก
[0] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>

2 ตงค่
ั้ า [กลุม
่ แฟลช] เป็น [1 (A:B)]

3 ตถ่างค่
ั้ าอ ัตราส่วนแฟลช A:B แล้วจึง
ยภาพ
 เลือก [อ ัตราส่วนกําล ัง A:B] และตัง้ ค่า
อัตราส่วนแฟลช

หากตัง้ ค่า [กลุม


่ แฟลช] เป็ น [1 (A:B)] กลุม
่ C จะไม่ยงิ แฟลชออกมา

อัตราส่วนแฟลช 8:1 ถึง 1:1 ถึง 1:8 จะเทียบเท่ากับ 3:1 ถึง 1:1 ถึง 1:3 สต๊อป
(โดยปรับทีละ 1/2 สต๊อป)

187
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีก
่ ําหนดเองK

การถ่ายภาพแบบอัตโนมัติดว้ ยแฟลชในตัวกล้องและ Speedlite ภายนอกหลายตัว


แฟลชในตัวกล ้องก็สามารถรวมเข ้ากับการถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายได ้ ดัง
คําอธิบายในหน ้า 186-187
การตัง้ ค่าพืน
้ ฐานจะแสดงอยูด่ ้านล่างนี้ ด ้วยการเปลีย
่ น [กลุม
่ แฟลช] คุณ
สามารถถ่ายด ้วยการตัง้ ค่าแฟลชไร ้สายหลายแบบกับ Speedlite หลายตัว เสริม
เข ้ากับแฟลชในตัวกล ้อง
การตงค่ ้ ฐาน:
ั้ าพืน
1 โหมดทํางานแฟลช : E-TTL II
E-TTL II : ประเมิน
ระบบไร้สาย : [0+3]
ช่อง : (เหมือนกันกับแฟลชตัวรอง)

2 เลื
อก [กลุม
 เลือกกลุม
่ แฟลช]
่ แฟลช จากนั น
้ ตัง้ ค่าอัตราส่วน
แฟลช ชดเชยระดับแสงแฟลช และการตัง้
ค่าทีจ
่ ําเป็ นอืน
่ ๆ ก่อนทําการถ่ายภาพ

A B

[1 ทุกต ัวและ 2] [1 (A:B) 2]

188
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีก
่ ําหนดเองK

การชดเชยระด ับแสงแฟลช
เมือ ่ ตัง้ ค่า [โหมดทํางานแฟลช] เป็ น [E-TTL II] จะสามารถตัง้ ค่าการชดเชย
ระดับแสงแฟลชได ้ การตัง้ ค่าการชดเชยระดับแสงแฟลช (ดูด ้านล่าง) ซึง่ สามารถ
ตัง้ ค่าได ้จะแตกต่างกันไปขึน
้ อยูก
่ บ
ั การตัง้ ค่า [ระบบไร้สาย] และ [กลุม
่ แฟลช]
[ชดเชยแสงแฟลช]
 ระดับทีต
่ งั ้ ไว ้ในการชดเชยระดับแสงแฟลช
จะปรับใช ้กับทัง้ แฟลชในตัวกล ้องและ
Speedlite ภายนอกทัง้ หมด
[ชดเชยแสงแฟลช 2]
 การชดเชยระดับแสงแฟลชจะปรับใช ้กับ
แฟลชในตัวกล ้องเท่านัน

[ชดเชยแสงแฟลช 1]
 ระดับทีต
่ งั ้ ไว ้ในการชดเชยระดับแสงแฟลช
จะปรับใช ้กับ Speedlite ภายนอกทัง้ หมด

ล็ อคแฟลช FE
หากตัง้ ค่า [โหมดทํางานแฟลช] เป็ น [E-TTL II] คุณสามารถกดปุ่ ม <A>
เพือ
่ ทําการล็อคแฟลช FE ได ้

189
การถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สายทีก
่ ําหนดเองK

ั้ ากําล ังแฟลชด้วยตนเองสําหร ับการถ่ายภาพแบบใชแ้ ฟลชไร้สาย


การตงค่
เมือ
่ ตัง้ ค่า [โหมดทํางานแฟลช] เป็ น [แฟลชกําหนดเอง] จะสามารถตัง้ ค่า
ชดเชยแสงแฟลชด ้วยตัวเองได ้ การตัง้ ค่ากําลังแฟลชทีส
่ ามารถตัง้ ค่าได ้
([กําล ังแสงแฟลช1], [กําล ังแสงกลุม ่ A] ฯลฯ) จะแตกต่างกันไปขึน ้ อยูก
่ บ

การตัง้ ค่า [ระบบไร้สาย] (ดูด ้านล่าง)
[ระบบไร้สาย0]
 [กลุม
่ แฟลช: 1ทุกต ัว]:
การตัง้ ค่าแฟลชกําหนดเองจะปรับใช ้กับ
Speedlite ภายนอกทัง้ หมด
 [กลุม่ แฟลช: 1 (A:B)]:
คุณสามารถตัง้ ค่ากําลังแฟลชแยกกันได ้
สําหรับแฟลชตัวรองกลุม ่ A และ B
[ระบบไร้สาย0+3]
 [กลุม
่ แฟลช: 1ทุกต ัวและ2]:
สามารถตัง้ ค่ากําลังแฟลชแยกกันได ้สําหรับ
Speedlite ภายนอกและแฟลชในตัวกล ้อง
 [กลุม่ แฟลช: 1 (A:B)2]:
คุณสามารถตัง้ ค่ากําลังแฟลชแยกกันได ้
สําหรับแฟลชตัวรองกลุม ่ A และ B และ
คุณยังสามารถตัง้ ค่ากําลังแฟลชสําหรับ
แฟลชในตัวกล ้องได ้อีกด ้วย

190
การถ่ายภาพโดยใชจ้ อ LCD
7
(การถ่ายภาพแบบ Live View)
คุณสามารถถ่ายภาพในขณะทีม ่ องภาพผ่านจอ LCD ของกล ้อง
ได ้ ซึง่ เรียกว่า “การถ่ายภาพแบบ Live View”
 หากคุณถือกล ้องด ้วยมือและถ่ายภาพในขณะทีม ่ องผ่านจอ LCD
่ ของกล ้องอาจจะทําให ้ภาพเบลอ แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง
การสัน

การถ่ายภาพแบบ Live View จากระยะไกล


ด ้วยการติดตัง้ ซอฟต์แวร์ EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402) บน
คอมพิวเตอร์ คุณสามารถเชือ ่ มต่อกล ้องกับคอมพิวเตอร์และถ่ายภาพโดย
การควบคุมจากระยะไกลในขณะทีม ่ องผ่านหน ้าจอคอมพิวเตอร์ สําหรับ
รายละเอียด โปรดดูคม ื การใช ้งาน EOS Utility (น.404)
ู่ อ
191
้ อ LCD
A การถ่ายภาพโดยใชจ
แสดงภาพแบบ Live View
1  กดปุ่ ม <A>
 ภาพแบบ Live View จะปรากฏบนจอ LCD
ในโหมด <A> ไอคอนแสดงฉากสําหรับ
ฉากทีก ่ ้านซ ้าย
่ ล ้องตรวจพบจะแสดงอยูด
บนของหน ้าจอ (น.196)
 ตามค่าเริม
่ ต ้น AF ต่อเนือ
่ ง (น.204) จะทํางาน
 ภาพแบบ Live View จะแสดงให ้เห็นระดับความสว่างทีใ่ กล ้เคียงกับภาพที่
คุณจะถ่ายจริง

2 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 เมือ่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ กล ้องจะ
โฟกัสด ้วยวิธโี ฟกัสอัตโนมัตป
ิ ั จจุบน
ั ทีต
่ งั ้ ไว ้
(น.206)

3 ถ่ายภาพ
กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด
 กล ้องจะถ่ายภาพนั น ้ และภาพทีถ ่ า่ ยจะ
แสดงบนจอ LCD
 เมือ ้ สุดการแสดงภาพ กล ้องจะกลับสู่
่ สิน
การถ่ายภาพแบบ Live View อีกครัง้ โดย
อัตโนมัต ิ
 กดปุ่ ม <A> เพือ
่ ออกจากการถ่ายภาพแบบ Live View

 ระยะมองเห็นของภาพอยูท ่ ป
ี่ ระมาณ 100% (เมือ ่ ตัง้ ค่าคุณภาพในการบันทึกภาพ
เป็ น JPEG 73)
 ในระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View pictures จะถ่ายภาพโดยใช ้ AF ครัง้ เดียว
(น.101) สําหรับทุกโหมดการถ่ายภาพ
 ในโหมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์ คุณสามารถเช็คระยะชัดลึกได ้ โดยการกดปุ่ มเช็ค
ระยะชัดลึก
 ขณะถ่ายภาพต่อเนือ ่ งั ้ ไว ้สําหรับภาพแรกทีถ
่ ง การเปิ ดรับแสงทีต ่ า่ ยจะถูกปรับ
ใช ้กับภาพต่อๆ ไปเช่นกัน
 คุณยังสามารถแตะวัตถุบนจอ LCD เพือ ่ โฟกัส (น.206-213) และถ่ายภาพ
(น.214)
 คุณยังสามารถใช ้ตัวควบคุมรีโมท (แยกจําหน่าย, น.350) สําหรับการถ่ายภาพแบบ
Live View

192
A การถ่ายภาพโดยใช ้จอ LCD

้ ารถ่ายภาพแบบ Live View


การเปิ ดใชก
ตัง้ ค่า [A: ถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW]
เป็ น [ใช้งาน]

จํานวนของภาพทีถ่ า่ ยได้โดยใช้การถ่ายภาพแบบ Live View (จํานวนภาพโดยประมาณ)


อุณหภูมหิ อ
้ ง อุณหภูมติ า
ํ่
อุณหภูม ิ
(23°C / 73°F) (0°C / 32°F)
ไม่ใช ้แฟลช 200 170
ใช ้แฟลช 50% 180 150
 จํานวนทีไ่ ด ้นี้องิ จากการทดสอบด ้วยแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ทีช่ าร์จไฟจนเต็ม
และตรงตามมาตรฐานของ CIPA (Camera & Imaging Products Association)
 ด ้วยแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ทีช
่ าร์จไฟจนเต็ม การถ่ายภาพแบบ Live View อย่างต่อ
เนื่องสามารถทําได ้ประมาณ 1 ชัว่ โมง 30 นาที ทีอ ่ ณ
ุ หภูมห
ิ ้อง (23°C / 73°F)

 ในโหมด <x> ไม่สามารถถ่ายภาพแบบ Live View ได ้


 ในโหมด <F> และ <G> ขอบเขตการถ่ายภาพจะเล็กลง
 ในขณะทีแ ่ ฟลชกําลังเตรียมทํางาน “BUSY” จะแสดงบนจอ LCD และคุณไม่
สามารถดูวัตถุได ้
 อย่าหันกล ้องชีไ้ ปทางแหล่งแสงทีส ่ ว่างจ ้า เช่น ดวงอาทิตย์ หรือแสงจ ้าทีเ่ กิดจาก
ฝี มอ
ื มนุษย์ การกระทําเช่นนีอ
้ าจทําให ้เซนเซอร์ภาพหรือส่วนประกอบภายในของ
กล ้องเสียหายได ้
 ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพแบบ Live View อยูใ่ นหน้า 218-219

 เมือ่ ใช ้แฟลช จะมีเสียงชัตเตอร์ดงั ขึน ้ สองครัง้ แต่กล ้องจะถ่ายภาพเพียงหนึง่ ภาพ


เท่านั น ้ และเวลาในการถ่ายภาพหลังจากกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดจะนานกว่าการ
ถ่ายภาพโดยใช ้ช่องมองภาพเล็กน ้อย
 หากไม่ใช ้งานกล ้องเป็ นระยะเวลานาน กล ้องจะปิ ดลงโดยอัตโนมัตห ิ ลังจากเวลา
ทีต่ งั ้ ไว ้ใน [52: ปิ ดสวิตซ์อ ัตโนม ัติ] (น.257) หากตัง้ ค่า [52: ปิ ดสวิตซ์
อ ัตโนม ัติ] เป็ น [ไม่ใช้งาน] การถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW จะสิน ้ สุดลงโดยอัตโนมัต ิ
เมือ ่ ครบ 30 นาที (กล ้องยังคงเปิ ดอยู)่
 คุณสามารถใช ้สาย HDMI รุน ่ HTC-100 (แยกจําหน่าย) หรือสาย AV แบบ
สเตอริโอ รุน ่ AVC-DC400ST (แยกจําหน่าย) เพือ ่ แสดงภาพแบบ Live View บน
เครือ ่ งรับโทรทัศน์ได ้ (น.298, 301)
193
A การถ่ายภาพโดยใช ้จอ LCD

การแสดงข้อมูล
 แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <B> การแสดงข ้อมูลจะเปลีย
่ นไป
ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่ จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ (FlexiZone - Single)
จํานวนภาพต่อเนือ
่ งสูงสุด* ฮิสโตแกรม

จํานวนภาพทีถ
่ า่ ยได ้ ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ
โหมดการถ่ายภาพ
การควบคุมทันใจ
วิธโี ฟกัสอัตโนฯ
สมดุลแสงขาว/
ปรับแก ้สมดุลแสง
โหมดขับเคลือ
่ น ขาว
โหมดวัดแสง รูปแบบภาพ
คุณภาพในการ
ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์
บันทึกภาพ
สถานะการส่ง
สัญญาณการ์ด
ปรับเป็ นเลือก Eye-Fi
อัตโนมัต ิ จําลองระดับแสง
(จุด AF)
ชัตเตอร์แบบแตะ
ดูภาพแบบขยาย
ล็อค AE
AEB/FEB/ลดจุดรบกวน
แฟลชพร ้อมทํางาน/ปิ ดแฟลช ถ่ายหลายภาพ

ความเร็วชัตเตอร์ ความไวแสง ISO

ชดเชยระดับแสงแฟลช เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง

่ มต่อ GPS
ตัวแสดงการเชือ
ค่ารูรับแสง

เข็มทิศดิจต
ิ อล

ตัวแสดงระดับค่าแสง/ช่วงการถ่ายภาพคร่อม

* ตัวเลขจะแสดงขึน
้ เมือ
่ จํานวนภาพต่อเนือ
่ งสูงสุดลดลงเป็ นเก ้าหรือตํา่ กว่า

194
A การถ่ายภาพโดยใช ้จอ LCD

 คุณสามารถแสดงฮิสโตแกรมได ้โดยการกดปุ่ ม <B> อย่างไรก็ตาม


ฮิสโตแกรมจะไม่แสดงขึน ้ ในระหว่างกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด
 เมือ
่ <g> แสดงเป็ นสีขาว บ่งบอกว่าความสว่างของภาพแบบ Live View ใกล ้
เคียงกับลักษณะของภาพจริงทีถ ่ ่าย
 หาก <g> กะพริบ บ่งบอกว่าภาพแบบ Live View แสดงความสว่างทีแ ่ ตกต่าง
จากผลการถ่ายภาพจริง อันเนือ ่ งมาจากสภาวะแสงน ้อยหรือแสงจ ้า อย่างไรก็ตาม
ภาพจริงทีบ่ ันทึกจะเป็ นไปตามการตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสง โปรดทราบว่าน๊อยส์อาจ
ปรากฏให ้เห็นชัดขึน ้ กว่าภาพจริงทีบ ่ น
ั ทึก
 หากใช ้งานโหมดถ่ายภาพ <F> หรือ <G> ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ แฟลช
หรือเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์อยู่ ไอคอน <g> และฮิสโตแกรมจะจางเป็ นสี
เทา (สําหรับการอ ้างอิง) ฮิสโตแกรมอาจไม่แสดงอย่างสมบูรณ์ในสภาวะแสงน ้อย
หรือแสงจ ้า

อย่าจ ับกล้องตรงตําแหน่งเดิมเป็นระยะเวลานาน ถึงแม ้ว่ากล ้องจะไม่ร ้อนมาก


การสัมผัสกับตัวกล ้องส่วนเดิมเป็ นเวลานาน อาจทําให ้ผิวหนังมีผน ื่ แดง เป็ นเม็ดพุพอง
หรือเป็ นรอยแผลไหม ้ แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง สําหรับบุคคลทีม ่ ป ี ั ญหาระบบไหล
เวียนโลหิตหรือผิวหนั งทีแ
่ พ ้ง่าย หรือเมือ่ ใช ้กล ้องในสถานทีท
่ รี่ ้อนมากๆ

195
A การถ่ายภาพโดยใช ้จอ LCD

ไอคอนแสดงฉาก
ในโหมดถ่ายภาพ <A> กล ้องจะตรวจจับประเภทของฉากและตัง้ ค่าทุกอย่าง
โดยอัตโนมัตเิ พือ
่ ให ้เหมาะสมกับฉาก ประเภทของฉากทีต
่ รวจจับได ้จะแสดงที่
ด ้านซ ้ายบนของหน ้าจอ สําหรับบางฉากหรือบางสภาวะการถ่ายภาพ ไอคอนที่
แสดงอาจไม่ตรงกับฉากทีแ ่ ท ้จริง

ว ัตถุ ภาพบุคคล*1 ไม่ใช่ภาพบุคคล


ฉากธรรมชาติ สีฉากหล ัง
เคลือ่ นไหว ่ นไหว ใกล้*2
เคลือ
ฉากหล ัง และกลางแจ้ง

สว่าง
สีเทา
ย้อนแสง

ท้องฟ้า
สีฟ้าอ่อน
ย้อนแสง

อาทิตย์ตก *3 *3 สีส ้ม

สปอตไลท์

ทีม
่ ด
ื สีนํ้าเงินเข ้ม
ใช้ขาตงั้ *4*5 *3 *4*5 *3
กล้อง
*1: จะแสดงขึน ้ เมือ ่ ตัง้ ค่าวิธโี ฟกัสอัตโนมัตเิ ป็ น [u+การติดตาม] หากตัง้ ค่าวิธโี ฟกัส
อัตโนมัตอ
ิ น ื่ ไอคอน “ไม่ใช่ภาพบุคคล” จะแสดงขึน ้ แม ้ว่าจะตรวจพบบุคคลก็ตาม
*2: จะแสดงขึน ้ เมือ ่ เลนส์ทต ี่ ดิ อยูม ี ้อมูลระยะทาง หากใช ้ท่อต่อเสริมหรือเลนส์ระยะใกล ้
่ ข
ไอคอนทีแ ่ สดงอาจไม่ตรงกับฉากทีแ ่ ท ้จริง
*3: ไอคอนทีเ่ หมาะกับฉากทีต ่ รวจพบจะแสดงขึน ้
*4: จะแสดงขึน ้ เมือ ่ อยูใ่ นสภาวะทัง้ หมดต่อไปนี:้
ฉากถ่ายภาพมืด ฉากกลางคืน และกล ้องติดอยูก ่ บ
ั ขาตัง้ กล ้อง

196
A การถ่ายภาพโดยใช ้จอ LCD

*5: จะแสดงขึน ้ หากใช ้เลนส์เหล่านี:้


• EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS II • EF-S55-250mm f/4-5.6 IS II
• EF300mm f/2.8L IS II USM • EF400mm f/2.8L IS II USM
• เลนส์ทม
ี่ รี ะบบลดภาพสัน ่ ทีอ ่ ลาดในปี 2012 หรือหลังจากนัน
่ อกสูต ้
*4+*5: หากสภาวะในทัง้ ข ้อ *4 และ *5 เกิดขึน ้ ร่วมกัน ความเร็วชัตเตอร์จะลดลง

การจําลองภาพผลล ัพธ์
การจําลองภาพผลลัพธ์จะแสดงการตัง้ ค่าของรูปแบบภาพ สมดุลแสงขาว และ
ฟั งก์ชน ั่ อืน
่ ๆ ในภาพแบบ Live View เพือ
่ ให ้คุณสามารถดูลักษณะของภาพจริง
ทีถ่ า่ ยได ้
ขณะถ่ายภาพ ภาพแบบ Live View จะแสดงตามการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ต่อไปนีโ้ ดย
อัตโนมัต ิ
การจําลองภาพผลล ัพธ์ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View
 รูปแบบภาพ
* จะแสดงการตัง้ ค่าทัง้ หมด เช่น ความคมชัด ความเปรียบต่าง ความอิม ่ ตัวของสี
และโทนสี
 สมดุลแสงขาว
 ปรับแก ้สมดุลแสงขาว
 ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ
 เบลอฉากหลัง (ในโหมด <C>)
* คุณสามารถตรวจสอบลูกเล่นได ้ระหว่างขัน ้ ตอนการตัง้ ค่าเท่านัน
้ (ขณะ
[จําลองการเบลอ] แสดงอยู)่
 โทนสี
 โหมดวัดแสง
 ระดับแสง
 ความชัดลึก (ตัง้ ค่าปุ่ มเช็คระยะชัดลึก เปิ ด)
 ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ
 แก ้ไขขอบภาพมืด
 แก ้ไขความคลาดสี
 เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง
 อัตราส่วนภาพ (ยืนยันขอบเขตการถ่ายภาพ)

197
การตงค่ ่ ั ในการถ่ายภาพ
ั้ าฟังก์ชน
ั่ พิเศษเพือ
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ่ การถ่ายภาพแบบ Live View จะอธิบายดังต่อไปนี้

Q การควบคุมท ันใจ
หากคุณกดปุ่ ม <Q> ขณะทีแ ่ สดงภาพในโหมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์บนจอ LCD
คุณสามารถตัง้ ค่าใดๆ ต่อไปนี:้ วิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ, โหมดข ับเคลือ่ น, โหมดวัด
แสง, คุณภาพในการบ ันทึกภาพ, สมดุลแสงขาว, รูปแบบภาพ, ปรับแสง
เหมาะสมอัตโนมัต ิ และ ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์
ในโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน คุณสามารถตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ทีแ
่ สดงในตารางได ้ในหน ้า 89
(ยกเว ้นเบลอฉากหลัง) และฟั งก์ชน ั่ ทีเ่ ป็ นตัวหนาทางด ้านบน
กดปุ่ม <Q> (7)
1 ั่ ทีส
 ฟั งก์ชน ่ ามารถตัง้ ค่าได ้จะแสดงขึน

่ ั และตงค่
2 เลื
อกฟังก์ชน ั้ า
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ั่
่ เลือกฟั งก์ชน
ั่ และคําแนะนํ า
 การตัง้ ค่าของฟั งก์ชน
คุณสมบัต ิ (น.64) จะปรากฏขึน ้
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ั่
่ ตัง้ ค่าฟั งก์ชน
 ในโหมด <8> เลือกกล่องโหมดถ่าย
ภาพทางด ้านซ ้ายบนของหน ้าจอ จากนั น ้
กดปุ่ ม <0> เพือ ่ เลือกโหมดถ่ายภาพ
 ในการปรับการตัง้ ค่า <q> ของโหมด
ขับเคลือ่ น แก ้ไขสมดุลแสงขาว/ถ่ายภาพ
คร่อมสมดุลแสงขาว พารามิเตอร์รป ู แบบ
ภาพ หรือลูกเล่นฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ ให ้กด
ปุ่ ม<B>

198
ั่ ในการถ่ายภาพ
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

3 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <0> เพือ
่ ยืนยันการตัง้ ค่าและ
่ น ้าจอการถ่ายภาพแบบ Live View
กลับสูห
 คุณยังสามารถเลือก [2] เพือ ่ าร
่ กลับสูก
ถ่ายภาพแบบ Live View

 ในโหมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์ คุณสามารถตัง้ ค่าความไวแสงได ้โดยการกดปุ่ ม


<g>
 ด ้วยการถ่ายภาพแบบ Live View คุณไม่สามารถตัง้ ค่า <B> หรือ <M>
สําหรับโหมดขับเคลือ ่ นได ้
 เมือ่ คุณตัง้ ค่า w (วัดแสงบางส่วน) หรือ r (วัดแสงแบบจุด) วงกลมแสดงพืน
้ ที่
วัดแสงจะแสดงขึน ้ ทีก
่ งึ่ กลางหน ้าจอ

199
้ ิ ลเตอร์สร้างสรรค์
U การใชฟ
ขณะทีด ่ ภู าพแบบ Live View คุณสามารถใช ้ลูกเล่นฟิ ลเตอร์ (ภาพหยาบ ขาว/ดํา
ซอฟต์โฟกัส เอฟเฟคเลนส์ตาปลา ลูกเล่นศิลปะคมเข ้ม ลูกเล่นภาพสีนํ้า ลูกเล่น
กล ้องของเล่น หรือเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม) สําหรับการถ่ายภาพได ้ ซึง่ เรียกฟิ ลเตอร์
เหล่านีว้ า่ ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์
่ คุณถ่ายภาพ กล ้องจะบันทึกเฉพาะภาพทีใ่ ช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ หากคุณต ้อง
เมือ
การทีจ ่ ะบันทึกภาพทีไ่ ม่มก ี ารใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ด ้วย ให ้คุณถ่ายภาพโดยไม่ใช ้
ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ จากนั น ้ จึงปรับใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ แล ้วบันทึกภาพนัน
้ เป็ น
ภาพใหม่อก ี ภาพหนึง่ (น.312)

1 ต<x>
งค่
ั้ าโหมดถ่ายภาพใดๆ ยกเว้น
<F> หรือ <G>

2 กดปุ ่ ม <Q> (7)


 หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน ้

3 เลื อก [q]
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือก [q]
(ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์) ทางด ้านขวาของ
หน ้าจอ

4 เลื
อกฟิ ลเตอร์
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกฟิ ลเตอร์
(น.202)
 ภาพจะแสดงขึน
้ ด ้วยลูกเล่นของฟิ ลเตอร์ท ี่
ใช ้

200
U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์

5 ปร ับลูกเล่นฟิ ลเตอร์
 กดปุ่ ม <B> (ยกเว ้นสําหรับเอฟเฟค
กล ้องรูเข็ม)
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ ปรับลูกเล่น
ฟิ ลเตอร์ จากนั น้ กดปุ่ ม <0>
 สําหรับเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม ให ้กดปุ่ ม
<0> จากนัน ้ จึงกดปุ่ ม <W> <X>
เพือ่ เลือ
่ นกรอบสีขาวไปยังตําแหน่งทีค ่ ณ

ต ้องการให ้ภาพดูคมชัด

6 ถ่ายภาพ
ภาพจะถูกถ่ายโดยใช ้ฟิ ลเตอร์นี้

แม ้ว่าคุณตัง้ ค่าโหมดขับเคลือ
่ นเป็ น <i> หรือ <q> กล ้องจะยังคงถ่ายภาพด ้วย
โหมดถ่ายภาพเดีย ่ ว

 คุณไม่สามารถถ่ายภาพด ้วยฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ หากคุณภาพในการบันทึกเป็ น


1+73 หรือ 1 หรือหาก AEB ถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว หรือลดจุด
รบกวนถ่ายหลายภาพถูกตัง้ ค่าอยู่
 ฮิสโตแกรมจะไม่แสดงขึน ่ คุณถ่ายภาพโดยใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์
้ เมือ
 ในการใช ้ฟิ ลเตอร์ภาพหยาบ ขาว/ดํา ลูกเล่นภาพหยาบทีแ ่ สดงบนจอ LCD จะ
แตกต่างจากลูกเล่นภาพหยาบทีบ ่ ันทึกในภาพ
 ในการใช ้ฟิ ลเตอร์ซอฟต์โฟกัสและเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม ลูกเล่นความเบลอทีแ ่ สดง
บนจอ LCD จะแตกต่างจากลูกเล่นความเบลอทีบ ่ น
ั ทึกในภาพ ในโหมดถ่ายภาพ
สร ้างสรรค์ คุณสามารถตรวจสอบลูกเล่นความเบลอของภาพได ้โดยการกดปุ่ มเช็ค
ระยะชัดลึก
 เก็บข ้อมูลลบภาพฝุ่ น (น.272) จะไม่ถูกผนวกลงในภาพทีถ ่ า่ ยโดยใช ้เอฟเฟค
เลนส์ตาปลา

201
U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์

ล ักษณะของฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์
 V ภาพหยาบ ขาว/ดํา
สร ้างภาพหยาบสีขาวดํา คุณสามารถเปลีย
่ นแปลงเอฟเฟคสีขาวดําโดยปรับ
ความเปรียบต่าง
 W ซอฟต์โฟก ัส
ให ้ภาพดูนุ่มนวล คุณสามารถเปลีย
่ นแปลงระดับความนุ่มนวลโดยปรับความ
เบลอ
 X เอฟเฟคเลนส์ตาปลา
ให ้เอฟเฟคของเลนส์ตาปลา ภาพจะได ้รับการบิดเบือนทรงกระบอก
บริเวณทีถ่ กู ตัดแต่งไปตามขอบของภาพจะเปลีย ่ นไปโดยขึน ้ อยูก ่ บ
ั ระดับของ
เอฟเฟคฟิ ลเตอร์นี้ และเนือ
่ งจากฟิ ลเตอร์นจ ี้ ะขยายส่วนกลางของภาพ ความ
ละเอียดทีบ ่ ริเวณกลางภาพอาจลดลง โดยขึน ้ อยูก ั จํานวนพิกเซลทีใ่ ช ้บันทึก
่ บ
ภาพ โปรดตรวจสอบภาพบนหน ้าจอขณะทีต ่ งั ้ ค่าฟิ ลเตอร์นี้ วิธโี ฟกัสอัตโนมัต ิ
จะเป็ น FlexiZone - Single (คงไว ้ทีก
่ งึ่ กลาง)
 Y ลูกเล่นศิลปะคมเข้ม
ทําให ้ภาพดูเหมือนภาพวาดสีนํ้ามันและวัตถุดเู ป็ นสามมิตม ิ ากขึน้ คุณสามารถ
ปรับความเปรียบต่างและความอิม ่ ตัวของสีได ้ โปรดทราบว่าท ้องฟ้ า ผนังสี
ขาว และวัตถุทคี่ ล ้ายคลึงกันนี้ อาจไม่ประมวลผลด ้วยระดับสีทเี่ รียบเนียน
และอาจดูไม่ปกติหรือมีน๊อยส์ทเี่ ห็นได ้ชัด
 Z ลูกเล่นภาพสีนํา้
ทําให ้ภาพถ่ายดูเหมือนภาพวาดสีนํ้าทีม่ ส ี น
ี ส ั นุ่มนวล คุณสามารถควบคุม
ความทึบของสีได ้โดยการปรับลูกเล่นฟิ ลเตอร์ โปรดทราบว่าฉากกลางคืน
อาจไม่ประมวลผลด ้วยระดับสีทเี่ รียบเนียน และอาจดูไม่ปกติหรือมีน๊อยส์
ทีเ่ ห็นได ้ชัด

202
U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์

 bลูกเล่นกล้องของเล่น
ทําให ้มุมภาพมืดและปรับใช ้โทนสีทท
ี่ ําให ้ภาพดูเหมือนกับภาพทีถ ่ า่ ยด ้วย
กล ้องของเล่น คุณสามารถเปลีย ่ นแปลงสีเพีย ้ นได ้โดยการปรับโทนสี
 c เอฟเฟคกล้องรูเข็ ม
สร ้างเอฟเฟคฉากจําลอง คุณสามารถเปลีย ่ นบริเวณทีภ
่ าพดูคมชัด ในขัน ้ ตอน
ที่ 5 ในหน ้า 201 หากคุณกดปุ่ ม <u> (หรือแตะที่ [T] ทางด ้านขวาล่างของ
หน ้าจอ) คุณสามารถสลับไปมาระหว่างทิศทางกรอบสีขาวแนวตัง้ และแนวนอน
วิธโี ฟกัสอัตโนมัตจิ ะเป็ น FlexiZone - Single เพือ
่ โฟกัสทีก
่ งึ่ กลางของกรอบ
สีขาว

203
3 การตงค่ ่ ั ของเมนู
ั้ าฟังก์ชน
ตัวเลือกเมนูทแ ี่ สดงมีดังต่อไปนี้
ฟังก์ชน ่ ั ทีส
่ ามารถตงค่ั้ าได้บนหน้าจอเมนู
้ ร ับใช้เฉพาะการถ่ายภาพแบบ Live
นีป
View จะไม่ทํางานก ับการถ่ายภาพโดย
ใช้ชอ ่ งมองภาพ (ไม่สามารถตงค่ ั้ าได้)

 ถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW


คุณสามารถตัง้ ค่าการถ่ายภาพแบบ Live View เป็ น [ใช้งาน] หรือ [ไม่ใช้
งาน]
 วิธโี ฟก ัสอ ัตโนฯ
คุณสามารถเลือก [u+การติดตาม], [FlexiZone - Multi] หรือ
[FlexiZone - Single] โปรดดูหน ้า 206-213 สําหรับข ้อมูลเพิม
่ เติม
เกีย
่ วกับวิธโี ฟกัสอัตโนมัต ิ
 AF ต่อเนือ ่ ง
การตัง้ ค่าเริม่ ต ้นคือ [ใช้งาน]
กล ้องจะโฟกัสวัตถุอย่างต่อเนือ ่ งเพือ
่ ให ้ได ้การโฟกัสแบบหยาบ หากคุณกด
ปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จะทําให ้การโฟกัสรวดเร็วขึน ้ หากตัง้ ค่า [ใช้งาน]
เลนส์จะทํางานทันทีและใช ้พลังแบตเตอรีม ่ ากขึน ้ จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้จะลด
ลงไปด ้วย เนือ ่ งจากอายุการใช ้งานแบตเตอรีส ั ้ ลง
่ น
หากคุณต ้องการปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์เป็ น <MF> ระหว่าง
AF ต่อเนือ ่ ง ให ้หยุดการถ่ายภาพแบบ Live View ก่อน
 ช ัตเตอร์แบบแตะ
เพียงแค่แตะหน ้าจอ LCD คุณก็สามารถโฟกัสและถ่ายภาพได ้โดยอัตโนมัต ิ
สําหรับรายละเอียด โปรดดูหน ้า 214
 แสดงตาราง
คุณสามารถแสดงเส ้นตารางด ้วย [ตาราง 1l] หรือ [ตาราง 2m] คุณ
สามารถตรวจสอบความเอียงในแนวนอนหรือแนวตัง้ ได ้เมือ
่ ถ่ายภาพ

204
ั่ ของเมนู
3 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

 ระยะเวลาว ัดแสงK
คุณสามารถเปลีย
่ นระยะเวลาแสดงการตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงได ้ (เวลาล็อค AE)
ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน ระยะเวลาวัดแสงถูกจํากัดที่ 8 วินาที

การเลือกใช ้การทํางานใดๆ ต่อไปนีจ


้ ะหยุดการถ่ายภาพแบบ Live View ให ้กดปุ่ ม
<A> เพือ ่ เริม
่ การถ่ายภาพแบบ Live View อีกครัง้
• [z3: เก็บข้อมูลลบภาพฝุ่น], [53: ทําความสะอาดเซนเซอร์], [54: ลบการ
ตงค่
ั้ า] หรือ [54: z โปร.คุมระบบรุน ่ ]

205
การใชโ้ ฟก ัสอ ัตโนม ัติเพือ่ โฟก ัส (วิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ)
การเลือกวิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ
คุณสามารถเลือกวิธโี ฟกัสอัตโนมัตเิ พือ ่ ให ้เหมาะกับสภาวะการถ่ายภาพและวัตถุ
ทีค
่ ณ
ุ ต ้องการถ่ายภาพ วิธโี ฟกัสอัตโนมัตต ิ อ
่ ไปนีม
้ ใี ห ้มากับกล ้อง:
[u(ใบหน้า)+การติดตาม], [FlexiZone - Multi] (น.208) และ
[FlexiZone - Single] (น.210)
หากคุณต ้องการได ้โฟกัสทีแ ่ ม่นยํา ให ้ปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่
<MF> ขยายภาพ แล ้วโฟกัสด ้วยตนเอง (น.216)

เลือกวิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ


 ภายใต ้แท็บ [A] เลือก [วิธโี ฟก ัส
อ ัตโนฯ]
 เลือกวิธโี ฟกัสอัตโนมัตทิ ต
ี่ ้องการ จากนั น ้
กดปุ่ ม <0>
 ขณะแสดงภาพแบบ Live View คุณยัง
สามารถกดปุ่ ม <Q> เพือ ่ เลือกวิธโี ฟกัส
อัตโนมัตบ ิ นหน ้าจอควบคุมทันใจได ้เช่น
กัน (น.198)

u(ใบหน้า)+การติดตาม:c
กล ้องจะตรวจจับและโฟกัสบนใบหน ้าบุคคล หากใบหน ้ามีการขยับ จุดโฟกัส
อัตโนมัต ิ <p> จะเคลือ
่ นทีเ่ พือ
่ ติดตามใบหน ้านัน
้ ไป

แสดงภาพแบบ Live View


1  กดปุ่ ม <A>
 ภาพแบบ Live View จะปรากฏบนจอ LCD

2 เลื
อกจุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
 เมือ
่ ตรวจพบใบหน ้า จุด AF <p> จะ
ปรากฏขึน ้ บริเวณใบหน ้าทีโ่ ฟกัส
 หากตรวจพบหลายใบหน ้า <e> จะ
แสดงขึน ้ ให ้ใช ้ปุ่ ม <Y> <Z> เพือ

เลือ่ นกรอบ <e> ไปบริเวณใบหน ้าทีค ่ ณ

ต ้องการโฟกัส

206
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

 คุณยังสามารถแตะหน ้าจอ LCD เพือ ่ เลือก


ใบหน ้าหรือวัตถุ หากวัตถุนัน้ ไม่ใช่ใบหน ้า
<z> จะแสดงขึน ้
 หากไม่สามารถตรวจพบใบหน ้า หรือหาก
คุณแตะทีจ ่ อ LCD แต่ไม่ได ้เลือกใบหน ้า
หรือวัตถุใดๆ กล ้องจะเปลีย่ นวิธโี ฟกัสเป็ น
[FlexiZone - Multi] ซึง่ จะทําการเลือก
อัตโนมัต ิ (น.208)

3 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ
่ โฟกัส
 เมือ
่ จับโฟกัสได ้แล ้ว จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะ
เปลีย่ นเป็ นสีเขียวและมีเสียงเตือนดังขึน

 หากไม่สามารถโฟกัสได ้ จุดโฟกัส
อัตโนมัตจ ิ ะเปลีย่ นเป็ นสีส ้ม

4 ถ่ายภาพ
ตรวจสอบโฟกัสและค่าแสง จากนั น
้ กดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ (น.192)

 หากใบหน ้าไม่อยูใ่ นโฟกัส จะไม่สามารถตรวจจับใบหน ้าได ้ ในกรณีนี้ ให ้ปรับ


สวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่ <MF> และโฟกัสด ้วยตนเอง
 วัตถุอน
ื่ นอกเหนือจากใบหน ้าบุคคลอาจถูกตรวจพบเป็ นใบหน ้าได ้
 การตรวจจับใบหน ้าจะไม่ทํางานหากใบหน ้าในภาพมีขนาดเล็กมากหรือใหญ่มาก
สว่างหรือมืดเกินไป หรือถูกซ่อนเป็ นบางส่วน
 <p> อาจครอบคลุมเพียงบางส่วนของใบหน ้า

207
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

 เมือ่ คุณกดปุ่ ม <0> หรือ <L> จุด AF <z> จะปรากฏขึน ้ ทีก


่ งึ่ กลาง และคุณ
สามารถใช ้ปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ ่ เลือ
่ นจุด AF ได ้
 เนื่องจากไม่สามารถใช ้การโฟกัสอัตโนมัตก ิ บ
ั ใบหน ้าทีต
่ รวจพบใกล ้ๆ ขอบภาพ
<p> จะจางเป็ นสีเทา หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ วัตถุจะถูกโฟกัสด ้วยวิธ ี
FlexiZone - Multi ทีม ่ ก
ี ารเลือกอัตโนมัต ิ

FlexiZone - Multi:o
คุณสามารถใช ้จุดโฟกัสได ้ถึง 49 จุด สําหรับการโฟกัสพืน
้ ทีก
่ ว ้าง (เลือกอัตโนมัต)ิ
พืน
้ ทีก
่ ว ้างนีย
้ ังสามารถแบ่งออกเป็ น 9 โซนสําหรับการโฟกัส (เลือกโซน)

แสดงภาพแบบ Live View


1  กดปุ่ ม <A>
 ภาพแบบ Live View จะปรากฏบนจอ LCD

กรอบพืน
้ ที่

2 เลื
อกจุด AFJ
 การกดปุ่ ม <0> หรือ <L> จะสลับ
ระหว่างการเลือกอัตโนมัตแ ิ ละการเลือก
โซน ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน จะตัง้ ค่า
โดยการเลือกอัตโนมัต ิ
 ใช ้ปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ ่ เลือกโซน หาก
ต ้องการกลับสูโ่ ซนกลาง ให ้กดปุ่ ม <0>
หรือ <L> อีกครัง้
 คุณยังสามารถแตะหน ้าจอ LCD เพือ ่ เลือก
โซนได ้ เมือ ่ โซนถูกเลือกแล ้ว แตะที่
[n] บนหน ้าจอเพือ ่ เปลีย่ นเป็ นเลือก
อัตโนมัต ิ

208
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

3 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 เล็งจุดโฟกัสอัตโนมัตไิ ปยังวัตถุ และกด
ปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่
 เมือ ่ จับโฟกัสได ้แล ้ว จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะ
เปลีย ่ นเป็ นสีเขียวและมีเสียงเตือนดังขึน้
 หากไม่สามารถโฟกัสได ้ กรอบพืน ้ ทีจ
่ ะ
เปลีย ่ นเป็ นสีส ้ม

4 ถ่ายภาพ
ตรวจสอบโฟกัสและค่าแสง จากนั น
้ กดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ (น.192)

 หากกล ้องไม่โฟกัสวัตถุเป้ าหมายทีต ่ ้องการด ้วยการเลือกจุด AF แบบอัตโนมัต ิ


ให ้เลือกโซนหรือเปลีย ่ นวิธโี ฟกัสอัตโนมัตเิ ป็ น [FlexiZone - Single] และ
โฟกัสใหม่อก ี ครัง้
 ความแตกต่างของจํานวนจุด AF ขึน ้ อยูก่ บ
ั การตัง้ ค่า [A3: อ ัตราส่วนภาพ]
มีจุด AF 49 จุด ทีส ั ส่วนภาพ [3:2] [4:3] และ [16:9] มีจุด AF 35 จุด
่ ด
ทีส
่ ดั ส่วนภาพ [1:1]

209
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

FlexiZone - Single: d
กล ้องจะโฟกัสโดยใช ้จุดโฟกัสอัตโนมัตจ
ิ ุดเดียว ซึง่ ได ้ผลดีเมือ
่ คุณต ้องการ
โฟกัสไปยังวัตถุทเี่ จาะจง

1 แสดงภาพแบบ
 กดปุ่ ม <A>
Live View

 ภาพแบบ Live View จะปรากฏบนจอ LCD


 จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ < > จะปรากฏขึน ้
 ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว หากตัง้ ค่า
[Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว] เป็ น [ใช้
งาน] จะแสดงจุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ ม
ี่ ข
ี นาด
จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
ใหญ่ขนึ้

2 เลื
อ ่ นจุดโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
 กดปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ
่ เลือ
่ นจุดโฟกัสไป
ยังตําแหน่งทีต ่ ้องการ (ไม่สามารถเลือ
่ น
ไปทีข ่ อบของหน ้าจอ)
 กดปุ่ ม <0> หรือ <L> จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
จะกลับไปทีก่ งึ่ กลางของหน ้าจอ
 คุณยังสามารถแตะหน ้าจอ LCD เพือ ่ เลือ
่ น
จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ ได ้

3 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 เล็งจุดโฟกัสอัตโนมัตไิ ปยังวัตถุ และกด
ปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่
 เมือ ่ จับโฟกัสได ้แล ้ว จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะ
เปลีย ่ นเป็ นสีเขียวและมีเสียงเตือนดังขึน

 หากไม่สามารถโฟกัสได ้ จุดโฟกัส
อัตโนมัตจ ิ ะเปลีย่ นเป็ นสีส ้ม

4 ถ่ายภาพ
ตรวจสอบโฟกัสและค่าแสง จากนั น
้ กดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงจนสุดเพือ
่ ถ่ายภาพ (น.192)

210
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

ข้อควรทราบเกีย
่ วก ับ AF
การโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
 แม ้จะโฟกัสได ้แล ้ว การกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จะทําให ้จับโฟกัสอีกครัง้
 คุณไม่สามารถโฟกัสวัตถุทเี่ คลือ ่ นทีแ่ บบต่อเนือ
่ งได ้
 ความสว่างของภาพอาจเปลีย ่ นแปลงในระหว่างและหลังจากทําการโฟกัส
อัตโนมัต ิ
 การโฟกัสอาจใช ้เวลานานขึน ้ หรือความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจช ้าลง
ทัง้ นีข
้ น ึ้ อยูก
่ ับวัตถุหรือสภาวะการถ่ายภาพ ฯลฯ
 หากแหล่งกําเนิดแสงเปลีย ่ นตําแหน่งในขณะทีแ ่ สดงภาพแบบ Live View
อาจทําให ้ภาพหน ้าจอไหวและโฟกัสได ้ยากขึน ้ หากเกิดกรณีนข ี้ น ึ้ ให ้ออก
จากการถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW และใช ้โฟกัสอัตโนมัตใิ ต ้แหล่งกําเนิด
แสงทีแ ่ ท ้จริง
 หากตัง้ ค่า [u+การติดตาม] จะไม่สามารถใช ้การดูภาพแบบขยายได ้
 เมือ ่ ตัง้ ค่า [FlexiZone - Multi] และคุณกดปุ่ ม <u> (หรือแตะที่ <s>
บนหน ้าจอ) ส่วนกลางของโซนทีเ่ ลือก (หรือส่วนกลางของภาพทีเ่ ลือกโดย
อัตโนมัต)ิ จะถูกขยาย หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จอแสดงภาพจะ
กลับไปเป็ นปกติและกล ้องจะทําการโฟกัส
 เมือ่ ตัง้ ค่า [FlexiZone - Single] และคุณกดปุ่ ม <u> (หรือแตะที่ <s>
บนหน ้าจอ) พืน ้ ทีบ
่ ริเวณจุดโฟกัสจะถูกขยาย กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ ่
โฟกัสระหว่างการดูภาพแบบขยาย ซึง่ ได ้ผลดีเมือ ่ กล ้องติดอยูก
่ บ ั ขาตัง้ กล ้อง
และคุณต ้องการได ้โฟกัสทีแ ่ ม่นยํามาก หากจับโฟกัสได ้ยากเมือ ่ ใช ้การดูภาพ
แบบขยาย ให ้กลับสูก ่ ารแสดงภาพแบบปกติและใช ้โฟกัสอัตโนมัต ิ โปรด
ทราบว่าความเร็วโฟกัสอัตโนมัตข ิ องการดูภาพแบบปกติและการดูภาพแบบ
ขยายอาจแตกต่างกัน
 หากคุณขยายการดูภาพหลังจากโฟกัสด ้วย [FlexiZone - Multi] หรือ
[FlexiZone - Single] ในระหว่างการดูภาพแบบปกติ อาจไม่ได ้โฟกัสที่
แม่นยํา

ระหว่างการดูภาพแบบขยายจะไม่ทําการ AF ต่อเนือ
่ ง (น.204)

211
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

สภาวะการถ่ายภาพซึง่ อาจทําให้ยากต่อการโฟก ัส
 วัตถุทม ี่ ค ี วามเปรียบต่างตํา่ เช่น ท ้องฟ้ าสีฟ้า พืน ้ ผิวสีทบ
ึ ทีเ่ รียบแบน หรือ
เมือ่ รายละเอียดของเงาและไฮไลท์หายไป
 วัตถุในสภาวะแสงน ้อย
 ลายทางและลวดลายแบบอืน ่ ๆ ทีม
่ ส
ี สี น
ั แตกต่างกันตามแนวนอนเท่านั น ้
 วัตถุทม ี่ ลี วดลายเป็ นแบบแผน (ตัวอย่าง: กลุม ่ หน ้าต่างของตึกสูง แป้ น
พิมพ์คอมพิวเตอร์ ฯลฯ)
 เค ้าโครงวัตถุและลายเส ้นทีล ่ ะเอียด
 ใต ้แหล่งกําเนิดแสงทีเ่ ปลีย ่ นแปลงความสว่าง สี หรือลวดลายตลอดเวลา
 ฉากกลางคืนหรือจุดแสง
 ภาพไหวใต ้แสงไฟฟลูออเรสเซนต์หรือไฟ LED
 วัตถุขนาดเล็กมาก
 วัตถุบนขอบภาพ
 วัตถุทถ ี่ า่ ยแบบย ้อนแสงมากๆ หรือวัตถุทม ี่ ผ
ี วิ สะท ้อน (ตัวอย่าง: รถทีม ่ ี
ผิวสะท ้อนในระดับสูง ฯลฯ)
 จุดโฟกัสอัตโนมัตค ิ รอบคลุมทัง้ วัตถุทอ ี่ ยูใ่ กล ้และอยูไ่ กล (ตัวอย่าง: สัตว์
ในกรง ฯลฯ)
 วัตถุในจุดโฟกัสทีข ่ ยับอยูต
่ ลอดเวลาและไม่สามารถหยุดนิง่ ได ้เนือ ่ งจากกล ้อง
่ หรือวัตถุเบลอ
สัน
 วัตถุทข ี่ ยับเข ้าหาหรือถอยออกห่างจากกล ้อง
 การโฟกัสอัตโนมัตข ิ ณะทีว่ ตั ถุไม่อยูใ่ นโฟกัส
 ปรับใช ้เอฟเฟคซอฟต์โฟกัสเมือ ่ ใช ้เลนส์ซอฟต์โฟกัส
 เมือ ่ ใช ้ฟิ ลเตอร์แบบเทคนิคพิเศษ
 น๊อยส์ (จุด ริว้ ฯลฯ) ปรากฏบนหน ้าจอในระหว่างการโฟกัสอัตโนมัต ิ

212
การใช ้โฟกัสอัตโนมัตเิ พือ
่ โฟกัส (วิธโี ฟกัสอัตโนมัต)ิ

 หากจับโฟกัสไม่ได ้ในสภาวะการถ่ายภาพในหน ้าก่อนหน ้านี้ ให ้ปรับสวิตซ์เลือก


โหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่ <MF> และโฟกัสด ้วยตนเอง
 หากคุณโฟกัสอัตโนมัตด ิ ้วยเลนส์ดังต่อไปนี้ การโฟกัสอาจใช ้เวลานานขึน
้ หรือ
อาจจับโฟกัสได ้ไม่ถก ู ต ้อง
EF50mm f/1.4 USM, EF50mm f/1.8 II, EF50mm f/2.5 Compact Macro,
EF75-300mm f/4-5.6 III, EF75-300mm f/4-5.6 III USM
สําหรับข ้อมูลเกีย
่ วกับเลนส์ทเี่ ลิกผลิตแล ้ว โปรดดูเวปไซต์แคนนอน

 หากคุณถ่ายภาพวัตถุบริเวณขอบภาพและวัตถุนัน ้ หลุดโฟกัส ให ้เล็งจุดโฟกัส


อัตโนมัตห ิ รือโซนกลางไปยังวัตถุเพือ่ โฟกัส โฟกัสอีกครัง้ จากนัน ้ จึงถ่ายภาพ
 แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะไม่ปล่อยออกมา อย่างไรก็ตาม หากใช ้ Speedlite ซีรส ี่ ์ EX
(แยกจําหน่าย) ซึง่ ติดตัง้ ไฟ LED แสงไฟ LED จะเปิ ดขึน้ เพือ
่ ช่วยโฟกัสเมือ ่ จําเป็ น
 ในการดูภาพแบบขยาย การโฟกัสอาจทําได ้ยากเนือ ่ งจากการสัน ่ ของกล ้อง แนะนํ า
ให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง

213

x การถ่ายภาพด้วยชตเตอร์
แบบแตะ
เพียงแค่แตะหน ้าจอ LCD คุณก็สามารถโฟกัสและถ่ายภาพได ้โดยอัตโนมัต ิ ซึง่
สามารถใช ้ได ้ในโหมดถ่ายภาพทุกโหมด

แสดงภาพแบบ Live View


1  กดปุ่ ม <A>
 ภาพแบบ Live View จะปรากฏบนจอ LCD

ง้ านชตเตอร์

2 ใช แบบแตะ
 แตะที่ [y] ทางด ้านซ ้ายล่างของหน ้าจอ
แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ แตะบนไอคอน จะเป็ นการ
สลับระหว่าง [y] และ [x]
 [x] (ชัตเตอร์แบบแตะ: เปิ ด)
คุณสามารถแตะทีจ ่ ดุ เพือ
่ โฟกัสและถ่ายภาพ
 [y] (ชัตเตอร์แบบแตะ: ปิ ด)
คุณสามารถแตะทีจ ่ ุดเพือ่ เลือกสิง่ ทีค
่ ณ

ต ้องการโฟกัส กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด
เพือ่ ถ่ายภาพ

3 แตะบนหน้ าจอเพือ ่ ถ่ายภาพ


 แตะบนใบหน ้าหรือวัตถุบนหน ้าจอ
 กล ้องจะโฟกัสด ้วยวิธโี ฟกัสอัตโนมัตท ิ ตี่ งั ้
ไว ้ทีจ่ ด
ุ ทีค
่ ณ
ุ แตะ (น.206-210) เมือ
่ ตัง้ ค่า
เป็ น [FlexiZone - Multi] กล ้องจะ
เปลีย ่ นเป็ น [FlexiZone - Single]
 เมือ่ จับโฟกัสได ้แล ้ว จุด AF จะเปลีย
่ นเป็ น
สีเขียวและภาพจะถูกถ่ายโดยอัตโนมัต ิ
 หากไม่สามารถโฟกัสได ้ จุด AF จะเปลีย ่ น
เป็ นสีส ้มและจะไม่สามารถถ่ายภาพได ้
แตะบนใบหน ้าหรือวัตถุบนหน ้าจออีกครัง้

214
x การถ่ายภาพด ้วยชัตเตอร์แบบแตะ

 แม ้ว่าคุณตัง้ ค่าโหมดขับเคลือ ่ นเป็ น <i> กล ้องจะยังคงถ่ายภาพด ้วยโหมดถ่าย


ภาพเดีย ่ ว
 ชัตเตอร์แบบแตะไม่สามารถทํางานร่วมกับการแสดงภาพแบบขยายได ้
 หากตัง้ ค่าฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์เป็ นเอฟเฟคเลนส์ตาปลา กล ้องจะโฟกัสโดยใช ้จุด
AF ทีก ่ งึ่ กลางของหน ้าจอ ไม่วา่ คุณจะแตะทีต
่ ําแหน่งใด
 หากตัง้ ค่าเป็ นฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์เอฟเฟคกล ้องรูเข็ม ชัตเตอร์แบบแตะจะไม่ทํางาน
่ ตัง้ ค่า [10: ปุ่มช ัตเตอร์/ปุ่มล็อค AE] เป็ น [1: ล็อค AE/AF] หรือ
 เมือ
[3: AE/AF, ไม่ล็อค AE] ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] การ
โฟกัสอัตโนมัตจิ ะไม่ทํางาน

 คุณยังสามารถตัง้ ค่าชัตเตอร์แบบแตะได ้ด ้วย [A: ช ัตเตอร์แบบแตะ]


 หากต ้องการถ่ายภาพด ้วยการเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์ ให ้แตะทีห ่ น ้าจอสองครัง้
การแตะครัง้ แรกจะเริม
่ การเปิ ดหน ้ากล ้องค ้างชัตเตอร์ แตะอีกครัง้ เพือ
่ ปิ ดหน ้ากล ้อง
ควรระวังอย่าขยับกล ้องขณะทีแ ่ ตะหน ้าจอ

215
MF: การโฟก ัสด้วยตนเอง
คุณสามารถขยายภาพและโฟกัสอย่างแม่นยําได ้โดยใช ้การโฟกัสด ้วยตนเอง

ปร ับสวิตซเ์ ลือกโหมดโฟก ัสของ


1 เลนสไ์ ปที่ <MF>
 หมุนวงแหวนโฟกัสของเลนส์เพือ
่ โฟกัส
แบบหยาบ

2 แสดงกรอบขยายภาพ
 กดปุ่ ม <u>
 กรอบขยายภาพจะปรากฏขึน ้
 คุณสามารถแตะที่ [s] บนหน ้าจอเพือ

ขยายภาพได ้

3 เลื
อ ่ นกรอบขยายภาพ
 กดปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ
่ เลือ
่ นเฟรมขยาย
ไปยังตําแหน่งทีค
่ ณ
ุ ต ้องการโฟกัส
 หากต ้องการกลับสูก่ งึ่ กลางหน ้าจอ ให ้กด
ปุ่ ม <0> หรือ <L>
กรอบขยายภาพ

4 ขยายภาพ
 แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <u> การขยาย
ของภาพจะเปลีย
่ นไปตามลําดับต่อไปนี:้
1x 9 5x 9 10x 9 ภาพแบบปกติ

ล็อค AE
ตําแหน่งของภาพบริเวณทีถ
่ ก
ู ขยาย
กําลังขยาย

216
MF: การโฟกัสด ้วยตนเอง

5 โฟก ัสด้วยตนเอง
 ในขณะทีม่ องภาพขยาย ให ้หมุนวงแหวน
โฟกัสของเลนส์เพือ ่ ปรับโฟกัส
 หลังจากจับโฟกัสได ้แล ้ว ให ้กดปุ่ ม <u>
เพือ ่ ารแสดงภาพแบบปกติ
่ กลับสูก

6 ถ่ายภาพ
ตรวจสอบโฟกัสและการเปิ ดรับแสง จาก
นัน
้ กดปุ่ มชัตเตอร์เพือ
่ ถ่ายภาพ (น.192)

217
ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพแบบ Live View
คุณภาพของภาพ
่ คุณถ่ายภาพด ้วยการใช ้ความไวแสง ISO สูง น๊ อยส์ (เช่น จุดแสงและแถบ
 เมือ
แสง) อาจปรากฏให ้เห็นชัดขึน ้
 การถ่ายภาพในทีม ่ อ
ี ณุ หภูมส
ิ งู อาจส่งผลให ้เกิดน๊อยส์หรือสีผด
ิ เพีย
้ นในภาพได ้
 เมือ่ ใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View ต่อเนือ ่ งเป็ นระยะเวลานาน อุณหภูมภ ิ ายใน
ตัวกล ้องอาจจะสูงขึน ้ และคุณภาพของภาพอาจลดลง ให ้ออกจากการถ่ายภาพ
แบบ Live View เสมอเมือ ่ คุณไม่ได ้ถ่ายภาพ
 หากคุณถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงนานในขณะทีอ ่ ณ
ุ หภูมภ
ิ ายในตัวกล ้องสูง
คุณภาพของภาพอาจลดลง ให ้ออกจากการถ่ายภาพแบบ Live View แล ้วรอสักครู่
ก่อนจะถ่ายภาพอีกครัง้
ไอคอนการเตือนอุณหภูมภ
ิ ายใน <s> สีขาวและ <E> สีแดง
 หากอุณหภูมภ ิ ายในตัวกล ้องเพิม่ สูงขึน้ เนือ่ งจากถ่ายภาพแบบ Live View เป็ น
เวลานานหรือภายใต ้อุณหภูมแ ิ วดล ้อมทีส ่ งู ไอคอนสีขาว <s> หรือสีแดง
<E> จะปรากฏขึน ้
 ไอคอนสีขาว <s> บ่งบอกว่าคุณภาพของภาพนิง่ จะลดลง แนะนํ าให ้คุณออก
จากการถ่ายภาพแบบ Live View ชัว่ คราวและพักให ้กล ้องเย็นลงก่อนเริม ่ ถ่ายภาพ
อีกครัง้
 ไอคอนสีแดง <E> บ่งบอกว่าการถ่ายภาพแบบ Live View จะหยุดลงโดย
อัตโนมัตใิ นไม่ช ้า หากเกิดกรณีนข ึ้ คุณจะไม่สามารถถ่ายภาพได ้อีกครัง้ จนกว่า
ี้ น
อุณหภูมภ ิ ายในตัวกล ้องจะลดลง ให ้ออกจากการถ่ายภาพแบบ Live View หรือปิ ด
กล ้อง และพักกล ้องชัว่ ครู่
 การใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View ในทีอ ่ ณุ หภูมส
ิ งู เป็ นระยะเวลานานจะส่งผลให ้
ไอคอน <s> หรือ <E> ปรากฏเร็วขึน ้ ควรปิ ดกล ้องตลอดเวลาเมือ ่ คุณไม่ได ้
ถ่ายภาพ
 หากอุณหภูมภ ิ ายในตัวกล ้องสูง คุณภาพของภาพทีใ่ ช ้ความไวแสง ISO สูงหรือ
เปิ ดรับแสงนานอาจลดลง แม ้ก่อนทีไ่ อคอนสีขาว <s> จะแสดงขึน ้
ผลการถ่ายภาพ
 หากคุณถ่ายภาพขณะใช ้การดูภาพแบบขยาย การเปิ ดรับแสงอาจไม่เป็ นไปดังที่
่ ารดูภาพแบบปกติกอ
ต ้องการ ให ้กลับสูก ่ นถ่ายภาพ ขณะใช ้การดูภาพแบบขยาย
ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงจะแสดงเป็ นสีส ้ม แม ้ว่าคุณจะถ่ายภาพด ้วยการดู
ภาพแบบขยาย ภาพจริงทีถ ่ า่ ยจะเป็ นมุมมองภาพแบบการดูภาพปกติ
 หากตัง้ ค่า [z2: ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] (น.136) ไว ้เป็ นอย่างอืน ่ นอก
เหนือจาก [ไม่ใช้งาน] ภาพอาจยังดูสว่างอยูถ ่ งึ แม ้จะปรับลดการชดเชยแสงหรือ
ลดชดเชยระดับแสงแฟลชไว ้
 หากคุณใช ้เลนส์ชนิด TS-E (ยกเว ้น TS-E17mm f/4L หรือ TS-E24mm f/3.5L II)
และเลือ่ นหรือเอียงเลนส์ หรือเมือ ่ ใช ้ท่อต่อเลนส์ อาจจะไม่ได ้รับการเปิ ดรับแสง
มาตรฐาน หรือทําให ้ค่าแสงไม่สมํ่าเสมอ

218
ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพแบบ Live View
ภาพแบบ Live View
 ในสภาวะแสงน ้อยหรือแสงจ ้า ภาพแบบ Live View อาจไม่แสดงความสว่างเดียว
กับภาพทีถ ่ า่ ย
 แม ้จะตัง้ ค่าความไวแสง ISO ตํา่ น๊อยส์อาจปรากฏให ้เห็นได ้ชัดในภาพแบบ Live
View ทีแ ่ สดงอยูภ ่ ายใต ้แสงน ้อย อย่างไรก็ตาม เมือ ่ คุณถ่ายภาพ ภาพทีบ ่ น
ั ทึกจะ
มีน๊อยส์เพียงเล็กน ้อย (คุณภาพของภาพแบบ Live View แตกต่างจากภาพที่
บันทึก)
 หากแหล่งกําเนิดแสง (การส่องสว่าง) ในภาพเปลีย ่ นแปลงไป ภาพหน ้าจออาจไหว
หากเกิดกรณีนข ี้ น
ึ้ ให ้ออกจากการถ่ายภาพแบบ Live View และถ่ายภาพอีกครัง้ ใต ้
แหล่งกําเนิดแสงทีแ ่ ท ้จริง
 หากคุณหันกล ้องไปยังทิศทางอืน ่ อาจทําให ้สูญเสียความสว่างทีถ ่ ก
ู ต ้องของภาพ
แบบ Live View ไปชัว่ ขณะ รอจนกว่าระดับความสว่างคงทีแ ่ ล ้วจึงถ่ายภาพ
 หากในภาพมีแหล่งกําเนิดแสงทีส ่ ว่างจ ้า พืน้ ทีส
่ ว่างอาจแสดงเป็ นสีดําบนจอ LCD
อย่างไรก็ตาม ภาพจริงทีถ ่ า่ ยจะแสดงพืน ้ สีสว่างอย่างถูกต ้อง
 ในสภาวะแสงน ้อย หากคุณตัง้ ค่า [52: ความสว่างจอ LCD] เป็ นสว่างจ ้า ภาพ
แบบ Live View อาจมีน๊อยส์หรือสีผด ิ เพีย้ นได ้ อย่างไรก็ตาม น๊อยส์หรือสีผด ิ เพีย
้ น
จะไม่ถก ู บันทึกลงในภาพทีถ ่ า่ ย
 เมือ
่ คุณขยายภาพ ความคมชัดของภาพอาจดูเด่นชัดกว่าภาพจริง
 หากความเร็วชัตเตอร์เป็ น 1 วินาที หรือช ้ากว่า “BUSY” จะแสดงบนจอ LCD และ
การแสดงภาพ Live View จะไม่ปรากฏจนกว่าการเปิ ดรับแสงจะเสร็จสิน ้
ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว
 ในระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวบางอย่างจะไม่
ทํางาน (น.337)
เลนส์และแฟลช
 ฟั งก์ชนั่ ตัง้ ค่าโฟกัสล่วงหน ้า สามารถใช ้ได ้กับการถ่ายภาพแบบ Live View เฉพาะ
เมือ่ ใช ้เลนส์ถา่ ยภาพไกล (ช่วงพิเศษ) ทีม ่ โี หมดตัง้ ค่าโฟกัสล่วงหน ้า ซึง่ มี
จําหน่ายตัง้ แต่ครึง่ หลังของปี 2011 เท่านัน ้
 ล็อคแฟลช FE จะไม่ทํางานหากใช ้งานแฟลชในตัวกล ้องอยู่ ล็อคแฟลช FE และ
แสงแฟลชตัวอย่างจะไม่ทํางานขณะใช ้ Speedlite ภายนอก

219
การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
8
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวสามารถ
เปิ ดใช ้งานได ้โดยการปรับสวิตซ์
เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <k>
ภาพเคลือ ่ นไหวจะถูกบันทึกในรูป
แบบ MP4

่ ามารถใช ้บันทึกภาพเคลือ
 สําหรับการ์ดทีส ่ นไหว โปรดดูหน ้า 5
 หากคุณถือกล ้องด ้วยมือและถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว การสัน ่ ของกล ้อง
อาจจะทําให ้ภาพเคลือ่ นไหวเบลอ แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง
 สําหรับการถ่ายภาพโดยใช ้มือถือกล ้อง โปรดดูหน ้า 70

Full HD 1080
Full HD 1080 หมายถึงความเข ้ากันได ้กับระบบความ
ละเอียดสูงทีม
่ ค
ี ณ
ุ ลักษณะพิกเซลแนวตัง้ 1080 พิกเซล
(เส ้นสแกน)
221
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
แนะนํ าให ้ต่อกล ้องกับเครือ
่ งรับโทรทัศน์เมือ
่ ต ้องการเล่นภาพเคลือ
่ นไหวทีถ
่ า่ ยไว ้
(น.298-301)

การถ่ายภาพแบบเปิ ดร ับแสงอ ัตโนม ัติ


เมือ
่ โหมดถ่ายภาพถูกตัง้ ค่าเป็ นโหมดใดๆ นอกเหนือจาก <a> กล ้องจะควบคุม
การเปิ ดรับแสงอัตโนมัตเิ พือ
่ ให ้เหมาะกับความสว่างปั จจุบน
ั ของฉาก
ปร ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่ <k>
1  จะเกิดเสียงจากการยกตัวของกระจก
สะท ้อนภาพ จากนั น
้ ภาพจะปรากฏบนจอ
LCD

2 ตงค่
ั้ าโหมดถ่ายภาพใดๆ ยกเว้น <a>

3 โฟก ัสไปย ังว ัตถุ


 ก่อนถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ให ้โฟกัสโดยใช ้
ระบบโฟกัสอัตโนมัตห ิ รือโฟกัสด ้วยตนเอง
(น.206-213, 216)
 โดยค่าเริม
่ ต ้น [Servo AF ภาพเคลือ ่ น
ไหว: ใช้งาน] จะถูกตัง้ ค่าไว ้เพือ
่ ให ้กล ้อง
โฟกัสตลอดเวลา สําหรับการหยุด Servo
AF ภาพเคลือ ่ นไหว โปรดดูหน ้า 248

4 ถ่ายภาพเคลื อ
่ นไหว
กดปุ่ ม <A> เพือ
่ เริม
่ ถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
กดปุ่ ม <A> อีกครัง้ เพือ ่ หยุดการถ่าย
ภาพเคลือ ่ นไหว
 ในขณะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว สัญลักษณ์
“o” จะแสดงขึน ้ ทีม
่ มุ บนขวาของหน ้าจอ
กําลังบันทึกภาพเคลือ
่ นไหว
 เสียงจะถูกบันทึกโดยใช ้ไมโครโฟนในตัว
กล ้อง

ไมโครโฟนในตัวกล ้อง

222
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

 ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพเคลือ่ นไหว จะอยูท่ ห


ี่ น้า 253-254
 หากมีความจําเป็น ให้อา่ นข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพแบบ Live
View เพิม
่ เติมในหน้า 218-219

 ในโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน ผลการถ่ายภาพทีไ่ ด ้จะเหมือนกันกับ <A> และ


ไอคอนแสดงฉากสําหรับฉากทีก ่ ล ้องตรวจพบ จะแสดงทางด ้านซ ้ายบน (น.224)
 ในโหมดถ่ายภาพ <f> และ <s> ภาพเคลือ ่ นไหวจะถูกถ่ายด ้วยการตัง้ ค่า
เดียวกันกับการตัง้ ค่าในโหมด <d>
 ฟั งก์ชนั่ ต่างๆ ของเมนูทต ี่ งั ้ ค่าได ้จะแตกต่างกันระหว่างในโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน
และในโหมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์ (น.358)
 ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงจะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ
 ในโหมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์ คุณสามารถกดปุ่ ม <A> (น.162) เพือ ่ ล็อคการเปิ ด
รับแสง (ล็อค AE) การตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงจะแสดงตัวเลขเป็ นวินาทีตามทีต ่ งั ้ ค่า
ใน [Z1: ระยะเวลาว ัดแสง] หากใช ้การล็อค AE ระหว่างถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
คุณสามารถยกเลิกได ้โดยการกดปุ่ ม <S> (การตัง้ ค่าการล็อค AE จะถูกเก็บไว ้
จนกระทั่งคุณกดปุ่ ม <S>)
 ในโหมดถ่ายภาพสร ้างสรรค์ คุณสามารถกดปุ่ ม <g> ลงจนสุดค ้างไว ้ และ
หมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ ตัง้ ค่าการชดเชยค่าแสง
 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ จะแสดงความเร็วชัตเตอร์และความไวแสงทางด ้านล่าง
ของหน ้าจอ นีค ่ อ
ื การตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงสําหรับการถ่ายภาพนิง่ (น.227) การตัง้
ค่าการเปิ ดรับแสงสําหรับการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวจะไม่แสดงขึน ้ โปรดทราบว่าการ
ตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงสําหรับการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวอาจแตกต่างจากการถ่ายภาพ
นิง่
 หากคุณถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวโดยใช ้การเปิ ดรับแสงอัตโนมัต ิ ความเร็วชัตเตอร์และ
ค่ารูรับแสงจะไม่ถูกบันทึกในข ้อมูลภาพ (Exif)

้ ฐาน
ความไวแสง ISO ในโหมดถ่ายภาพพืน
 ความไวแสง ISO จะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตใิ นช่วง ISO 100 - ISO 6400

ความไวแสง ISO ในโหมด <d> <s> และ <f>


 ความไวแสง ISO จะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตใิ นช่วง ISO 100 - ISO 6400
 ภายใต ้ [54: ตงค่ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [2: ความไวแสง
ISO] เป็ น [1: เปิ ด] ความไวสูงสุดจะขยายเป็ น H (เทียบเท่า ISO 12800)
 ภายใต ้ [54: ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพ
บริเวณสว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน] ความไวแสง ISO จะอยูใ่ นช่วง ISO 200 -
ISO 6400

223
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

ไอคอนแสดงฉาก
ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวในโหมดถ่ายภาพพืน้ ฐาน ไอคอนทีแ ่ สดงถึงฉาก
ทีก
่ ล ้องจับได ้จะแสดงขึน
้ และการถ่ายภาพจะถูกปรับเป็ นฉากนัน
้ สําหรับบาง
ฉากหรือบางสภาวะการถ่ายภาพ ไอคอนทีแ ่ สดงอาจไม่ตรงกับฉากทีแ ่ ท ้จริง

ว ัตถุ ไม่ใช่ภาพบุคคล
ภาพบุคคล*1 ฉากธรรมชาติ สีฉากหล ัง
ใกล้*2
ฉากหล ัง และกลางแจ้ง
สว่าง
สีเทา
ย้อนแสง

ท้องฟ้า
สีฟ้าอ่อน
ย้อนแสง

*3 *3
อาทิตย์ตก สีส ้ม

สปอตไลท์
สีนํ้าเงินเข ้ม
ทีม
่ ด

*1: จะแสดงขึน ้ เมือ่ ตัง้ ค่าวิธโี ฟกัสอัตโนมัตเิ ป็ น [u+การติดตาม] หากตัง้ ค่าวิธโี ฟกัส
อัตโนมัตอ
ิ น ื่ ไอคอน “ไม่ใช่ภาพบุคคล” จะแสดงขึน ้ แม ้ว่าจะตรวจพบบุคคลก็ตาม
*2: จะแสดงขึน ้ เมือ่ เลนส์ทต ี่ ดิ อยูม ี ้อมูลระยะทาง หากใช ้ท่อต่อเสริมหรือเลนส์ระยะใกล ้
่ ข
ไอคอนทีแ ่ สดงอาจไม่ตรงกับฉากทีแ ่ ท ้จริง
*3: ไอคอนทีเ่ หมาะกับฉากทีต ่ รวจพบจะแสดงขึน ้

การใช ้ Speedlite ซีรส


ี่ ์ EX (แยกจําหน่าย) ซึง่ ติดตงไฟ
ั้ LED
เมือ
่ ถ่ายภาพเคลือ่ นไหวโดยใช ้การเปิ ดรับแสงอัตโนมัต ิ (โหมดใดๆ นอกเหนือ
จาก a) กล ้องจะเปิ ดไฟ LED ของ Speedlite ขึน ้ โดยอัตโนมัตภ
ิ ายใต ้สภาวะ
แสงน ้อย สําหร ับรายละเอียด โปรดดูคม ู่ อ
ื การใช้งาน Speedlite

224
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

การถ่ายภาพแบบตงค่
ั้ าระด ับแสงด้วยตนเอง
ในโหมด <a> คุณสามารถตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง และความไว
แสงสําหรับถ่ายภาพเคลือ่ นไหวได ้โดยอิสระ การใช ้การตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง
เพือ ่ นไหวเหมาะสําหรับผู ้ใช ้งานขัน
่ ถ่ายภาพเคลือ ้ สูง
ปร ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่ <k>
1  จะเกิดเสียงจากการยกตัวของกระจก
สะท ้อนภาพ จากนั น
้ ภาพจะปรากฏบนจอ
LCD

2 ปร ับปุ่มโหมดไปที่ <a>

3 ตงค่
ั้ าความไวแสง ISO
กดปุ่ ม <g> และกดปุ่ ม <Y> <Z>
หรือหมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ เลือกความไว
แสง
 สําหรับรายละเอียดเกีย
่ วกับความไวแสง
โปรดดูหน ้าถัดไป

4 ตงค่
ั้ าความเร็วชตเตอร์ และค่ารูร ับแสง
ในการตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์ ให ้หมุนปุ่ ม
<6> <6> ความเร็วชัตเตอร์ทส ี่ ามารถตัง้ ค่า
<g> + <6> ได ้จะแตกต่างกันไปขึน ้ อยูก
่ ับอัตราเฟรม
<9>
• D C B:
1/4000 วินาที - 1/30 วินาที
• F E: 1/4000 วินาที - 1/60 วินาที
 ในการตัง้ ค่ารูรับแสง ให ้กดปุ่ ม <g>
ค ้างไว ้แล ้วหมุนปุ่ ม <6>

225
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

5 โฟก ัสและถ่ายภาพเคลือ
 กระบวนการเดียวกับขัน
่ นไหว
้ ตอนที่ 3 และ 4 ใน
“การถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงอัตโนมัต”ิ
(น.222)

ความไวแสง ISO ระหว่างการถ่ายภาพแบบตงค่


ั้ าระด ับแสงด้วยตนเอง
 ด ้วย [AUTO] ความไวแสงจะถูกตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตใิ นช่วง ISO 100 -
ISO 6400
 คุณสามารถตัง้ ค่าความไวแสงด ้วยตนเองในช่วง ISO 100 - ISO 6400 โดย
เพิม่ ขึน
้ แบบเต็มสต๊อป ภายใต ้ [54: ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า
[2: ความไวแสง ISO] เป็ น [1: เปิ ด] จะขยายช่วงการตัง้ ค่าเอง ดังนัน
้ คุณ
สามารถเลือก H (เทียบเท่า ISO 12800) ได ้ด ้วย
 ภายใต ้ [54: ตงค่ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพ
บริเวณสว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน] ความไวแสง ISO จะอยูใ่ นช่วง ISO 200 -
ISO 6400

 เนือ
่ งจากการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวด ้วย ISO 12800 อาจส่งผลให ้เกิดน๊อยส์มาก
จึงถูกกําหนดให ้เป็ นความไวแสง ISO ทีข ่ ยายขึน ้ (แสดงเป็ น “H”)
 หากตัง้ ค่าความไวแสง ISO เป็ น H (ISO 25600) ขณะตัง้ ค่า [2: ขยายความไว
แสง ISO] เป็ น [1: เปิ ด] ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] และคุณ
สลับจากการถ่ายภาพนิง่ เป็ นการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ความไวสูงสุดในช่วงการตัง้
ค่าเองจะเป็ น H (เทียบเท่า ISO 12800) เมือ ่ คุณสลับกลับไปเป็ นการถ่ายภาพนิง่
ความไวแสง ISO จะเป็ น ISO 12800
 ไม่สามารถตัง้ ค่าชดเชยแสงได ้
 ไม่แนะนํ าให ้เปลีย
่ นความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบ ั แสงระหว่างถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
เนื่องจากความเปลีย ่ นแปลงในการเปิ ดรับแสงจะถูกบันทึก
 หากคุณเปลีย ่ นความเร็วชัตเตอร์ขณะถ่ายภาพภายใต ้แสงไฟฟลูออเรสเซนต์หรือ
ไฟ LED อาจบันทึกภาพแบบกระตุก

 เมือ
่ ตัง้ ค่า ISO อัตโนมัตไิ ว ้ คุณสามารถกดปุ่ ม <A> เพือ ่ ล็อคความไวแสง
 หากคุณกดปุ่ ม <A> และจัดองค์ประกอบภาพใหม่ คุณจะเห็นความแตกต่างของ
ระดับค่าแสงทีต ่ วั แสดงระดับค่าแสง (น.227) เปรียบเทียบกับเมือ ่ กดปุ่ ม <A>
 โดยการกดปุ่ ม <B> คุณสามารถแสดงฮิสโตแกรมได ้
 เมือ่ ถ่ายภาพเคลือ ่ นที่ แนะนํ าให ้ใช ้ความเร็วชัตเตอร์ท ี่ 1/30
่ นไหวของวัตถุทเี่ คลือ
วินาที ถึง 1/125 วินาที ยิง่ ความเร็วชัตเตอร์สงู ขึน ้ การเคลือ ่ นไหวของวัตถุอาจดู
ไม่คอ ่ ยราบรืน ่
226
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

การแสดงข้อมูล
 แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <B> การแสดงข ้อมูลจะเปลีย
่ นไป
วิธโี ฟกัสอัตโนฯ
โหมดการถ่ายภาพ • c : u+การติดตาม
เคลือ
่ นไหว • o : FlexiZone - Multi
y :เปิ ดรับแสง • d : FlexiZone - Single
อัตโนมัต ิ (โหมด จํานวนภาพทีถ
่ า่ ยได ้
ถ่ายภาพพืน ้ ฐาน)
เวลาถ่ายภาพเคลือ ่ / เวลาทีใ่ ช ้ไป
่ นไหวทีเ่ หลืออยู*
k :เปิ ดรับแสง
อัตโนมัต ิ (โหมด ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่
ถ่ายภาพสร ้างสรรค์) จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ (FlexiZone - Single)
z :ตัง้ ค่าระดับแสง
ฮิสโตแกรม
ด ้วยตนเอง
(ด ้วยการตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง)
โหมดขับเคลือ
่ น การควบคุมทันใจ
คุณภาพใน
การบันทึกภาพ สมดุลแสงขาว
ขนาดการบันทึก
ภาพเคลือ่ นไหว รูปแบบภาพ
อัตราเฟรม ปรับแสงเหมาะสม
อัตโนมัต ิ
ถ่าย video snapshot
โหมดเปิ ดรับแสง
ไฟ LED L :เปิ ดรับแสง
Servo AF อัตโนมัต ิ
ภาพเคลือ
่ นไหว K :ตัง้ ค่าระดับ
แสงด ้วยตนเอง
ล็อค AE
ดูภาพแบบขยาย
ความเร็วชัตเตอร์
ภาพเคลือ่ นไหวเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม
ค่ารูรับแสง ระดับเสียง: ตัง้ เอง
สถานะการส่งสัญญาณการ์ด Eye-Fi ความไวแสง ISO
เข็มทิศดิจต
ิ อล ลดระดับเสียง
่ มต่อ GPS
ตัวแสดงการเชือ เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง
ตัวแสดงระดับค่าแสง ลดเสียงลม: ไม่ใช ้งาน

* ใช ้กับคลิปภาพเคลือ
่ นไหวเดีย
่ ว

 เส ้นตาราง หรือฮิสโตแกรม จะไม่สามารถแสดงขึน ้ ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว


(การแสดงผลจะหายไปเมือ ่ คุณเริม
่ การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว)
 เมือ
่ เริม
่ ถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว เวลาถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวทีเ่ หลืออยูจ
่ ะเปลีย
่ นเป็ น
เวลาทีใ่ ช ้ไป

227
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

ข้อควรระว ังสําหร ับการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว


 อย่าหันกล ้องชีไ้ ปทางแหล่งแสงทีส ่ ว่างจ ้า เช่น ดวงอาทิตย์ หรือแสงจ ้าทีเ่ กิดจาก
ฝี มอ
ื มนุษย์ การกระทําเช่นนีอ้ าจทําให ้เซนเซอร์ภาพหรือส่วนประกอบภายในของ
กล ้องเสียหายได ้
 หากตัง้ ค่า <Q> ไว ้ และความไวแสง ISO หรือค่ารูรับแสงเปลีย ่ นไประหว่าง
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว สมดุลแสงขาวอาจเปลีย ่ นไปเช่นกัน
 หากคุณถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวภายใต ้แสงไฟฟลูออเรสเซนต์หรือไฟ LED ภาพ
เคลือ ่ นไหวอาจกระตุก
 ไม่แนะนํ าให ้ปรับการซูมของเลนส์ในระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว การปรับการ
ซูมของเลนส์อาจทําให ้เกิดความเปลีย ่ นแปลงในการเปิ ดรับแสง ไม่วา่ ค่ารูรับแสง
กว ้างสุดของเลนส์จะเปลีย ่ นหรือไม่ก็ตาม ส่งผลให ้ความเปลีย ่ นแปลงของการเปิ ด
รับแสงอาจถูกบันทึก
 คุณไม่สามารถขยายภาพได ้ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
 ควรระวังไม่ปิดบังไมโครโฟน (น.222) ด ้วยนิว้ ของคุณ เป็ นต ้น
 ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว จะอยูท ่ ห
ี่ น้า 253-254
 หากมีความจําเป็น ให้อา่ นข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพแบบ Live
View เพิม ่ เติมในหน้า 218-219

อย่าจ ับกล้องตรงตําแหน่งเดิมเป็นระยะเวลานาน
ถึงแม ้ว่ากล ้องจะไม่ร ้อนมาก การสัมผัสกับตัวกล ้องส่วนเดิมเป็ นเวลานาน อาจทําให ้
ผิวหนังมีผน ื่ แดง เป็ นเม็ดพุพอง หรือเป็ นรอยแผลไหม ้ แนะนํ าให ้ใช ้ขาตัง้ กล ้อง
สําหรับบุคคลทีม ่ ป
ี ั ญหาระบบไหลเวียนโลหิตหรือผิวหนังทีแ่ พ ้ง่าย หรือเมือ่ ใช ้กล ้อง
ในสถานทีท ่ รี่ ้อนมากๆ

228
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

 การตัง้ ค่าเกีย
่ วกับภาพเคลือ ่ นไหวอยูภ ่ ายใต ้แท็บ [Z1] และ [Z2] (น.248)
 ไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวจะถูกบันทึกทุกครัง้ ทีค ่ ณ ุ ถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว หากขนาดของ
ไฟล์ใหญ่กว่า 4 GB ไฟล์ใหม่จะถูกสร ้างขึน ้ สําหรับแต่ละ 4 GB ต่อๆ ไป
 ระยะมองเห็นของภาพเคลือ ่ นไหวอยูท ่ ป ี่ ระมาณ 100% (เมือ ่ ขนาดการบันทึกภาพ
เคลือ่ นไหวถูกตัง้ ค่าเป็ น [A])
 กล ้องจะบันทึกเสียงแบบสเตอริโอโดยใช ้ไมโครโฟนในตัวกล ้อง (น.222)
 สามารถใช ้ไมโครโฟนภายนอกส่วนใหญ่ (ทีม ่ จ
ี ําหน่ายทัว่ ไป) ทีม ่ ป
ี ลั๊กขนาดเล็ก
เส ้นผ่านศูนย์กลาง 3.5 มม. ได ้
 คุณสามารถใช ้ตัวควบคุมรีโมท รุน ่ RC-6 (แยกจําหน่าย น.350) เพือ ่ เริม
่ หรือหยุด
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวได ้หากโหมดขับเคลือ ่ นเป็ น <Q> ตัง้ ค่าสวิตซ์จับเวลาการ
ถ่ายภาพเป็ น <2> (รอ 2 วินาที) จากนั น ้ กดปุ่ มส่งสัญญาณ หากสวิตซ์ถก ู ตัง้ ค่าเป็ น
<o> (ถ่ายภาพทันที) การถ่ายภาพนิง่ จะทํางาน
 ด ้วยแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ทีช ่ าร์จไฟจนเต็ม เวลาในการถ่ายภาพทัง้ หมดจะเป็ น
ดังต่อไปนี:้ ประมาณ 1 ชัว่ โมง 20 นาที ทีอ ่ ณ ุ หภูมห ิ ้อง (23°C/73°F) และ
ประมาณ 1 ชัว่ โมง ทีอ ่ ณ
ุ หภูมต ิ ํา่ (0°C/32°F)
 ฟั งก์ชนั่ การโฟกัสล่วงหน ้าสามารถใช ้ได ้กับการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวเมือ ่ ใช ้เลนส์
ถ่ายภาพไกล (ช่วงพิเศษ) ทีม ่ โี หมดตัง้ ค่าโฟกัสล่วงหน ้า ซึง่ มีจําหน่ายตัง้ แต่ครึง่
หลังของปี 2011

การจําลองภาพผลล ัพธ์
การจําลองภาพผลลัพธ์จะแสดงการตัง้ ค่าปั จจุบน
ั ของรูปแบบภาพ สมดุลแสงขาว
และอืน
่ ๆ ในภาพนัน

ขณะถ่ายภาพเคลือ่ นไหว ภาพทีเ่ ห็นจะแสดงผลของการตัง้ ค่าต่อไปนีโ้ ดย
อัตโนมัต ิ
การจําลองภาพผลล ัพธ์สําหร ับการถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
 รูปแบบภาพ
* จะแสดงการตัง้ ค่าทัง้ หมด เช่น ความคมชัด ความเปรียบต่าง ความอิม
่ ตัวของสี และโทนสี
 สมดุลแสงขาว
 ปรับแก ้สมดุลแสงขาว
 ระดับแสง
 ความชัดลึก
 ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ
 แก ้ไขขอบภาพมืด
 แก ้ไขความคลาดสี
 เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง
 ภาพเคลือ ่ นไหวเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม
229
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

การถ่ายภาพนิง่
ในขณะทีถ
่ า่ ยภาพเคลือ ่ นไหว คุณยังสามารถ
ถ่ายภาพนิง่ ได ้โดยการกดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด

การถ่ายภาพนิง่ ในระหว่างทีถ
่ า่ ยภาพเคลือ
่ นไหว
 หากคุณถ่ายภาพนิง่ ในระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ภาพเคลือ ่ นไหวจะ
บันทึกช่วงขณะทีน ่ งิ่ ประมาณ 1 วินาที
 ภาพนิง่ ทีถ ่ า่ ยจะถูกบันทึกลงในการ์ด และจะกลับสูก ่ ารถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
อีกครัง้ โดยอัตโนมัตเิ มือ ่ ภาพแบบ Live View แสดงขึน ้ มา
 ไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวและภาพนิง่ จะแยกบันทึกลงในการ์ด
 ฟั งก์ชนั่ พิเศษเพือ ่ การถ่ายภาพนิง่ แสดงอยูด ั่ อืน
่ ้านล่างนี้ ฟั งก์ชน ่ ๆ จะเหมือน
กับทีถ่ า่ ยภาพเคลือ ่ นไหว
่ั
ฟังก์ชน การตงค่
ั้ า
ดังทีต่ งั ้ ค่าใน [z1: คุณภาพของภาพ]
คุณภาพใน เมือ ่ ขนาดการบันทึกภาพเคลือ ่ นไหวเป็ น [1920x1080] หรือ
การบ ันทึก
ภาพ [1280x720] อัตราส่วนภาพจะเป็ น 16:9 เมือ ่ ขนาดเป็ น [640x480]
อัตราส่วนภาพจะเป็ น 4:3
• ด ้วยการถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงอัตโนมัต:ิ ตัง้ ค่าอัตโนมัตใิ นช่วง ISO
ความไวแสง 100 - ISO 6400
ISO* • ด ้วยการถ่ายภาพแบบตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง: โปรดดู “ความไวแสง
ISO ระหว่างการถ่ายภาพแบบตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง” ในหน ้า 226
• ด ้วยการถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงอัตโนมัต:ิ ตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์และค่า
การตงค่ ั้ าการ รูรับแสงโดยอัตโนมัต ิ (แสดงขึน
้ เมือ
่ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ )
เปิ ดร ับแสง • ด ้วยการถ่ายภาพแบบตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง: ตัง้ ความเร็วชัตเตอร์
และค่ารูรับแสงด ้วยตนเอง
AEB ยกเลิก
แฟลช ปิ ดแฟลช
* หากตัง้ ค่าเน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง ช่วงความไวแสง ISO จะเริม
่ ตัง้ แต่ ISO 200

 ไม่วา่ การตัง้ ค่าโหมดขับเคลือ ่ นจะเป็ นอย่างไร การถ่ายภาพเดีย ่ วจะทํางานสําหรับ


การถ่ายภาพนิง่ ในระหว่างทีถ ่ า่ ยภาพเคลือ่ นไหว
 สามารถตัง้ เวลาก่อนเริม ่ ถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวได ้ ระหว่างทีถ
่ า่ ยภาพเคลือ่ นไหว
กล ้องจะปรับไปเป็ นการถ่ายภาพเดีย ่ ว

230
k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว

เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ่ โฟกัสอัตโนมัตริ ะหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
อาจเกิดกรณีดังต่อไปนีข ้ น
ึ้
• อาจหลุดโฟกัสชัว่ ขณะ
• ความสว่างของภาพเคลือ ่ นไหวทีบ ่ นั ทึกอาจเปลีย
่ นแปลง
• ภาพเคลือ่ นไหวทีบ ่ ันทึกอาจหยุดนิง่ ชัว่ ขณะ
• ภาพเคลือ ่ นไหวอาจบันทึกเสียงการทํางานของเลนส์
• คุณไม่สามารถถ่ายภาพนิง่ เมือ ่ จับโฟกัสไม่ได ้ เช่น เมือ่ วัตถุกําลังเคลือ
่ นที่

231
การตงค่ ่ ั ในการถ่ายภาพ
ั้ าฟังก์ชน
ั่ พิเศษเพือ
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ่ การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหวจะอธิบายดังต่อไปนี้

Q การควบคุมท ันใจ
หากคุณกดปุ่ ม <Q> ขณะทีแ ่ สดงภาพบนจอ LCD คุณสามารถตัง้ ค่าใดๆ
ต่อไปนี:้ วิธโี ฟก ัสอ ัตโนม ัติ, โหมดข ับเคลือ ่ น, คุณภาพในการบ ันทึกภาพ
(ภาพนิง่ ), ขนาดการบ ันทึกภาพเคลือ ่ นไหว, ถ่าย video snapshot,
สมดุลแสงขาว, รูปแบบภาพ, ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ และ ภาพเคลือ ่ นไหว
เอฟเฟคกล้องรูเข็ ม
ในโหมดถ่ายภาพพืน ั่ ทีเ่ ป็ นตัวหนาเท่านัน
้ ฐาน สามารถตัง้ ค่าได ้เฉพาะฟั งก์ชน ้

กดปุ่ม <Q> (7)


1 ั่ ทีส
 ฟั งก์ชน ่ ามารถตัง้ ค่าได ้จะแสดงขึน

่ ั และตงค่
2 เลื
อกฟังก์ชน ั้ า
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ั่
่ เลือกฟั งก์ชน
ั่ ทีเ่ ลือก และคําแนะนํ าคุณสมบัต ิ
 ฟั งก์ชน
(น.64) จะปรากฏขึน ้
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ั่
่ ตัง้ ค่าฟั งก์ชน
 ในการตัง้ ค่าการตัง้ ค่า <q> ของโหมด
ขับเคลือ ่ น แก ้ไขสมดุลแสงขาว/ถ่ายภาพ
คร่อมสมดุลแสงขาว หรือพารามิเตอร์รป ู
แบบภาพ ให ้กดปุ่ ม <B>

3 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <0> เพือ
่ ยืนยันการตัง้ ค่าและ
่ ารถ่ายภาพเคลือ
กลับสูก ่ นไหว
 คุณยังสามารถเลือก <2> เพือ ่ กลับสู่
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวได ้

232
3 การตงค่
ั้ าการบ ันทึกภาพเคลือ
่ นไหว
ด ้วย [Z2: ขนาดบ ันทึกภาพเคลือ ่ นไหว]
คุณสามารถตัง้ ค่าขนาดการบันทึกภาพเคลือ ่ น
ไหว (ขนาดภาพ, อัตราเฟรม, วิธก ี ารบีบอัด)
ั่ อืน
และฟั งก์ชน ่ ๆ

 ขนาดภาพ
L 1920x1080
คุณภาพในการบันทึกระดับความละเอียดสูงสุด (Full HD) อัตราส่วนภาพเป็ น
16:9
w 1280x720
คุณภาพในการบันทึกระดับความละเอียดสูง (HD) อัตราส่วนภาพเป็ น 16:9
x 640x480
คุณภาพในการบันทึกระดับความละเอียดมาตรฐาน อัตราส่วนภาพเป็ น 4:3
 อ ัตราเฟรม (fps: ภาพต่อวินาที)
D 29.97 ภาพต่อวิ./F 59.94 ภาพต่อวิ.
สําหรับพืน ่ งึ่ ใช ้รูปแบบโทรทัศน์ NTSC (อเมริกาเหนือ, ญีป
้ ทีซ ่ น, ุ่ เกาหลีใต ้,
เม็กซิโก ฯลฯ)
C 25.00 ภาพต่อวิ./E 50.00 ภาพต่อวิ.
สําหรับพืน ่ งึ่ ใช ้รูปแบบโทรทัศน์ PAL (ยุโรป, รัสเซีย, จีน, ออสเตรเลีย ฯลฯ)
้ ทีซ
B 23.98 ภาพต่อวิ.
ส่วนใหญ่สําหรับการถ่ายทําภาพยนตร์

อัตราเฟรมทีแ ่ สดงบนหน ้าจอขนาดการบันทึกภาพเคลือ ่ นไหวจะปรับเปลีย่ นขึน


้ อยูก
่ บ

ว่าได ้ตัง้ ค่า [53: ระบบวิดโี อ] ว่าเป็ น [NTSC] หรือ [PAL]
B (23.98 ภาพต่อวิ.) สามารถเลือกได ้เฉพาะเมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น [NTSC]

233
3 การตัง้ ค่าการบันทึกภาพเคลือ
่ นไหว

 วิธก
ี ารบีบอ ัด
มาตรฐาน
บีบอัดหลายเฟรมต่อหนึง่ ครัง้ ในการบันทึกอย่างมีประสิทธิภาพ
อ่อน (v)
ภาพเคลือ ่ นไหวจะถูกบันทึกทีอ ่ ต
ั ราบิตตํา่ เพือ
่ การเล่นในอุปกรณ์ชนิดต่างๆ
จึงส่งผลให ้ไฟล์มข
ี นาดเล็กกว่าภาพเคลือ ่ นไหวทีถ่ า่ ยด ้วยแบบ [มาตรฐาน]
ดังนัน
้ คุณจึงสามารถถ่ายได ้ยาวนานกว่าถ่ายด ้วยแบบ [มาตรฐาน]

หากคุณเปลีย
่ นการตัง้ ค่า [53: ระบบวิดโี อ] ให ้ตัง้ ค่าขนาดการบันทึกภาพเคลือ
่ นไหว
อีกครัง้

234
3 การตัง้ ค่าการบันทึกภาพเคลือ
่ นไหว

ระยะเวลารวมในการบ ันทึกภาพเคลือ
่ นไหวและขนาดไฟล์ตอ
่ นาที (ประมาณ)
ขนาดการบ ันทึก ระยะเวลารวมในการบ ันทึกบนการ์ด
ขนาดไฟล์
ภาพเคลือ
่ นไหว 4 GB 8 GB 16 GB
DC
L มาตรฐาน 17 นาที 35 นาที 1 ชม. 10 นาที 216 MB/นาที
[1920x B
1080] DC อ่อน 43 นาที 1 ชม. 26 นาที 2 ชม. 53 นาที 87 MB/นาที
w FE มาตรฐาน 20 นาที 40 นาที 1 ชม. 21 นาที 187 MB/นาที
[1280x
720] DC อ่อน 2 ชม. 5 นาที 4 ชม. 10 นาที 8 ชม. 20 นาที 30 MB/นาที
x DC มาตรฐาน 57 นาที 1 ชม. 55 นาที 3 ชม. 50 นาที 66 MB/นาที
[640x
480] DC อ่อน 2 ชม. 43 นาที 5 ชม. 26 นาที 10 ชม. 53 นาที 23 MB/นาที

 ไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวมีขนาดเกิน 4 GB
แม ้คุณจะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวเกิน 4 GB คุณยังคงสามารถถ่ายภาพต่อได ้โดย
ไม่มก ี ารหยุดชะงัก
ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ประมาณ 30 วินาทีกอ ่ นทีภ่ าพเคลือ่ นไหวจะมี
ขนาดไฟล์ถงึ 4 GB เวลาถ่ายภาพทีใ่ ช ้ไปทีแ ่ สดงบนหน ้าจอการถ่ายภาพ
เคลือ ่ นไหวจะเริม ่ กะพริบ หากคุณถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวต่อไปเรือ ่ ยๆ จนกระทั่ง
ขนาดไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวเกิน 4 GB ไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวใหม่จะถูกสร ้างขึน ้
โดยอัตโนมัต ิ และเวลาถ่ายภาพทีใ่ ช ้ไปหรือไทม์โค ้ดจะหยุดกะพริบ
เมือ
่ คุณเล่นภาพเคลือ ่ นไหว คุณจะต ้องแยกเล่นทีละไฟล์ ไม่สามารถเล่น
ไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวได ้แบบอัตโนมัตต ิ ามลําดับ หลังจากการเล่นภาพ
เคลือ่ นไหวหนึง่ จบลง ให ้เลือกภาพเคลือ ่ นไหวถัดไปทีจ ่ ะเล่น
 ขีดจําก ัดเวลาในการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
ระยะเวลาสูงสุดในการบันทึกคลิปภาพเคลือ ่ นไหวหนึง่ อยูท
่ ี่ 29 นาที 59 วินาที
หากเวลาในการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวถึง 29 นาที 59 วินาที การถ่ายภาพ
เคลือ
่ นไหวจะหยุดลงโดยอัตโนมัต ิ คุณสามารถเริม่ ต ้นถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวได ้
อีกครัง้ โดยการกดปุ่ ม <A> (ภาพเคลือ ่ นไหวจะบันทึกเป็ นไฟล์ใหม่)

อุณหภูมภิ ายในตัวกล ้องทีเ่ พิม


่ ขึน
้ อาจทําให ้การถ่ายภาพเคลือ่ นไหวหยุดลงก่อนทีจ
่ ะ
ถึงระยะเวลาสูงสุดในการบันทึก ดังทีแ ่ สดงในตารางข ้างต ้น (น.253)

235
การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหวด้วยเอฟเฟคกล้องรูเข็ม
คุณสามารถถ่ายภาพเคลือ่ นไหวทีม
่ เี อฟเฟคกล ้องรูเข็ม (ฉากจําลอง) ได ้ เลือก
ความเร็วในการเล่นและถ่าย

กดปุ่ม <Q>
1  หน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏขึน

2 เลื
อก [T]
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือก [T]
(เคลือ
่ นไหวเอฟเฟครูเข็ม) ทางด ้านขวา
ของหน ้าจอ

3 เลื
อกความเร็ วในการเล่น
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือก [5 เท่า]
[10 เท่า] หรือ [20 เท่า] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

4 ต้วางตํ
าแหน่งกรอบสีขาวในส่วนทีค
องการให้ภาพดูคมชดั
่ ณ

 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือ


่ นกรอบสีขาว
ไปยังส่วนทีค
่ ณ
ุ ต ้องการให ้ดูคมชัด
 หากต ้องการสลับไปมาระหว่างทิศทาง
กรอบสีขาวแนวตัง้ และแนวนอน กดปุ่ ม
<u> (หรือแตะที่ [T] ทางด ้านขวา
ล่างของหน ้าจอ)

236
การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหวด ้วยเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม

5 ถ่ายภาพเคลื อ
่ นไหว
วิธโี ฟกัสอัตโนมัตจิ ะเป็ น FlexiZone - Single
เพือ
่ โฟกัสทีก
่ งึ่ กลางของกรอบสีขาว
 กรอบสีขาวจะไม่แสดงขึน ้ ในขณะทีค
่ ณ
ุ ถ่าย
ภาพ

ความเร็ วและความยาวในการเล่นภาพ (สําหร ับภาพเคลือ


่ นไหว 1 นาที)
ความเร็ว ความยาวในการเล่น
O (5 เท่า) ประมาณ 12 วินาที
P (10 เท่า) ประมาณ 6 วินาที
Q (20 เท่า) ประมาณ 3 วินาที

 เสียงจะไม่ถก ู บันทึก
 ในการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหวจะ
ไม่ทํางาน
 การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวเอฟเฟคกล ้องรูเข็มจะไม่สามารถตัง้ ค่าได ้ หากใช ้การตัง้ ค่า
video snapshot, 1+73, 1 หรือถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว
 คุณไม่สามารถถ่ายภาพนิง่ ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยเอฟเฟคกล ้องรูเข็มได ้
 ภาพเคลือ่ นไหวเอฟเฟคกล ้องรูเข็มทีม ้ กว่า 1 วินาที จะไม่สามารถ
่ เี วลาเล่นสัน
แก ้ไขได ้ (น.292)

237
3 การถ่าย Video Snapshot
คุณสามารถถ่ายชุดคลิปภาพเคลือ ่ นไหวได ้นานประมาณ 2 วินาที, 4 วินาที หรือ
8 วินาที ซึง่ เรียกว่า video snapshot ทัง้ นี้ video snapshot หลายๆ ชุดสามารถ
นํ ามารวมกันเป็ นภาพเคลือ ่ นไหวเดียวได ้ เรียกว่าอัลบัม
้ video snapshot คุณจึง
สามารถแสดงเหตุการณ์ทส ี่ ําคัญของการเดินทางหรืองานได ้อย่างฉั บไว
อัลบัม
้ video snapshot สามารถเล่นพร ้อมกับดนตรีฉากหลัง (น.245, 297)

มโนภาพของอ ัลบม
ั้ video snapshot

Video Video Video


snapshot 1 snapshot 2 snapshot x

อัลบัม
้ video snapshot

การตงค่
ั้ าระยะเวลาการถ่าย Video Snapshot
เลือก [ถ่าย video snapshot]
1  ภายใต ้แท็บ [Z2] เลือก [ถ่าย video
snapshot] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

อก [ใชง้ าน]
2 เลื
 เลือก [ใช้งาน] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

238
3 การถ่าย Video Snapshot

3 เลื
อก [การตงค่
ั้ าอ ัลบม]
 เลือก [การตงค่
ั้
ั้ าอ ัลบม] ั้ จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

4 เลื
อก [สร้างอ ัลบมใหม่
ั้
 เลือก [สร้างอ ัลบมใหม่
ั้
]
] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

5 เลื
อกความยาว snapshot
 กดปุ่ ม <0> และใช ้ปุ่ ม <W> <X>
เพือ ่ เลือกความยาว snapshot จากนั น
้ กด
ปุ่ ม <0>

6 เลื
อก [ตกลง]
 เลือก [ตกลง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ ออกจากเมนู
 แถบสีนํ้าเงินจะปรากฏขึน ้ เพือ
่ แสดงความ
ยาว snapshot
 ไปที่ “การสร ้างอัลบัม
้ video snapshot”
(น.240)
ระยะเวลาการถ่าย

239
3 การถ่าย Video Snapshot

การสร้างอ ัลบม
ั้ video snapshot

7 ถ่ายกดปุ่video snapshot แรก


ม <A> จากนัน
้ เริม
่ ถ่าย
 แถบสีนํ้าเงินบ่งบอกระยะเวลาการถ่ายทีจ
่ ะ
ค่อยๆ ลดลง หลังจากครบระยะเวลาการ
ถ่ายทีก
่ ําหนด การถ่ายภาพจะหยุดลงโดย
อัตโนมัต ิ
 หน ้าจอยืนยันจะปรากฏขึน้ (น.241-242)

8 บันทึเลืกอกเป[J
็ นอ ัลบม ั้ video snapshot
บ ันทึกเป็นอ ัลบม]
ั้ จากนั น
้ กด
ปุ่ ม <0>
 คลิปภาพเคลือ
่ นไหวจะถูกบันทึกเป็ น
video snapshot แรกของอัลบัม
้ video
snapshot

9 ถ่ายทําvideo
ซํ้าขัน
snapshot ต่อไป
้ ตอนที่ 7 เพือ
่ ถ่าย video
snapshot ถัดไป
 เลือก [J เพิม ่ ในอ ัลบม]ั้ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>
 ในการสร ้างอัลบัม ้ video snapshot อืน่
ให ้เลือก [W บ ันทึกเป็นอ ัลบมใหม่
ั้ ]
 ทําซํ้าขัน
้ ตอนที่ 9 ตามความจําเป็ น

10 ออกจากการถ่ าย video snapshot


 ตัง้ ค่า [ถ่าย video snapshot] เป็ น
[ไม่ใช้งาน] ในการกล ับสูก ่ ารถ่ายภาพ
เคลือ
่ นไหวตามปกติ ตรวจสอบให้
แน่ใจว่าได้ตงค่ั้ าเป็น [ไม่ใช้งาน]
 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ ออกจากเมนูและ
กลับสูก่ ารถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวตามปกติ

240
3 การถ่าย Video Snapshot

ต ัวเลือกในขนตอนที
ั้ ่ 8 และ 9
่ั
ฟังก์ชน คําอธิบาย

J บ ันทึกเป็นอ ัลบม
ั้ คลิปภาพเคลือ
่ นไหวจะถูกบันทึกเป็ น video
(ขัน้ ตอนที่ 8) snapshot แรกของอัลบัม
้ video snapshot

J เพิม่ ในอ ัลบม


ั้ Video snapshot ทีเ่ พิง่ ถ่ายจะถูกเพิม ่ ไปยัง
(ขัน
้ ตอนที่ 9) อัลบัม
้ ทีบ
่ ันทึกไว ้ก่อนหน ้านีใ้ นทันที

สร ้างอัลบัม
้ video snapshot ใหม่และคลิปภาพ
W บ ันทึกเป็นอ ัลบมใหม่
ั้ เคลือ่ นไหวจะถูกบันทึกเป็ น video snapshot
(ขัน้ ตอนที่ 9) แรก ไฟล์อล ั บัม
้ ใหม่จะแตกต่างจากอัลบัม
้ ที่
บันทึกก่อนหน ้า

1 เล่น video snapshot Video snapshot ทีเ่ พิง่ ถ่ายจะถูกเล่น สําหรับ


(ขัน
้ ตอนที่ 8 และ 9) วิธก
ี ารเล่นภาพ โปรดดูตารางในหน ้าถัดไป

r ไม่บ ันทึกเป็นอ ัลบม


ั้
Video snapshot ทีเ่ พิง่ ถ่ายจะถูกลบแทนทีจ
่ ะ
(ขัน
้ ตอนที่ 8)
บันทึกไปยังอัลบัม
้ เลือก [ตกลง] ในกล่องโต ้
r ลบโดยไม่บ ันทึกเป็นอ ัลบม
ั้
ตอบเพือ่ ยืนยัน
(ขัน้ ตอนที่ 9)

หากคุณต ้องการทีจ ่ ะถ่าย video snapshot ใหม่


หลังจากทีเ่ พิง่ ถ่าย video snapshot ไป ให ้ตัง้ ค่า
[แสดงข้อความการยืนย ัน] เป็ น [ไม่ใช้งาน]
การตัง้ ค่านีจ
้ ะช่วยให ้คุณทําการถ่าย video
snapshot ครัง้ ใหม่ได ้ทันที โดยไม่มห ี น ้าจอแสดง
การยืนยันปรากฏขึน ้ ในแต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ ถ่ายเสร็จ

241
3 การถ่าย Video Snapshot

วิธก
ี าร [เล่น video snapshot] ในขนตอนที
ั้ ่ 8 และ 9
่ั
ฟังก์ชน คําอธิบายการเล่นภาพ
ด ้วยการกดปุ่ ม <0> คุณก็สามารถเล่นหรือหยุด video snapshot
7 เล่น
ชัว่ คราวทีเ่ พิง่ ถ่ายเสร็จไป

5 เฟรมแรก แสดงฉากแรกของ video snapshot แรกในอัลบัม


ทุกครัง้ ทีค
่ ณุ กดปุ่ ม <0> video snapshot จะข ้ามไปข ้างหลัง
P ข้ามไปข้างหล ัง*
ไม่กวี่ น
ิ าที
แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <0> จะแสดงเฟรมก่อนหน ้าทีละเฟรม
3 เฟรมทีแ
่ ล้ว
หากคุณกดปุ่ ม <0> ค ้างไว ้ ภาพเคลือ่ นไหวจะเล่นย ้อนกลับ
แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <0> จะเล่นภาพเคลือ่ นไหวแบบเฟรมต่อ
6 เฟรมถ ัดไป เฟรม หากคุณกดปุ่ ม <0> ค ้างไว ้ ภาพเคลือ ่ นไหวจะเล่นอย่าง
รวดเร็ว
ทุกครัง้ ทีค
่ ณุ กดปุ่ ม <0> video snapshot จะข ้ามไปข ้างหน ้า
O ข้ามไปข้างหน้า*
ไม่กวี่ น
ิ าที

4 เฟรมสุดท้าย แสดงฉากสุดท ้ายของ video snapshot สุดท ้ายในอัลบัม


ตําแหน่งการเล่นภาพ

mm’ ss” เวลาในการเล่น (นาที:วินาที)

คุณสามารถปรับระดับเสียงของลําโพงในตัวกล ้อง (น.290) ได ้


9 ระด ับเสียง
โดยหมุนปุ่ ม <6>

32 กดปุ่ ม <M> เพือ


่ กลับไปหน ้าจอก่อนหน ้า

* ด ้วย [ข้ามไปข้างหล ัง] และ [ข้ามไปข้างหน้า] ความยาวในการข ้ามจะสัมพันธ์กบ ั


จํานวนวินาทีทต ี่ งั ้ ค่าไว ้ภายใต ้ [ถ่าย video snapshot] (ประมาณ 2 วินาที, 4 วินาที
หรือ 8 วินาที)

242
3 การถ่าย Video Snapshot

การเพิม
่ ไปย ังอ ัลบมที
ั้ ม่ อ
ี ยู่
เลือก [เพิม
่ ไปย ังอ ัลบมที
ั้ ม่ อ
ี ยู]่
1  ทําตามขัน
้ ตอนที่ 4 ในหน ้า 239 เพือ ่ เลือก
[เพิม
่ ไปย ังอ ัลบมที
ั้ ม่ อ
ี ยู]่ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

2 เลื
อกอ ัลบมที
ั้ ม
่ อ
ี ยู่
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ เลือกอัลบัม
้ ทีม
่ อ
ี ยู่
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 เลือก [ตกลง] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 การตัง้ ค่า video snapshot บางค่าจะ
เปลีย่ นเพือ ่ ให ้สอดคล ้องกับการตัง้ ค่าของ
อัลบัม ้ ทีม่ อี ยู่
 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ ออกจากเมนู
 หน ้าจอการถ่าย video snapshot จะ
ปรากฏขึน ้

3 ถ่ายรายละเอี
video snapshot
ยดในการถ่าย video snapshot
โปรดดู “การสร ้างอัลบัม
้ video snapshot”
(น.240)

คุณไม่สามารถเลือกอัลบัม
้ ทีถ
่ า่ ยโดยกล ้องอืน
่ ได ้

243
3 การถ่าย Video Snapshot

ข้อควรระว ังสําหร ับการถ่าย Video Snapshot


 คุณสามารถเพิม ่ เฉพาะ video snapshot ทีม ่ รี ะยะเวลาเท่ากันไปยังอัลบัม ้ หนึง่
(แต่ละไฟล์ประมาณ 2 วินาที, 4 วินาที หรือ 8 วินาที)
 โปรดทราบว่าหากคุณทําสิง่ ใดต่อไปนีใ้ นขณะถ่าย video snapshot อัลบัม ้ ใหม่จะ
ถูกสร ้างขึน
้ สําหรับ video snapshot ทีถ ่ า่ ยภายหลัง
• การเปลีย ่ น [ขนาดบ ันทึกภาพเคลือ ่ นไหว]
• การเปลีย่ นการตัง้ ค่า [บ ันทึกเสียง] จาก [อ ัตโนม ัติ]/[ตงเอง]
ั้ เป็ น [ไม่ใช้งาน]
หรือจาก [ไม่ใช้งาน] เป็ น [อ ัตโนม ัติ]/[ตงเอง] ั้
• อัพเดทโปรแกรมควบคุมระบบ
 คุณไม่สามารถถ่ายภาพนิง่ ในขณะถ่าย video snapshot ได ้
 ระยะเวลาการถ่าย video snapshot เป็ นเพียงการประมาณเท่านัน ้
ระยะเวลาการถ่ายทีแ ่ สดงในระหว่างการเล่นภาพอาจไม่แน่นอนทัง้ นีข ้ น
ึ้ อยูก่ บ

อัตราเฟรม

244
3 การถ่าย Video Snapshot

การเล่นอ ัลบม
ั้
คุณสามารถเล่นอัลบัม
้ video snapshot ได ้เช่นเดียวกับการเล่นภาพเคลือ
่ นไหว
ปกติ (น.290)
เล่นภาพเคลือ
่ นไหว
1  กดปุ่ ม <x> เพือ
่ แสดงภาพ

2 เลื
อกอ ัลบม
ั้
 ในการแสดงภาพเดีย
่ ว ไอคอน [st]
ทีแ
่ สดงขึน ่ ้านซ ้ายบนของหน ้าจอแสดง
้ ทีด
ถึง video snapshot
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกอัลบัม

3 เล่
นอ ัลบม ั้
 กดปุ่ ม <0>
 บนแผงควบคุมการเล่นภาพเคลือ ่ นไหวที่
แสดง ให ้เลือก [7] (เล่น) จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

ดนตรีฉากหล ัง
 คุณสามารถใช ้ดนตรีฉากหลังเมือ ่ คุณเล่นอัลบัม ้ ภาพเคลือ
่ นไหวปกติ และสไลด์
โชว์ได ้บนกล ้อง (น.291, 294) ในการเล่นดนตรีฉากหลัง คุณจะต ้องคัดลอกดนตรี
ฉากหลังโดยใช ้ EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS) ไปยังการ์ดก่อน สําหรับข ้อมูล
เกีย่ วกับวิธคี ด
ั ลอกดนตรีฉากหลัง โปรดดูคม ื การใช ้งาน EOS Utility (น.404)
ู่ อ
 เพลงทีบ ่ าร์ดจะต ้องใช ้เพือ
่ ันทึกอยูใ่ นเมมโมรีก ่ ความบันเทิงส่วนตัวเท่านัน
้ และ
ต ้องไม่ละเมิดเจ ้าของลิขสิทธิ์

245
3 การถ่าย Video Snapshot

การแก้ไขอ ัลบม
ั้
หลังจากการถ่าย คุณสามารถจัดเรียงใหม่ ลบ หรือเล่น video snapshot ใน
อัลบัม
้ ได ้
เลือก [X]
1  บนแผงควบคุมการเล่นภาพเคลือ ่ นไหวที่
แสดง ให ้เลือก [X] (แก ้ไข) จากนัน
้ กด
ปุ่ ม <0>
 หน ้าจอการแก ้ไขจะแสดงขึน้

2 เลื
อกวิธกี ารแก้ไข
 เลือกตัวเลือกการแก ้ไข จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

่ั
ฟังก์ชน คําอธิบาย
กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือก video snapshot ทีค
่ ณ
ุ ต ้องการ
T ย้าย snapshot ย ้าย จากนั น
้ กดปุ่ ม <0> กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ ย ้าย
snapshot จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือก video snapshot ทีค
่ ณ
ุ ต ้องการ
L ลบ snapshot ลบ จากนัน้ กดปุ่ ม <0> ไอคอน [L] จะแสดงขึน ้ ที่ video
snapshot ทีถ่ ก
ู เลือก การกด <0> อีกครัง้ จะเป็ นการยกเลิก
การเลือก และ [L] จะหายไป
กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือก video snapshot ทีค
่ ณ
ุ ต ้องการ
7 ดู snapshot
เล่น จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

246
3 การถ่าย Video Snapshot

3 บันทึกดปุ่กอม ัลบมที
ั้ แ
่ ก้ไข
<M> เพือ ่ ผงการ
่ กลับสูแ
แก ้ไขทีด ่ ้านล่างสุดของหน ้าจอ
 เลือก [W] (บันทึก) จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอการบันทึกจะปรากฏขึน ้
 ในการบันทึกเป็ นอัลบัม ้ ใหม่ เลือก [ไฟล์
ใหม่] ในการบันทึกและเขียนทับอัลบัม ้
ดัง้ เดิม เลือก [เขียนท ับ] จากนั น้ กดปุ่ ม
<0>

 หากการ์ดมีทวี่ า่ งไม่เพียงพอ ตัวเลือก [ไฟล์ใหม่] จะไม่สามารถเลือกได ้


 เมือ
่ ระดับพลังงานแบตเตอรีต ้ จะไม่สามารถทําได ้ ใช ้แบตเตอรีท
่ ํา่ การแก ้ไขอัลบัม ่ ี่
ชาร์จไฟจนเต็ม

247
3 การตงค่ ่ ั ของเมนู
ั้ าฟังก์ชน
Z1
เมือ
่ คุณปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <k>
แท็บ [Z1] และ [Z2] จะแสดงฟั งก์ชน ั่
เฉพาะสําหรับการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว

 วิธโี ฟก ัสอ ัตโนฯ


วิธโี ฟกัสอัตโนมัตจ ่ ธิบายไว ้ในหน ้า 206-213 คุณสามารถ
ิ ะเหมือนกันกับทีอ
เลือก [u+การติดตาม], [FlexiZone - Multi] หรือ [FlexiZone -
Single]
 Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว
ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว กล ้องจะโฟกัสเป้ าหมายอย่างต่อเนือ ่ ง
การตัง้ ค่าเริม
่ ต ้นคือ [ใช้งาน]
เมือ
่ ตงค่
ั้ าเป็น [ใช้งาน]:
 กล ้องจะโฟกัสเป้ าหมายอย่างต่อเนือ่ ง แม ้ในขณะทีค่ ณ ุ ไม่ได ้กดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ก็ตาม
 การขับเคลือ่ นเลนส์อย่างต่อเนือ่ ง จะใช ้พลังงานแบตเตอรีม่ ากและทําให ้
ระยะเวลาของการถ่ายภาพเคลือ ้ ลง (น.235)
่ นไหวสัน
 สําหรับเลนส์บางชนิด เสียงการทํางานของเลนส์ระหว่างการโฟกัสอาจถูก
บันทึกลงไปด ้วย หากเหตุการณ์นเี้ กิดขึน ้ ให ้ใช ้ไมโครโฟนภายนอก
(มีจําหน่ายทั่วไป) เพือ ่ ลดเสียงการทํางานของเลนส์ในภาพเคลือ ่ นไหว
และการใช ้เลนส์ STM บางชนิด (ตัวอย่างเช่น EF-S18-55mm f/3.5-5.6
IS STM) จะลดเสียงการทํางานของเลนส์ได ้
 หากคุณต ้องการปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์เป็ น <MF> ระหว่าง
Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว ให ้ปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <1> ก่อน

248
ั่ ของเมนู
3 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

 หากคุณต ้องการโฟกัสค ้างเฉพาะจุดทีต่ ้องการ หรือคุณไม่ต ้องการให ้เสียง


การทํางานของเลนส์ถก ู บันทึก คุณสามารถหยุดการทํางานของ Servo AF
ภาพเคลือ ่ นไหวชัว่ คราวได ้ดังนี้ เมือ ่ คุณหยุด Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว
จุด AF จะเปลีย ่ นเป็ นสีเทา หากคุณทําตามขัน ้ ตอนด ้านล่าง Servo AF
ภาพเคลือ ่ นไหวจะทํางานอีกครัง้
• กดปุ่ ม <D>
• แตะทีไ่ อคอน [P] ทีด ่ ้านซ ้ายล่างของหน ้าจอ
• หากตัง้ ค่า [10: ปุ่มช ัตเตอร์/ปุ่มล็ อค AE] เป็ น [2: AF/ล็ อค AF,
ไม่ล็อค AE] ใน [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] คุณสามารถหยุด
Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหวได ้ชัว่ ขณะระหว่างทีก ่ ดปุ่ ม <A> ค ้างไว ้ เมือ

คุณปล่อยนิว้ จากปุ่ ม <A> Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหวจะทํางานอีกครัง้
 ขณะที่ Servo AF ภาพเคลือ่ นไหวถูกหยุดชัว่ ขณะ หากคุณกลับไปถ่าย
ภาพเคลือ ่ นไหวหลังจากกดปุ่ ม <M> หรือ <x> Servo AF ภาพ
เคลือ ่ นไหวจะทํางานอีกครัง้
เมือ
่ ตงค่
ั้ าเป็น [ไม่ใช้งาน] :
 กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ่ โฟกัส

ข้อควรระว ังเมือ
่ ตงค่
ั้ า [Servo AF ภาพเคลือ
่ นไหว] เป็น [ใช้งาน]
 สภาวะการถ่ายภาพซึง่ อาจทําให้ยากต่อการโฟก ัส
• เป้ าหมายทีข่ ยับอย่างรวดเร็วเข ้าหากล ้องหรือถอยออกห่างจากกล ้อง
• เป้ าหมายทีก
่ ําลังขยับในระยะใกล ้กับหน ้ากล ้อง
• โปรดดู “สภาวะการถ่ายภาพซึง่ อาจทําให ้ยากต่อการโฟกัส” ในหน ้า 212
 Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว จะหยุดชัว่ ขณะระหว่างการซูมหรือขยายภาพ
 ระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว หากเป้ าหมายขยับเข ้าหาหรือเคลือ
่ นทีอ ่ อก หรือ
หากกล ้องเคลือ ่ นทีใ่ นแนวตัง้ หรือแนวนอน (แพน) ภาพเคลือ่ นไหวทีบ ่ น
ั ทึกอาจ
ขยายหรือหดชัว่ ขณะ (เปลีย ่ นแปลงในการขยายภาพ)

249
ั่ ของเมนู
3 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

 ใช้ป่ มชุ ัตเตอร์หา AF ขณะบ ันทึกภาพเคลือ ่ นไหว


ในขณะทีถ ่ า่ ยภาพเคลือ ่ นไหว คุณยังสามารถถ่ายภาพนิง่ ได ้โดยการกดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงจนสุด ตามค่าเริม ่ ต ้น การทํางานของ AF ถูกตัง้ ค่าไว ้เป็ น [AF
ครงเดี
ั้ ยว]
เมือ่ ตงค่ ั้ าใช้ [AF ครงเดี ั้ ยว]:
• คุณสามารถโฟกัสใหม่และถ่ายภาพนิง่ ได ้โดยการกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่
หนึง่ ขณะกําลังถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
• ขณะถ่ายภาพวัตถุทห ี่ ยุดนิง่ คุณสามารถถ่ายภาพได ้ด ้วยการโฟกัสที่
แม่นยํา
เมือ
่ ตงค่ ั้ าเป็น [ไม่ใช้งาน] :
• คุณสามารถเริม ่ ถ่ายภาพนิง่ ได ้ทันทีโดยการกดปุ่ มชัตเตอร์ แม ้ว่าจะยังจับ
โฟกัสไม่ได ้ สิง่ นีจ ้ ะเป็ นประโยชน์เมือ ่ คุณต ้องการให ้ความสําคัญกับ
จังหวะในการถ่ายภาพมากกว่าการโฟกัส
 แสดงตาราง
คุณสามารถแสดงเส ้นตารางด ้วย [ตาราง 1l] หรือ [ตาราง 2m] คุณ
สามารถตรวจสอบความเอียงในแนวนอนหรือแนวตัง้ ได ้เมือ ่ ถ่ายภาพ
 ระยะเวลาว ัดแสงK
คุณสามารถเปลีย ่ นระยะเวลาแสดงการตัง้ ค่าการเปิ ดรับแสงได ้ (เวลาล็อค AE)

Z2

 ขนาดการบ ันทึกภาพเคลือ ่ นไหว


คุณสามารถตัง้ ค่าขนาดการบันทึกภาพเคลือ ่ นไหว (ขนาดภาพ, อัตราเฟรม,
วิธก
ี ารบีบอัด) ได ้ สําหรับรายละเอียด โปรดดูหน ้า 233-235

250
ั่ ของเมนู
3 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

 บ ันทึกเสียง J
โดยปกติแล ้วไมโครโฟนในตัวกล ้องจะบันทึก
เสียงแบบสเตอริโอ หากไมโครโฟนภายนอก
แบบสเตอริโอส่วนใหญ่ (ทีม ่ จ
ี ําหน่ายทั่วไป)
ทีม่ ปี ลั๊กขนาดเล็กเส ้นผ่านศูนย์กลาง 3.5 มม.
เชือ่ มต่ออยูก่ บ
ั ช่องต่อเข ้าไมโครโฟนภายนอก
ของกล ้อง (น.26) กล ้องจะใช ้งานไมโครโฟน
นัน
้ ก่อน
มาตรระดับ
ตัวเลือก [บ ันทึกเสียง/ระด ับเสียง]
[อ ัตโนม ัติ] : ระดับการบันทึกเสียงจะถูกปรับโดยอัตโนมัต ิ การควบคุมระดับ
แบบอัตโนมัตจิ ะทํางานโดยอัตโนมัตเิ พือ ่ ตอบรับระดับเสียง
[ตงเอง]
ั้ : สําหรับผู ้ใช ้งานขัน้ สูง คุณสามารถปรับระดับการบันทึกเสียง
ได ้ใน 64 ระดับ
เลือก [ระด ับเสียง] และมองทีม ่ าตรระดับขณะกดปุ่ ม <Y>
<Z> เพือ ่ ปรับระดับการบันทึกเสียง มองตัวแสดงขีดระดับสูง
สุด (ประมาณ 3 วินาที) และปรับ ซึง่ ทําให ้บางครัง้ มาตรระดับ
ทีอ
่ ยูด
่ ้านขวาของสัญลักษณ์ “12” (-12 dB) สว่างขึน ้ เมือ

เกิดเสียงดังสุด หากมาตรระดับเกิน “0” เสียงจะไม่เหมือนจริง
[ไม่ใช้งาน]: เสียงจะไม่ถก ู บันทึก
[ลดเสียงลม]
เมือ่ ตัง้ ค่าเป็ น [อ ัตโนม ัติ] จะลดเสียงลมขณะทีม ่ ล
ี มภายนอกได ้ คุณสมบัต ิ
้ ามารถใช ้ได ้กับไมโครโฟนทีม
นีส ่ ใี นตัวกล ้องเท่านัน้ ขณะทีฟ ั่ ลดเสียง
่ ั งก์ชน
ลมทํางานอยู่ เสียงเบสทีต ่ ํา่ อาจจะถูกลดเสียงลงไปด ้วย
[ลดระด ับเสียง]
ถึงแม ้ว่าจะตัง้ ค่า [บ ันทึกเสียง] เป็ น [อ ัตโนม ัติ] หรือ [ตงเอง]
ั้ ก่อนการ
ถ่ายภาพแล ้ว แต่ก็ยังอาจเกิดเสียงแตกขึน ้ ได ้หากมีเสียงดังมาก ในกรณีนี้
แนะนํ าให ้ตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน]

251
ั่ ของเมนู
3 การตัง้ ค่าฟั งก์ชน

 ในโหมดถ่ายภาพพืน ้ ฐาน การตัง้ ค่าทีส ่ ามารถใช ้ได ้กับ [บ ันทึกเสียง] จะเป็ น


[เปิ ด] หรือ [ปิ ด] หากตัง้ ค่าเป็ น [เปิ ด] ระดับการบันทึกเสียงจะถูกปรับโดย
อัตโนมัต ิ (เช่นเดียวกับ [อ ัตโนม ัติ]) แต่ฟังก์ชน ั่ ลดเสียงลมจะไม่ทํางาน
 ความสมดุลของระดับเสียงระหว่าง L (ซ ้าย) และ R (ขวา) ไม่สามารถปรับได ้
 ทัง้ เสียง L และ R จะถูกบันทึกทีอ ่ ต
ั ราความถี่ 48 kHz/16-bit

 ถ่าย video snapshot


คุณสามารถถ่าย video snapshot สําหรับรายละเอียด โปรดดูหน ้า 238

252
ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
ไอคอนการเตือนอุณหภูมภ ิ ายใน <s> สีขาวและ <E> สีแดง
 หากอุณหภูมภ ิ ายในตัวกล ้องเพิม ่ สูงขึน
้ เนือ
่ งจากถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวเป็ นเวลานาน
หรือภายใต ้อุณหภูมแ ิ วดล ้อมทีส ่ งู ไอคอนสีขาว <s> หรือสีแดง <E> จะ
ปรากฏขึน ้
 ไอคอนสีขาว <s> บ่งบอกว่าคุณภาพของภาพนิง่ จะลดลง แนะนํ าให ้คุณหยุด
การถ่ายภาพนิง่ ชัว่ คราวและพักให ้กล ้องเย็นลง เนือ ่ งจากคุณภาพของภาพเคลือ ่ น
ไหวแทบจะไม่มผ ี ลกระทบ คุณยังคงสามารถถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวได ้
 ไอคอนสีแดง <E> บ่งบอกว่าการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวจะสิน ้ สุดลงโดยอัตโนมัต ิ
ในไม่ช ้า หากเกิดกรณีนข ี้ นึ้ คุณจะไม่สามารถถ่ายภาพได ้อีกครัง้ จนกว่าอุณหภูม ิ
ภายในตัวกล ้องจะลดลง ให ้ปิ ดกล ้องและพักกล ้องชัว่ ครู่
 การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวในทีอ ่ ณ
ุ หภูมส ิ งู เป็ นระยะเวลานานจะส่งผลให ้ไอคอน
<s> หรือ <E> ปรากฏเร็วขึน ้ ควรปิ ดกล ้องตลอดเวลาเมือ ่ คุณไม่ได ้ถ่ายภาพ
การบ ันทึกภาพและคุณภาพของภาพ
 หากเลนส์ทต ี่ ด
ิ มีระบบลดภาพสัน ่ และคุณปรับสวิตซ์ระบบลดภาพสัน ่ (IS) ไปที่
<1> ระบบลดภาพสัน ่ จะทํางานตลอดเวลาแม ้คุณจะไม่ได ้กดปุ่ มชัตเตอร์ลง
ครึง่ หนึง่ ก็ตาม ระบบลดภาพสัน ่ จะใช ้พลังงานของแบตเตอรีแ ่ ละอาจลดเวลาใน
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวทัง้ หมดลง หรือลดจํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้ หากคุณใช ้งาน
ขาตัง้ กล ้องหรือไม่จําเป็ นต ้องใช ้ระบบลดภาพสัน ่ คุณควรปรับสวิตซ์ IS ไปที่
<2>
 ไมโครโฟนในตัวกล ้องจะเก็บเสียงการทํางานของกล ้องเช่นกัน ใช ้ไมโครโฟนภาย
นอก (มีจําหน่ายทัว่ ไป) เพือ ่ ลดเสียงการทํางานของกล ้องในภาพเคลือ ่ นไหว
 อย่าเชือ่ มต่ออุปกรณ์ใดๆ เข ้ากับช่องต่อเข ้าไมโครโฟนภายนอก นอกจาก
ไมโครโฟนภายนอกเท่านัน ้
 หากมีการเปลีย ่ นแปลงความสว่างในขณะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวโดยใช ้การเปิ ดรับแสง
อัตโนมัต ิ ภาพเคลือ ่ นไหวอาจหยุดลงชัว่ คราว ในกรณีดงั กล่าว ให ้ถ่ายภาพเคลือ ่ น
ไหวโดยตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง
 หากในภาพมีแหล่งกําเนิดแสงทีส ่ ว่างจ ้า พืน้ ทีส่ ว่างอาจแสดงเป็ นสีดําบนจอ LCD
ภาพเคลือ ่ นไหวจะถูกบันทึกเกือบจะเหมือนกันกับทีแ ่ สดงในจอ LCD
 ในสภาวะแสงน ้อย อาจปรากฏน๊ อยส์หรือสีผด ิ เพีย้ นในภาพ ภาพเคลือ ่ นไหวจะถูก
บันทึกเกือบจะเหมือนกันกับทีแ ่ สดงในจอ LCD
 หากคุณเล่นภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยอุปกรณ์อน ื่ ๆ คุณภาพของภาพหรือเสียงอาจลดลง
หรือการเล่นอาจไม่สามารถทําได ้ (ถึงแม ้อุปกรณ์นัน ้ ๆ จะรองรับรูปแบบ MP4)

253
ข้อควรระว ังทว่ ั ไปในการถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
การบ ันทึกภาพและคุณภาพของภาพ
 หากคุณใช ้งานการ์ดทีม ่ ค
ี วามเร็วในการเขียนตํา่ ตัวแสดงห ้าระดับ
อาจปรากฏทางด ้านขวาของหน ้าจอขณะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ตัว
แสดงนี้จะแสดงจํานวนข ้อมูลทีย ่ ังไม่ได ้เขียนลงการ์ด (ความจุท ี่
เหลืออยูข่ องหน่วยความจําบัฟเฟอร์ภายใน) ยิง่ การ์ดเขียนได ้ช ้า
เท่าไร ตัวแสดงจะยิง่ เพิม่ สูงขึน้ เท่านัน้ หากระดับในตัวแสดงเพิม ่
ขึน
้ จนเต็มช่อง การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวจะหยุดโดยอัตโนมัต ิ
หากการ์ดมีความเร็วในการเขียนสูง ตัวแสดงจะไม่ปรากฏหรือ (หาก ตัวแสดง
ปรากฏ) ระดับจะแทบไม่เพิม ่ ขึน้ ก่อนอืน ่ ควรทดสอบถ่ายภาพ
เคลือ่ นไหวสองสามคลิปเพือ ่ ตรวจดูวา่ การ์ดสามารถเขียนได ้เร็วพอ
หรือไม่
การถ่ายภาพนิง่ ในระหว่างทีถ
่ า
่ ยภาพเคลือ
่ นไหว
 สําหรับคุณภาพของภาพนิง่ โปรดดู “คุณภาพของภาพ” ในหน ้า 218
การเล่นภาพและการเชือ ่ มต่อเครือ
่ งร ับโทรท ัศน์
 หากคุณต่อกล ้องกับเครือ่ งรับโทรทัศน์ (น.298-301) และถ่ายภาพเคลือ่ นไหว
เครือ
่ งรับโทรทัศน์จะไม่ถา่ ยทอดเสียงใดๆ ในระหว่างการถ่าย อย่างไรก็ตาม
เสียงจะยังคงถูกบันทึกได ้อย่างสมบูรณ์

ข้อจําก ัดของภาพเคลือ
่ นไหวรูปแบบ MP4
โปรดทราบว่า โดยทัว่ ไปแล ้วภาพเคลือ
่ นไหวรูปแบบ MP4 มีข ้อจํากัดดังต่อไปนี้
 เสียงจะไม่ถกู บันทึกในช่วงประมาณสองเฟรมสุดท ้าย
 เมือ
่ คุณเล่นภาพเคลือ่ นไหวใน Windows ภาพและเสียงอาจเหลือ ่ มกันเล็กน ้อย

254
คุณสมบ ัติทม
ี่ ป
ี ระโยชน์
9
 การปิ ดเสียงเตือน (น.256)
 การเตือนการ์ด (น.256)
 การตัง้ ระยะเวลาแสดงภาพ (น.257)
 การตัง้ เวลาปิ ดสวิตช์อต ั โนมัต ิ (น.257)
 การปรับความสว่างจอ LCD (น.258)
 การสร ้างและการเลือกโฟลเดอร์ (น.259)
 วิธก
ี ารตัง้ หมายเลขไฟล์ภาพ (น.261)
 การกําหนดข ้อมูลลิขสิทธิข ์ องภาพ (น.263)
 การหมุนภาพแนวตัง้ โดยอัตโนมัต ิ (น.265)
 การตรวจสอบการตัง้ ค่าของกล ้อง (น.266)
 การปรับตัง้ กล ้องให ้กลับสูค่ า่ เริม
่ ต ้น (น.267)
 การตัง้ ค่าปิ ด/เปิ ดจอ LCD (น.270)
 การปรับเปลีย ่ นสีของหน ้าจอตัง้ ค่าการถ่ายภาพ (น.270)
 การทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอัตโนมัต ิ (น.271)
 การผนวกข ้อมูลการลบภาพฝุ่ น (น.272)
 การทําความสะอาดเซนเซอร์ด ้วยตนเอง (น.274)

255
คุณสมบ ัติทม
ี่ ป
ี ระโยชน์
3 การปิ ดเสียงเตือน
คุณสามารถป้ องกันไม่ให ้เสียงเตือนดังขณะจับโฟกัสระหว่างการถ่ายภาพโดยใช ้
การตัง้ เวลาและการใช ้งานจอสัมผัส
ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [เสียงเตือน]
จากนัน้ กดปุ่ ม <0> เลือก [ไม่ใช้งาน]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
สําหรับการปิ ดเสียงเตือนระหว่างการใช ้งานจอ
สัมผัสเท่านั น
้ ให ้เลือก [แตะเพือ
่ y]

3 การเตือนการ์ด
การตัง้ ค่านีจ
้ ะช่วยป้ องกันการถ่ายภาพโดยทีไ่ ม่มก
ี าร์ดเสียบอยูใ่ นกล ้อง
ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [ลน ่ ั ช ัตเตอร์ขณะ
ไม่มกี าร์ด] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0> เลือก
[ไม่ใช้งาน] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
หากคุณกดปุ่ มชัตเตอร์โดยทีไ่ ม่มก ี ารเสียบ
การ์ดในกล ้อง “Card” จะแสดงขึน ้ ในช่อง
มองภาพและคุณจะไม่สามารถลั่นชัตเตอร์ได ้

256
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การตงระยะเวลาแสดงภาพ
ั้
คุณสามารถกําหนดระยะเวลาการแสดงภาพบนจอ LCD หลังจากทีถ ่ า่ ยภาพได ้
หากตัง้ ค่าเป็ น [ปิ ด] ภาพจะไม่แสดงขึน ้ ทันทีหลังจากการถ่ายภาพ หากตัง้ ค่า
เป็ น [แสดงภาพค้างไว้] การแสดงภาพจะแสดงอยูจ ่ นกว่าจะถึงเวลา [ปิ ดสวิตซ์
อ ัตโนม ัติ]
ในขณะทีแ ่ สดงภาพ หากคุณใช ้งานการควบคุมกล ้องใดๆ ก็ตาม เช่น กดปุ่ ม
ชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เป็ นต ้น การแสดงภาพจะสิน ้ สุดลง
ภายใต ้แท็บ [z1] เลือก [ระยะเวลาแสดง
ภาพ] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0> เลือกการตัง้ ค่าที่
ต ้องการ จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

3 การตงเวลาปิ
ั้ ์ ัตโนม ัติ
ดสวิตซอ
เพือ ่ เป็ นการประหยัดพลังงาน กล ้องจะปิ ดลงโดยอัตโนมัตห ิ ลังจากครบกําหนด
เวลาทีไ่ ม่ได ้ใช ้งาน คุณสามารถตัง้ เวลาปิ ดสวิตซ์อัตโนมัตน ิ ไี้ ด ้ เมือ
่ กล ้องปิ ดลง
เนือ ่ งจากปิ ดสวิตซ์อต ั โนมัต ิ คุณสามารถเปิ ดกล ้องขึน
้ มาอีกครัง้ ได ้ด ้วยการกด
ปุ่ มชัตเตอร์ ฯลฯ
หากตงค่ ั้ าไว้เป็น [ไม่ใช้งาน] ให้ปิดกล้องหรือกดปุ่ม <T> เพือ ่ ปิ ดจอ
LCD เพือ ่ ประหย ัดพล ังงานแบตเตอรี่
แม้จะตงค่ ั้ าไว้เป็น [ไม่ใช้งาน] แต่หากไม่มก ี ารใช้งานกล้องเป็นเวลา 30
นาที จอ LCD จะปิ ดลงอ ัตโนม ัติ หากต้องการเปิ ดจอ LCD อีกครงั้ กดปุ่ม
<T>
ภายใต ้แท็บ [52] เลือก [ปิ ดสวิตซ์
อ ัตโนม ัติ] จากนั น้ กดปุ่ ม <0> เลือกการ
ตัง้ ค่าทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

257
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การปร ับความสว่างจอ LCD


คุณสามารถปรับความสว่างจอ LCD เพือ
่ ให ้อ่านจอได ้ง่ายมากขึน

ภายใต ้แท็บ [52] เลือก [ความสว่างจอ
LCD] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0> กดปุ่ ม <Y>
<Z> เพือ ่ ปรับความสว่างบนหน ้าจอการ
ปรับค่า จากนั น้ กดปุ่ ม<0>

ขณะตรวจสอบการเปิ ดรับแสงของภาพ ให ้
ปรับค่าความสว่างจอ LCD เป็ น 4 เพือ
่ ป้ องกัน
ไม่ให ้แสงทีล
่ ้อมรอบส่งผลกระทบต่อภาพ

258
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การสร้างและการเลือกโฟลเดอร์
คุณสามารถสร ้างและเลือกโฟลเดอร์บนพืน ้ ทีท
่ บ
ี่ น
ั ทึกภาพถ่ายได ้อย่างอิสระ
การกระทํานีเ้ ป็ นตัวเลือกเพิม
่ เติมเนือ
่ งจากกล ้องจะสร ้างโฟลเดอร์หนึง่ ขึน้ มาโดย
อัตโนมัตเิ พือ
่ เก็บบันทึกภาพถ่าย
การสร้างโฟลเดอร์
เลือก [เลือกโฟลเดอร์]
1  ภายใต ้แท็บ [51] เลือก [เลือก
โฟลเดอร์] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [สร้างโฟลเดอร์]
 เลือก [สร้างโฟลเดอร์] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

3 สร้
างโฟลเดอร์ใหม่
 เลือก [ตกลง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 โฟลเดอร์ใหม่ทม ี่ ห
ี มายเลขโฟลเดอร์เพิม

ขึน
้ หนึง่ ลําดับจะถูกสร ้างขึน

259
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

การเลือกโฟลเดอร์
หมายเลขไฟล์ตํา่ สุด  เมือ
่ หน ้าจอเลือกโฟลเดอร์แสดงขึน ้ เลือก
จํานวนภาพในโฟลเดอร์ โฟลเดอร์และกดปุ่ ม <0>
 โฟลเดอร์บนพืน ้ ทีท
่ บ
ี่ ันทึกภาพถ่ายจะถูก
เลือก
 ภาพทีถ ่ า่ ยต่อๆ ไปจะถูกบันทึกลงใน
โฟลเดอร์ทเี่ ลือก

่ โฟลเดอร์
ชือ
หมายเลขไฟล์สงู สุด

โฟลเดอร์
ตัวอย่างเช่น “100CANON” ชือ ่ โฟลเดอร์ขน ึ้ ต ้นด ้วยตัวเลขสามหลัก (หมายเลข
โฟลเดอร์) ต่อด ้วยอักขระตัวอักษรหรือตัวเลขห ้าตัว หนึง่ โฟลเดอร์สามารถเก็บได ้
9999 ภาพ (ไฟล์หมายเลข 0001 - 9999) เมือ ่ โฟลเดอร์เต็ม กล ้องจะสร ้างโฟลเดอร์
ใหม่ทมี่ ห
ี มายเลขโฟลเดอร์เพิม ่ ขึน
้ หนึง่ ลําดับโดยอัตโนมัต ิ และหากมีการรีเซ็ตเอง
(น.262) เกิดขึน้ กล ้องจะสร ้างโฟลเดอร์ใหม่ขน ึ้ โดยอัตโนมัต ิ สามารถตัง้ หมายเลข
โฟลเดอร์ได ้จาก 100 ถึง 999

การสร้างโฟลเดอร์ดว้ ยคอมพิวเตอร์
เมือ่ เปิ ดการ์ดบนหน ้าจอแล ้ว ให ้สร ้างโฟลเดอร์ใหม่ชอ ื่ “DCIM” เปิ ดโฟลเดอร์ DCIM
และสร ้างโฟลเดอร์เป็ นจํานวนเท่าทีต ่ ้องการเพือ
่ บันทึกและจัดระเบียบภาพของคุณ
่ โฟลเดอร์ต ้องเป็ นไปตามรูปแบบ “100ABC_D” ตัวเลขสามหลักแรกคือหมาย
ชือ
เลขโฟลเดอร์จาก 100 ถึง 999 อักขระห ้าตัวสุดท ้ายสามารถเป็ นการรวมกันของตัว
อักษร A ถึง Z แบบพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก ตัวเลข และขีดล่าง “_” ไม่สามารถใช ้
ช่องว่างได ้ โปรดทราบด ้วยว่าชือ ่ ของสองโฟลเดอร์ไม่สามารถใช ้หมายเลขโฟลเดอร์
สามหลักร่วมกันได ้ (เช่น “100ABC_D” และ “100W_XYZ”) แม ้ว่าอักขระห ้าตัวท ้าย
ในแต่ละชือ ่ จะต่างกัน

260
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 วิธก
ี ารตงหมายเลขไฟล์
ั้ ภาพ
ไฟล์ภาพจะถูกจัดหมายเลขจาก 0001 ถึง 9999 ตามลําดับการถ่ายภาพ จากนัน

บันทึกลงในโฟลเดอร์ คุณสามารถเปลีย
่ นแปลงวิธก
ี ําหนดหมายเลขไฟล์
หมายเลขไฟล์จะปรากฏบนคอมพิวเตอร์ของคุณในรูปแบบ: IMG_0001.JPG.
ภายใต ้แท็บ [51] เลือก [หมายเลขไฟล์
ภาพ] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0> การตัง้ ค่าที่
สามารถใช ้ได ้อธิบายอยูท ่ างด ้านล่างนี้ เลือก
ตัวเลือก จากนัน้ กดปุ่ ม <0>

 [ต่อเนือ ่ ง]: หมายเลขไฟล์จะต่อเนือ ่ งก ันตามลําด ับแม้วา ่ คุณจะเปลีย ่ น


แผ่นการ์ดหรือสร้างโฟลเดอร์ใหม่
แม ้ว่าคุณจะเปลีย ่ นแผ่นการ์ดหรือสร ้างโฟลเดอร์ใหม่แล ้วก็ตาม หมายเลข
ไฟล์จะต่อเนือ ่ งกันตามลําดับไปจนถึง 9999 ซึง่ จะสะดวกต่อการนํ าภาพที่
บันทึกเป็ นหมายเลขระหว่าง 0001 ถึง 9999 จากการ์ดหลากหลายแผ่นหรือ
หลากหลายโฟลเดอร์ไปเก็บรวมลงในโฟลเดอร์หนึง่ ในคอมพิวเตอร์ของคุณ
หากการ์ดทีเ่ ปลีย ่ นหรือโฟลเดอร์ทม ี่ อ
ี ยูม่ รี ป
ู ภาพทีบ
่ ันทึกไว ้ก่อนหน ้าแล ้ว
หมายเลขไฟล์ของภาพใหม่อาจต่อจากหมายเลขไฟล์ของภาพทีม ่ อ
ี ยูใ่ น
การ์ดหรือในโฟลเดอร์ หากคุณต ้องการใช ้หมายเลขไฟล์แบบต่อเนือ ่ ง ขอ
แนะนํ าให ้คุณใช ้การ์ดทีฟ่ อร์แมตใหม่ทก ุ ครัง้
หมายเลขไฟล์หล ังจาก หมายเลขไฟล์หล ังจาก
การเปลีย
่ นการ์ด การสร้างโฟลเดอร์

การ์ด-1 การ์ด-2 การ์ด-1


100 101

0051 0052 0051 0052

หมายเลขไฟล์ลําดับถัดไป

261
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

 [รีเซ็ ตอ ัตโนม ัติ]: หมายเลขไฟล์จะเริม ่ จาก 0001 ทุกครงที ั้ เ่ ปลีย ่ น


การ์ดหรือสร้างโฟลเดอร์ใหม่
เมือ่ คุณเปลีย
่ นการ์ดหรือสร ้างโฟลเดอร์ หมายเลขไฟล์จะเริม ่ ใหม่จาก 0001
สําหรับภาพใหม่ทบ ี่ ันทึก ซึง่ จะสะดวกต่อการจัดระเบียบภาพตามแผ่นการ์ด
หรือตามโฟลเดอร์
หากการ์ดทีเ่ ปลีย่ นหรือโฟลเดอร์ทม ี่ อี ยูม
่ รี ปู ภาพทีบ
่ ันทึกไว ้ก่อนหน ้าแล ้ว
หมายเลขไฟล์ของภาพใหม่อาจต่อจากหมายเลขไฟล์ของภาพทีม ่ อี ยูใ่ น
การ์ดหรือในโฟลเดอร์ หากคุณต ้องการบันทึกภาพด ้วยหมายเลขไฟล์ท ี่
่ ต ้นจาก 0001 คุณควรใช ้การ์ดทีฟ
เริม ่ อร์แมตใหม่ทก ุ ครัง้
หมายเลขไฟล์หล ังจาก หมายเลขไฟล์หล ังจาก
การเปลีย
่ นการ์ด การสร้างโฟลเดอร์

การ์ด-1 การ์ด-2 การ์ด-1


100 101

0051 0001 0051 0001

ลําดับหมายเลขไฟล์จะถูกรีเซ็ต

 [ผูใ้ ช้รเี ซ็ ตเอง]: เพือ ่ รีเซ็ ตหมายเลขไฟล์เป็น 0001 ด้วยตนเองหรือ


เริม่ ต้นหมายเลขไฟล์จาก 0001 ในโฟลเดอร์ใหม่
เมือ ่ คุณรีเซ็ตหมายเลขไฟล์ด ้วยตนเอง กล ้องจะสร ้างโฟลเดอร์ใหม่ขน ึ้ มา
โดยอัตโนมัตแ ิ ละหมายเลขไฟล์หรือภาพทีบ ่ ันทึกลงในโฟลเดอร์ดังกล่าวจะ
เริม
่ ต ้นจาก 0001
่ ะสะดวกต่อการแยกใช ้โฟลเดอร์สําหรับภาพทีถ
นีจ ่ า่ ยเมือ
่ วานและภาพทีถ ่ า่ ย
วันนี้ เป็ นต ้น หลังจากทีผ ่ ู ้ใช ้รีเซ็ตเองแล ้ว หมายเลขไฟล์จะย ้อนกลับสูก ่ าร
ลําดับแบบต่อเนือ ่ งหรือรีเซ็ตอัตโนมัต ิ (จะไม่มก ี ารแสดงกล่องโต ้ตอบเพือ ่
ยืนยันผู ้ใช ้รีเซ็ตเอง)

หากหมายเลขไฟล์ในโฟลเดอร์ 999 มาถึงลําดับที่ 9999 กล ้องจะไม่สามารถถ่าย


ภาพต่อไปได ้แม ้ว่าการ์ดยังมีหน่วยความจําสําหรับจัดเก็บเหลืออยู่ จอ LCD จะแสดง
ข ้อความแจ ้งว่าคุณต ้องเปลีย
่ นแผ่นการ์ด ให ้เปลีย
่ นแผ่นการ์ดใหม่

สําหรับภาพแบบ JPEG และ RAW ชือ ่ ไฟล์จะขึน


้ ต ้นด ้วย “IMG_” ไฟล์ภาพเคลือ
่ น
ไหวจะขึน้ ต ้นด ้วย “MVI_” นามสกุลไฟล์จะเป็ น “.JPG” สําหรับภาพ JPEG “.CR2”
สําหรับภาพ RAW และ “.MP4” สําหรับภาพเคลือ ่ นไหว

262
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การกําหนดข้อมูลลิขสิทธิข
์ องภาพK
เมือ
่ คุณตัง้ ค่าข ้อมูลลิขสิทธิ์ ข ้อมูลดังกล่าวจะผนวกลงในภาพเป็ นข ้อมูล Exif

เลือก [ข้อมูลลิขสิทธิ]์
1  ภายใต ้แท็บ [54] เลือก [ข้อมูลลิขสิทธิ]์
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อกต ัวเลือกทีต
 เลือก [ป้อนชือ
่ อ
้ งการกําหนด
่ ผูส้ ร้างสรรค์] หรือ [ป้อน
รายละเอียดลิขสิทธิ]์ จากนั น ้ กดปุ่ ม
<0>
 หน ้าจอป้ อนข ้อความจะปรากฏขึน ้
 เลือก [แสดงข้อมูลลิขสิทธิ]์ เพือ ่ ตรวจ
สอบข ้อมูลลิขสิทธิท ์ ตี่ งั ้ ค่าปั จจุบัน
 เลือก [ลบข้อมูลลิขสิทธิ]์ เพือ ่ ลบข ้อมูล
ลิขสิทธิท
์ ตี่ งั ้ ค่าปั จจุบัน

3 ป้ อนข้อความ
โปรดดู “ขัน
้ ตอนการป้ อนข ้อความ” ใน
หน ้าถัดไปและป้ อนข ้อมูลลิขสิทธิ์
 สามารถป้ อนอักขระตัวอักษรและตัวเลข
รวมถึงสัญลักษณ์ได ้ 63 ตัว

4 ออกจากการต งค่
ั้ า
 หลังป้ อนข ้อความแล ้ว กดปุ่ ม <M>
เพือ
่ ออก
 บนกล่องโต ้ตอบเพือ
่ ยืนยัน ให ้เลือก
[ตกลง] จากนัน้ กดปุ่ ม <0>

263
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

ขนตอนการป
ั้ ้ อนข้อความ
 การเปลีย ่ นบริเวณการป้อน:
กดปุ่ ม <Q> เพือ ่ สลับระหว่างบริเวณการ
ป้ อนด ้านบนและด ้านล่าง
 การขย ับเคอร์เซอร์:
กดปุ่ ม <Y> <Z> บริเวณด ้านบนเพือ ่
เลือ่ นเคอร์เซอร์

 การป้อนข้อความ:
ทีบ
่ ริเวณด ้านล่าง กดปุ่ มเลือ
่ น <S> หรือหมุนปุ่ ม <6> เพือ
่ เลือกอักขระ
จากนั น้ กดปุ่ ม <0> เพือ ่ ป้ อนข ้อความ
 การเปลีย ่ นโหมดการป้อน:*
เลือก [E] ทางด ้านล่างขวาของบริเวณการป้ อนด ้านล่าง แต่ละครัง้ ที่
คุณกดปุ่ ม <0> โหมดการป้ อนจะเปลีย ่ นแปลงดังต่อไปนี:้ ตัวพิมพ์เล็ก 9
ตัวเลข / สัญลักษณ์ 1 9 ตัวเลข / สัญลักษณ์ 2 9 ตัวพิมพ์ใหญ่
่ ตัง้ ค่า [แบบส ัมผ ัส: ไม่ใช้งาน] ไว ้ คุณสามารถป้ อนอักขระทัง้ หมดได ้บนหน ้าจอ
* เมือ
เดียว

 การลบอ ักขระ:
กดปุ่ ม <L> เพือ
่ ลบหนึง่ อักขระ
้ การป้อนข้อความ:
 การเสร็ จสิน
กดปุ่ ม <M> ตรวจสอบข ้อความ แล ้วเลือก [ตกลง] จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0> หน ้าจอในขัน ้ ตอนที่ 2 จะปรากฏขึน
้ อีกครัง้
 การยกเลิกการป้อนข้อความ:
กดปุ่ ม <B> ตรวจสอบข ้อความ แล ้วเลือก [ตกลง] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0> หน ้าจอในขัน
้ ตอนที่ 2 จะปรากฏขึน
้ อีกครัง้

นอกจากนีค
้ ณุ ยังสามารถตัง้ ค่าหรือตรวจสอบข ้อมูลลิขสิทธิไ์ ด ้ด ้วย EOS Utility
(ซอฟต์แวร์ EOS, น.402)

264
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การหมุนภาพแนวตงโดยอ
ั้ ัตโนม ัติ
ภาพแนวตัง้ จะถูกหมุนอัตโนมัตเิ พือ
่ ว่าภาพจะแสดงในจอ
LCD ของกล ้องและในคอมพิวเตอร์เป็ นแนวตัง้ แทนการ
แสดงเป็ นแนวนอน คุณสามารถเปลีย ่ นการตัง้ ค่าสําหรับ
คุณสมบัตนิ ไี้ ด ้

ภายใต ้แท็บ [51] ให ้เลือก [หมุนภาพ


อ ัตโนม ัติ] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0> การตัง้ ค่าที่
สามารถใช ้ได ้อธิบายอยูท ่ างด ้านล่างนี้ เลือก
ตัวเลือก จากนัน้ กดปุ่ ม <0>

 [เปิ ดzD]:ภาพแนวตัง้ จะหมุนอัตโนมัตข


ิ ณะเล่นภาพทัง้ บนจอ LCD ของ
กล ้องและบนคอมพิวเตอร์
 [เปิ ดD] : ภาพแนวตัง้ จะหมุนอัตโนมัตเิ ฉพาะบนคอมพิวเตอร์
 [ปิ ด] : ภาพแนวตัง้ จะไม่หมุนอัตโนมัต ิ

คําถามทีพ
่ บบ่อย
 ภาพแนวตงไม่
ั้ หมุนในระหว่างการแสดงภาพทีเ่ พิง่ ถ่ายเสร็ จ
กดปุ่ ม <x> และการเล่นภาพจะแสดงภาพทีห
่ มุนแล ้ว
 [เปิ ดzD] ถูกตงค่ ั้ าไว้ แต่ภาพกล ับไม่หมุนขณะเล่น
การหมุนภาพอัตโนมัตจ ิ ะไม่ทํางานกับภาพแนวตัง้ หากตัง้ ค่า [หมุนภาพ
อ ัตโนม ัติ] เป็ น [ปิ ด] หากถ่ายภาพแนวตัง้ ขณะทีห ่ น
ั กล ้องขึน
้ หรือลง ภาพที่
ถ่ายอาจไม่หมุนอัตโนมัตเิ มือ ่ เล่น ในกรณีนี้ ควรดู “การหมุนภาพ” ในหน ้า 283
 บนจอ LCD ของกล้อง ฉ ันต้องการหมุนภาพทีถ ่ า่ ยขณะตงค่
ั้ า [เปิ ดD]
ไว้
ตัง้ ค่า [เปิ ดzD] จากนัน
้ เล่นดูภาพ ภาพจะถูกหมุน
 ภาพแนวตงไม่
ั้ หมุนเมือ
่ แสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ทใี่ ช ้ไม่สามารถใช ้กับการหมุนภาพได ้ ใช ้ซอฟต์แวร์ EOS แทน

265
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

B: การตรวจสอบการตงค่
ั้ าของกล้อง
เมือ
่ แสดงการตัง้ ค่าถ่ายภาพ (น.28) คุณจะสามารถตรวจสอบการตัง้ ค่าปั จจุบัน
ั่ หลักของกล ้องได ้โดยการกดปุ่ ม <B>
ของฟั งก์ชน

การแสดงการตงค่
ั้ า
ความจุทเี่ หลืออยูข
่ องการ์ด
พิกด
ั สี (น.146)
ปรับค่าสมดุลแสงขาว (น.134)/
ปรับค่าสมดุลแสงขาว (น.135)
แบบสัมผัส (น.58)
ลดตาแดง (น.167)
แสดงการหมุนภาพอัตโนมัต ิ (น.265)

วันที/่ เวลา (น.42)

การปรับเวลาในฤดูร ้อน (น.42)


เสียงเตือน (น.256)

ปิ ดสวิตซ์อต
ั โนมัต ิ (น.257)

ทําความสะอาดเซนเซอร์ (น.271)

การถ่ายภาพแบบ Live View (น.191)

266
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การปร ับตงกล้
ั้ ่ า
องให้กล ับสูค ่ เริม
่ ต้นK
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ถ่ายภาพและการตัง้ ค่าเมนูของกล ้องสามารถเปลีย
่ นกลับเป็ น
่ ต ้นได ้ ตัวเลือกนีใ้ ช ้ได ้ในโหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์
ค่าเริม
เลือก [ลบการตงค่
ั้ า]
1  ภายใต ้แท็บ [54] เลือก [ลบการตงค่
ั้ า]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [ลบการตงค่ั้ ากล้องทงหมด]
 เลือก [ลบการตงค่
ั้
ั้ ากล้องทงหมด]
ั้
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

3 เลื
อก [ตกลง]
 เลือก [ตกลง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 การตัง้ ค่า [ลบการตงค่ั้ ากล้องทงหมด] ั้
่ ารตัง้ ค่าเริม
จะรีเซ็ตกล ้องกลับสูก ่ ต ้นดังที่
แสดงในหน ้า 268-269

คําถามทีพ
่ บบ่อย
 การลบการตงค่ ั้ ากล้องทงหมด
ั้
หลังจากขัน
้ ตอนด ้านบน ให ้เลือก [ลบการตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว(C.Fn)ทงั้
หมด] ใน [54: ลบการตงค่ ั้ า] เพือ
่ ลบการตัง้ ค่าระบบส่วนตัวทัง้ หมด
(น.336)

267
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

การตงค่ ่ ั ในการถ่ายภาพ
ั้ าฟังก์ชน การตงค่
ั้ าการบ ันทึกภาพ
โหมด <8> C (เด็ก) คุณภาพของภาพ 73
การโฟก ัสอ ัตโนม ัติ AF ครัง้ เดียว รูปแบบภาพ อัตโนมัต ิ
เลือกอัตโนมัต:ิ ปร ับแสงเหมาะสม
้ ที่ AF
โหมดเลือกพืน มาตรฐาน
AF 19 จุด อ ัตโนม ัติ
u (ถ่าย
โหมดข ับเคลือ
่ น
ภาพเดีย
่ ว) ใช ้งาน / เก็บ
แก้ไขขอบภาพมืด
q (วัดแสง ข ้อมูลการแก ้ไข
โหมดว ัดแสง
ประเมินทัง้ ภาพ)
ความไวแสง ISO AUTO (อัตโนมัต)ิ ใช ้งาน / เก็บ
แก้ไขความคลาดสี
ISO อ ัตโนม ัติ สูงสุด 6400 ข ้อมูลการแก ้ไข
ชดเชยแสง / AEB ยกเลิก ไม่ใช ้งาน / เก็บ
แก้ไขความคลาดส่วน
ชดเชยระด ับแสงแฟลช 0 (ศูนย์) ข ้อมูลการแก ้ไข
เปิ ด/ปิ ด ลดตาแดง ไม่ใช ้งาน พิก ัดสี sRGB
ถ่ายลดแสงวูบวาบ ไม่ใช ้งาน สมดุลแสงขาว Q (อัตโนมัต)ิ
สมดุลแสงขาวกําหนด
อ ัตราส่วนภาพ 3:2 ยกเลิก
เอง
ปร ับแก้สมดุลแสงขาว ยกเลิก
แสดงการตรวจจับ
การแสดงช่องมองภาพ ถ่ายภาพคร่อมสมดุล
แสงวูบวาบเท่านั น
้ ยกเลิก
แสงขาว
ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว ไม่เปลีย
่ นแปลง ลดจุดรบกวนจากการ
ไม่ใช ้งาน
ควบคุมแฟลช เปิ ดช ัตเตอร์นาน
ส่องแสงไฟแฟลช ใช ้งาน ลดจุดรบกวนจาก
มาตรฐาน
ว ัดแสงแฟลช วัดแสงแฟลช ความไวแสง ISO สูง
E-TTL II ประเมินทัง้ ภาพ หมายเลขไฟล์ภาพ ต่อเนือ
่ ง
ความเร็วซิงค์แฟลช ทํางานอ ัตโนม ัติ ใช ้งาน
อัตโนมัต ิ
ในโหมด Av เก็บข้อมูลลบภาพฝุ่น ลบ

268
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

การตงค่
ั้ ากล้อง การตงค่
ั้ าการถ่ายภาพแบบ Live View

ปิ ดสวิตซ์อ ัตโนม ัติ 30 วินาที ถ่ายภาพแบบ ใช ้งาน


LIVE VIEW
เสียงเตือน ใช ้งาน วิธโี ฟก ัสอ ัตโนฯ u+การติดตาม
่ ั ช ัตเตอร์ขณะไม่ม ี
ลน
ใช ้งาน AF ต่อเนือ
่ ง ใช ้งาน
การ์ด
ระยะเวลาแสดงภาพ 2 วินาที ช ัตเตอร์แบบแตะ ไม่ใช ้งาน
แสดงจุด AF ไม่ใช ้งาน แสดงตาราง ปิ ด
ฮิสโตแกรม ความสว่าง ระยะเวลาว ัดแสง 8 วินาที
ข้ามภาพด้วยปุ่ม 6 e (10 ภาพ)
หมุนภาพอ ัตโนม ัติ เปิ ดzD การตงค่
ั้ าการถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
ความสว่างจอ LCD วิธโี ฟก ัสอ ัตโนฯ u+การติดตาม
Servo AF ภาพ
ปุ่ม ปิ ด/เปิ ด LCD ปุ่ มชัตเตอร์ ใช ้งาน
เคลือ่ นไหว
ว ันที/
่ เวลา/โซน ไม่เปลีย
่ นแปลง ใช้ป่ มช
ุ ัตเตอร์หา
AF ขณะบ ันทึก AF ครัง้ เดียว
ภาษา ไม่เปลีย
่ นแปลง ภาพเคลือ ่ นไหว
ระบบวิดโี อ ไม่เปลีย
่ นแปลง แสดงตาราง ไม่แสดง
สีหน้าจอ 1 ระยะเวลาว ัดแสง 8 วินาที
คําแนะนําคุณสมบ ัติ ใช ้งาน
NTSC:
แบบส ัมผ ัส มาตรฐาน ขนาดการบ ันทึก LD (มาตรฐาน)
ข้อมูลลิขสิทธิ์ ไม่เปลีย
่ นแปลง ภาพเคลือ
่ นไหว PAL:
LC (มาตรฐาน)
ควบคุมผ่าน HDMI ไม่ใช ้งาน
การส่ง Eye-Fi ปิ ด บ ันทึกเสียง อัตโนมัต ิ

ตงค่ ่ นต ัว
ั้ าเมนูสว ไม่เปลีย
่ นแปลง ถ่าย video ไม่ใช ้งาน
snapshot
แสดงรายการจากเมนู
ไม่ใช ้งาน
ส่วนต ัว
Wi-Fi/NFC ไม่ใช ้งาน
่ ั Wi-Fi
ฟังก์ชน ไม่เปลีย
่ นแปลง

สําหรับการตัง้ ค่า Wi-Fi/NFC โปรดดูคม ื การใช ้งานฟั งก์ชน


ู่ อ ั่ Wi-Fi/NFC

269
คุณสมบัตท
ิ ม
ี่ ป
ี ระโยชน์

3 การตงค่
ั้ าปิ ด/เปิ ดจอ
คุณสามารถตัง้ ค่ากล ้อง ดังนัน ้ การตัง้ ค่าถ่ายภาพ (น.28) จะไม่เปิ ดหรือปิ ด
เมือ
่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ (หรือกดปุ่ ม <A>/เช็คระยะชัดลึก)
ภายใต ้แท็บ [52] เลือก [ปุ่ม ปิ ด/เปิ ด LCD]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0> การตัง้ ค่าทีส ่ ามารถใช ้
ได ้อธิบายอยูท ่ างด ้านล่างนี้ เลือกหนึง่ ตัง้ ค่า
<R> จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

 [ปุ่มช ัตเตอร์] : เมือ


่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ การแสดงผลจะดับลง
และเมือ ่ ปล่อยนิว้ ออกจากปุ่ มชัตเตอร์ จะเปิ ดการแสดง
ผลอีกครัง้
 [ช ัตเตอร์/DISP] : เมือ่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ การแสดงผลจะดับลง
และเมือ ่ ปล่อยนิว้ ออกจากปุ่ มชัตเตอร์ การแสดงผลยัง
ดับลง หากต ้องการเปิ ดการแสดงผล ให ้กดปุ่ ม
<T>
 [เปิ ดค้างไว้] : การแสดงผลจะเปิ ดค ้างไว ้แม ้ว่าคุณจะกดปุ่ มชัตเตอร์
ลงครึง่ หนึง่ ก็ตาม หากต ้องการปิ ดการแสดงผล
ให ้กดปุ่ ม <T>

3 การปร ับเปลีย
่ นสีของหน้าจอตงค่
ั้ าการถ่ายภาพ
คุณสามารถเปลีย
่ นสีพน
ื้ หลังของหน ้าจอการตัง้ ค่าการถ่ายภาพได ้
ภายใต ้แท็บ [53] เลือก [สีหน้าจอ] จากนัน ้
กดปุ่ ม <0> เลือกสีทต ี่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>
เมือ
่ ออกจากเมนู หน ้าจอตัง้ ค่าการถ่ายภาพ
จะแสดงเป็ นสีตามทีเ่ ลือกไว ้

270
f การทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอ ัตโนม ัติ
ทุกครัง้ ทีค
่ ณ
ุ ปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <1> หรือ <2> ตัวทําความ
สะอาดเซนเซอร์ด ้วยตัวเองจะทํางานเพือ ่ สะบัดเอาฝุ่ นทีต
่ ด
ิ อยูด
่ ้านหน ้าเซนเซอร์
ออก โดยปกติแล ้ว คุณไม่จําเป็ นต ้องสนใจการทํางานนี้ แต่คณ ุ สามารถเลือกทํา
ความสะอาดเซนเซอร์ด ้วยตนเอง หรือปิ ดใช ้งานได ้

การทําความสะอาดเซนเซอร์ท ันที
เลือก [ทําความสะอาดเซนเซอร์]
1  ภายใต ้แท็บ [53] เลือก [ทําความ
สะอาดเซนเซอร์] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

๋ วนีf้
2 เลื
อก [ทําความสะอาดเดีย
๋ วนีf
 เลือก [ทําความสะอาดเดีย ้
]
] จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>
 เลือก [ตกลง] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอจะแสดงให ้เห็นว่ากําลังทําความ
สะอาดเซนเซอร์ (อาจได ้ยินเสียงเบาๆ)
ถึงแม ้จะมีเสียงลั่นชัตเตอร์ แต่จะไม่มก
ี าร
ถ่ายภาพเกิดขึน ้

 เพือ ่ ผลลัพธ์ทด
ี่ ท ี สี่ ด
ุ ให ้ทําการทําความสะอาดเซนเซอร์โดยวางกล ้องให ้ตรงและ
นิง่ บนโต๊ะหรือพืน ้ ผิวเรียบ
 ถึงแม ้ว่าคุณจะทําความสะอาดเซนเซอร์ซํ้าอีกครัง้ ผลลัพธ์ทไี่ ด ้จะไม่แตกต่าง
มากนั ก หลังจากการทําความสะอาดเซนเซอร์สน ิ้ สุดลงแล ้ว ตัวเลือก [ทําความ
สะอาดเดีย ๋ วนีf้ ] จะใช ้งานไม่ได ้ชัว่ คราว

้ ารทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอ ัตโนม ัติ


การปิ ดใชก
 ในขัน้ ตอนที่ 2 ให ้เลือก [ทํางานอ ัตโนม ัติf ] และตัง้ ค่าเป็ น [ไม่ใช้งาน]
 ไม่มก
ี ารทําความสะอาดเซนเซอร์เมือ ่ คุณตัง้ สวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องเป็ น <1>
หรือ <2>

271
3 การผนวกข้อมูลการลบภาพฝุ่นK
โดยปกติแล ้ว ตัวทําความสะอาดเซนเซอร์ด ้วยตนเองจะกําจัดผงฝุ่ นส่วนใหญ่ท ี่
อาจเห็นได ้จากภาพทีถ่ า่ ยออกมา อย่างไรก็ตาม หากยังมีผงฝุ่ นหลงเหลืออยู่
คุณสามารถผนวกข ้อมูลการลบภาพฝุ่ นเข ้ากับภาพเพือ
่ ลบจุดผงฝุ่ นในภายหลังได ้
ซอฟต์แวร์ Digital Photo Professional (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402) จะใช ้ข ้อมูล
การลบภาพฝุ่ นเพือ
่ ลบจุดผงฝุ่ นโดยทันที

การเตรียมพร้อม
 เตรียมวัตถุทเี่ ป็ นของแข็งสีขาว เช่น แผ่นกระดาษ
 ปรับทางยาวโฟกัสของเลนส์เป็ น 50 มม. หรือไกลกว่านัน ้
 ปรับสวิตซ์โหมดโฟกัสของเลนส์เป็ น <MF> และปรับโฟกัสเป็ นระยะอนันต์
(u) หากเลนส์ไม่มส ี เกลแสดงระยะโฟกัส ให ้หมุนหน ้ากล ้องกลับเข ้าหาตัว
คุณและหมุนวงแหวนโฟกัสตามเข็มนาฬกาจนสุ ิ ด

การร ับข้อมูลการลบภาพฝุ่น
เลือก [เก็บข้อมูลลบภาพฝุ่น]
1  ภายใต ้แท็บ [z3] เลือก [เก็บข้อมูลลบ
ภาพฝุ่น] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [ตกลง]
 เลือก [ตกลง] และกดปุ่ ม <0> หลัง
จากทําความสะอาดเซนเซอร์โดยอัตโนมัต ิ
แล ้ว จะมีข ้อความปรากฏขึน ้ ถึงแม ้จะมีเสียง
ลั่นชัตเตอร์ระหว่างการทําความสะอาด แต่
จะไม่มก ี ารถ่ายภาพเกิดขึน

272
3 การผนวกข ้อมูลการลบภาพฝุ่ นK

3 ถ่ายภาพว ัตถุทเี่ ป็นของแข็งสีขาว


ทีร่ ะยะห่าง 20 ซม. - 30 ซม. (0.7 ฟุต -
1.0 ฟุต) ให ้ช่องมองภาพเห็นแต่วต ั ถุท ี่
เป็ นของแข็งสีขาวไม่มล ี าย จากนั น ้ จึง
ถ่ายภาพ
 ภาพจะถ่ายในโหมด AE แบบระบุคา่ รูรับ
แสงทีค ่ า่ รูรับแสง f/22
 เนือ่ งจากกล ้องจะไม่บันทึกภาพดังกล่าว
จึงสามารถเก็บข ้อมูลได ้แม ้กล ้องจะไม่
เสียบการ์ด
 เมือ ่ ถ่ายภาพเสร็จ กล ้องจะเริม ่ เก็บข ้อมูล
การลบภาพฝุ่ น เมือ ่ รับข ้อมูลการลบภาพฝุ่ น
เสร็จเรียบร ้อยแล ้ว ข ้อความจะปรากฏขึน ้
เลือก [ตกลง] และเมนูจะปรากฏอีกครัง้
 หากกล ้องไม่ได ้รับข ้อมูลอย่างสมบูรณ์ ข ้อ
ความแสดงข ้อผิดพลาดจะปรากฏขึน ้ ทํา
ตามขัน ้ ตอน “การเตรียมพร ้อม” ในหน ้าก่อน
หน ้านี้ แล ้วกด [ตกลง] ถ่ายภาพอีกครัง้

เก็บข้อมูลลบภาพฝุ่น
หลังจากรับข ้อมูลการลบภาพฝุ่ นเสร็จแล ้ว กล ้องจะผนวกข ้อมูลดังกล่าวกับภาพ
JPEG และ RAW ทีถ ่ า่ ยหลังจากนัน ้ ก่อนถ่ายภาพสําคัญ ขอแนะนํ าให ้ทําการ
อัพเดทข ้อมูลการลบภาพฝุ่ นด ้วยการรับข ้อมูลใหม่อก ี ครัง้
สําหรับรายละเอียดเกีย ่ วกับการใช ้ซอฟต์แวร์ Digital Photo Professional
(ซอฟต์แวร์ EOS) เพือ ่ ลบจุดผงฝุ่ น โปรดดูคม ื การใช ้งาน Digital Photo
ู่ อ
Professional (น.404)
ข ้อมูลการลบภาพฝุ่ นทีผ ่ นวกเข ้ากับภาพจะมีขนาดเล็กมากจนแทบไม่สง่ ผลใดๆ
ต่อขนาดภาพ

โปรดตรวจสอบให ้แน่ใจว่าคุณใช ้วัตถุทเี่ ป็ นของแข็งสีขาว เช่น กระดาษสีขาวแผ่นใหม่


หากวัตถุดงั กล่าวมีลวดลายหรือการออกแบบใดติดอยู่ อาจส่งผลให ้กล ้องตรวจพบว่า
เป็ นข ้อมูลภาพฝุ่ นและจะมีผลต่อความแม่นยําของการลบภาพฝุ่ นด ้วยซอฟต์แวร์ EOS

273
3 การทําความสะอาดเซนเซอร์ดว้ ยตนเองK
ฝุ่ นผงทีไ่ ม่สามารถเอาออกได ้ด ้วยการทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอัตโนมัต ิ
สามารถเอาออกได ้ด ้วยตนเองโดยใช ้เครือ ่ งเป่ าลม ฯลฯ ทีม
่ จ
ี ําหน่ายทั่วไป ถอด
เลนส์ออกจากกล ้องก่อนทําการทําความสะอาดเซนเซอร์
เซนเซอร์ภาพละเอียดอ่อนมาก หากจําเป็นต้องทําความสะอาดเซนเซอร์
โดยตรง แนะนําให้ใช้บริการของศูนย์บริการของแคนนอน

เลือก [ทําความสะอาดเซนเซอร์]
1  ภายใต ้แท็บ [53] เลือก [ทําความ
สะอาดเซนเซอร์] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [ทําความสะอาดด้วยตนเอง]
 เลือก [ทําความสะอาดด้วยตนเอง]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

3 เลื
อก [ตกลง]
 เลือก [ตกลง] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 สักครู่ กระจกสะท ้อนภาพจะล็อคและ
ชัตเตอร์จะเปิ ดออก

4 ทําความสะอาดเซนเซอร์
5 สิน้ ปรัสุดบการทํ าความสะอาด
สวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <2>

หากคุณใช ้แบตเตอรี่ โปรดตรวจสอบให ้แน่ใจว่าแบตเตอรีด


่ ังกล่าวชาร์จจนเต็มแล ้ว

สําหรับแหล่งพลังงาน แนะนํ าให ้ใช ้ชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้ า AC รุน


่ ACK-E18 (แยก
จําหน่าย)

274
3 การทําความสะอาดเซนเซอร์ด ้วยตนเองK

 ขณะทําความสะอาดเซนเซอร์ ห้ามทําสิง่ ต่อไปนี้ หากแหล่งพล ังงานถูกต ัด


ช ัตเตอร์จะด ับ และอาจส่งผลให้มา ่ นช ัตเตอร์และเซนเซอร์ภาพเสียหายได้
• ปร ับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่ <2>
• ถอดหรือใส่แบตเตอรี่
 พืน
้ ผิวของเซนเซอร์ภาพละเอียดอ่อนมาก ทําความสะอาดเซนเซอร์อย่างระมัดระวัง
 ใช ้เครือ
่ งเป่ าลมชนิดไม่ตด ิ แปรง เนื่องจากแปรงอาจขูดขีดเซนเซอร์ได ้
 อย่าสอดปลายเครือ ่ งเป่ าเข ้าไปในกล ้องลึกกว่าเมาท์ใส่เลนส์ หากแหล่งพลังงาน
ถูกตัด ชัตเตอร์จะดับ และอาจส่งผลให ้ม่านชัตเตอร์หรือกระจกสะท ้อนภาพ
เสียหายได ้
 อย่าทําความสะอาดเซนเซอร์ด ้วยอากาศทีม ่ ค
ี วามดันหรือก๊าซ แรงเป่ าอาจสร ้าง
ความเสียหายต่อเซนเซอร์ หรือก๊าซฉีดพ่นอาจแข็งติดอยูบ ่ นเซนเซอร์และทําให ้เป็ นรอย
ขีดข่วนได ้
 หากพลังงานแบตเตอรีเ่ หลือตํา่ ในขณะทีก ่ ําลังทําความสะอาดเซนเซอร์ เสียง
เตือนจะดังเตือน หยุดทําความสะอาดเซนเซอร์
 หากมีรอยเปื้ อนทีไ่ ม่สามารถทําความสะอาดด ้วยเครือ ่ งเป่ าลม แนะนํ าให ้ส่งทํา
ความสะอาดกับศูนย์บริการของแคนนอน

275
10 การเล่นภาพ

บทนีอ ้ ธิบายเกีย่ วกับฟั งก์ชน ั่ ทีเ่ กีย


่ วข ้องกับการดูภาพและภาพ
เคลือ่ นไหวโดยมีวธิ ก ี ารใช ้งานขัน ้ สูงมากกว่าบทที่ 2 หัวข ้อ
“การถ่ายภาพขัน ้ พืน
้ ฐานและการเล่นภาพ” คุณจะพบคําอธิบาย
เกีย
่ วกับวิธเี ล่นและลบภาพและภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยกล ้อง และ
การดูภาพหรือภาพเคลือ ่ นไหวเหล่านั น ้ บนเครือ
่ งรับโทรทัศน์

ภาพทีถ
่ า
่ ยและบ ันทึกจากอุปกรณ์อน
ื่
กล ้องนี้อาจไม่สามารถแสดงภาพทีถ ่ า่ ยจากกล ้องตัวอืน
่ ภาพทีถ
่ ก
ู ปรับแต่ง
ด ้วยคอมพิวเตอร์ หรือไฟล์ภาพทีม
่ ก
ี ารเปลีย ่
่ นชือ
277
x การค้นหาภาพอย่างรวดเร็ว
H การแสดงภาพหลายภาพบนหน้าจอเดียว (แสดงภาพแบบด ัชนี)
ค ้นหาภาพได ้อย่างรวดเร็วด ้วยการแสดงภาพแบบดัชนีเป็ น 4, 9, 36 หรือ 100
ภาพบนหน ้าจอเดียว
เล่นดูภาพ
1  เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <x> ภาพสุดท ้ายทีถ
่ า่ ย
จะแสดงขึน ้

่ ารแสดงภาพแบบด ัชนี
2 เข้
าสูก
 กดปุ่ ม <I>
 การแสดงภาพแบบดัชนี 4 ภาพจะปรากฏ
ขึน
้ ภาพทีเ่ ลือกจะเน ้นให ้เห็นด ้วยกรอบสี
ส ้ม
 การกดปุ่ ม <I> จะเปลีย ่ นการแสดง
ภาพเป็ นดังต่อไปนี:้ 9 ภาพ 9 36 ภาพ
9 100 ภาพ
 การกดปุ่ ม <u> จะเปลีย ่ นการแสดง
ภาพเป็ นดังต่อไปนี:้ 100 ภาพ 9
36 ภาพ 9 9 ภาพ 9 4 ภาพ 9 1 ภาพ

   

3 เลื
อกภาพ
 กดปุ่ ม <S> เพือ ่ นกรอบสีส ้มไปยัง
่ เลือ
ภาพทีต ่ ้องการเลือก
 หมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ แสดงภาพบนหน ้า
จอถัดไปหรือหน ้าจอก่อนหน ้า
 กดปุ่ ม <0> ในขณะแสดงภาพแบบดัชนี
เพือ
่ แสดงภาพทีเ่ ลือกเพียงภาพเดียว

278
x การค ้นหาภาพอย่างรวดเร็ว

I การข้ามภาพ (แสดงภาพแบบข้าม)
ในการแสดงภาพทีละภาพ คุณสามารถหมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ ข ้ามภาพไปข ้าง
หน ้าหรือกลับหลังโดยขึน
้ อยูก
่ บ
ั วิธข
ี ้ามทีค
่ ณ
ุ ตัง้ ค่าไว ้

เลือก [ข้ามภาพด้วยปุ่ม 6]
1  ภายใต ้แท็บ [x2] เลือก [ข้ามภาพ
ด้วยปุ่ม 6] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อกวิธข ี า้ ม
 กดปุ่ มเลือ่ น <S> เพือ
่ เลือกวิธข
ี ้าม จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>
d: แสดงภาพทีละภาพ
e: ข้าม 10 ภาพ
f: ข้าม 100 ภาพ
g: แสดงตามว ันที่
h: แสดงตามโฟลเดอร์
i: แสดงเฉพาะภาพเคลือ ่ นไหว
j: แสดงเฉพาะภาพนิง่
k: แสดงตามคะแนนภาพ (น.284)
หมุนปุ่ ม <6> เพือ
่ เลือก

3 เลื
อกดูโดยการข้าม
 กดปุ่ ม <x> เพือ
่ เล่นดูภาพ
 ในการแสดงภาพทีละภาพ ให ้หมุนปุ่ ม
<6>
วิธข
ี ้าม  คุณสามารถเลือกดูภาพด ้วยวิธท
ี ต
ี่ งั ้ ค่าไว ้
ตําแหน่งการเล่นภาพ

 ในการค ้นหาภาพตามวันทีถ ่ า่ ย ให ้เลือก [ว ันที]่


 ในการค ้นหาภาพตามโฟลเดอร์ ให ้เลือก [โฟลเดอร์]
 หากการ์ดมีทงั ้ ภาพเคลือ ่ นไหวและภาพนิง่ ให ้เลือก [ภาพเคลือ
่ นไหว] หรือ
[ภาพนิง่ ] เพือ่ แสดงเพียงอย่างเดียว
 หากไม่มภ ี าพทีต ่ รงกับ [คะแนน] ทีเ่ ลือก คุณไม่สามารถเลือกดูภาพด ้วยปุ่ ม
<6>
279
u/y การดูภาพแบบขยาย
คุณสามารถขยายดูภาพบนจอ LCD ได ้ประมาณ 1.5 เท่าจนถึง 10 เท่า

ขยายภาพ
1  กดปุ่ ม <u> ในระหว่างการเล่นภาพ
 ภาพจะขยายใหญ่ขน ึ้
 หากคุณกดปุ่ ม <u> ค ้างไว ้ จะขยาย
ภาพจนกระทั่งถึงกําลังขยายสูงสุด
 กดปุ่ ม <I> เพือ ่ ลดกําลังขยาย หาก
คุณกดปุ่ มค ้างไว ้ จะลดการขยายภาพลง
เป็ นการแสดงภาพทีละภาพ

ตําแหน่งของภาพบริเวณทีถ่ ก
ู ขยาย

่ นดูสว่ นต่างๆ ของภาพ


2 เลื

 ใช ้ปุ่ มเลือ
่ น <S> เพือ
่ เลือ
่ นภาพขยาย
ไปในทิศทางทีต
่ ้องการ
 กดปุ่ ม <x> เพือ ่ ออกจากการดูภาพแบบ
ขยาย และกลับสูก่ ารแสดงภาพทีละภาพ

 ในการดูภาพแบบขยาย คุณสามารถหมุนปุ่ ม <6> เพือ ่ ดูภาพอืน


่ ทีข
่ นาดกําลัง
ขยายเดียวกัน
 ไม่สามารถขยายภาพได ้ในระหว่างการแสดงภาพทีเ่ พิง่ ถ่ายเสร็จ
 ไม่สามารถขยายภาพเคลือ่ นไหวได ้

280
้ น้าจอสมผ
d การเล่นภาพโดยใชห ั ัส
จอ LCD คือแผงทีม ี วามไวต่อการสัมผัสซึง่ คุณสามารถแตะด ้วยนิว้ มือของคุณ
่ ค
เพือ
่ ทําการเล่นในลักษณะต่างๆ ขนตอนแรก
ั้ กดปุ่ม <x> เพือ ่ เล่นภาพ

การเลือกดูภาพ
กวาดด้วยนิว้ มือนิว้ เดียว
 ในการแสดงภาพทีละภาพ แตะจอ LCD
ด ้วยนิว้ เดียว คุณสามารถเลือกดูภาพถัด
ไปหรือภาพก่อนหน ้าด ้วยการกวาดนิว้ ไป
ทางซ ้ายและขวา
กวาดไปทางซ ้ายเพือ ่ ดูภาพถัดไป (ใหม่
กว่า) หรือกวาดไปทางขวาเพือ ่ ดูภาพก่อน
หน ้า (เก่ากว่า)
 ด ้วยการแสดงภาพแบบดัชนี ให ้แตะจอ
LCD ด ้วยนิว้ เดียวเช่นกัน คุณสามารถ
เลือกดูหน ้าจอถัดไปหรือหน ้าจอก่อนหน ้า
ด ้วยการกวาดนิว้ ขึน ้ หรือลง
กวาดขึน ้ เพือ
่ ดูภาพถัดไป (ใหม่กว่า) หรือ
กวาดลงเพือ ่ ดูภาพก่อนหน ้า (เก่ากว่า)
เมือ่ คุณเลือกภาพ กรอบสีส ้มจะปรากฏขึน ้
แตะทีภ ่ าพอีกครัง้ เพือ่ แสดงภาพเป็ นภาพ
เดีย ่ ว

การข้ามภาพ (แสดงภาพแบบข้าม)
กวาดด้วยสองนิว้
แตะจอ LCD ด ้วยสองนิว้ เมือ ่ คุณกวาดสอง
นิว้ ไปทางซ ้ายหรือขวา คุณสามารถข ้ามภาพ
ด ้วยวิธก
ี ารทีต
่ งั ้ ค่าไว ้ใน [ข้ามภาพด้วยปุ่ม
6] ภายใต ้แท็บ [x2]

281
d การเล่นภาพโดยใช ้หน ้าจอสัมผัส

การลดภาพ (แสดงภาพแบบด ัชนี)


จีบนิว้ สองนิว้
แตะจอด ้วยนิว้ สองนิว้ ทีก ่ างแยกออกจากกัน
แล ้วจีบนิว้ ของคุณเข ้าหากันบนหน ้าจอ
 แต่ละครัง้ ทีค ่ ณุ จีบนิว้ ภาพเดีย
่ วทีแ
่ สดงอยู่
จะเปลีย ่ นเป็ นการแสดงภาพแบบดัชนี
 เมือ ่ คุณเลือกภาพ กรอบสีส ้มจะปรากฏขึน ้
แตะทีภ ่ าพอีกครัง้ เพือ ่ แสดงภาพเป็ นภาพ
เดีย่ ว

การขยายภาพ
ถ่างนิว้ สองนิว้ ออกจากก ัน
แตะจอด ้วยนิว้ สองนิว้ ติดกัน จากนัน ้ ถ่างนิว้
ของคุณออกจากกันบนหน ้าจอ
 ขณะทีค ่ ณุ ถ่างนิว้ ออกจากกัน ภาพจะถูก
ขยายขึน ้
 ภาพสามารถขยายขึน ้ ได ้ถึงประมาณ 10x
 คุณสามารถเลือ ่ นภาพไปรอบๆ ได ้โดยการ
ลากนิว้ มือ
 หากต ้องการลดขนาดภาพ ให ้คุณจีบนิว้
เข ้าหากันบนหน ้าจอ
 แตะทีไ่ อคอน [2] เพือ ่ กลับสูก ่ ารแสดง
ภาพทีละภาพ

การทํางานแบบแตะหน ้าจอ LCD ของกล ้อง ยังสามารถทําได ้ระหว่างการเล่นภาพใน


เครือ ่ มต่อเข ้ากับกล ้องของคุณได ้อีกด ้วย (น.298-301)
่ งรับโทรทัศน์ทเี่ ชือ

282
b การหมุนภาพ
คุณสามารถหมุนภาพทีแ
่ สดงไปยังทิศทางทีต
่ ้องการได ้

เลือก [หมุนภาพ]
1  ภายใต ้แท็บ [x1] เลือก [หมุนภาพ]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อกภาพ
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกรูปภาพ
ทีจ
่ ะหมุน
 คุณยังสามารถเลือกรูปภาพในการแสดง
ภาพแบบดัชนีได ้ (น.278)

3 หมุ
นภาพ
 แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <0> ภาพถ่ายจะ

หมุนตามเข็มนาฬกาดั งนี:้ 90° 9 270°
9 0°
่ ให ้ทําซํ้าขัน
 ในการหมุนภาพอืน ้ ตอนที่ 2
และ 3
 ในการออกและกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม
<M>

 หากคุณตัง้ ค่า [51: หมุนภาพอ ัตโนม ัติ] เป็ น [เปิ ดzD] (น.265) ก่อนถ่าย
ภาพแนวตัง้ คุณไม่จําเป็ นต ้องหมุนภาพตามขัน ้ ตอนข ้างต ้น
 หากภาพทีห ่ มุนไม่แสดงในทิศทางทีห ่ มุนระหว่างการเล่นภาพ ให ้ตัง้ ค่า [51:
หมุนภาพอ ัตโนม ัติ] เป็ น [เปิ ดzD]
 ไม่สามารถหมุนภาพเคลือ ่ นไหวได ้

283
3 การตงค่
ั้ าการให้คะแนน
คุณสามารถให ้คะแนนภาพ (ภาพนิง่ และภาพเคลือ ่ นไหว) ตัง้ แต่หนึง่ ถึงห ้า
คะแนน: l/m/n/o/p ฟั งก์ชน ั่ นีเ้ รียกว่า การให ้คะแนน

เลือก [คะแนน]
1  ภายใต ้แท็บ [x2] เลือก [คะแนน] จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อกภาพ
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกภาพหรือ
ภาพเคลือ ่ นไหวทีจ ่ ะให ้คะแนน จากนั น
้ กด
ปุ่ ม <0>
 ด ้วยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถ
เลือกภาพจากการแสดงภาพแบบสามภาพ
ในการกลับสูก ่ ารแสดงภาพทีละภาพ ให ้
กดปุ่ ม <u>

3 ให้
คะแนนภาพ
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือกคะแนน
 เมือ่ คุณเลือกคะแนนสําหรับภาพ หมาย
เลขด ้านข ้างคะแนนทีต ่ งั ้ ค่าไว ้จะเพิม
่ ขึน้
อีกหนึง่
 ในการให ้คะแนนภาพอืน ่ ให ้ทําซํ้าขัน ้ ตอน
ที่ 2 และ 3
 ในการกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม <M>

284
3 การตัง้ ค่าการให ้คะแนน

สามารถแสดงภาพได ้มากถึง 999 ภาพต่อหนึง่ กลุม


่ คะแนน หากมีภาพมากกว่า 999
ภาพต่อหนึง่ กลุม
่ คะแนน [###] จะปรากฏขึน

การใช้ประโยชน์จากการให้คะแนน
 ด ้วย [x2: ข้ามภาพด้วยปุ่ม 6] คุณจะสามารถแสดงเฉพาะภาพทีม ่ ก
ี ารให ้
คะแนนได ้
 ด ้วย [x2: สไลด์โชว์] คุณสามารถเล่นดูเฉพาะภาพทีม ่ ก
ี ารให ้คะแนนได ้
 ด ้วย Digital Photo Professional (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402) คุณจะสามารถเลือก
เฉพาะภาพทีม ่ กี ารให ้คะแนนได ้ (ภาพนิง่ เท่านัน
้ )
 ด ้วย Windows 8.1, Windows 8, Windows 7 ฯลฯ คุณสามารถดูคะแนนภาพ
แต่ละไฟล์ในส่วนของการแสดงข ้อมูลไฟล์หรือในโปรแกรมแสดงภาพทีใ่ ห ้มาได ้
(ภาพนิง่ เท่านัน้ )

285
Q การควบคุมท ันใจขณะเล่นภาพ
ระหว่างการเล่นภาพ คุณสามารถกดปุ่ ม <Q> เพือ ่ ตัง้ ค่าดังต่อไปนี:้ [J:
ป้องก ันภาพ, b: หมุนภาพ, 9: คะแนน, U: ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์, S: ปรับ
ขนาด (ภาพ JPEG เท่านัน
้ ), N: ตัดภาพ, K: แสดงจุด AF, e: ข้ามภาพ
ด้วยปุ่ม 6, k: ฟังก์ชน ่ ั Wi-Fi*]
สําหร ับภาพเคลือ
่ นไหว เฉพาะฟังก์ชน ่ ั ทีเ่ ป็นต ัวหนาทางด้านบนเท่านนที ั้ ่
สามารถตงค่ั้ าได้
* ไม่สามารถเลือกได ้หากตัง้ ค่า [51: Wi-Fi/NFC] เป็ น [ไม่ใช้งาน]

กดปุ่ม <Q>
1  ในระหว่างการเล่นภาพ ให ้กดปุ่ ม <Q>
 ตัวเลือกการควบคุมทันใจจะปรากฏขึน ้

่ ั และตงค่
2 เลื
อกฟังก์ชน ั้ า
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ั่
่ เลือกฟั งก์ชน
 ชือ ่ และการตัง้ ค่าปั จจุบันของฟั งก์ชน ั่ ที่
เลือกมีการแสดงทีด ่ ้านล่างของหน ้าจอ
 ตัง้ ค่าโดยการกดปุ่ ม <Y> <Z>
 เมือ ่ ตัง้ ค่าฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ (น.312)
ปรับขนาด (น.315) ตัดภาพ (น.317)
หรือฟั งก์ชน ั่ Wi-Fi ให ้กดปุ่ ม <0> เพือ ่
ยืนยันการตัง้ ค่า
 ข ้ามภาพด ้วยปุ่ ม 6: ตัง้ ค่าการให ้คะแนน
(น.284) โดยการกดปุ่ ม <B>
 หากต ้องการยกเลิก ให ้กดปุ่ ม <M>

3 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <Q> เพือ
่ ออกจากหน ้าจอ
ควบคุมทันใจ

286
Q การควบคุมทันใจขณะเล่นภาพ

ในการหมุนภาพ ให ้ตัง้ ค่า [51: หมุนภาพอ ัตโนม ัติ] เป็ น [เปิ ดzD] หากตัง้ ค่า
[51: หมุนภาพอ ัตโนม ัติ] เป็ น [เปิ ดD] หรือ [ปิ ด] การตัง้ ค่า [b หมุนภาพ]
จะถูกบันทึกไปยังภาพ แต่กล ้องจะไม่หมุนภาพตอนทีแ ่ สดงภาพ

 การกดปุ่ ม <Q> ระหว่างการแสดงภาพแบบดัชนีจะสลับไปยังการแสดงภาพที


ละภาพและหน ้าจอควบคุมทันใจจะปรากฏ การกดปุ่ ม <Q> อีกครัง้ จะกลับไปยัง
หน ้าการแสดงภาพแบบดัชนี
่ า่ ยโดยใช ้กล ้องอืน
 สําหรับภาพทีถ ่ ตัวเลือกทีค
่ ณ
ุ สามารถเลือกได ้อาจมีจํากัด

287
k การเพลิดเพลินก ับภาพเคลือ
่ นไหว
คุณสามารถเล่นภาพเคลือ
่ นไหวได ้สามวิธด
ี ังนี:้

เล่นภาพบนโทรท ัศน์ (น.298-301)


ใช ้สาย HDMI รุน ่ HTC-100 (แยกจําหน่าย)
หรือ สาย AV แบบสเตอริโอ รุน ่ AVC-DC400ST
(แยกจําหน่าย) เพือ ่ เชือ ่ มต่อกล ้องเข ้ากับ
เครือ่ งรับโทรทัศน์ จากนัน ้ คุณสามารถเล่น
ภาพเคลือ ่ นไหวและภาพนิง่ ได ้บนเครือ ่ งรับ
โทรทัศน์
หากคุณมีเครือ ่ งรับโทรทัศน์แบบ High-
Definition และเชือ ่ มต่อกับกล ้องของคุณด ้วย
สาย HDMI คุณสามารถดูภาพเคลือ ่ นไหวแบบ
Full High-Definition (Full HD: 1920x1080)
และ High-Definition (HD: 1280x720) ด ้วย
คุณภาพของภาพทีส ่ งู ขึน้

 เนื่องจากเครือ ่ งบันทึกฮาร์ดดิสก์ไม่มช ่ งสัญญาณ HDMI เข ้า จึงไม่สามารถเชือ


ี อ ่ ม
ต่อกล ้องกับเครือ ่ งบันทึกฮาร์ดดิสก์ได ้ด ้วยสาย HDMI
่ มต่อกล ้องเข ้ากับเครือ
 แม ้ว่าจะเชือ ่ งบันทึกฮาร์ดดิสก์ด ้วยสาย USB แต่จะไม่
สามารถเล่นหรือบันทึกภาพเคลือ ่ นไหวและภาพนิง่ ได ้
 หากอุปกรณ์การเล่นไม่รองรับไฟล์ MP4 จะไม่สามารถเล่นภาพเคลือ ่ นไหวได ้

เล่นภาพบนจอ LCD ของกล้อง (น.290-297)


คุณสามารถเล่นภาพเคลือ ่ นไหวบนจอ LCD
ของกล ้องได ้ คุณยังสามารถแก ้ไขฉากแรก
และฉากสุดท ้ายของภาพเคลือ ่ นไหวออกได ้
และเล่นภาพนิง่ และภาพเคลือ ่ นไหวบนการ์ด
เป็ นสไลด์โชว์แบบอัตโนมัต ิ

ภาพเคลือ ่ ก ้ไขด ้วยคอมพิวเตอร์ไม่สามารถเขียนซํ้าไปยังการ์ดหรือเล่นภาพ


่ นไหวทีแ
ด ้วยกล ้องได ้

288
k การเพลิดเพลินกับภาพเคลือ
่ นไหว

เล่นและแก้ไขภาพด้วยคอมพิวเตอร์
สําหรับการเล่นหรือแก ้ไขภาพเคลือ ่ นไหว
ให ้ใช ้ซอฟต์แวร์ทต
ี่ ด
ิ ตัง้ ไว ้ล่วงหน ้าหรือ
ซอฟต์แวร์ทเี่ หมาะสมทีส ่ ามารถรองรับรูปแบบ
การบันทึกของภาพเคลือ ่ นไหวได ้

หากคุณต ้องการเล่นหรือแก ้ไขภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยซอฟต์แวร์ทม


ี่ จ
ี ําหน่ายทั่วไป ให ้
ใช ้ซอฟต์แวร์ทส
ี่ ามารถรองรับภาพเคลือ ่ นไหวในรูปแบบ MP4 ได ้ สําหรับรายละเอียด
เกีย
่ วกับซอฟต์แวร์ทมี่ จ
ี ําหน่ายทั่วไป โปรดติดต่อผู ้ผลิตซอฟต์แวร์

289
k การเล่นภาพเคลือ
่ นไหว
เล่นดูภาพ
1  กดปุ่ ม <x> เพือ
่ แสดงภาพ

2 เลื
อกภาพเคลือ ่ นไหว
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกภาพ
เคลือ ่ นไหวทีจ ่ ะเล่น
 ในขณะแสดงภาพทีละภาพ ไอคอน
<s1> จะแสดงขึน ้ ทีม ุ บนซ ้ายของ
่ ม
หน ้าจอเพือ ่ บ่งบอกว่าเป็ นภาพเคลือ ่ นไหว
หากภาพเคลือ ่ นไหวเป็ น video snapshot
ไอคอน <st> จะแสดงขึน ้
 ในขณะแสดงภาพแบบดัชนี แถบรอยปรุ
ตรงขอบซ ้ายของภาพขนาดย่อบ่งบอกว่า
เป็ นภาพเคลือ ่ นไหว เนือ ่ งจากไม่สามารถ
เล่นภาพเคลือ ่ นไหวได้ระหว่างการ
แสดงภาพแบบด ัชนี ให้กดปุ่ม <0>
เพือ่ เปลีย
่ นเป็นการแสดงภาพทีละภาพ
ในขณะแสดงภาพทีละภาพ กดปุ่ม
3 <0>
 แผงควบคุมการเล่นภาพเคลือ ่ นไหวจะ
ปรากฏขึน
้ ทางด ้านล่างของหน ้าจอ

4 เล่
นภาพเคลือ ่ นไหว
 เลือก [7] (เล่น) จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพเคลือ ่ นไหวจะเริม
่ เล่น
ลําโพง  คุณสามารถหยุดเล่นภาพเคลือ ่ นไหว
ชัว่ ขณะได ้โดยการกดปุ่ ม <0>
 คุณสามารถปรับระดับเสียงโดยหมุนปุ่ ม
<6> ได ้ในระหว่างเล่นภาพเคลือ ่ นไหว
 สําหรับรายละเอียดเพิม ่ เติมเกีย
่ วกับวิธก
ี าร
เล่นภาพ โปรดดูหน ้าถัดไป

กล ้องนีอ
้ าจไม่สามารถเล่นภาพเคลือ
่ นไหวทีถ
่ า่ ยด ้วยกล ้องอืน

290
k การเล่นภาพเคลือ
่ นไหว

แผงควบคุมการเล่นภาพเคลือ
่ นไหว
การทํางาน คําอธิบายการเล่นภาพ
7 เล่น ่ สลับระหว่างเล่นกับหยุดชัว่ ขณะ
กดปุ่ ม <0> เพือ
ปรับความเร็วการเล่นภาพช ้าได ้โดยการกดปุ่ ม <Y> <Z>
8 เล่นภาพช้า
ความเร็วในการเล่นภาพช ้าจะแสดงทางด ้านบนขวาของหน ้าจอ
5 เฟรมแรก แสดงเฟรมแรกของภาพเคลือ
่ นไหว
แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <0> จะแสดงเฟรมก่อนหน ้าทีละเฟรม
3 เฟรมทีแ
่ ล้ว
หากคุณกดปุ่ ม <0> ค ้างไว ้ ภาพเคลือ่ นไหวจะเล่นย ้อนกลับ
แต่ละครัง้ ทีค
่ ณ
ุ กดปุ่ ม <0> จะเล่นภาพเคลือ
่ นไหวแบบเฟรมต่อ
6 เฟรมถ ัดไป เฟรม หากคุณกดปุ่ ม <0> ค ้างไว ้ ภาพเคลือ่ นไหวจะเล่นอย่าง
รวดเร็ว
4 เฟรมสุดท้าย แสดงเฟรมสุดท ้ายของภาพเคลือ
่ นไหว
F ดนตรีฉากหล ัง* เล่นภาพเคลือ
่ นไหวพร ้อมกับดนตรีฉากหลังทีเ่ ลือก (น.297)
X แก้ไข แสดงหน ้าจอสําหรับการตัดต่อ (น.292)
ตําแหน่งการเล่นภาพ
mm’ ss” เวลาในการเล่น (นาที:วินาที)
หมุนปุ่ ม <6> เพือ
่ ปรับระดับเสียงของลําโพงในตัวกล ้อง
9 ระด ับเสียง
(น.290)
32 กดปุ่ ม <M> เพือ ่ ารแสดงภาพทีละภาพ
่ กลับสูก
* เมือ
่ มีการตัง้ ดนตรีฉากหลัง กล ้องจะไม่เล่นเสียงทีบ
่ ันทึกในภาพเคลือ
่ นไหว

 ด ้วยแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน


่ LP-E17 ทีช ่ าร์จไฟจนเต็ม เวลาในการเล่นภาพแบบต่อเนื่องที่
อุณหภูมห ิ ้อง (23°C / 73°F) คือประมาณ 2 ชัว่ โมง 20 นาที
 หากคุณเชือ ่ มต่อกล ้องเข ้ากับเครือ่ งรับโทรทัศน์เพือ่ เล่นภาพเคลือ่ นไหว (น.298,
301) ให ้ปรับระดับเสียงโดยใช ้เครือ ่ งรับโทรทัศน์ (การหมุนปุ่ ม <6> จะไม่
เปลีย่ นระดับเสียง)
 หากคุณถ่ายภาพนิง่ ในขณะทีค ่ ณ
ุ กําลังถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ภาพนิง่ จะแสดงขึน

ประมาณ 1 วินาทีในระหว่างเล่นภาพเคลือ ่ นไหว

291
X การแก ้ไขฉากแรกและฉากสุดท ้ายของภาพเคลือ
่ นไหว

ั ัส
เล่นภาพด้วยหน้าจอสมผ
แตะที่ [7] ตรงกลางหน้าจอ
 ภาพเคลือ่ นไหวจะเริม่ เล่น
 ในการแสดงแผงเล่นภาพเคลือ ่ นไหว ให ้
แตะที่ <s1> ทีด ่ ้านซ ้ายบนของหน ้า
จอ
 หากต ้องการหยุดภาพเคลือ ่ นไหวชัว่ ขณะ
ระหว่างการเล่น ให ้แตะทีห ่ น ้าจอ แผงเล่น
ภาพเคลือ ่ นไหวจะปรากฏขึน ้ ด ้วยเช่นกัน

X การแก้ไขฉากแรกและฉากสุดท้ายของภาพเคลือ่ นไหว
คุณสามารถตัดฉากแรกและฉากสุดท ้ายของภาพเคลือ
่ นไหวออกได ้ครัง้ ละ
ประมาณ 1 วินาที

ในหน้าจอการเล่นภาพเคลือ
่ นไหว
1 ให้เลือก [X]
 แผงการแก ้ไขภาพเคลือ ่ นไหวจะปรากฏขึน

ทางด ้านล่างของหน ้าจอ

สว่ นทีจ
2 ระบุ ่ ะแก้ไขออก
 เลือก [U] (ตัดตอนเริม
่ ) หรือ [V]
(ตัดตอนจบ) จากนัน้ กดปุ่ ม <0>
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ ดูเฟรมก่อนหน ้า
หรือเฟรมถัดไป ทําค ้างไว ้เพือ
่ เดินหน ้า
หรือย ้อนกลับเฟรมอย่างรวดเร็ว
 หลังจากตัดสินใจได ้ว่าจะแก ้ไขส่วนใดออก
ให ้กด <0> ส่วนทีไ่ ฮไลท์เป็ นสีเทาด ้าน
บนสุดของหน ้าจอจะยังคงเหลืออยู่

292
X การแก ้ไขฉากแรกและฉากสุดท ้ายของภาพเคลือ
่ นไหว

3 ตรวจสอบภาพเคลื อ
่ นไหวทีแ
่ ก้ไขแล้ว
 เลือก [7] และกด <0> เพือ่ เล่นภาพ
เคลือ่ นไหวทีแ่ ก ้ไขแล ้ว
 ในการเปลีย ่ นการแก ้ไข ให ้กลับไปทํา
ขัน
้ ตอนที่ 2
 หากต ้องการยกเลิกการแก ้ไข ให ้กดปุ่ ม
<M> จากนั น ้ เลือก [ตกลง] บน
กล่องโต ้ตอบเพือ ่ ยืนยัน

4 บันทึเลืกอกภาพเคลือ่ นไหวทีแ
[W] จากนั น
่ ก้ไขแล้ว
้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอการบันทึกจะปรากฏขึน ้
 ในการบันทึกเป็ นภาพเคลือ ่ นไหวใหม่ ให ้
เลือก [ไฟล์ใหม่] ในการบันทึกและเขียน
ทับไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวต ้นฉบับ ให ้เลือก
[เขียนท ับ] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 บนกล่องโต ้ตอบเพือ ่ ยืนยัน ให ้เลือก [ตกลง]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0> เพือ ่ บันทึกภาพ
เคลือ่ นไหวทีแ ่ ก ้ไขแล ้ว และกลับสูห ่ น ้าจอ
การเล่นภาพเคลือ ่ นไหว

 เนื่องจากการแก ้ไขทําได ้ครัง้ ละประมาณ 1 วินาที (ตําแหน่งทีแ ่ ก ้ไขระบุด ้วย [Z]


ทีด
่ ้านบนสุดของหน ้าจอ) ตําแหน่งทีแ ่ ท ้จริงทีม
่ ก
ี ารแก ้ไขภาพเคลือ ่ นไหวอาจต่าง
จากตําแหน่งทีค ่ ณุ ได ้ระบุ
 หากการ์ดมีทวี่ า่ งไม่เพียงพอ ตัวเลือก [ไฟล์ใหม่] จะไม่สามารถเลือกได ้
 เมือ่ ระดับพลังงานแบตเตอรีต ่ ํา่ การแก ้ไขภาพเคลือ ่ นไหวจะไม่สามารถทําได ้ ใช ้
แบตเตอรีท ่ ช
ี่ าร์จไฟจนเต็ม

293
3 สไลด์โชว์ (การเล่นภาพอ ัตโนม ัติ)
คุณสามารถเล่นภาพทีอ
่ ยูใ่ นการ์ดเป็ นสไลด์โชว์อต
ั โนมัตไิ ด ้

เลือก [สไลด์โชว์]
1  ภายใต ้แท็บ [x2] เลือก [สไลด์โชว์]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

จํานวนของภาพทีจ
่ ะเล่น 2 เลื
อกภาพทีจ ่ ะเล่น
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือกตัวเลือกที่
ต ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
ทุกภาพ/ภาพเคลือ
่ นไหว/ภาพนิง่
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือกอย่างใด
อย่างหนึง่ ต่อไปนี:้ [Oทุกภาพ]
[kภาพเคลือ ่ นไหว] [zภาพนิง่ ]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
ว ันที/
่ โฟลเดอร์/คะแนน
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือกอย่างใด
อย่างหนึง่ ต่อไปนี:้ [iว ันที]่ [n
โฟลเดอร์] [9คะแนน]
 เมือ
่ <zH> มีการไฮไลท์ ให ้กดปุ่ ม
<B>
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เลือกตัวเลือก
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
[ว ันที]่ [โฟลเดอร์] [คะแนน]

294
3 สไลด์โชว์ (การเล่นภาพอัตโนมัต)ิ

รายการ คําอธิบายการเล่นภาพ
Oทุกภาพ ภาพนิง่ และภาพเคลือ
่ นไหวทัง้ หมดในการ์ดจะถูกเล่น
iว ันที่ ภาพนิง่ และภาพเคลือ
่ นไหวทีถ
่ า่ ยในวันทีเ่ ลือกจะถูกเล่น
nโฟลเดอร์ ภาพนิง่ และภาพเคลือ
่ นไหวในโฟลเดอร์ทเี่ ลือกจะถูกเล่น
kภาพเคลือ
่ นไหว เฉพาะภาพเคลือ
่ นไหวในการ์ดจะถูกเล่น
zภาพนิง่ เฉพาะภาพนิง่ ในการ์ดจะถูกเล่น
9คะแนน เฉพาะภาพนิง่ และภาพเคลือ
่ นไหวทีม
่ ค
ี ะแนนทีเ่ ลือกจะถูกเล่น

3 กําหนดค่ า [ตงค่
ั้ า] ตามทีต
กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ อ
้ งการ
่ เลือก [ตงค่
ั้ า]
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 ตัง้ ค่า [ระยะเวลาทีเ่ ล่น], [เล่นซํา้ ] (เล่น
ภาพซํ้า) [ลูกเล่นเปลีย ่ นภาพ] (เอฟเฟค
เมือ ่ เปลีย
่ นภาพ) และ [ดนตรีฉากหล ัง]
สําหรับภาพนิง่
 ขัน้ ตอนการเลือกดนตรีฉากหลังได ้อธิบาย
ไว ้ในหน ้า 297
 หลังจากเลือกการตัง้ ค่า ให ้กดปุ่ ม
<M>

[ระยะเวลาทีเ่ ล่น] [เล่นซํา้ ]

295
3 สไลด์โชว์ (การเล่นภาพอัตโนมัต)ิ

[ลูกเล่นเปลีย
่ นภาพ] [ดนตรีฉากหล ัง]

4 เริม่ กดปุ่
สไลด์โชว์
ม <W><X> เพือ
่ เลือก [เริม
่ ] จาก
นัน
้ กดปุ่ ม <0>
 หลังจาก [กําล ังโหลดภาพ...] แสดงขึน

สไลด์โชว์จะเริม
่ เล่น

5 ออกจากสไลด์ โชว์
 ในการออกจากสไลด์โชว์และกลับไปยัง
หน ้าจอการตัง้ ค่า ให ้กดปุ่ ม <M>

 ในการหยุดเล่นสไลด์โชว์ชวั่ ขณะ ให ้กดปุ่ ม <0> ระหว่างการหยุดชัว่ ขณะ [G]


จะแสดงขึน ้ ทางด ้านซ ้ายบนของภาพ กด <0> อีกครัง้ เพือ ่ กลับมาเล่นสไลด์
โชว์ตอ่ คุณสามารถหยุดสไลด์โชว์ชวั่ คราวได ้โดยการแตะทีห ่ น ้าจอ
 ระหว่างการเล่นภาพอัตโนมัต ิ คุณสามารถกดปุ่ ม <B> เพือ ่ เปลีย่ นรูปแบบ
การแสดงภาพนิง่ ได ้ (น.97)
 ระหว่างการเล่นภาพเคลือ ่ นไหว คุณสามารถปรับระดับเสียงได ้โดยการหมุนปุ่ ม
<6>
 ระหว่างการเล่นภาพอัตโนมัตห ิ รือหยุดชัว่ ขณะ คุณสามารถกดปุ่ ม <Y> <Z>
เพือ
่ ดูภาพอืน

 ระหว่างการเล่นภาพอัตโนมัต ิ ปิ ดสวิตซ์อัตโนมัตจ ิ ะไม่ทํางาน
 ระยะเวลาทีเ่ ล่นอาจแตกต่างออกไปโดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั ภาพ
 ในการดูสไลด์โชว์บนเครือ ่ งรับโทรทัศน์ โปรดดูหน ้า 298

296
3 สไลด์โชว์ (การเล่นภาพอัตโนมัต)ิ

การเลือกดนตรีฉากหล ัง
หลังจากทีค่ ณุ ใช ้ EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS) เพือ
่ คัดลอกดนตรีฉากหลังไป
ยังการ์ดแล ้ว คุณสามารถเล่นดนตรีฉากหลังไปพร ้อมกับสไลด์โชว์ได ้
เลือก [ดนตรีฉากหล ัง]
1  ตัง้ ค่า [ดนตรีฉากหล ัง] เป็ น [เปิ ด] จาก
นัน้ กดปุ่ ม <0>
 หากการ์ดไม่มด ี นตรีฉากหลัง คุณจะไม่
สามารถทําตามขัน ้ ตอนที่ 2 ได ้

2 เลื
อกดนตรีฉากหล ัง
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ เลือกดนตรีฉาก
หลังทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0> คุณ
ยังสามารถเลือกดนตรีฉากหลังได ้หลาย
เพลง

3 เล่
นดนตรีฉากหล ัง
 เพือ
่ ฟั งตัวอย่างดนตรีฉากหลัง ให ้กดปุ่ ม
<B>
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ เล่นดนตรีฉาก
หลังอืน่ เพือ
่ หยุดฟั งตัวอย่างดนตรีฉาก
หลัง ให ้กดปุ่ ม <B> อีกครัง้
 ปรับระดับเสียงโดยหมุนปุ่ ม <6>
 ในการลบดนตรีฉากหลัง กดปุ่ ม <W>
<X> เพือ ่ เลือกเพลง จากนั น ้ กดปุ่ ม
<L>

กล ้องไม่มด
ี นตรีฉากหลังให ้เมือ่ ตอนซือ้ ขัน
้ ตอนในการคัดลอกดนตรีฉากหลังไปยัง
การ์ดได ้อธิบายไว ้ในคูม ื การใช ้งาน EOS Utility (น.404)
่ อ

297
การดูภาพบนเครือ
่ งร ับโทรท ัศน์
คุณสามารถดูภาพนิง่ และภาพเคลือ
่ นไหวบนเครือ
่ งรับโทรทัศน์ได ้
 หากรูปแบบระบบวิดโี อไม่ตรงกับรูปแบบของเครือ ่ งรับโทรทัศน์ ภาพเคลือ ่ นไหว
จะไม่สามารถแสดงได ้อย่างสมบูรณ์ ในกรณีนี้ ให ้เปลีย ่ นเป็ นรูปแบบระบบวิดโี อที่
เหมาะสมด ้วย [53: ระบบวิดโี อ]
 หากตัง้ ค่า [51: Wi-Fi/NFC] เป็ น [ใช้งาน] กล ้องจะไม่สามารถเชือ ่ มต่อเข ้ากับ
เครือ
่ งรับโทรทัศน์ได ้ ให ้ตัง้ ค่า [Wi-Fi/NFC] เป็ น [ไม่ใช้งาน] จากนัน ่ ม
้ จึงเชือ
ต่อกล ้องเข ้ากับเครือ
่ งรับโทรทัศน์ด ้วยสาย HDMI หรือสาย AV แบบสเตอริโอ

การดูภาพบนเครือ่ งรับโทรท ัศน์ทมี่ คี วามละเอียดสูง (HD) (เชือ่ มต่อแบบ HDMI)


จําเป็ นต ้องใช ้สาย HDMI รุน
่ HTC-100 (แยกจําหน่าย)
่ มต่อสาย HDMI เข้าก ับกล้อง
เชือ
1  เสียบปลั๊กในช่องสัญญาณ <D>
โดยให ้โลโก ้ <dHDMI MINI> หันไป
ทางด ้านหน ้าของกล ้อง

่ มต่อสาย HDMI ก ับเครือ


2 เชื

โทรท ัศน์
่ งร ับ

่ มต่อสาย HDMI กับพอร์ตเข ้า HDMI


 เชือ
ของเครือ ่ งรับโทรทัศน์

3 เปิสญญาณเข้

ดเครือ
่ งร ับโทรท ัศน์และสล ับช่อง
าวิดโี อของเครือ
่ งร ับ
โทรท ัศน์เพือ ่ มต่ออยู่
่ เลือกพอร์ตทีเ่ ชือ
ปร ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่ <1>
4
 ปรับระดับเสียงของภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยเครือ
่ งรับโทรทัศน์ ไม่สามารถปรับระดับ
เสียงด ้วยกล ้องได ้
 ก่อนเชือ่ มต่อหรือถอดสายระหว่างกล ้องและเครือ ่ งรับโทรทัศน์ ให ้ปิ ดกล ้องและ
เครือ
่ งรับโทรทัศน์กอ ่ น
 บางส่วนของภาพทีแ ่ สดงอาจถูกตัดออกโดยขึน ้ อยูก่ บ ่ งรับโทรทัศน์ทใี่ ช ้
ั เครือ

298
การดูภาพบนเครือ
่ งรับโทรทัศน์

5 กดปุ
่ ม <x>
 ภาพจะปรากฏบนหน ้าจอโทรทัศน์ (ภาพ
จะไม่แสดงบนจอ LCD ของกล ้อง)
 ภาพจะแสดงทีค ่ วามละเอียดสูงสุดของ
เครือ
่ งรับโทรทัศน์โดยอัตโนมัต ิ
 โดยการกดปุ่ ม <B> คุณสามารถ
เปลีย่ นรูปแบบการแสดงผลได ้
 ในการเล่นภาพเคลือ ่ นไหว ให ้ดูหน ้า 290

ภาพไม่สามารถถูกส่งออกพร ้อมกัน จากทัง้ ทางช่องสัญญาณ <D> และ


<q>

 อย่าต่ออุปกรณ์สญ ั ญาณออกใดๆ กับช่องสัญญาณ <D> ของกล ้อง


เพราะอาจทําให ้เกิดการทํางานทีผ ่ ด
ิ ปกติได ้
 เครือ
่ งรับโทรทัศน์บางรุน ่ อาจไม่สามารถแสดงภาพเคลือ่ นไหวทีถ
่ า่ ยได ้ ในกรณี
เช่นนี้ ให ้ใช ้สาย AV แบบสเตอริโอ รุน ่ AVC-DC400ST (แยกจําหน่าย) เพือ ่ ม
่ เชือ
ต่อเข ้ากับเครือ ่ งรับโทรทัศน์

การใชเ้ ครือ
่ งร ับโทรท ัศน์ HDMI CEC
หากเครือ
่ งรับโทรทัศน์ทม
ี่ ก ่ มต่อกับกล ้องด ้วยสาย HDMI ใช ้งานได ้กับ
ี ารเชือ
HDMI CEC* คุณสามารถใช ้รีโมทคอนโทรลของเครือ ่ งรับโทรทัศน์ในการเล่นได ้
ั่ มาตรฐาน HDMI ทําให ้สามารถใช ้งานอุปกรณ์ HDMI ในการควบคุมระหว่างกันได ้
* ฟั งก์ชน
้ คุณจึงสามารถควบคุมอุปกรณ์ทงั ้ หมดโดยใช ้รีโมทคอนโทรลเพียงอันเดียว
ดังนัน

ตงค่
ั้ า [ควบคุมผ่าน HDMI] เป็น
1 [ใชง้ าน]
 ภายใต ้แท็บ [32] ให ้เลือก [ควบคุม
ผ่าน HDMI] จากนั น้ กดปุ่ ม <0>
 เลือก [ใช้งาน] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

299
การดูภาพบนเครือ
่ งรับโทรทัศน์

่ มต่อกล้องก ับเครือ
2 เชื

 ใช ้สาย HDMI เพือ
่ งร ับโทรท ัศน์
่ มต่อกล ้องเข ้ากับ
่ เชือ
เครือ่ งรับโทรทัศน์
 ช่องสัญญาณเข ้าของเครือ ่ งรับโทรทัศน์จะ
สลับไปยังพอร์ต HDMI ทีเ่ ชือ ่ มต่อกับกล ้อง
โดยอัตโนมัต ิ หากสัญญาณไม่สลับโดย
อัตโนมัต ิ ให ้ใช ้รีโมทคอนโทรลของเครือ ่ ง
รับโทรทัศน์เลือกพอร์ตเข ้า HDMI ทีส ่ าย
่ มต่ออยู่
เชือ

3 กดปุ
่ ม <x> ของกล้อง
 ภาพจะปรากฏบนหน ้าจอโทรทัศน์และคุณ
สามารถใช ้รีโมทคอนโทรลของเครือ่ งรับ
โทรทัศน์เพือ
่ ควบคุมการเล่นภาพได ้

4 เลื
อกภาพ
 เล็งรีโมทคอนโทรลไปทางเครือ
่ งรับ
โทรทัศน์และกดปุ่ ม / เพือ
่ เลือกภาพ
กดปุ่ม Enter ของรีโมทคอนโทรล
เมนูการเล่นภาพนิง่ 5  เมนูจะปรากฏและคุณสามารถทําการเล่น
ภาพทีแ ่ สดงทางซ ้ายได ้
เมนูการเล่นภาพเคลือ
่ นไหว  กดปุ่ ม / เพือ ่ เลือกตัวเลือกทีต่ ้องการ
จากนัน ้ กดปุ่ ม Enter สําหรับสไลด์โชว์
ให ้กดปุ่ ม / ของรีโมทคอนโทรลเพือ ่
2 : ย ้อนกลับ เลือกตัวเลือก จากนัน ้ กดปุ่ ม Enter
a : ดัชนี 9 ภาพ  หากคุณเลือก [ย้อนกล ับ] และกดปุ่ ม
1 : เล่นภาพเคลือ่ นไหว Enter เมนูจะหายไปและคุณสามารถใช ้ปุ่ ม
c : สไลด์โชว์ / เพือ ่ เลือกภาพได ้
B : แสดงข ้อมูลถ่ายภาพ
b : หมุนภาพ

 เครือ
่ งรับโทรทัศน์บางรุน่ อาจต ้องให ้คุณเปิ ดใช ้งานการเชือ ่ มต่อ HDMI CEC ก่อน
สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ู่ อื การใช ้งานเครือ ่ งรับโทรทัศน์
 เครือ่ งรับโทรทัศน์บางรุน่ แม ้แต่รนุ่ ทีใ่ ช ้งานได ้กับ HDMI CEC อาจไม่สามารถทํา
งานได ้อย่างถูกต ้อง ในกรณีดงั กล่าว ให ้ตัง้ ค่า [32: ควบคุมผ่าน HDMI] เป็ น
[ไม่ใช้งาน] และใช ้กล ้องเพือ ่ ควบคุมการเล่นภาพ

300
การดูภาพบนเครือ
่ งรับโทรทัศน์

การดูภาพบนเครือ่ งร ับโทรท ัศน์ทไี่ ม่ใช่ระบบ HD (เชือ่ มต่อด้วยสาย AV)


จําเป็ นต ้องใช ้สาย AV แบบสเตอริโอ รุน
่ AVC-DC400ST (แยกจําหน่าย)
่ มต่อสาย AV เข้าก ับกล้อง
เชือ
1  เสียบปลั๊กในช่องสัญญาณโดยให ้โลโก ้
<Canon> หันไปทางด ้านหลังของกล ้อง
<q>

่ มต่อสาย AV ก ับเครือ
(แดง)
2 เชื

โทรท ัศน์
่ งร ับ
(ขาว) เสียง
่ มต่อสาย AV กับช่องสัญญาณวิดโี อ
 เชือ
(เหลือง) เข ้าและช่องสัญญาณเสียงเข ้าของเครือ
่ ง
วิดีโอ รับโทรทัศน์

3 เปิสญญาณเข้

ดเครือ
่ งร ับโทรท ัศน์และสล ับช่อง
าวิดโี อของเครือ
่ งร ับ
โทรท ัศน์เพือ ่ มต่ออยู่
่ เลือกพอร์ตทีเ่ ชือ

4 ปร ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่ <1>


5 กดปุ ่ ม <x>
 ภาพจะปรากฏบนหน ้าจอโทรทัศน์ (ภาพ
จะไม่แสดงบนจอ LCD ของกล ้อง)
 ในการเล่นภาพเคลือ
่ นไหว ให ้ดูหน ้า 290

ห ้ามใช ้สาย AV อืน


่ นอกเหนือจากสาย AV แบบสเตอริโอ รุน
่ AVC-DC400ST (แยก
จําหน่าย) ภาพเคลือ ่ นไหวอาจไม่สามารถแสดงได ้หากคุณใช ้สายเชือ
่ มต่อแบบอืน

301
K การป้องก ันภาพ
คุณสามารถตัง้ ค่าการป้ องกันเพือ
่ ป้ องกันภาพอันมีคา่ จากการสูญหายโดยไม่
ตัง้ ใจได ้

3 การป้องก ันภาพทีละภาพ

เลือก [ป้องก ันภาพ]


1  ภายใต ้แท็บ [31] ให ้เลือก [ป้องก ัน
ภาพ] จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [เลือกภาพ]
 เลือก [เลือกภาพ] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะแสดงขึน
้ มา

ไอคอนการป้ องกันภาพ
3 ป้ องก ันภาพ
กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกภาพทีจ
่ ะ
ป้ องกัน จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะถูกป้ องกัน และไอคอน <K> จะ
ปรากฏทีด ่ ้านบนสุดของหน ้าจอ
 ในการยกเลิกการป้ องกันภาพ ให ้กดปุ่ ม
<0> อีกครัง้ ไอคอน <K> จะหายไป
 ในการป้ องกันภาพอืน ่ ให ้ทําซํ้าขัน
้ ตอนที่ 3
 ในการกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม <M>

302
K การป้ องกันภาพ

3 การป้องก ันภาพทุกภาพในโฟลเดอร์หรือการ์ด
คุณสามารถป้ องกันภาพทุกภาพในโฟลเดอร์หรือการ์ดในครัง้ เดียว
เมือ่ คุณเลือก [ทุกภาพในโฟลเดอร์] หรือ
[ทุกภาพในการ์ด] ใน [31: ป้องก ันภาพ]
ภาพทุกภาพในโฟลเดอร์หรือการ์ดจะได ้รับการ
ป้ องกัน
ในการยกเลิกการป้ องกันภาพ ให ้เลือก [ถอน
ทุกภาพในโฟลเดอร์] หรือ [ถอนทุกภาพ
ในการ์ด]

หากคุณฟอร์แมตการ์ด (น.59) ภาพทีไ่ ด้ร ับการป้องก ันจะถูกลบไปด้วย

 คุณยังสามารถป้ องกันภาพเคลือ ่ นไหวได ้ด ้วย


่ ป้ องกันภาพแล ้ว จะไม่สามารถลบภาพโดยใช ้ฟั งก์ชน
 เมือ ั่ การลบของกล ้องได ้
ในการลบภาพทีไ่ ด ้รับการป้ องกัน คุณต ้องยกเลิกการป้ องกันก่อนเป็ นลําดับแรก
 หากคุณลบภาพทุกภาพ (น.305) เฉพาะภาพทีไ่ ด ้รับการป้ องกันเท่านัน ้ ทีจ
่ ะเหลือ
อยู่ วิธนี ี้มป
ี ระโยชน์เมือ
่ คุณต ้องการลบภาพทีไ่ ม่ต ้องการพร ้อมกันทีเดียว

303
L การลบภาพ
คุณสามารถเลือกลบภาพทีไ่ ม่จําเป็ นทีละภาพหรือลบทัง้ กลุม ่ ได ้ โดยภาพทีถ
่ ก

ป้ องกันไว ้ (น.302) จะไม่ถก
ู ลบ
เมือ
่ ลบภาพแล้ว จะไม่สามารถกูค ้ น
ื กล ับมาได้อกี ควรแน่ใจว่าคุณไม่
ต้องการภาพนนอี ั้ กต่อไปก่อนทีจ ่ ะลบ และเพือ ่ ป้องก ันภาพสําค ัญไม่
ให้ถกู ลบโดยไม่ได้ตงใจ ั้ ให้ป้องก ันภาพไว้กอ ่ น การสง่ ั ลบภาพ
RAW+JPEG จะลบทงภาพ ั้ RAW และ JPEG พร้อมก ัน

การลบภาพทีละภาพ

1 เล่นดูภาพทีต่ อ้ งการลบ
2 กดปุ่ ม <L>
 เมนูลบภาพจะปรากฏขึน ้

3 ลบภาพ
 เลือก [ลบ] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0> ภาพที่
แสดงอยูจ
่ ะถูกลบออกไป

3 การทําเครือ
่ งหมาย <X> ทีร่ ป
ู ภาพทีจ
่ ะลบเป็นกลุม

คุณสามารถลบภาพหลายภาพได ้พร ้อมกันโดยการทําเครือ
่ งหมาย <X> ทีร่ ป

ภาพทีจ
่ ะลบ

เลือก [ลบภาพ]
1  ภายใต ้แท็บ [31] ให ้เลือก [ลบภาพ]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

304
L การลบภาพ

2 เลื
อก [เลือกและลบภาพ]
 เลือก [เลือกและลบภาพ] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>
 ภาพจะแสดงขึน
้ มา

3 เลื
อกภาพทีจ ่ ะลบ
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ
่ เลือกภาพทีจ
่ ะลบ
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 เครือ่ งหมาย <X> จะแสดงขึน ้ ทางด ้าน
ซ ้ายบนของหน ้าจอ
 ด ้วยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถ
เลือกภาพจากการแสดงภาพแบบสาม
ภาพ ในการกลับสูก ่ ารแสดงภาพทีละภาพ
ให ้กดปุ่ ม <u>
 ในการเลือกภาพอืน ่ ะลบ ให ้ทําซํ้าขัน
่ ทีจ ้
ตอนที่ 3

4 ลบภาพ
 กดปุ่ ม <L>
 เลือก [ตกลง] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพทีเ่ ลือกอยูจ
่ ะถูกลบออกไป

3 การลบภาพทุกภาพในโฟลเดอร์หรือในการ์ด
คุณสามารถลบภาพทุกภาพในโฟลเดอร์หรือการ์ดในครัง้ เดียว เมือ
่ ตัง้ ค่า [31:
ลบภาพ] เป็ น [ทุกภาพในโฟลเดอร์] หรือ [ทุกภาพในการ์ด] ภาพทุกภาพ
ในโฟลเดอร์หรือการ์ดจะถูกลบ

หากต ้องการลบภาพทุกภาพรวมถึงภาพทีไ่ ด ้รับการป้ องกันด ้วย ให ้ฟอร์แมตการ์ด (น.59)

305
B: การแสดงข้อมูลการถ่ายภาพ
ข ้อมูลทีแ
่ สดงแตกต่างกันไปขึน
้ อยูก
่ บ
ั โหมดถ่ายภาพและการตัง้ ค่า

ํ หร ับภาพนิง่
ต ัวอย่างข้อมูลสา
้ ฐาน
 การแสดงข้อมูลพืน
ั่ Wi-Fi
ฟั งก์ชน ้
การส่งผ่าน Eye-Fi เสร็จสิน
สถานะการส่งสัญญาณ
คะแนน
Wi-Fi/การ์ด Eye-Fi

ระดับแบตเตอรี่ ป้ องกันภาพ

หมายเลขการเล่นภาพ/ หมายเลขโฟลเดอร์ -
จํานวนภาพทัง้ หมดที่ หมายเลขไฟล์
บันทึก

ความเร็วชัตเตอร์ คุณภาพในการ
บันทึกภาพ
ค่ารูรับแสง เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง

ปริมาณการชดเชยแสง ความไวแสง ISO

306
B: การแสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ

 การแสดงข้อมูลการถ่ายภาพ
•ข้อมูลแบบละเอียด
ปริมาณการชดเชยแสง ฮิสโตแกรม (ความสว่าง/RGB)

วันทีแ
่ ละเวลาถ่ายภาพ
ความเร็วชัตเตอร์ ความไวแสง ISO

โหมดการถ่ายภาพ แถบเลือ
่ น

เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง
สมดุลแสงขาว โหมดวัดแสง
ขนาดไฟล์
ปรับแสงเหมาะสม ปริมาณการชดเชยระดับแสงแฟลช /
อัตโนมัต ิ ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ

ปรับแก ้สมดุลแสงขาว คุณภาพในการบันทึกภาพ

ค่ารูรับแสง รูปแบบภาพ/การตัง้ ค่า

* เมือ
่ คุณถ่ายภาพด ้วยคุณภาพของภาพแบบ [1+73] ขนาดไฟล์ของ 1 จะแสดงขึน ้
* ระหว่างการถ่ายภาพแบบใช ้แสงแฟลชโดยไม่มก ี ารชดเชยระดับแสงแฟลช <0> จะ
แสดงขึน ้
* <M> จะแสดงขึน ้ สําหรับภาพทีถ
่ า่ ยด ้วยการลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ
* สําหรับภาพนิง่ ทีถ
่ า่ ยในระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว <G> จะแสดงขึน้
* หากมีการใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์หรือปรับขนาดภาพ และบันทึกภาพ <u> จะแสดงขึน ้
* สําหรับภาพทีค ่ รอบตัด <u> และ <N> จะแสดงขึน ้

หากใช ้กล ้องตัวอืน


่ ถ่ายภาพ ข ้อมูลการถ่ายภาพบางส่วนอาจไม่ปรากฏขึน

307
B: การแสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ

• เลนส์/ข้อมูลฮิสโตแกรม

ฮิสโตแกรม (ความสว่าง)

่ เลนส์
ชือ
ฮิสโตแกรม (RGB)
ความยาวโฟกัส

• ข้อมูลสมดุลแสงขาว • ข้อมูลรูปแบบภาพ

• พิก ัดสี / ข้อมูลลดจุด • ข้อมูลแก้ไขความคลาด


รบกวน เคลือ
่ นของเลนส์

• ข้อมูล GPS

ละติจด

ลองจิจด

ทิศ
ระดับความสูง

UTC (เวลามาตรฐานสากล)

หากไม่ได ้บันทึกข ้อมูล GPS สําหรับภาพถ่าย หน ้าจอข ้อมูล GPS จะไม่ปรากฏขึน


308
B: การแสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ

ต ัวอย่างการแสดงข้อมูลภาพเคลือ
่ นไหว

เล่นภาพ
ค่ารูรบ
ั แสง
ความเร็วชัตเตอร์
โหมดการถ่ายภาพ

ขนาดการบันทึกภาพเคลือ
่ นไหว ขนาดไฟล์ภาพเคลือ
่ นไหว

อัตราเฟรม เวลาการถ่ายภาพ, เวลาการเล่นภาพ

วิธก
ี ารบีบอัด

่ ใช ้การตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง ความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง และความไวแสง ISO


* เมือ
(เมือ่ ตัง้ ค่าด ้วยตนเอง) จะแสดงขึน ้
* ไอคอน <t> จะแสดงขึน ้ สําหรับ Video snapshot
* ไอคอน <c> จะแสดงขึน ้ สําหรับภาพเคลือ่ นไหวทีใ่ ช ้เอฟเฟคกล ้องรูเข็ม

 แสดงจุด AF
เมือ
่ [32: แสดงจุด AF] ได ้รับการตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน] จุด AF ทีส่ ามารถ
จับโฟกัสได ้แล ้วจะแสดงเป็ นสีแดง หากมีการตัง้ ค่าการเลือกจุดโฟกัสแบบ
อัตโนมัตไิ ว ้ อาจมีจด
ุ โฟกัสอัตโนมัตห
ิ ลายจุดปรากฏขึน้ มา

309
B: การแสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ

 เตือนบริเวณสว่างโพลน
เมือ ่ ข ้อมูลการถ่ายภาพมีการแสดง พืน ้ ทีส ่ ว่ นทีไ่ ด ้รับแสงมากเกินของภาพ
จะกะพริบ เพือ ่ ให ้ได ้รายละเอียดภาพเพิม ่ เติมในพืน ่ ว่ นทีไ่ ด ้รับแสงเกินที่
้ ทีส
กะพริบอยู่ ให ้ตัง้ ค่าการชดเชยแสงเป็ นค่าลบและถ่ายภาพอีกครัง้
 ฮิสโตแกรม
ฮิสโตแกรมความสว่างแสดงการกระจายระดับค่าแสงและความสว่างโดยรวม
ฮิสโตแกรม RGB ใช ้สําหรับตรวจสอบความอิม ่ ตัวของสีและการไล่ระดับสี
จอภาพสามารถสลับด ้วย [x2: ฮิสโตแกรม] ได ้
การแสดง [ความสว่าง] ฮิสโตแกรมต ัวอย่าง
ฮิสโตแกรมคือกราฟทีแ ่ สดงการกระจายของระดับความ
สว่างของภาพ แกนแนวนอนแสดงถึงระดับความสว่าง
(มืดลงทางซ ้ายและสว่างขึน ้ ทางขวา) ในขณะทีแ ่ กน
แนวตัง้ แสดงถึงจํานวนพิกเซลทีม ่ อ ่ ําหรับระดับความ
ี ยูส ภาพมืด
สว่างแต่ละแบบ ยิง่ มีพก ิ เซลค่อนไปทางซ ้ายมากเท่าใด
ภาพยิง่ มืดลงเท่านั น ้ ยิง่ มีพก ิ เซลค่อนไปทางขวามาก
เท่าใด ภาพยิง่ สว่างขึน ้ เท่านั น้ หากมีพก ิ เซลมากเกิน
ไปทางซ ้าย รายละเอียดส่วนทีเ่ ป็ นเงาจะหายไป หากมี ความสว่างปกติ
พิกเซลมากเกินไปทางขวา รายละเอียดส่วนทีเ่ ป็ น
ไฮไลท์จะหายไป การไล่ระดับสีระหว่างรอยต่อจะถูก
สร ้างใหม่ คุณสามารถดูแนวโน ้มระดับค่าแสงและการ
ไล่ระดับสีโดยรวมได ้โดยการตรวจสอบภาพและ ภาพสว่าง
ฮิสโตแกรมความสว่างของภาพ
การแสดง [RGB]
ฮิสโตแกรมเป็ นกราฟทีแ ่ สดงการกระจายของระดับความสว่างของสีหลักๆ
แต่ละสีในภาพ (RGB หรือสีแดง, สีเขียว และสีนํ้าเงิน) แกนแนวนอนแสดง
ถึงระดับความสว่างของสี (มืดลงทางซ ้ายและสว่างขึน ้ ทางขวา) ในขณะที่
แกนแนวตัง้ แสดงถึงจํานวนพิกเซลทีม ่ อี ยูส ่ ําหรับระดับความสว่างของสีแต่ละสี
ยิง่ มีพก ิ เซลค่อนไปทางซ ้ายมากเท่าใด ภาพยิง่ มืดลงและมีสว่ นทีโ่ ดดน ้อยลง
เท่านัน ้ ยิง่ มีพก ิ เซลค่อนไปทางขวามากเท่าใด ภาพยิง่ สว่างขึน ้ และสีแน่น
มากขึน ้ เท่านัน
้ หากมีพก ิ เซลมากเกินไปทางซ ้าย ข ้อมูลสีทเี่ กีย ่ วเนือ่ งกันจะ
ขาดหายไป หากมีพก ิ เซลมากเกินไปทางขวา สีจะอิม ่ ตัวมากเกินไปโดย
ไม่มก ี ารไล่ระดับสี คุณสามารถดูความอิม ่ ตัวของสีและสภาพการไล่ระดับสี
รวมทัง้ แนวโน ้มสมดุลแสงขาวได ้โดยการตรวจสอบฮิสโตแกรม RGB
ของภาพ

310
การปร ับปรุงภาพ
11
ในภายหล ัง
หลังจากการถ่ายภาพ คุณสามารถใช ้งานฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์
ปรับขนาดภาพ JPEG (ลดลงจํานวนพิกเซล) หรือครอบตัดภาพ

 กล ้องนีอ
้ าจไม่สามารถเล่นภาพทีถ่ า่ ยด ้วยกล ้องอืน

 ไม่สามารถปรับปรุงภาพในภายหลังตามทีอ ่ ธิบายในบทนี้ได ้หากกล ้อง
่ มต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านช่องสัญญาณ <C>
เชือ
311
้ ิ ลเตอร์สร้างสรรค์
U การใชฟ
คุณสามารถใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ตอ
่ ไปนีก
้ บ
ั ภาพและบันทึกภาพเป็ นภาพใหม่:
ภาพหยาบ ขาว/ดํา, ซอฟต์โฟกัส, เอฟเฟคเลนส์ตาปลา, ลูกเล่นศิลปะคมเข ้ม
ลูกเล่นภาพสีนํ้า, ลูกเล่นกล ้องของเล่น และเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม

เลือก [ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์]


1  ภายใต ้แท็บ [x1] เลือก [ฟิ ลเตอร์
สร้างสรรค์] จากนัน้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะแสดงขึน ้ มา

2 เลื
อกภาพ
 เลือกภาพทีค ุ ต ้องการปรับใช ้ฟิ ลเตอร์
่ ณ
 โดยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถสลับ
ไปยังการแสดงภาพแบบดัชนีและเลือกภาพ

3 เลื
อกฟิ ลเตอร์
 เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <0> รูปแบบฟิ ลเตอร์
สร ้างสรรค์จะแสดงขึน ้ มา (น.313)
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกฟิ ลเตอร์
สร ้างสรรค์ จากนัน้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะแสดงขึน ้ ด ้วยลูกเล่นของฟิ ลเตอร์
ทีใ่ ช ้

4 ปร ับลูกเล่นฟิ ลเตอร์
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ ปรับลูกเล่น
ฟิ ลเตอร์ จากนั น้ กดปุ่ ม <0>
 สําหรับเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม ให ้กดปุ่ ม
<W> <X> และเลือกพืน ้ ทีภ
่ าพ (ภายใน
กรอบสีขาว) ทีค ่ ณุ ต ้องการให ้ภาพดูคมชัด
จากนัน้ กดปุ่ ม <0>

312
U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์

5 บันทึเลืกอกภาพ
[ตกลง] เพือ
่ บันทึกภาพ
 ตรวจสอบโฟลเดอร์ปลายทางและหมาย
เลขไฟล์ภาพ จากนั น ้ เลือก [ตกลง]
 ในการปรับใช ้ฟิ ลเตอร์กับภาพอืน่ ให ้ทําซํ้า
ขัน
้ ตอนที่ 2 ถึง 5
 ในการกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม <M>

่ ถ่ายภาพ 1+73 หรือ 1 ลูกเล่นฟิ ลเตอร์จะปรับใช ้กับภาพ 1 และ


 เมือ
ภาพจะถูกบันทึกเป็ นภาพ JPEG
 หากตัง้ ค่าอัตราส่วนภาพสําหรับภาพ 1 และปรับใช ้ลูกเล่นฟิ ลเตอร์กบั ภาพ
ภาพจะถูกบันทึกด ้วยอัตราส่วนภาพทีต ่ งั ้ ค่า
 เก็บข ้อมูลลบภาพฝุ่ น (น.272) จะไม่ถูกผนวกลงในภาพทีใ่ ช ้เอฟเฟคเลนส์ตาปลา

ล ักษณะของฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์
 V ภาพหยาบ ขาว/ดํา
สร ้างภาพหยาบสีขาวดํา คุณสามารถเปลีย
่ นแปลงเอฟเฟคสีขาวดําโดยปรับ
ความเปรียบต่าง
 W ซอฟต์โฟก ัส
ให ้ภาพดูนุ่มนวล คุณสามารถเปลีย
่ นแปลงระดับความนุ่มนวลโดยปรับความ
เบลอ

313
U การใช ้ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์

 X เอฟเฟคเลนส์ตาปลา
ให ้เอฟเฟคของเลนส์ตาปลา ภาพจะได ้รับการบิดเบือนทรงกระบอก
บริเวณทีถ ่ กู ตัดแต่งไปตามขอบของภาพจะเปลีย ่ นไปโดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั ระดับของ
เอฟเฟคฟิ ลเตอร์นี้ และเนือ ่ งจากฟิ ลเตอร์นจ ี้ ะขยายส่วนกลางภาพ ความ
ละเอียดทีม ่ องเห็นได ้ตรงกลางภาพอาจลดลงโดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั จํานวนพิกเซลที่
ใช ้บันทึกภาพ ตัง้ ค่าลูกเล่นฟิ ลเตอร์ในขัน
้ ตอนที่ 4 ขณะทีต ่ รวจสอบภาพ
ผลลัพธ์
 Y ลูกเล่นศิลปะคมเข้ม
ทําให ้ภาพดูเหมือนภาพวาดสีนํ้ามันและวัตถุดเู ป็ นสามมิตม ิ ากขึน้ คุณสามารถ
ปรับความเปรียบต่างและความอิม ่ ตัวของสีได ้ โปรดทราบว่าท ้องฟ้ า ผนัง
สีขาว และวัตถุทค ี่ ล ้ายคลึงกันนี้ อาจไม่ประมวลผลด ้วยระดับสีทเี่ รียบเนียน
และอาจดูไม่ปกติหรือมีน๊อยส์ทเี่ ห็นได ้ชัด
 Z ลูกเล่นภาพสีนํา้
ทําให ้ภาพถ่ายดูเหมือนภาพวาดสีนํ้าทีม ่ ส ี น
ี ส ั นุ่มนวล คุณสามารถควบคุม
ความทึบของสีได ้โดยการปรับลูกเล่นฟิ ลเตอร์ โปรดทราบว่าฉากกลางคืน
อาจไม่ประมวลผลด ้วยระดับสีทเี่ รียบเนียน และอาจดูไม่ปกติหรือมีน๊อยส์ท ี่
เห็นได ้ชัด
 b ลูกเล่นกล้องของเล่น
ทําให ้มุมภาพมืดและปรับใช ้โทนสีทท
ี่ ําให ้ภาพดูเหมือนกับภาพทีถ ่ า่ ยด ้วย
กล ้องของเล่น คุณสามารถเปลีย ่ นแปลงสีเพีย ้ นได ้โดยการปรับโทนสี
 c เอฟเฟคกล้องรูเข็ ม
สร ้างเอฟเฟคฉากจําลอง คุณสามารถเปลีย
่ นบริเวณทีภ
่ าพดูคมชัด ในขัน

ตอนที่ 4 หากคุณกดปุ่ ม <B> (หรือแตะบน [T] ทางด ้านล่างของหน ้า
จอ) คุณสามารถสลับไปมาระหว่างทิศทางกรอบสีขาวแนวตัง้ และแนวนอน

314
S การปร ับขนาดภาพ JPEG
คุณสามารถปรับขนาดภาพ JPEG เพือ่ ลดจํานวนพิกเซลลงและบันทึกเป็ นภาพใหม่
การปรับขนาดภาพทําได ้กับภาพ JPEG 3/4/a/b เท่านัน ้ ไม่สามารถปร ับ
ขนาดภาพ JPEG c และ RAW ได้

เลือก [ปร ับขนาด]


1  ภายใต ้แท็บ [31] ให ้เลือก [ปร ับขนาด]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะแสดงขึน ้ มา

2 เลื
อกภาพ
 เลือกภาพทีค
่ ณ
ุ ต ้องการปรับขนาด
 โดยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถสลับ
ไปยังการแสดงภาพแบบดัชนีและเลือกภาพ

3 เลื
อกขนาดภาพทีต
 กดปุ่ ม <0> เพือ
่ อ
้ งการ
่ แสดงขนาดภาพ
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกขนาดภาพ
ขนาดภาพ ทีต
่ ้องการ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

4 บันทึเลืกอกภาพ
[ตกลง] เพือ
่ ปรับขนาดภาพ
 ตรวจสอบโฟลเดอร์ปลายทางและหมาย
เลขไฟล์ภาพ จากนั น ้ เลือก [ตกลง]
 ในการลดขนาดภาพอืน ่ ให ้ทําซํ้าขัน
้ ตอน
ที่ 2 ถึง 4
 ในการกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม <M>

315
S การปรับขนาดภาพ JPEG

ต ัวเลือกการปร ับขนาดตามขนาดภาพต้นฉบ ับ
การตงค่
ั้ าปร ับขนาดทีส
่ ามารถใช้ได้
ขนาดภาพต้นฉบ ับ
4 a b c
3 k k k k
4 k k k
a k k
b k

ขนาดภาพ
ขนาดภาพทีแ ่ สดงในขัน
้ ตอนที่ 3 ในหน ้าก่อนหน ้านี้ เช่น [***M ****x****]
มีอต
ั ราส่วนภาพ 3:2 ขนาดภาพตามอัตราส่วนภาพแสดงอยูใ่ นตารางด ้านล่าง
รายละเอียดคุณภาพในการบันทึกภาพทีม ่ เี ครือ
่ งหมายดอกจันไม่ตรงกับอัตรา
ส่วนภาพพอดี ภาพจะถูกตัดเล็กน ้อย
คุณภาพ อ ัตราส่วนภาพและจํานวนพิกเซล (โดยประมาณ)
ของ
ภาพ 3:2 4:3 16:9 1:1
3984x2656 3552x2664 3984x2240* 2656x2656
4
(10.6 ล ้านพิกเซล) (9.5 ล ้านพิกเซล) (8.9 ล ้านพิกเซล) (7.1 ล ้านพิกเซล)
2976x1984 2656x1992 2976x1680* 1984x1984
a
(5.9 ล ้านพิกเซล) (5.3 ล ้านพิกเซล) (5.0 ล ้านพิกเซล) (3.9 ล ้านพิกเซล)
1920x1280 1696x1280* 1920x1080 1280x1280
b
(2.5 ล ้านพิกเซล) (2.2 ล ้านพิกเซล) (2.1 ล ้านพิกเซล) (1.6 ล ้านพิกเซล)
720x480 640x480 720x408* 480x480
c
(0.35 ล ้านพิกเซล) (0.31 ล ้านพิกเซล) (0.29 ล ้านพิกเซล) (0.23 ล ้านพิกเซล)

316
N การครอบต ัดภาพ JPEG
คุณสามารถครอบตัดภาพได ้ตามทีต
่ ้องการและบันทึกภาพเป็ นภาพใหม่ ไม่
สามารถครอบต ัดภาพ JPEG c และภาพ RAW สามารถครอบตัดภาพ
JPEG ของภาพ 1+73 ได ้

เลือก [ต ัดภาพ]
1  ภายใต ้แท็บ [x2] เลือก [ต ัดภาพ]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะแสดงขึน ้ มา

2 เลื
อกภาพ
 เลือกภาพทีค
่ ณ
ุ ต ้องการครอบตัด
 โดยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถสลับ
ไปยังการแสดงภาพแบบดัชนีและเลือกภาพ

ั วนภาพ
3 ตตํางค่
ั้ าขนาดกรอบ สดส่
แหน่ง และแนวการต ัดภาพ
 กดปุ่ ม <0> เพือ่ แสดงกรอบการตัด
 พืน
้ ทีภ
่ าพในกรอบการตัดจะถูกครอบตัด

การเปลีย
่ นขนาดกรอบการต ัด
 กดปุ่ ม <u> หรือ <I>
 ขนาดของกรอบการตัดจะเปลีย ่ นแปลง ยิง่ กรอบการตัดมีขนาดเล็กลงเท่าใด
การขยายภาพจะใหญ่ขนึ้ เท่านั น

่ นส ัดส่วนภาพของกรอบการต ัด
การเปลีย
 หมุนปุ่ ม <6>
 สัดส่วนภาพของกรอบการตัดจะเปลีย
่ นเป็ น [3:2], [16:9], [4:3] หรือ
[1:1]

317
N การครอบตัดภาพ JPEG

การเลือ
่ นกรอบการต ัด
 กดปุ่ ม <W> <X> หรือ <Y> <Z>
่ นไปทางด ้านบน ล่าง ซ ้าย หรือขวา
 กรอบการตัดจะเลือ
 คุณยังสามารถสัมผัสกรอบการตัดและลากไปยังตําแหน่งทีต่ ้องการได ้
การหมุนเปลีย
่ นทิศทางของกรอบการต ัด
 กดปุ่ ม <B>
 กรอบการตัดจะสลับไปมาระหว่างแนวตัง้ และแนวนอน ซึง่ จะช่วยให ้คุณ
สามารถสร ้างภาพแนวตัง้ จากภาพแนวนอน และในทางกลับกันได ้เช่นเดียวกัน

4 แสดงภาพที ค
่ รอบต ัดเป็นภาพใหญ่
 กดปุ่ ม <Q>
 คุณจะสามารถดูภาพทีค ่ รอบตัด
 ในการย ้อนกลับไปยังการแสดงต ้นฉบับ
ให ้กดปุ่ ม <Q> อีกครัง้

5 บันทึกดปุ่กภาพ
ม <0> และเลือก [ตกลง] เพือ

บันทึกภาพทีค ่ รอบตัด
 ตรวจสอบโฟลเดอร์ปลายทางและหมาย
เลขไฟล์ภาพ จากนั น ้ เลือก [ตกลง]
 ในการครอบตัดภาพอืน ่ ให ้ทําซํ้าขัน
้ ตอนที่
2 ถึง 5
 ในการกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม <M>

 คุณไม่สามารถครอบตัดภาพทีเ่ คยทําการครอบตัดมาแล ้ว
 คุณไม่สามารถใช ้งานฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์หรือการปรับขนาดภาพกับภาพทีค
่ รอบตัด
แล ้วได ้

318
12
การพิมพ์ภาพ

 การพิมพ์ (น.320)
คุณสามารถเชือ ่ มต่อกล ้องกับเครือ
่ งพิมพ์โดยตรงและพิมพ์ภาพใน
การ์ดออกมาได ้ กล ้องนีส ้ อดคล ้องกับ “wPictBridge” ซึง่ เป็ น
มาตรฐานสําหรับการพิมพ์โดยตรง
คุณยังสามารถใช ้ LAN แบบไร ้สายเพือ ่ ส่งภาพไปยังเครือ
่ งพิมพ์
PictBridge (LAN แบบไร ้สาย) และพิมพ์ภาพ สําหรับรายละเอียด
โปรดดูคม ื การใช ้งานฟั งก์ชน
ู่ อ ั่ Wi-Fi/NFC
 รูปแบบคําสง่ ั พิมพ์ระบบดิจต ิ อล (DPOF) (น.329)
DPOF (รูปแบบคําสัง่ พิมพ์ระบบดิจต ิ อล) ช่วยให ้คุณพิมพ์ภาพที่
บันทึกในการ์ดตามคําสัง่ พิมพ์ของคุณ เช่น การเลือกภาพ จํานวน
ทีจ
่ ะพิมพ์ ฯลฯ คุณสามารถพิมพ์ภาพหลายภาพในชุดเดียวหรือส่ง
คําสัง่ พิมพ์ไปยังผู ้ให ้บริการงานพิมพ์ได ้
 การกําหนดภาพทีต่ อ
้ งการใช้ทําโฟโต้บค ุ๊ (น.333)
คุณสามารถกําหนดภาพในการ์ดเพือ่ ใช ้สําหรับการพิมพ์ใน
โฟโต ้บุค
๊ ได ้

319
การเตรียมพิมพ์
ขนตอนการพิ
ั้ มพ์โดยตรงสามารถทําได้โดยใช้กล้องเพียงอย่างเดียว
ในขณะทีด
่ ห
ู น ้าจอการตัง้ ค่าบนจอ LCD ของกล ้องอยู่

่ มต่อกล้องก ับเครือ
การเชือ ่ งพิมพ์
ปร ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่
1 <2>

2 ตงค่
ั้ าเครือ ่ งพิมพ์
สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ื การใช ้งาน
ู่ อ
ของเครือ
่ งพิมพ์
่ มต่อกล้องก ับเครือ
3 เชื

 ใช ้สายเชือ
่ งพิมพ์
่ มต่อทีใ่ ห ้มาพร ้อมกับกล ้อง
 ต่อสายเข ้ากับช่องสัญญาณ <C>
ของกล ้อง โดยให ้สัญลักษณ์ <D> หัน
ไปทางด ้านหน ้าของกล ้อง
 ในการเชือ่ มต่อเครือ
่ งพิมพ์ โปรดดูคม
ู่ อ

การใช ้งานของเครือ่ งพิมพ์

4 เปิ ดเครือ่ งพิมพ์


ับสวิตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องไปที่ <1>
5 ปร
 เครือ่ งพิมพ์บางรุ่นอาจส่งเสียงเตือน

320
การเตรียมพิมพ์

6 เล่
นดูภาพ
 กดปุ่ ม <x>
 ภาพจะปรากฏขึน ้ พร ้อมกับไอคอน <w>
ทางด ้านซ ้ายบนของหน ้าจอเพือ ่ แสดงว่า
่ มต่อกับเครือ
กล ้องมีการเชือ ่ งพิมพ์แล ้ว

 ก่อนทีจ ่ ะใช ้เครือ


่ งพิมพ์ ควรแน่ใจว่ามีพอร์ตเชือ ่ มต่อ PictBridge
 ภาพเคลือ ่ นไหวไม่สามารถพิมพ์ได ้
 ไม่สามารถใช ้งานกล ้องกับเครือ ่ งพิมพ์ทใี่ ช ้งานได ้เฉพาะกับ CP Direct หรือ
Bubble Jet Direct
 อย่าใช ้สายเชือ ่ มต่อนอกเหนือจากทีใ่ ห ้มา
 หากเครือ ่ งพิมพ์สง่ เสียงเตือนยาวในขัน ้ ตอนที่ 5 แสดงว่ามีปัญหาเกิดขึน ้ กับ
เครือ ่ งพิมพ์ แก ้ไขปั ญหาทีแ ่ สดงด ้วยข ้อความแสดงข ้อผิดพลาด (น.328)
 หากตัง้ ค่าเป็ นโหมดการถ่ายภาพหรือฟั งก์ชน ั่ ใดดังต่อไปนี้ จะไม่สามารถทําการ
เชือ่ มต่อกล ้องกับเครือ ่ งพิมพ์ได ้ ให ้ยกเลิกการตัง้ ค่าทีเ่ กีย
่ วข ้องทัง้ หมด จากนัน
้ จึง
่ มต่อกล ้องกับเครือ
เชือ ่ งพิมพ์ด ้วยสายเชือ ่ มต่อ
• <F> หรือ <G> ในโหมด <8>
• ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ
• [51: Wi-Fi/NFC] ตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน]

 คุณยังสามารถพิมพ์ภาพ RAW ทีถ ่ า่ ยด ้วยกล ้องนีไ


้ ด้
่ คุณใช ้แบตเตอรีใ่ นการใช ้งานกล ้อง ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าแบตเตอรีช
 เมือ ่ าร์จเต็ม
อยู่ ด ้วยแบตเตอรีแ ่ าร์จไฟจนเต็ม คุณสามารถพิมพ์ได ้ประมาณ 2 ชัว่ โมง
่ พ็คทีช
 ก่อนถอดสายออก ให ้ปิ ดกล ้องและเครือ ่ งพิมพ์กอ่ น จับปลั๊ก (ไม่ใช่สาย) เพือ่ ดึง
สายออก
 สําหรับการพิมพ์โดยตรง แนะนํ าให ้ใช ้ชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้ า AC รุน ่ ACK-E18
(แยกจําหน่าย) ในการให ้พลังงานกับตัวกล ้อง

321
w การพิมพ์
การแสดงผลหน้าจอและต ัวเลือกการตงค่ ั้ าจะแตกต่างออกไปโดยขึน ้ อยู่
ก ับเครือ ่ งพิมพ์ การตัง้ ค่าบางอย่างอาจไม่มใี ห ้ใช ้งาน สําหรับรายละเอียด โปรด
ดูคม ื การใช ้งานของเครือ
ู่ อ ่ งพิมพ์
่ มต่อเครือ
ไอคอนเชือ ่ งพิมพ์แล ้ว เลือกภาพทีจ
่ ะพิมพ์
1  ตรวจสอบว่าไอคอน <w> มีการแสดงที่
ด ้านซ ้ายบนของจอ LCD
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ ่ เลือกรูปภาพทีจ
่ ะ
พิมพ์

2 กดปุ
่ ม <0>
 หน ้าจอการตัง้ ค่าการพิมพ์จะปรากฏขึน

หน้าจอการตงค่
ั้ าการพิมพ์
ตัง้ ค่าลูกเล่นการพิมพ์ (น.324)
ตัง้ ค่าการพิมพ์วนั ทีห
่ รือเลขทีไ่ ฟล์ภาพเป็ นเปิ ดหรือปิ ด
ตัง้ ค่าจํานวนทีจ
่ ะพิมพ์
ตัง้ ค่าพืน
้ ทีท
่ จ
ี่ ะพิมพ์ (น.327)
ตัง้ ค่าขนาดกระดาษ ชนิดกระดาษ และการจัดหน ้ากระดาษ
กลับไปยังหน ้าจอในขัน
้ ตอนที่ 1
เริม
่ พิมพ์

ขนาดกระดาษ ชนิดกระดาษ และการจัดหน ้ากระดาษทีค


่ ณ
ุ ตัง้ ค่าไว ้จะมีการแสดง
* การตงค่
ั้ าบางอย่าง เช่น การพิมพ์ว ันทีแ ่ ละเลขทีไ่ ฟล์ภาพและการครอบต ัดภาพ
อาจไม่สามารถเลือกได้ ทงนี ้ น
ั้ ข ึ้ อยูก
่ ับเครือ
่ งพิมพ์ทใี่ ช้

3 เลื
อก [ปร ับตงกระดาษ]
ั้
 เลือก [ปร ับตงกระดาษ]
ั้ จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>
 หน ้าจอปรับตัง้ กระดาษจะปรากฏขึน

322
w การพิมพ์

Q การตงค่
ั้ าขนาดกระดาษ
 เลือกขนาดของกระดาษทีใ่ ส่อยูใ่ นเครือ
่ ง
พิมพ์ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอชนิดกระดาษจะปรากฏขึน ้

Y การตงค่
ั้ าชนิดกระดาษ
 เลือกชนิดของกระดาษทีใ่ ส่อยูใ่ นเครือ
่ ง
พิมพ์ จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอการจัดหน ้ากระดาษจะปรากฏขึน ้

U การตงค่
ั้ าการจ ัดหน้ากระดาษ
 เลือกการจัดหน ้ากระดาษ จากนัน ้ กดปุ่ ม
<0>
 หน ้าจอการตัง้ ค่าการพิมพ์จะปรากฏขึน
้ อีก
ครัง้
มีขอบ พิมพ์โดยมีขอบสีขาวอยูร่ อบๆ ภาพ
พิมพ์โดยไม่มข ี อบ หากเครือ
่ งพิมพ์ของคุณไม่สามารถพิมพ์แบบไร ้ขอบได ้
ไม่มข
ี อบ
ภาพทีพ ่ มิ พ์จะมีขอบเหลืออยู่
พิมพ์ข ้อมูลการถ่ายภาพ*1 ลงบนขอบในภาพทีม ่ ขี นาด 9x13 ซม.
มีขอบc
หรือภาพทีม ่ ข
ี นาดใหญ่กว่า
xxภาพ ตัวเลือกในการพิมพ์ 2, 4, 8, 9, 16 หรือ 20 ภาพลงบนกระดาษแผ่นเดียวกัน
พิมพ์ภาพจํานวน 20 หรือ 35 ภาพเป็ นภาพขนาดย่อบนกระดาษ A4 หรือ
20ภาพc
กระดาษขนาด Letter*2
35ภาพp
• พิมพ์ข ้อมูลการถ่ายภาพ*1 ด ้วย [20ภาพc]
การจัดหน ้ากระดาษแตกต่างออกไปโดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั รุน
่ เครือ
่ งพิมพ์หรือการตัง้ ค่า
ค่ามาตรฐาน
ของเครือ ่ ง
*1: จากข ้อมูล Exif ชือ่ กล ้อง ชือ
่ เลนส์ โหมดถ่ายภาพ ความเร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง
จํานวนชดเชยระดับแสงแฟลช ความไวแสง สมดุลแสงขาว ฯลฯ จะถูกพิมพ์ด ้วย
*2: หลังจากสัง่ พิมพ์ด ้วย “รูปแบบคําสัง่ พิมพ์ระบบดิจต
ิ อล (DPOF)” (น.329) แนะนํ าให ้
พิมพ์โดยปฏิบต ิ าม “การพิมพ์ภาพโดยตรงด ้วยคําสัง่ พิมพ์” (น.332)
ั ต

หากอัตราส่วนของภาพแตกต่างจากอัตราส่วนของกระดาษทีใ่ ช ้พิมพ์ ภาพอาจจําเป็ น


ต ้องถูกครอบตัดเมือ
่ คุณพิมพ์แบบไร ้ขอบ หากภาพถูกครอบตัด ภาพทีพ
่ ม
ิ พ์ออกมา
อาจดูเป็ นเม็ดหยาบยิง่ ขึน
้ เนื่องจากจํานวนพิกเซลลดลง

323
w การพิมพ์

4 ตเหมาะสม)
งค่
ั้ าลูกเล่นการพิมพ์ (ปร ับภาพให้

่ ต ้องการใช ้ หากคุณไม่จําเป็ นต ้อง


 ตัง้ ค่าเมือ
ตัง้ ค่าลูกเล่นการพิมพ์ใดๆ ให ้ไปทีข ่ น
ั ้ ตอนที่ 5
 รายละเอียดทีแ ่ สดงบนหน้าจอแตกต่าง
ก ันไปขึน ้ อยูก
่ ับเครือ่ งพิมพ์
 เลือกตัวเลือก จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 เลือกลูกเล่นการพิมพ์ทต ี่ ้องการ จากนั น ้
กดปุ่ ม <0>
 หากไอคอน <ze> แสดงเป็ นสี
สว่าง คุณสามารถปรับลูกเล่นการพิมพ์ได ้
เช่นกัน (น.326)

ลูกเล่นการพิมพ์ คําอธิบาย
่ งพิมพ์ ข ้อมูล Exif ของภาพจะถูกใช ้เพือ
พิมพ์ด ้วยสีมาตรฐานของเครือ ่
Eเปิ ด
แก ้ไขภาพอัตโนมัต ิ
Eปิ ด ี ารใช ้งานการแก ้ไขภาพอัตโนมัต ิ
ไม่มก
พิมพ์ด ้วยความอิม
่ ตัวของสีทส
ี่ งู ขึน
้ เพือ
่ ให ้ได ้ภาพทีม
่ ส ี ํ้ าเงินและ
ี น
EVivid
สีเขียวสดขึน

ENR น๊ อยส์ของภาพจะถูกปรับลดก่อนพิมพ์
0 สีขาว/ดํา สัง่ พิมพ์ภาพขาวดํา ให ้เป็ นสีดําสนิท
0 โทนสีเย็น สัง่ พิมพ์ภาพขาวดํา ให ้เป็ นสีดําอมนํ้ าเงินในโทนเย็น
0 โทนสีอน
ุ่ สัง่ พิมพ์ภาพขาวดํา ให ้เป็ นสีดําอมเหลืองในโทนอุน

พิมพ์ภาพให ้เหมือนจริงทัง้ สีและความเปรียบต่าง ไม่มก
ี ารปรับแต่งสี
zธรรมชาติ
อัตโนมัต ิ
ลักษณะการพิมพ์จะเหมือนกับการตัง้ ค่าแบบ “ธรรมชาติ” แต่การตัง้ ค่า
zธรรมชาติ M
นี้จะสามารถปรับการพิมพ์ได ้ละเอียดกว่าแบบ “ธรรมชาติ”
การพิมพ์จะต่างออกไปตามเครือ ่ งพิมพ์แต่ละรุน
่ สําหรับรายละเอียด
Eค่ามาตรฐาน
โปรดดูคม ื การใช ้งานของเครือ
ู่ อ ่ งพิมพ์
* เมือ
่ คุณเปลีย่ นลูกเล่นการพิมพ์ การเปลีย
่ นแปลงจะแสดงในภาพทีแ ่ สดงทางซ้าย
บนของหน้าจอ โปรดทราบว่าภาพทีพ ่ ม
ิ พ์ออกมาอาจดูแตกต่างจากภาพทีแ ่ สดง
เล็กน้อย เนือ
่ งจากเป็นเพียงการประมาณคร่าวๆ เท่านน ั้ เช่นเดียวก ับ [ความสว่าง]
และ [ชดเชยระด ับแสง] ในหน้า 326

หากคุณพิมพ์ข ้อมูลการถ่ายภาพลงบนภาพทีถ ่ า่ ยด ้วยความไวแสง ISO ทีข


่ ยายขึน

(H) ความไวแสง ISO ทีถ ่ ก
ู ต ้องอาจไม่ถก
ู พิมพ์ออกมา

324
w การพิมพ์

5 ตงค่
ั้ าการพิมพ์ว ันทีแ ่ ละเลขทีไ่ ฟล์ภาพ
่ ต ้องการใช ้
ตัง้ ค่าเมือ
 เลือก <I> จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 ตัง้ ค่าการพิมพ์ตามต ้องการ จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

ํ เนาทีพ
6 ตงค่
ั้ าจํานวนสา
่ ต ้องการใช ้
ตัง้ เมือ
่ ม
ิ พ์

 เลือก <R> จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>


 ตัง้ ค่าจํานวนสําเนาทีพ
่ ม
ิ พ์ จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>

7 เริม่ เลืพิอมกพ์[พิมพ์] จากนัน้ กดปุ่ ม <0>

 การตัง้ ค่า [ค่ามาตรฐาน] สําหรับลูกเล่นการพิมพ์และตัวเลือกอืน ่ ๆ เป็ นการตัง้ ค่า


เริม่ ต ้นของเครือ่ งพิมพ์ตามทีก ่ ําหนดมาโดยผู ้ผลิตเครือ่ งพิมพ์ โปรดดูคม ู่ อื การใช ้
งานของเครือ ่ งพิมพ์เพือ ่ ดูวา่ การตัง้ ค่า [ค่ามาตรฐาน] คืออะไร
 การพิมพ์อาจใช ้เวลาเริม ่ ต ้นสักครูห ่ ลังจากคุณเลือก [พิมพ์] ทัง้ นีข ้ น
ึ้ อยูก่ บั ขนาด
ไฟล์ของภาพและคุณภาพในการบันทึกภาพ
 หากการแก ้ไขภาพเอียง (น.327) มีการใช ้งาน การพิมพ์ภาพอาจใช ้เวลานานขึน ้
 ในการหยุดพิมพ์ ให ้กดปุ่ ม <0> ในขณะที่ [หยุด] แสดงอยู่ จากนัน ้ เลือก
[ตกลง]
 หากคุณเลือก [54: ลบการตงค่ ั้ ากล้องทงหมดคื
ั้ นสูค่ า
่ เริม
่ ต้น] (น.267) การ
ตัง้ ค่าทัง้ หมดจะคืนสูค่ า่ เริม
่ ต ้น

325
w การพิมพ์

e การปร ับลูกเล่นการพิมพ์
ในขัน ้ ตอนที่ 4 ในหน ้า 324 ให ้เลือกลูกเล่น
การพิมพ์ เมือ ่ ไอคอน <ze> แสดง
เป็ นสีสว่างแล ้ว คุณสามารถกดปุ่ ม <B>
จากนัน ้ คุณสามารถปรับลูกเล่นการพิมพ์ได ้
การตัง้ ค่าทีส ่ ามารถปรับได ้หรือทีม่ ก
ี ารแสดง
จะขึน้ อยูก่ บ
ั การเลือกทีท่ ําในขัน
้ ตอนที่ 4

 ความสว่าง
สามารถปรับความสว่างของภาพได ้
 ชดเชยระด ับแสง
เมือ่ คุณเลือก [แมนนวล] คุณสามารถเปลีย ่ นการ
กระจายของฮิสโตแกรมและปรับความสว่างและ
ความเปรียบต่างของภาพได ้
เมือ
่ หน ้าจอชดเชยระดับแสงแสดงอยู่ กดปุ่ ม
<B> เพือ ่ เปลีย
่ นตําแหน่งของ <h> กดปุ่ ม
<Y> <Z> เพือ ่ ปรับระดับเงา (0-127) หรือ
ระดับไฮไลท์ (128-255) อย่างอิสระ
 kปร ับสว่างขึน ้
ใช ้งานได ้ดีในการถ่ายแบบย ้อนแสงทีท ่ ําให ้หน ้าของผู ้ทีถ
่ า่ ยดูมด
ื เมือ
่ ตัง้ ค่า
[เปิ ด] ไว ้ ใบหน ้าจะถูกปรับให ้สว่างขึน
้ สําหรับการพิมพ์
 แก้ตาแดง
ใช ้งานได ้ดีกับภาพทีใ่ ช ้แฟลชซึง่ ทําให ้เกิดตาแดง เมือ
่ ตัง้ ค่า [เปิ ด] ไว ้
ตาแดงจะถูกแก ้ไขสําหรับการพิมพ์

 ลูกเล่น [kปร ับสว่างขึน ้ ] และ [แก้ตาแดง] จะไม่แสดงบนหน ้าจอ


 เมือ
่ เลือก [ตงค่
ั้ าละเอียด] คุณสามารถปรับ [ความเปรียบต่าง], [ความอิม ่ ต ัว
ของสี], [โทนสี] และ [สมดุลสี] หากต ้องการปรับ [สมดุลสี] ให ้กดปุ่ ม <W>
<X> หรือ <Y> <Z> B สําหรับสีนํ้าเงิน, A สําหรับสีเหลือง, M สําหรับสีมว่ ง,
G สําหรับสีเขียว สมดุลสีของภาพจะถูกปรับไปตามสีทอ ี่ ยูใ่ นทิศทางของการ
เคลือ่ นไหว
 หากคุณเลือก [ลบทงหมด]ั้ การตัง้ ค่าลูกเล่นการพิมพ์ทงั ้ หมดจะคืนกลับไปยัง
ค่าเริม่ ต ้น

326
w การพิมพ์

การครอบต ัดภาพ
การแก ้ไขภาพเอียง คุณสามารถครอบตัดภาพและพิมพ์เฉพาะส่วน
ทีต่ ัดแต่งทีข่ ยายใหญ่ โดยจะได ้ภาพทีเ่ หมือน
มีการจัดองค์ประกอบภาพใหม่
ตงค่ั้ าการครอบต ัดภาพให้ถก ู ต้องก่อน
การพิมพ์ หากคุณเปลีย ่ นการตัง้ ค่าการพิมพ์
หลังจากตัง้ ค่าการครอบตัดภาพ คุณอาจจะ
ต ้องตัง้ ค่าการครอบตัดภาพอีกครัง้ ก่อนพิมพ์

1 ในหน้าจอการตงค่
ั้ าการพิมพ์ ให้เลือก [ต ัดภาพ]
2 ตงค่ ั วนภาพของการต ัด
ั้ าขนาดกรอบ ตําแหน่ง และสดส่
พืน
้ ทีภ
่ าพในกรอบการตัดจะถูกพิมพ์ สามารถเปลีย
่ นสัดส่วนภาพของ
กรอบการตัดด ้วย [ปร ับตงกระดาษ]
ั้ ได ้
การเปลีย ่ นขนาดกรอบการต ัด
กดปุ่ ม <u> หรือ <I> เพือ ่ เปลีย
่ นขนาดของกรอบการตัด ยิง่ กรอบ
การตัดมีขนาดเล็กลงเท่าใด การขยายภาพสําหรับการพิมพ์จะใหญ่ขน ึ้ เท่า
นัน้
การเลือ ่ นกรอบการต ัด
กดปุ่ มเลือ ่ น <S> เพือ ่ ย ้ายกรอบไปเหนือภาพในแนวตัง้ หรือแนวนอน
ย ้ายกรอบการตัดจนกว่าจะครอบคลุมพืน ้ ทีข
่ องภาพส่วนทีต
่ ้องการ
การเปลีย ่ นทิศทางของกรอบการต ัด
การกดปุ่ ม <B> จะสลับกรอบการตัดระหว่างแนวตัง้ และแนวนอน
สิง่ นีช
้ ว่ ยให ้คุณสามารถสร ้างภาพพิมพ์แนวตัง้ จากภาพทีเ่ ป็ นแนวนอนได ้
การแก้ไขภาพเอียง
โดยการหมุนปุ่ ม <6> คุณสามารถปรับมุมการเอียงของภาพสูงสุด ±10
องศาโดยเพิม ่ ลดทีละ 0.5 องศา เมือ่ คุณปรับการเอียงของภาพ ไอคอน
<O> บนหน ้าจอจะกลายเป็ นสีนํ้าเงิน
3 กดปุ่ม <0> เพือ่ ออกจากการต ัดภาพ
หน ้าจอการตัง้ ค่าการพิมพ์จะปรากฏขึน ้ อีกครัง้
คุณสามารถตรวจสอบพืน ้ ทีภ
่ าพทีต ั ได ้ทางด ้านซ ้ายบนของหน ้าจอการตัง้
่ ด
ค่าการพิมพ์

327
w การพิมพ์

 พืน ้ ทีข ่ องภาพทีต ่ ด


ั อาจไม่พม
ิ พ์ออกมาเหมือนกับทีค
่ ณ
ุ กําหนด ทัง้ นีข
้ น
ึ้ อยูก
่ บ

เครือ ่ งพิมพ์ทค ุ ใช ้
ี่ ณ
 ยิง่ คุณกําหนดกรอบการตัดไว ้เล็กเท่าใด ภาพทีพ ่ ม
ิ พ์ออกมาจะดูหยาบเป็ นเม็ด
ยิง่ ขึน้
 ตรวจสอบหน ้าจอ LCD ของกล ้องระหว่างการครอบตัดภาพ หากคุณดูภาพบนจอ
โทรทัศน์ กรอบการตัดอาจแสดงไม่ถก ู ต ้อง

การจ ัดการข้อผิดพลาดของเครือ
่ งพิมพ์
หากเครือ ่ งพิมพ์ไม่ทํางานตามปกติหลังจากทีค่ ณ
ุ ได ้แก ้ไขข ้อผิดพลาดของเครือ ่ งพิมพ์
(ไม่มหี มึก ไม่มก
ี ระดาษ ฯลฯ) และได ้เลือก [ต่อไป] แล ้ว ให ้กดปุ่ มบนเครือ ่ งพิมพ์เพือ

กลับไปพิมพ์ตอ ่ สําหรับรายละเอียดในการกลับไปพิมพ์ตอ ่ โปรดดูคม ื การใช ้งานของ
ู่ อ
เครือ
่ งพิมพ์

ข้อความแสดงข้อผิดพลาด
หากเกิดปั ญหาระหว่างพิมพ์ ข ้อความแสดงข ้อผิดพลาดจะปรากฏบนจอ LCD ของกล ้อง
กดปุ่ ม <0> เพือ่ หยุดพิมพ์ หลังจากแก ้ไขปั ญหา ให ้พิมพ์ตอ ่ สําหรับรายละเอียดวิธี
แก ้ไขปั ญหาการพิมพ์ โปรดดูคม ื การใช ้งานของเครือ
ู่ อ ่ งพิมพ์
กระดาษมีปญ ั หา
ตรวจสอบว่ากระดาษมีการใส่ในเครือ ่ งพิมพ์อย่างถูกต ้องหรือไม่
หมึกมีปญ ั หา
ตรวจสอบระดับหมึกของเครือ ่ งพิมพ์และถังบรรจุหมึกเสีย
เครือ
่ งมีปญ ั หา
ตรวจสอบปั ญหาใดๆ ของเครือ ่ งพิมพ์นอกจากปั ญหาด ้านกระดาษและหมึก
ไฟล์มป ี ญ ั หา
ภาพทีเ่ ลือกไม่สามารถพิมพ์ผ่าน PictBridge ได ้ ภาพทีถ ่ า่ ยด ้วยกล ้องอืน
่ หรือภาพ
ทีไ่ ด ้รับการแก ้ไขด ้วยคอมพิวเตอร์อาจไม่สามารถพิมพ์ได ้

328
W รูปแบบคําสง่ ั พิมพ์ระบบดิจต
ิ อล (DPOF)
คุณสามารถตัง้ ค่าประเภทการพิมพ์ การพิมพ์วันที่ และการพิมพ์เลขทีไ่ ฟล์ภาพได ้
การตัง้ ค่าการพิมพ์จะถูกใช ้กับภาพทีส
่ งั่ พิมพ์ทงั ้ หมด (ไม่สามารถตัง้ ค่าแยก
สําหรับแต่ละภาพได ้)

การตงค่
ั้ าต ัวเลือกการพิมพ์
เลือก [สง่ ั พิมพ์]
1  ภายใต ้แท็บ [x1] เลือก [สง่ ั พิมพ์]
จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [ตงค่
ั้ า]
 เลือก [ตงค่
ั้ า] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

3 เลื
อกต ัวเลือกตามทีต ่ อ
้ งการ
 ตัง้ ค่า [ประเภทการพิมพ์], [ว ันที]่ และ
[เลขทีไ่ ฟล์]
 เลือกตัวเลือกทีจ
่ ะตัง้ ค่า จากนัน้ กดปุ่ ม
<0> เลือกการตัง้ ค่าทีต ่ ้องการ จากนัน ้
กดปุ่ ม <0>
[ประเภทการพิมพ์] [ว ันที]่ [เลขทีไ่ ฟล์]

329
W รูปแบบคําสัง่ พิมพ์ระบบดิจต
ิ อล (DPOF)

K มาตรฐาน พิมพ์ภาพเดียวบนกระดาษหนึง่ แผ่น


ภาพตัวอย่างหลายภาพจะถูกพิมพ์ในกระดาษ
L ดัชนี
หนึง่ แผ่น
ประเภทการพิมพ์
K
ทัง้ คู่ พิมพ์ทงั ้ แบบมาตรฐานและแบบดัชนี
L
ใส่
วันที่ [ใส่] พิมพ์วน
ั ทีบ
่ น
ั ทึกภาพลงในภาพทีพ
่ ม
ิ พ์
ไม่ใส่
ใส่
เลขทีไ่ ฟล์ [ใส่] พิมพ์เลขทีไ่ ฟล์ลงในภาพทีพ
่ ม
ิ พ์
ไม่ใส่

4 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <7>
 หน ้าจอคําสัง่ พิมพ์จะปรากฏขึน
้ อีกครัง้
 ต่อไปเลือก [เลือกภาพ], [ตามn] หรือ
[ทุกภาพ] เพือ่ สัง่ พิมพ์ภาพ

 ภาพ RAW และภาพเคลือ ่ นไหวไม่สามารถสัง่ พิมพ์ได ้ คุณสามารถพิมพ์ภาพ


RAW ได ้ด ้วย PictBridge (น.320)
 แม ้ว่า [ว ันที]่ และ [เลขทีไ่ ฟล์] มีการตัง้ ค่าเป็ น [ใส่] วันทีห ่ รือเลขทีไ่ ฟล์ภาพ
อาจไม่ถก ู พิมพ์ทงั ้ นี้ขน
ึ้ อยูก ่ บ
ั การตัง้ ค่าประเภทการพิมพ์และรุน ่ ของเครือ ่ งพิมพ์
 ด ้วยการพิมพ์แบบ [ด ัชนี] ทัง้ [ว ันที]่ และ [เลขทีไ่ ฟล์] จะไม่สามารถตัง้ ค่าเป็ น
[ใส่] ได ้ในเวลาเดียวกัน
 เมือ่ พิมพ์ด ้วย DPOF ให ้ใช ้การ์ดซึง่ ได ้ตัง้ ค่าการระบุคําสัง่ พิมพ์ไว ้แล ้ว ภาพจะไม่
สามารถพิมพ์ด ้วยคําสัง่ พิมพ์ทรี่ ะบุไว ้ หากคุณเพียงดึงภาพออกมาจากการ์ดและ
พยายามพิมพ์ทน ั ที
 เครือ ่ งพิมพ์ทใี่ ช ้งาน DPOF ได ้บางรุน ่ และผู ้ให ้บริการงานพิมพ์บางรายอาจไม่
สามารถพิมพ์ภาพตามทีค ่ ณุ ระบุได ้ โปรดดูคม ื การใช ้งานของเครือ
ู่ อ ่ งพิมพ์กอ ่ น
พิมพ์ หรือตรวจสอบกับผู ้ให ้บริการงานพิมพ์ของคุณเกีย ่ วกับความสามารถในการ
ใช ้งานเมือ ่ สัง่ พิมพ์
 อย่าใส่การ์ดซึง่ ตัง้ ค่าคําสัง่ พิมพ์มาจากกล ้องตัวอืน ่ ลงในกล ้องและพยายามกําหนด
คําสัง่ พิมพ์ คําสัง่ พิมพ์อาจถูกเขียนทับ และอาจไม่สามารถสัง่ พิมพ์ได ้โดยขึน ้ อยู่
กับประเภทของภาพถ่าย

330
W รูปแบบคําสัง่ พิมพ์ระบบดิจต
ิ อล (DPOF)

การสง่ ั พิมพ์
 เลือกภาพ
เลือกและสัง่ พิมพ์ภาพทีละภาพ
ด ้วยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถเลือก
ภาพจากการแสดงภาพแบบสามภาพ ในการ
กลับสูก่ ารแสดงภาพทีละภาพ ให ้กดปุ่ ม
<u>
กดปุ่ ม <M> เพือ ่ บันทึกคําสัง่ พิมพ์ไปยัง
การ์ด
[มาตรฐาน] [ทงคู ั้ ]่
กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ ตัง้ ค่าจํานวนสําเนาที่
จํานวน จะพิมพ์สําหรับภาพทีแ ่ สดง
จํานวนภาพทัง้ หมดทีเ่ ลือก

[ด ัชนี]
กดปุ่ ม <0> เพือ
่ ทําเครือ
่ งหมายถูกลงใน
เครือ
่ งหมายถูก ช่อง <X> และภาพจะถูกรวมในการพิมพ์
ไอคอนดัชนี
แบบดัชนี

 ตามn
เลือก [เลือกทุกภาพในโฟลเดอร์] และเลือกโฟลเดอร์ คําสัง่ พิมพ์ภาพทุก
ภาพในโฟลเดอร์หนึง่ ชุดจะถูกกําหนด หากคุณเลือก [ถอนเลือกทุกภาพใน
โฟลเดอร์] และเลือกโฟลเดอร์ คําสัง่ พิมพ์สําหรับโฟลเดอร์นัน
้ ทัง้ หมดจะถูก
ยกเลิก
 ทุกภาพ
หากคุณเลือก [เลือกทุกภาพในการ์ด] สําเนาจํานวนหนึง่ ชุดของทุกภาพ
ในการ์ดจะถูกตัง้ ค่าไว ้สําหรับการพิมพ์ หากคุณเลือก [ถอนเลือกทุกภาพ
ในการ์ด] คําสัง่ พิมพ์จะถูกล ้างสําหรับภาพทุกภาพในการ์ด

 โปรดทราบว่าภาพ RAW และภาพเคลือ ่ นไหวจะไม่ถก ู รวมในคําสัง่ พิมพ์แม ้ว่าคุณ


ได ้ตัง้ ค่า [ตามn] หรือ [ทุกภาพ]
่ ใช ้เครือ
 เมือ ่ งพิมพ์ PictBridge ให ้พิมพ์ไม่เกิน 400 ภาพสําหรับคําสัง่ พิมพ์เดียว
หากคุณระบุมากกว่านี้ ภาพทุกภาพอาจไม่ได ้รับการพิมพ์เลย

331
W การพิมพ์ภาพโดยตรงด้วยคําสง่ ั พิมพ์
ด ้วยเครือ
่ งพิมพ์ PictBridge คุณสามารถพิมพ์
ภาพแบบง่ายดายด ้วย DPOF ได ้

1 เตรียมพิมพ์
ดูหน ้า 320
ทําตามขัน ่ มต่อกล ้องกับเครือ
้ ตอน “การเชือ ่ งพิมพ์” จนถึงขัน
้ ตอนที่ 5

2 ภายใต้แท็บ [x1] ให้เลือก [สง่ั พิมพ์]


3 เลือก [พิมพ์]
[พิมพ์] จะมีการแสดงเฉพาะเมือ ่ มต่อกับเครือ
่ กล ้องมีการเชือ ่ งพิมพ์และ
สามารถพิมพ์ได ้

4 ตงค่
ั้ า [ปร ับตงกระดาษ]
ั้ (น.322)
ตัง้ ค่าลูกเล่นการพิมพ์ (น.324) หากจําเป็ น

5 เลือก [ตกลง]

 ก่อนพิมพ์ ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าได ้ตัง้ ค่าขนาดกระดาษ


 เครือ่ งพิมพ์บางรุน
่ ไม่สามารถพิมพ์เลขทีไ่ ฟล์ภาพได ้
 หากตัง้ ค่า [มีขอบ] ไว ้ เครือ
่ งพิมพ์บางรุน ่ อาจพิมพ์วันทีบ
่ นขอบ
 วันทีอ ่ าจดูจางหากพิมพ์บนพืน ้ หลังทีส
่ ว่างหรือบนขอบ ทัง้ นี้ขน
ึ้ อยูก
่ บ
ั เครือ
่ งพิมพ์
ทีใ่ ช ้
 ภายใต ้ [ชดเชยระด ับแสง] ไม่สามารถเลือก [แมนนวล] ได ้

 หากคุณหยุดพิมพ์และต ้องการกลับมาพิมพ์ภาพทีเ่ หลือต่อ ให ้เลือก [กล ับมา]


โปรดทราบว่าการพิมพ์จะไม่ดําเนินการต่อ หากเกิดกรณีดงั ต่อไปนี้ขน ึ้
• คุณได ้เปลีย ่ นคําสัง่ พิมพ์หรือได ้ลบภาพใดๆ ทีส ่ งั่ พิมพ์ออกก่อนกลับไปพิมพ์ตอ

• เมือ
่ ตัง้ ค่าดัชนี คุณได ้เปลีย ่ นการตัง้ ค่ากระดาษก่อนกลับมาพิมพ์ตอ ่
• ความจุของการ์ดเหลืออยูต ่ คุณหยุดการพิมพ์ไว ้ชัว่ ขณะ
่ ํา่ เมือ
 หากเกิดปั ญหาขึน ้ ระหว่างการพิมพ์ โปรดดูหน ้า 328

332
p การกําหนดภาพทีต
่ อ ้ า
้ งการใชท ํ โฟโต้บค
ุ๊
คุณสามารถกําหนดภาพทีจ ่ ะพิมพ์ในโฟโต ้บุค
๊ ได ้มากถึง 998 ภาพ เมือ ่ คุณใช ้
EOS Utility (ซอฟต์แวร์ EOS) เพือ่ ถ่ายโอนภาพไปยังคอมพิวเตอร์ ภาพที่
กําหนดจะถูกคัดลอกไปยังโฟลเดอร์ทเี่ จาะจงไว ้ ฟั งก์ชน ั่ นีเ้ หมาะกับการจัดเรียง
โฟโต ้บุค
๊ ออนไลน์

กําหนดภาพทีละภาพ
เลือก [ตงค่
ั้ าโฟโต้บค
ุ๊ ]
1  ภายใต ้แท็บ [x1] เลือก [ตงค่ ั้ า
โฟโต้บค ุ๊ ] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [เลือกภาพ]
 เลือก [เลือกภาพ] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>
 ภาพจะแสดงขึน
้ มา

3 เลื
อกภาพทีจ ่ ะกําหนด
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ เลือกทีจ
่ ะกําหนด
จากนัน ้ กดปุ่ ม <0>
 ด ้วยการกดปุ่ ม <I> คุณสามารถ
เลือกภาพจากการแสดงภาพแบบสามภาพ
ในการกลับสูก ่ ารแสดงภาพทีละภาพ
ให ้กดปุ่ ม <u>
 ทําซํ้าขัน้ ตอนนีเ้ พือ
่ เลือกภาพอืน
่ ๆ จํานวน
ของภาพทีม ่ ก
ี ารกําหนดจะแสดงทางด ้าน
ซ ้ายบนของหน ้าจอ
 ในการยกเลิกการกําหนดภาพ ให ้กดปุ่ ม
<0> อีกครัง้
 ในการกลับสูเ่ มนู ให ้กดปุ่ ม <M>

333
่ ้องการใช ้ทําโฟโต ้บุค
p การกําหนดภาพทีต ๊

กําหนดทุกภาพในโฟลเดอร์หรือในการ์ด
คุณสามารถกําหนดภาพทุกภาพในโฟลเดอร์หรือในการ์ดได ้ในครัง้ เดียว
เมือ่ [x1: ตงค่
ั้ าโฟโต้บคุ๊ ] ได ้รับการตัง้ ค่า
เป็ น [ทุกภาพในโฟลเดอร์] หรือ [ทุกภาพ
ในการ์ด] ทุกภาพในโฟลเดอร์หรือในการ์ดจะ
ถูกกําหนด
ในการยกเลิกการกําหนดภาพ ให ้เลือก [ถอน
เลือกทุกภาพในโฟลเดอร์] หรือ [ถอนเลือก
ทุกภาพในการ์ด]

 ภาพ RAW และภาพเคลือ ่ นไหวไม่สามารถกําหนดได ้


 อย่ากําหนดภาพทีถ ่ ูกกําหนดแล ้วในโฟโต ้บุ๊คของกล ้องอืน
่ เพือ
่ ทําเป็ นอีกโฟโต ้บุ๊ค
ในกล ้องนี้ การตัง้ ค่าโฟโต ้บุ๊คอาจถูกเขียนทับ

334
การปร ับตงกล้
ั้ อง
13
คุณสามารถกําหนดฟั งก์ชน ั่ ต่างๆ ของกล ้องให ้เหมาะสมกับ
การถ่ายภาพของคุณได ้ด ้วยการตัง้ ค่าระบบส่วนตัว คุณสามารถ
ตัง้ ค่าและใช ้งานการตัง้ ค่าระบบส่วนตัวได ้ในโหมดการถ่าย
ภาพสร ้างสรรค์เท่านั น

สรรค์
รา้ ง
พส
ภา
่ าย
การถ

335
3 การปร ับการตงค่ ่ นต ัวK
ั้ าระบบสว
เลือก [ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)]
1  ภายใต ้แท็บ [54] เลือก [ตงค่
ั้ าระบบ
ส่วนต ัว (C.Fn)] จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>

หมายเลขการตัง้ ค่าระบบส่วนตัว
2 เลื
อกหมายเลขการตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว
 กดปุ่ ม <Y> <Z> เพือ่ เลือกหมายเลข
การตัง้ ค่าระบบส่วนตัว จากนั น
้ กดปุ่ ม
<0>

3 เปลี
ย ่ นการตงค่
ั้ าตามทีต
 กดปุ่ ม <W> <X> เพือ
่ อ
้ งการ
่ เลือกการตัง้ ค่าที่
ต ้องการ (หมายเลข) จากนัน ้ กดปุ่ ม
<0>
 ทําซํ้าขัน ้ ตอนที่ 2 และ 3 หากคุณต ้องการ
ตัง้ ค่าระบบส่วนตัวอืน ่ ๆ
 ทีด ่ ้านล่างของหน ้าจอ จะแสดงการตัง้ ค่า
ระบบส่วนตัวปั จจุบันต่อจากหมายเลขของ
ฟั งก์ชน ั่ ตามลําดับ

4 ออกจากการต งค่
ั้ า
 กดปุ่ ม <M>
 หน ้าจอสําหรับขัน
้ ตอนที่ 1 จะปรากฏขึน

อีกครัง้

การลบการตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัวทงหมด
ั้
ภายใต ้ [54: ลบการตงค่ ั้ า] เลือก [ลบการตงค่ั้ าระบบส่วนต ัว(C.Fn)
ทงหมด]
ั้ เพือ
่ ลบการตัง้ ค่าระบบส่วนตัวทัง้ หมด (น.267)

336
3 การปรับการตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว

C.Fn I: ระด ับแสง A kถ่ายภาพ


ถ่ายภาพ LV เคลือ
่ นไหว
1 ระดับขัน
้ ในการตัง้ ค่าระดับแสง k k
น.338
2 ขยายความไวแสง ISO k ใน a

C.Fn II: ภาพ


3 เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง น.339 k k

C.Fn III: โฟก ัสอ ัตโนม ัติ/ข ับเคลือ


่ น
4 เปิ ดแสงไฟช่วยปรับโฟกัส k*
น.340
5 วิธเี ลือกพืน
้ ที่ AF
6 เลือกจุด AF อัตโนมัต:ิ ติดตามสี
น.341
7 แสดงจุด AF ระหว่างปรับโฟกัส
8 แสดงแสงสว่างในช่องมองภาพ
น.342
9 ถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน

่ ใช ้ Speedlite ซีรส
* เมือ ี่ ์ EX (แยกจําหน่าย) ทีม
่ ไี ฟ LED

C.Fn IV: การใช้งาน/อืน


่ ๆ
10 ปุ่ มชัตเตอร์/ปุ่ มล็อค AE น.343 k k
k k
11 กําหนดหน ้าทีใ่ ห ้กับปุ่ ม SET
น.344 (ยกเว ้น 3) (ยกเว ้น 2, 3, 6)*
12 แสดงภาพบนจอ LCD เมือ
่ เปิ ดสวิตช์
13 หดเลนส์กลับเมือ
่ ปิ ดกล ้อง น.345 k k
* การตัง้ ค่า 1 และ 4 จะไม่ทํางานระหว่างการถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
* [5: ความไวแสง ISO] สามารถตัง้ ค่าได ้เฉพาะการถ่ายภาพแบบตัง้ ค่าระดับแสงด ้วย
ตนเอง

การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวซึง่ เป็ นสีเทาจะไม่ทํางานขณะถ่ายภาพแบบ Live View (LV)


หรือถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว (การตัง้ ค่าถูกปิ ดใช ้งาน)

337
ั้ าระบบสว่ นต ัวK
3 การตงค่
่ ลุม
การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวแบ่งออกเป็ นสีก ั่ : C.Fn I: ระดับ
่ ตามชนิดของฟั งก์ชน
แสง, C.Fn II: ภาพ, C.Fn III: โฟกัสอัตโนมัต/ิ ขับเคลือ
่ น, C.Fn IV: การ
ใช ้งาน/อืน่ ๆ

C.Fn I: ระด ับแสง

C.Fn-1 ระด ับขนในการต


ั้ งค่
ั้ าระด ับแสง
0: 1/3 ระด ับ
1: 1/2 ระด ับ
ตัง้ การปรับทีละ 1/2 ระดับสําหรับความเร็วชัตเตอร์, ค่ารูรับแสง, การชด
เชยแสง, ถ่ายภาพคร่อม, ชดเชยระดับแสงแฟลช ฯลฯ ซึง่ จะได ้ผลดีเมือ ่
คุณต ้องการควบคุมค่าแสงด ้วยการเพิม ่ ความละเอียดตํา่ กว่าการปรับทีละ
1/3 ระดับ
เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น 1 ระดับค่าแสงจะแสดงดังภาพด ้านล่าง

C.Fn-2 ขยายความไวแสง ISO


0: เปิ ด
1: ปิ ด
เมือ
่ คุณตัง้ ค่าความไวแสง ISO คุณสามารถตัง้ ค่า “H” (เทียบเท่า ISO 25600)
สําหรับภาพนิง่ และ “H” (เทียบเท่า ISO 12800) สําหรับภาพเคลือ ่ นไหว
โปรดทราบว่าหากตัง้ ค่า [C.Fn-3: เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง] เป็ น [1:
ใช้งาน] จะไม่สามารถตัง้ ค่า “H” ได ้

338
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn II: ภาพ

C.Fn-3 เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง
0: ไม่ใช้งาน
1: ใช้งาน
ปรับปรุงรายละเอียดบริเวณสว่าง ช่วงไดนามิกขยายจากโทนสีเทา
มาตรฐาน 18% ไปยังบริเวณทีส ่ ว่างจ ้า การไล่โทนระหว่างระดับสีเทา
และส่วนสว่างจะเรียบเนียนขึน

 เมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น 1 การปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ (น.136) จะปรับอัตโนมัตเิ ป็ น


[ไม่ใช้งาน] และไม่สามารถเปลีย ่ นการตัง้ ค่าได ้
 เมือ ่ ตัง้ ค่าเป็ น 1 น๊ อยส์ (ภาพเป็ นเม็ด ริว้ ฯลฯ) อาจแสดงให ้เห็นได ้ชัดขึน
้ กว่าการ
ตัง้ ค่าเป็ น 0 เล็กน ้อย

เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น 1 ช่วงทีส
่ ามารถตัง้ ค่าได ้จะเป็ น ISO 200 - ISO 12800 (สูงถึง
ISO 6400 สําหรับภาพเคลือ ่ นไหว)
นอกจากนี้ ไอคอน <A> จะแสดงในช่องมองภาพและบนจอ LCD เพือ ่ บ่งบอกว่า
เน ้นโทนภาพบริเวณสว่างถูกใช ้งาน

339
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn III: โฟก ัสอ ัตโนม ัติ/ข ับเคลือ


่ น

C.Fn-4 เปิ ดแสงไฟช่วยปร ับโฟก ัส


เปิ ดหรือปิ ดใช ้งานแสงไฟช่วยปรับโฟกัสของแฟลชในตัวกล ้อง หรือแสงไฟช่วย
ปรับโฟกัสของ Speedlite ภายนอกสําหรับ EOS โดยเฉพาะ
0: ใช้งาน
แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะปล่อยออกมาเมือ ่ จําเป็ น
1: ไม่ใช้งาน
แสงไฟช่วยปรับโฟกัสจะไม่ปล่อยออกมา เพือ ่ ป้ องกันไม่ให ้แสงไฟช่วยปรับ
โฟกัสรบกวนผู ้อืน ่
2: เปิ ดไฟของแฟลชต่อภายนอกเท่านน ั้
หากติด Speedlite ภายนอก Speedlite นั น ้ จะยิงแสงไฟช่วยปรับ
โฟกัสเมือ ่ จําเป็ น และแฟลชในตัวกล ้องจะไม่ยงิ แสงไฟช่วยปรับโฟกัส
3: แสงช่วยโฟก ัสอินฟราเรดเท่านน ั้
เมือ ่ ติดตัง้ Speedlite ภายนอก แสงไฟช่วยโฟกัสอินฟราเรดเท่านั น ้ ทีจ
่ ะถูก
ปล่อยออกมา ตัง้ ค่านีเ้ มือ ่ คุณไม่ต ้องการให ้กล ้องยิงแสงไฟช่วยปรับโฟกัส
เป็ นแฟลชชุดเล็กๆ
เมือ่ ใช ้งาน Speedlite ซีรส ี่ ์ EX รุน
่ ทีต่ ด
ิ ตัง้ ไฟ LED แสงไฟ LED จะไม่เปิ ด
อัตโนมัตเิ พือ ่ ยิงแสงช่วยโฟกัส

หากตัง้ ค่าระบบส่วนตัว [เปิ ดแสงไฟช่วยปร ับโฟก ัส] ของ Speedlite ภายนอกเป็ น


ั่ นี้จะถูกยกเลิกและจะไม่ปล่อยแสงไฟช่วยปรับ
[ไม่ใช้งาน] การตัง้ ค่าของฟั งก์ชน
โฟกัสออกมา

C.Fn-5 ้ ที่ AF
วิธเี ลือกพืน
คุณสามารถกําหนดวิธส ี ําหรับการเปลีย่ นโหมดเลือกพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ
0: S 9 ปุ่มเลือกพืน ้ ที่ AF
หลังจากคุณกดปุ่ ม <S> หรือ <B> แต่ละครัง้ ทีค ่ ณ
ุ กดปุ่ ม <B>
โหมดเลือกพืน
้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะเปลีย
่ นไป
1: S 9 ปุ่มหมุนหล ัก
หลังจากคุณกดปุ่ ม <S> หรือ <B> การหมุนปุ่ ม <6> จะเปลีย ่ น
โหมดเลือกพืน้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต ิ
 เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น 1 ให ้กดปุ่ ม <W> <X> หรือ <Y> <Z> เพือ ่ เลือ
่ นจุดโฟกัสอัตโนมัต ิ
 เมือ่ ใช ้กริ๊ ปแบตเตอรี่ รุน่ BG-E18 (แยกจําหน่าย) และตัง้ ค่าเป็ น 1 คุณสามารถเปลีย่ น
โหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตไิ ด ้โดยควบคุมการทํางานของกริ๊ ปแบตเตอรี่

340
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn-6 เลือกจุด AF อ ัตโนม ัติ: ติดตามสี


ใช ้ฟั งก์ชน ั่ นีเ้ พือ
่ โฟกัสอัตโนมัตโิ ดยการจดจําสีทเี่ ทียบเท่ากับโทนสีผวิ ฟั งก์ชน ั่
นีท
้ ํางานในโหมด AF ครัง้ เดียว เมือ ่ โหมดเลือกพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัตติ งั ้ ค่าเป็ น
แบบโซน AF (เลือกโซนด ้วยตนเอง) หรือเลือก AF อัตโนมัต ิ 19 จุด
0: AF ครงเดี ั้ ยวเท่านน ั้
ในโหมด AF ครัง้ เดียว กล ้องจะเลือกจุดโฟกัสโดยอัตโนมัตต ิ ามข ้อมูลการ
โฟกัสอัตโนมัตแ ิ ละข ้อมูลสีทเี่ ทียบเท่ากับโทนสีผวิ ซึง่ ทําให ้การโฟกัส
บุคคลง่ายขึน ้ คุณจึงสามารถให ้ความสําคัญกับการจัดองค์ประกอบในการ
ถ่ายภาพ
1: ไม่ใช้งาน
จุดโฟกัสจะถูกเลือกโดยอัตโนมัตต ิ ามข ้อมูลการโฟกัสอัตโนมัตเิ ท่านัน ้ โดย
ทัว่ ไปวัตถุทอ ี่ ยูใ่ กล ้ทีส ่ ด
ุ จะถูกโฟกัส
 ด ้วยการตัง้ ค่า 0 การโฟกัสจะใช ้เวลานานกว่าการตัง้ ค่า 1 เล็กน ้อย
 แม ้ว่าตัง้ ค่าเป็ น 0 ผลทีไ่ ด ้อาจไม่เป็ นไปตามทีค ่ าดไว ้ทัง้ นีข
้ น
ึ้ อยูก
่ บ
ั สภาวะการ
ถ่ายภาพและวัตถุ
 ภายใต ้สภาวะแสงน ้อยเมือ ่ แฟลชปล่อยแสงไฟช่วยปรับโฟกัสออกมาโดยอัตโนมัต ิ
จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะถูกเลือกโดยอัตโนมัตต ิ ามข ้อมูลการโฟกัสอัตโนมัตเิ ท่านัน ้
(การโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะไม่ใช ้ข ้อมูลสีทเี่ ทียบเท่ากับโทนสีผวิ )

C.Fn-7 แสดงจุด AF ระหว่างปร ับโฟก ัส


คุณสามารถตัง้ ค่าให ้แสดงหรือไม่แสดงจุดโฟกัสอัตโนมัตไิ ด ้ในกรณีตอ ่ ไปนี:้
1. เมือ
่ เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัต ิ 2. เมือ ่ กล ้องพร ้อมถ่ายภาพ (ก่อนการโฟกัส
อัตโนมัต)ิ , 3. ระหว่างการโฟกัสอัตโนมัต ิ และ 4. เมือ ่ จับโฟกัสได ้
0: ทีเ่ ลือก (คงที)่
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกจะแสดงขึน ้ เสมอ
1: ทงหมดั้ (คงที)่
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ งั ้ 19 จุดจะแสดงขึน ้ เสมอ
2: ทีเ่ ลือก(AFล่วงหน้าโฟก ัส)
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกจะแสดงขึน ้ ในกรณี 1, 2 และ 4
3: ทีเ่ ลือก (โฟก ัส)
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกจะแสดงขึน ้ ในกรณี 1 และ 4
4: ไม่แสดง
จุดโฟกัสอัตโนมัตท ิ เี่ ลือกจะไม่แสดงขึน ้ ในกรณี 2, 3 และ 4
เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น 2 หรือ 3 จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ้ แม ้ว่าจับโฟกัสได ้โดยใช ้
ิ ะไม่แสดงขึน
AI Servo AF

341
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn-8 แสดงแสงสว่างในช่องมองภาพ
คุณสามารถตัง้ ค่าให ้จุดโฟกัสอัตโนมัตใิ นช่องมองภาพสว่างหรือไม่สว่างขึน ้
เป็ นสีแดงเมือ
่ จับโฟกัสได ้
0: อ ัตโนม ัติ
จุดโฟกัสอัตโนมัตส ิ ว่างขึน้ เป็ นสีแดงโดยอัตโนมัตภ ิ ายใต ้สภาวะแสงน ้อย
1: ใช้งาน
จุดโฟกัสอัตโนมัตส ิ ว่างขึน้ เป็ นสีแดงไม่วา่ ระดับแสงโดยรอบจะเป็ นอย่างไร
ก็ตาม
2: ไม่ใช้งาน
จุดโฟกัสอัตโนมัตไิ ม่สว่างขึน ้ เป็ นสีแดง
เมือ
่ ตัง้ ค่า AI Servo AF จะไม่มแ
ี สงสว่างขึน
้ เป็ นสีแดงแม ้ว่าจับโฟกัสได ้

 เมือ
่ คุณกดปุ่ ม <S> หรือ <B> จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ะสว่างขึน
้ เป็ นสีแดงไม่วา่
การตัง้ ค่านีจ
้ ะเป็ นอย่างไรก็ตาม
 เส ้นอัตราส่วนภาพ (น.120) และตาราง และการตรวจจับแสงวูบวาบทีต ่ งั ้ ค่าด ้วย
[52: การแสดงช่องมองภาพ] จะสว่างขึน ้ เป็ นสีแดงเช่นกัน

C.Fn-9 ้
ถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน
0: ไม่ใช้งาน
1: ใช้งาน
่ เนือ
ป้ องกันกล ้องสัน ่ สะเทือนภายในกล ้องทีเ่ กิดจากการยกตัว
่ งจากการสัน
ของกระจกสะท ้อนภาพ (แรงสัน ่ ของกระจก) เมือ
่ ถ่ายภาพโดยใช ้เลนส์ถา่ ย
ภาพไกลช่วงพิเศษหรือภาพระยะใกล ้ (การถ่ายภาพแบบมาโคร) โปรดดู
หน ้า 163 สําหรับขัน ้ ตอนการถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ้

342
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn IV: การใชง้ าน/อืน


่ ๆ

C.Fn-10 ั
ปุ่มชตเตอร์
/ปุ่มล็อค AE
0: AF/ล็ อค AE
1: ล็ อค AE/AF
เหมาะต่อการโฟกัสและวัดค่าแสงแบบแยกกัน กดปุ่ ม <A> เพือ ่ โฟกัส
อัตโนมัต ิ และกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ ่ ใช ้งานล็อค AE
2: AF/ล็ อค AF, ไม่ล็อค AE
ในระหว่างทีใ่ ช ้ AI Servo AF คุณสามารถกดปุ่ ม <A> เพือ ่ หยุดการ
โฟกัสอัตโนมัตช ิ วั่ คราว ทัง้ นีเ้ พือ
่ ป้ องกันไม่ให ้เกิดการหลุดโฟกัสเมือ ่ มีสงิ่
กีดขวางตัดผ่านตรงกลางระหว่างตัวกล ้องและวัตถุ ค่าการเปิ ดรับแสงจะ
ถูกกําหนดในช่วงขณะทีถ ่ า่ ยภาพ
3: AE/AF, ไม่ล็อค AE
เหมาะสําหรับวัตถุทเี่ คลือ ่ นไหวและหยุดชะงักตลอดเวลา ในขณะทีใ่ ช ้ AI
Servo AF คุณสามารถกดปุ่ ม <A> เพือ ่ เริม่ หรือหยุดการทํางานของ AI
Servo AF ค่าการเปิ ดรับแสงจะถูกกําหนดในช่วงขณะทีถ ่ า่ ยภาพ ดังนัน ้
คุณจึงสามารถตัง้ ค่ากล ้องของคุณ เพือ ่ ให ้ได ้การโฟกัสและค่าแสงทีเ่ หมาะสม
ทีส่ ด
ุ แล ้วรอจังหวะถ่ายภาพ

ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View หรือการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว


 เมือ่ ตัง้ ค่าเป็ น 1 หรือ 3 ให ้กดปุ่ ม <A> เพือ ่ ใช ้ AF ครัง้ เดียว นอกจากนัน

โฟกัสอัตโนมัตจิ ะไม่ทํางานในการถ่ายภาพขณะใช ้งานชัตเตอร์แบบแตะ
 เมือ ่ ใช ้ AF ครัง้ เดียว
่ ตัง้ ค่าเป็ น 2 ให ้กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เพือ

343
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn-11 กําหนดหน้าทีใ่ ห้ก ับปุ่ม SET


คุณสามารถกําหนดฟั งก์ชน ั่ ทีใ่ ช ้บ่อยไปยัง <0> เมือ ่ กล ้องพร ้อมถ่าย การกด
ปุ่ ม <0> จะแสดงหน ้าจอการตัง้ ค่าฟั งก์ชน ั่ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
0: ปกติ (ไม่ใช้งาน)
1: คุณภาพของภาพ
หน ้าจอการตัง้ ค่าคุณภาพของภาพจะปรากฏขึน ้
2: ชดเชยระด ับแสงแฟลช
หน ้าจอการตัง้ ค่าชดเชยระดับแสงแฟลชจะปรากฏขึน ้
3: เปิ ด/ปิ ด จอ LCD
คุณสามารถเปิ ดหรือปิ ดจอ LCD
4: แสดงเมนู
หน ้าจอเมนูจะปรากฏขึน ้
5: ความไวแสง ISO
หน ้าจอการตัง้ ค่าความไวแสง ISO จะปรากฏขึน ้
6: ตงค่ ั้ าระบบแฟลช
หน ้าจอการตัง้ ค่าระบบแฟลชในตัวกล ้องหรือระบบแฟลชติดตัง้ ภายนอกจะ
ปรากฏขึน้

C.Fn-12 ่ เปิ ดสวิตช ์


แสดงภาพบนจอ LCD เมือ
0: แสดง
เมือ
่ เปิ ดสวิตซ์กล ้อง การตัง้ ค่าการถ่ายภาพจะแสดงขึน ้ (น.61)
1: คงหน้าจอสถานะเดียวก ับปิ ดสวิตช์
หากคุณกดปุ่ ม <T> แล ้วปิ ดกล ้องขณะทีจ ่ อ LCD ปิ ดอยู่ การตัง้ ค่าการ
ถ่ายภาพจะไม่แสดงขึน ้ เมือ
่ คุณเปิ ดกล ้องอีกครัง้ ทัง้ นีเ้ พือ
่ เป็ นการประหยัด
พลังงานแบตเตอรี่ หน ้าจอเมนูและการเล่นภาพยังสามารถใช ้ได ้เมือ ่ ใช ้งาน
หากคุณกดปุ่ ม <T> เพือ ่ แสดงการตัง้ ค่าการถ่ายภาพแล ้วปิ ดกล ้อง
การตัง้ ค่าการถ่ายภาพจะแสดงขึน ้ เมือ
่ คุณเปิ ดกล ้องอีกครัง้

344
3 การตัง้ ค่าระบบส่วนตัวK

C.Fn-13 ์ ล ับเมือ
หดเลนสก ่ ปิ ดกล้อง
เพือ
่ ตัง้ ค่ากลไกการเก็บเลนส์ขณะติดเลนส์ STM ทีม ่ เี กียร์ขบ
ั เคลือ
่ น (เช่น
EF40mm f/2.8 STM) เข ้ากับกล ้อง คุณสามารถตัง้ ค่าให ้หดเลนส์ทย ี่ น
ื่ ออกมา
โดยอัตโนมัต ิ เมือ่ ปรับสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องไปที่ <OFF>
0: ใช้งาน
1: ไม่ใช้งาน

่ ใช ้ระบบปิ ดสวิตช์อต
 เมือ ั โนมัต ิ เลนส์จะไม่หดกลับไม่วา่ การตัง้ ค่านี้จะเป็ นอย่าง
ไรก็ตาม
 ก่อนถอดเลนส์ ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าเลนส์ได ้หดกลับแล ้ว

เมือ ั่ นี้จะทํางานไม่วา่ การปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์


่ ตัง้ ค่าเป็ น 0 ฟั งก์ชน
(AF หรือ MF) จะเป็ นอย่างไรก็ตาม

345
่ นต ัวK
3 การบ ันทึกเมนูสว
ภายใต ้แท็บเมนูสว่ นตัว คุณสามารถบันทึกตัวเลือกเมนูได ้หกตัวเลือก รวมถึงการ
ตัง้ ค่าระบบส่วนตัวซึง่ คุณสามารถปรับเปลีย
่ นการตัง้ ค่าได ้อยูเ่ สมอ

ั้ าเมนูสว่ นต ัว]
เลือก [ตงค่
1  ภายใต ้แท็บ [9] เลือก [ตงค่ ่ น
ั้ าเมนูสว
ต ัว] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

2 เลื
อก [บ ันทึก]
 เลือก [บ ันทึก] จากนัน
้ กดปุ่ ม <0>

3 บันทึเลืกอกรายการ
รายการทีต ่ อ
้ งการ
จากนั น
้ กดปุ่ ม <0>
 ในกล่องโต ้ตอบเพือ
่ ยืนยัน เลือก [ตกลง]
และกดปุ่ ม <0> เพือ ่ บันทึกรายการ
 คุณสามารถบันทึกได ้สูงสุดหกรายการ
 หากต ้องการกลับสูห่ น ้าจอในขัน
้ ตอนที่ 2
ให ้กดปุ่ ม <M>

ั้ าเมนูสว่ นต ัว
ตงค่
 จ ัดลําด ับ
คุณสามารถปรับเปลีย ่ นลําดับของรายการทีบ ่ ันทึกไว ้ในเมนูสว่ นตัว เลือก
[จ ัดลําด ับ] และเลือกรายการทีค ่ ณุ ต ้องการเปลีย่ นลําดับ จากนัน ้ กดปุ่ ม
<0> เมือ ่ [z] แสดงขึน ้ กดปุ่ ม <W> <X> เพือ ่ ปรับเปลีย ่ นลําดับ
แล ้วกดปุ่ ม <0>
 ลบและลบทุกรายการ
คุณสามารถลบรายการทีบ
่ ันทึกรายการใดก็ได ้ [ลบ] จะลบทีละรายการ และ
[ลบทุกรายการ] จะลบทุกรายการทีบ ่ ันทึก
 แสดงรายการจากเมนูสว ่ นต ัว
เมือ ้ เป็ นสิง่ แรกเมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน] แท็บ [9] จะแสดงขึน ่ คุณเลือก
แสดงหน ้าจอเมนู

346
14 อ้างอิง

บทนีไ้ ด ้ให ้ข ้อมูลอ ้างอิงเกีย


่ วกับคุณสมบัตข
ิ องกล ้อง อุปกรณ์
เสริมระบบ ฯลฯ

การร ับรองโลโก้
เลือก [54: ร ับรองการแสดงโลโก้] และกดปุ่ ม <0> เพือ ่ แสดงโลโก ้
ต่างๆ ทีก
่ ล ้องมีการรับรอง การรับรองโลโก ้อืน
่ ๆ สามารถพบได ้ในคูม
่ อ
ื การ
ใช ้งานนี้ บนตัวกล ้อง และบนบรรจุภัณฑ์ของกล ้อง
347
3 การตรวจสอบข้อมูลแบตเตอรี่
คุณสามารถตรวจสอบสถานะของแบตเตอรีไ่ ด ้บนจอ LCD

เลือก [ข้อมูลแบตเตอรี]่
 ภายใต ้แท็บ [53] เลือก [ข้อมูล
แบตเตอรี]่ จากนัน้ กดปุ่ ม <0>
 หน ้าจอข ้อมูลแบตเตอรีจ
่ ะปรากฏขึน
้ มา
ตําแหน่งของแบตเตอรี่

รุน
่ แบตเตอรีห
่ รือพลังงานจากปลั๊กไฟภายในบ ้าน
ทีใ่ ช ้
ไอคอนระดับแบตเตอรี่ (น.41) จะแสดงขึน ้

ระดับประสิทธิภาพในการชาร์จของแบตเตอรีจ ่ ะ
แสดงเป็ นสามระดับ
(สีเขียว) : ประสิทธิภาพในการชาร์จ
ของแบตเตอรีด ่ ี
(สีเขียว) : ประสิทธิภาพในการชาร์จ
ของแบตเตอรีล ่ ดลงเล็กน ้อย
้ แบตเตอรีใ่ หม่
(สีแดง) : แนะนํ าให ้ซือ

แนะนํ าให ้ใช ้แบตเตอรีแ ่ LP-E17 แท ้ของแคนนอน หากคุณใช ้แบตเตอรีท


่ พ็ค รุน ่ ไี่ ม่ใช่
ผลิตภัณฑ์ของแท ้ของแคนนอน กล ้องอาจไม่สามารถทํางานได ้อย่างเต็มประสิทธิ
ภาพหรือทํางานผิดปกติ

 ข ้อมูลแบตเตอรีจ ้ แม ้ว่าจะมีการใช ้งานกริ๊ ปแบตเตอรี่ รุน


่ ะแสดงขึน ่ BG-E18 หากมี
แบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 สองก ้อน กล ้องจะแสดงระดับแบตเตอรีท ่ เี่ หลืออยูข
่ องทัง้
สองก ้อนรวมกัน
 หากมีข ้อความแสดงข ้อผิดพลาดของการสือ ่ สารกับแบตเตอรีแ ่ สดงขึน ้ มา ให ้
ปฏิบัตติ ามข ้อความ

348
้ ล ังงานจากปลก
การใชพ ๊ ั ไฟภายในบ้าน
ด ้วยการใช ้งานชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้ า AC รุน ่ ACK-E18 (แยกจําหน่าย) คุณ
สามารถเชือ ่ มต่อกล ้องเข ้ากับพลังงานจากปลั๊กไฟและเต ้ารับภายในบ ้านโดยไม่
ต ้องเป็ นกังวลกับพลังงานแบตเตอรีท ่ เี่ หลือ

เสียบปลก
๊ ั อุปกรณ์ตอ
่ ไฟ DC
1  เสียบปลั๊กอุปกรณ์ตอ
่ ไฟ DC เข ้ากับ
อะแดปเตอร์ไฟฟ้ า AC

2 เสี
ยบสายไฟ
 เสียบสายไฟตามทีแ
่ สดงในภาพประกอบ
 หลังใช ้งานกล ้องเสร็จสิน
้ แล ้ว ให ้ถอดปลั๊ก
ไฟออกจากเต ้ารับ

3 ใส่
อปุ กรณ์ตอ ่ ไฟ DC
 เปิ ดฝาปิ ดช่องใส่แบตเตอรีอ
่ อกและสอด
อุปกรณ์ตอ ่ ไฟ DC เข ้าไปจนล็อคเข ้าที่
เรียบร ้อย

4 ดันสาย DC เข้าไป
เปิ ดฝาครอบช่องต่อสาย DC แล ้วติดตัง้
สายตามทีแ ่ สดงในภาพประกอบ
 ปิ ดฝาปิ ดช่องใส่แบตเตอรี่

อย่าเสียบหรือถอดสายไฟเมือ
่ ตัง้ สวิตซ์เปิ ด/ปิ ดกล ้องเป็ น <1>

349
การถ่ายภาพด้วยรีโมทคอนโทรล
ต ัวควบคุมรีโมท รุน
่ RC-6 (แยกจําหน่าย)
้ ว่ ยให ้คุณสามารถถ่ายภาพแบบไร ้สายได ้ในระยะไม่
ตัวควบคุมรีโมทคอนโทรลนีช
เกินประมาณ 5 เมตร/16.4 ฟุตจากตัวกล ้อง คุณสามารถถ่ายภาพได ้ในทันที หรือ
ตัง้ เวลารอ 2 วินาที

เซนเซอร์รโี มทคอนโทรล

 ตัง้ ค่าโหมดขับเคลือ ่ นเป็ น <Q> (น.114)


 เล็งตัวควบคุมรีโมทไปทางเซนเซอร์รโี มทคอนโทรลของกล ้อง แล ้วกดปุ่ มส่ง
สัญญาณ
 กล ้องจะจับโฟกัสโดยอัตโนมัต ิ
 เมือ ่ จับโฟกัสได ้แล ้ว หลอดไฟตัง้ เวลาจะสว่างขึน
้ และภาพจะถูกถ่าย

 แสงไฟฟลูออเรสเซนต์หรือไฟ LED อาจเป็ นสาเหตุให ้การทํางานของกล ้องผิด


พลาดและลั่นชัตเตอร์โดยไม่ตงั ้ ใจ พยายามให ้กล ้องห่างจากแหล่งแสงเหล่านี้
 หากคุณเล็งรีโมทคอนโทรลของเครือ ่ งรับโทรทัศน์ไปทางกล ้องถ่ายรูปแล ้วสัง่ การ
อาจเป็ นสาเหตุให ้การทํางานของกล ้องผิดพลาดและลัน ่ ชัตเตอร์โดยไม่ตงั ้ ใจ

 สามารถใช ้งานด ้วยตัวควบคุมรีโมท รุน


่ RC-1/RC-5 (แยกจําหน่าย) ได ้เช่นกัน
 การถ่ายภาพด ้วยรีโมทคอนโทรลยังสามารถใช ้ได ้กับ Speedlite ซีรส ี่ ์ EX ทีม
่ ี
ั่ สัง่ การด ้วยรีโมท
ฟั งก์ชน
 สามารถใช ้งานตัวควบคุมรีโมทในระหว่างการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวได ้เช่นกัน
(น.221) โปรดทราบว่าตัวควบคุมรีโมท รุน่ RC-5 จะไม่สามารถใช ้เพือ
่ ถ่ายภาพนิง่ ใน
โหมดการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
350
การถ่ายภาพด ้วยรีโมทคอนโทรล

F รีโมทสวิตซ ์ รุน
่ RS-60E3 (แยกจําหน่าย)
รีโมทสวิตซ์ รุน
่ RS-60E3 (แยกจําหน่าย) มาพร ้อมกับสายความยาวประมาณ
60 ซม./2.0 ฟุต เมือ ่ มต่อกับช่องควบคุมรีโมทคอนโทรลของกล ้อง จะ
่ เชือ
สามารถกดลงครึง่ หนึง่ และกดลงจนสุดได ้เหมือนกับปุ่ มชัตเตอร์

้ าปิ ดช่องมองภาพ
การใชฝ
่ คุณใช ้งานการตัง้ เวลา ชัตเตอร์ B หรือรีโมทสวิตซ์โดยไม่ได ้ใช ้การมองผ่าน
เมือ
ช่องมองภาพ อาจมีแสงเล็ดลอดเข ้าสูช ่ อ
่ งมองภาพและส่งผลให ้ภาพถ่ายดูมด ื
เหตุการณ์นส ี้ ามารถป้ องกันได ้ด ้วยการใช ้ฝาปิ ดช่องมองภาพ (น.33) ทีม
่ ากับ
สายคล ้องกล ้อง
ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View และการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว ไม่
จําเป็นต้องติดตงฝาปิ
ั้ ดช่องมองภาพ

ถอดยางครอบช่องมองภาพ
1  ถอดยางครอบช่องมองภาพได ้โดยดันที่
ด ้านล่างของยาง

2 ติดสอดฝาปิ
ฝาปิ ดช่องมองภาพ
ดช่องมองภาพลงไปยังร่องของ
ช่องมองภาพเพือ ่ ติดเข ้า
 หลังจากทีค่ ณ ้ แล ้ว ถอด
ุ ถ่ายภาพเสร็จสิน
ฝาปิ ดช่องมองภาพออกและติดยางครอบ
ช่องมองภาพกลับด ้วยการสอดลงไปยัง
ร่องของช่องมองภาพ

351
้ าร์ด Eye-Fi
H การใชก
เมือ
่ ตัง้ ค่าการ์ด Eye-Fi ทีม ่ จ
ี ําหน่ายทัว่ ไปจนเสร็จแล ้ว คุณสามารถถ่ายโอนภาพ
ทีถ
่ า่ ยไปยังคอมพิวเตอร์ได ้โดยอัตโนมัต ิ หรืออัพโหลดภาพไปยังบริการออนไลน์
ผ่านระบบ LAN แบบไร ้สายได ้
การถ่ายโอนภาพเป็ นฟั งก์ชน ั่ ของการ์ด Eye-Fi สําหรับวิธก ี ารติดตัง้ และใช ้งาน
การ์ด Eye-Fi หรือแก ้ปั ญหาเกีย ่ วกับการถ่ายโอนภาพ โปรดดูคม ู่ อ ื การใช ้งาน
การ์ด Eye-Fi หรือติดต่อผู ้ผลิตการ์ด
กล้องรุน ่ นีไ้ ม่ร ับประก ันการสน ับสนุนฟังก์ชน ่ ั การ์ด Eye-Fi (รวมถึง
การถ่ายโอนแบบไร้สาย) ในกรณีทก ี่ าร์ด Eye-Fi มีปญ ั หา โปรดตรวจ
สอบก ับผูผ ้ ลิตการ์ด แจ้งให้ทราบเพิม ่ เติมว่าคุณต้องขอร ับการอนุม ัติ
เพือ่ ใช้งานการ์ด Eye-Fi ในบางประเทศหรือบางภูมภ ิ าค และจะไม่
อนุญาตให้ใช้การ์ดหากไม่ได้ร ับการอนุม ัติ หากไม่แน่ใจว่าพืน ้ ทีข่ อง
คุณได้ร ับอนุม ัติให้ใช้การ์ดได้หรือไม่ โปรดตรวจสอบก ับผูผ ้ ลิตการ์ด

1 เสียบการ์ด Eye-Fi (น.37)


2 เลื
อก [การตงค่ ั้ า Eye-Fi]
 ภายใต ้แท็บ [51] เลือก [การตงค่
ั้ า
Eye-Fi] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 เมนูนจ ี้ ะปรากฏต่อเมือ
่ เสียบการ์ด Eye-Fi
เข ้ากับกล ้องเท่านัน

ง้ านการส่งสญญาณ

3 เปิ ดใช Eye-Fi
เลือก [การส่ง Eye-Fi] จากนัน
้ กดปุ่ ม
<0>
 เลือก [เปิ ด] จากนั น ้ กดปุ่ ม <0>
 หากคุณตัง้ ค่าเป็ น [ปิ ด] จะไม่มก ี ารส่ง
สัญญาณอัตโนมัตแ ิ ม ้ว่าจะเสียบการ์ด
Eye-Fi อยูก่ ็ตาม (ไอคอนสถานะการส่ง
สัญญาณ I)
่ มต่อ
4 แสดงข้ อมูลการเชือ
่ มต่อ] จากนัน
 เลือก [ข้อมูลการเชือ ้ กด
ปุ่ ม <0>

352
H การใช ้การ์ด Eye-Fi

5 ตรวจสอบ
point:]
[SSID ของ Access

 ตรวจสอบว่ามี Access Point แสดงใน


[SSID ของ Access point:] หรือไม่
 อีกทัง้ คุณยังสามารถตรวจสอบ MAC
address และรุน ่ โปรแกรมควบคุมระบบ
ของการ์ด Eye-Fi ได ้
 กดปุ่ ม <M> สามครัง้ เพือ ่ ออกจากเมนู

6 ถ่ายภาพ
เมือ
่ ภาพถูกถ่ายโอนแล ้ว ไอคอน <H>
จะเปลีย ่ นจากสีเทา (ไม่เชือ่ มต่อ) ไปเป็ น
หนึง่ ในไอคอนด ้านล่าง
 ส่วนภาพทีถ ่ า่ ยโอนแล ้ว O จะแสดงอยูใ่ น
หน ้าจอแสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ (น.306)
ไอคอนสถานะการส่งสัญญาณ
H (สีเทา) ไม่ได้เชือ่ มต่อ : ไม่มก ่ มต่อกับ Access Point
ี ารเชือ
H (กะพริบ) กําล ังเชือ่ มต่อ : กําลังเชือ่ มต่อกับ Access Point
H (สว่าง) เชือ่ มต่อแล้ว : ่ มต่อกับ Access Point สําเร็จแล ้ว
เชือ
H () กําล ังส่ง... : อยูใ่ นระหว่างการโอนภาพไปยัง Access Point

ข้อควรระว ังในการใช้การ์ด Eye-Fi


 หาก [51:Wi-Fi/NFC] ถูกตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน] จะไม่สามารถทําการถ่ายโอน
ภาพด ้วยการ์ด Eye-Fi ได ้
 หาก “J” แสดงขึน ้ หมายถึงมีข ้อผิดพลาดเกิดขึน ้ ขณะเรียกข ้อมูลการ์ด ให ้ปิ ด
และเปิ ดสวิตซ์กล ้องอีกครัง้
 แม ้ตัง้ ค่า [การส่ง Eye-Fi] เป็ น [ปิ ด] แต่การ์ดอาจยังคงส่งสัญญาณ โปรดถอด
การ์ด Eye-Fi ออกจากกล ้องเมือ ่ อยูใ่ นโรงพยาบาล ท่าอากาศยาน หรือสถานที่
่ ๆ ซึง่ ห ้ามไม่ให ้ใช ้งานการส่งสัญญาณแบบไร ้สาย
อืน
 หากการถ่ายโอนภาพไม่ทํางาน โปรดตรวจสอบการ์ด Eye-Fi และการตัง้ ค่า
คอมพิวเตอร์ สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ื การใช ้งานของการ์ด
ู่ อ
 การถ่ายโอนภาพอาจใช ้เวลานานขึน ้ หรืออาจหยุดชะงัก ขึน ้ อยูก
่ บ
ั สภาวะการเชือ ่ ม
ต่อระบบ LAN แบบไร ้สาย
 การ์ด Eye-Fi อาจร ้อนขึน ้ ระหว่างการส่งสัญญาณ
 กล ้องจะใช ้พลังงานแบตเตอรีม ่ ากขึน ้
 ระบบปิ ดสวิตซ์อต ั โนมัตจ ิ ะไม่ทํางานขณะถ่ายโอนภาพ
 [การตงค่ ั้ า Eye-Fi] จะไม่แสดงขึน ้ หากคุณเสียบการ์ด LAN แบบไร ้สายอืน ่ นอกเหนือ
จากการ์ด Eye-Fi และไอคอนสถานะการส่งสัญญาณ <H> จะไม่ปรากฏขึน ้ เช่นกัน

353
ตารางแสดงฟังก์ชน่ั ทีใ่ ชง้ านได้ตามโหมดการถ่ายภาพ
้ ฐาน
การถ่ายภาพนิง่ ในโหมดการถ่ายภาพพืน
o: ตัง้ ค่าอัตโนมัต ิ k: ผู ้ใช ้สามารถเลือกได ้ : เลือกไม่ได ้/ปิ ดใช ้งาน
8
่ั
ฟังก์ชน A 7 C 2 3 4 5
C P x 6 F G
การตังค่ อกได้ k k k k k k k k k k k k*1 k*1
้ าคุณภาพของภาพทงหมดเลื
ั้
ความไวแสง ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต/ิ อัตโนมัต ิ o o o o o o o o o o o o o
ISO ตัง้ ค่าเอง
ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต/ิ อัตโนมัต ิ D D D D D D D D D D D D D
รูปแบบภาพ
เลือกด ้วยตนเอง
ถ่ายภาพด้วยลูกเล่นพิเศษ*1 k
ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ k k k k k k k k k k
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ k k k k k
เบลอฉากหล ัง k
โทนสี k k
ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์*1*2 k k k k k k k k k k
อัตโนมัต ิ o o o o o o o o o o o o o
สมดุลแสง ตัง้ ค่าล่วงหน ้า
ขาว กําหนดเอง
แก ้ไข/ถ่ายคร่อม
ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ o o o o o o o o o o o o o
แก้ไขความ แก ้ไขขอบภาพมืด
k k k k k k k k k k k k k
คลาดเคลือ
่ น แก ้ไขความคลาดสี k k k k k k k k k k k k k
ของเลนส์ แก ้ไขความคลาดส่วน k k k k k k k k k k k
ลดจุดรบกวนจากการเปิ ดช ัตเตอร์นาน
ลดจุดรบกวนจากความไวแสง ISO สูง o o o o o o o o o o o o o
เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง
ถ่ายลดแสงวูบวาบ*3 o o o o o o o o o o o o o
sRGB o o o o o o o o o o o o o
พิก ัดสี
Adobe RGB
วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ o o o o o o o o o o o o
วัดแสงเฉลีย
่ หนั กกลาง
โหมดว ัดแสง o
ภาพ
การเลือกโหมดวัดแสง
*1: 1+73 หรือ 1 ไม่สามารถเลือกได ้
*2: ตัง้ ค่าได ้เฉพาะระหว่างการถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW
*3: ใช ้งานได ้เฉพาะระหว่างการถ่ายภาพโดยใช ้ช่องมองภาพ
354
ั่ ทีใ่ ช ้งานได ้ตามโหมดการถ่ายภาพ
ตารางแสดงฟั งก์ชน

8
่ั
ฟังก์ชน A 7 C 2 3 4 5
C P x 6 F G
การโฟก ัสอ ัต AF ครัง้ เดียว o o o o o o o o
โนม ัติ (การถ่าย
ภาพโดยใช้ AI Servo AF o o
ช่องมองภาพ) AI Focus AF o o o
การโฟกัสอัตโนมัต ิ
(การถ่ายภาพแบบ AF ครัง้ เดียว o o o o o o o o o o o o
Live View)
โหมดเลือกพืน
้ ที่ AF
เลือกจุด AF o o o o o o o o o o o o o
AF
แสงไฟช่วยปรับโฟกัส o o o o o o o o o
่ ง*2
AF ต่อเนือ k k k k k k k k k k k k k
การสลับโปรแกรม
ชดเชยแสง
ระด ับแสง AEB
ล็อค AE
เช็คระยะชัดลึก
ถ่ายภาพเดีย
่ ว k k k k k k k k k k k k k
ถ่ายภาพต่อเนือ
่ ง k k k k k k k k k k k k k
ถ่ายภาพเดีย
่ วแบบ
่ น เงียบ*3
โหมดข ับเคลือ
k k k k k k k k k k k k k
ถ่ายภาพต่อเนือ
่ ง
k k k k k k k k k k k k k
แบบเงียบ*3
ตัง้ เวลา k k k k k k k k k k k k k
แฟลชอัตโนมัต ิ k k k k k o
ยิงแสงด ้วยตนเอง k k k k k k k
ปิ ดแฟลช k o k k o k o k k o k o
แฟลชในต ัว
เปิ ด/ปิ ด ลดตาแดง k k k k k k k k
กล้อง
ล็อคแฟลช FE*3
ชดเชยระดับแสงแฟลช
ควบคุมระบบไร ้สาย
ั่
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน
แฟลชภายนอก
การตัง้ ค่าระบบส่วนตัว
ถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW k k k k k k k k k k k k
อ ัตราส่วนภาพ
การควบคุมท ันใจ k k k k k k k k k k k k k
คําแนะนําคุณสมบ ัติ k k k k k k k k k k k k k

355
ั่ ทีใ่ ช ้งานได ้ตามโหมดการถ่ายภาพ
ตารางแสดงฟั งก์ชน

การถ่ายภาพนิง่ ในโหมดการถ่ายภาพสร้างสรรค์
o: ตัง้ ค่าอัตโนมัต ิ k: ผู ้ใช ้สามารถเลือกได ้ : เลือกไม่ได ้/ปิ ดใช ้งาน
่ั
ฟังก์ชน d s f a
การตงค่
ั้ าคุณภาพของภาพทงหมดเลื
ั้ อกได้ k k k k
ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต/ิ อัตโนมัต ิ k k k k
ความไวแสง ISO
ตัง้ ค่าเอง k k k k
ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต/ิ อัตโนมัต ิ k k k k
รูปแบบภาพ
เลือกด ้วยตนเอง k k k k
ถ่ายภาพด้วยลูกเล่นพิเศษ
ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ
เบลอฉากหล ัง
โทนสี
ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์*1*2 k k k k
อัตโนมัต ิ k k k k
ตัง้ ค่าล่วงหน ้า k k k k
สมดุลแสงขาว
กําหนดเอง k k k k
แก ้ไข/ถ่ายคร่อม k k k k
ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ k k k k
แก ้ไขขอบภาพมืด k k k k
แก้ไขความคลาด
เคลือ
่ นของเลนส์ แก ้ไขความคลาดสี k k k k
แก ้ไขความคลาดส่วน k k k k
ลดจุดรบกวนจากการเปิ ดช ัตเตอร์นาน k k k k
ลดจุดรบกวนจากความไวแสง ISO สูง k k k k
เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง k k k k
ถ่ายลดแสงวูบวาบ*3 k k k k
sRGB k k k k
พิก ัดสี
Adobe RGB k k k k
วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ k k k k
โหมดว ัดแสง
การเลือกโหมดวัดแสง k k k k
*1: 1+73 หรือ 1 ไม่สามารถเลือกได ้
*2: ตัง้ ค่าได ้เฉพาะระหว่างการถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW
*3: ใช ้งานได ้เฉพาะระหว่างการถ่ายภาพโดยใช ้ช่องมองภาพ

356
ั่ ทีใ่ ช ้งานได ้ตามโหมดการถ่ายภาพ
ตารางแสดงฟั งก์ชน

่ั
ฟังก์ชน d s f a

การโฟก ัสอ ัตโนม ัติ AF ครัง้ เดียว k k k k


(การถ่ายภาพโดยใช้ AI Servo AF k k k k
ช่องมองภาพ) AI Focus AF k k k k
การโฟก ัสอ ัตโนม ัติ
(การถ่ายภาพแบบ AF ครัง้ เดียว o o o o
Live View)
โหมดเลือกพืน
้ ที่ AF k k k k
เลือกจุด AF k k k k
AF
แสงไฟช่วยปรับโฟกัส k k k k
่ ง*2
AF ต่อเนือ k k k k
การสลับโปรแกรม k
ชดเชยแสง k k k
ระด ับแสง AEB k k k k
ล็อค AE *4
k k k
เช็คระยะชัดลึก k k k k
ถ่ายภาพเดีย
่ ว k k k k
ถ่ายภาพต่อเนื่อง k k k k
โหมดข ับเคลือ
่ น ่ วแบบเงียบ*3
ถ่ายภาพเดีย k k k k
่ งแบบเงียบ*3
ถ่ายภาพต่อเนือ k k k k
ตัง้ เวลา k k k k
แฟลชอัตโนมัต ิ
ยิงแสงด ้วยตนเอง k k k k
ปิ ดแฟลช k k k k
แฟลชในต ัวกล้อง เปิ ด/ปิ ด ลดตาแดง k k k k
ล็อคแฟลช FE k k k k
ชดเชยระดับแสงแฟลช k k k k
ควบคุมระบบไร ้สาย k k k k
ั่
การตัง้ ค่าฟั งก์ชน k k k k
แฟลชภายนอก
การตัง้ ค่าระบบส่วนตัว k k k k
ถ่ายภาพแบบ LIVE VIEW k k k k
อ ัตราส่วนภาพ k k k k
การควบคุมท ันใจ k k k k
คําแนะนําคุณสมบ ัติ k k k k
*4: คุณสามารถตัง้ ความไวแสงคงทีไ่ ด ้ด ้วย ISO อัตโนมัต ิ

357
ั่ ทีใ่ ช ้งานได ้ตามโหมดการถ่ายภาพ
ตารางแสดงฟั งก์ชน

การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
o: ตัง้ ค่าอัตโนมัต ิ k: ผู ้ใช ้สามารถเลือกได ้ : เลือกไม่ได ้/ปิ ดใช ้งาน
ภาพเคลือ
่ นไหว ภาพนิง่

่ั
ฟังก์ชน A 7 C 2 3 4 5 8 d sfa z*1
y k My k M
การตงค่
ั้ าคุณภาพของภาพทงั้
หมดเลือกได้ (ภาพเคลือ
่ นไหว) k k k k k k k k k k k k
การตงค่
ั้ าคุณภาพของภาพ
ทงหมดเลื
ั้ อกได้ (ภาพนิง่ ) k k k

ถ่าย video snapshot k k k k k k k k k k k k


ภาพเคลือ
่ นไหวเอฟเฟคกล้อง
รูเข็ม k k k k k k k k k k k k k*2 k*2 k*2
ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต/ิ
ความไว o o o o o o o o o o o k o o k
อัตโนมัต ิ
แสง ISO
ตัง้ ค่าเอง k k
ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต/ิ
รูปแบบ o o o o o o o o k k k k o k k
อัตโนมัต ิ
ภาพ
เลือกด ้วยตนเอง k k k k k k
อัตโนมัต ิ o o o o o o o o k k k k o k k
ตัง้ ค่าล่วงหน ้า k k k k k k
สมดุล
กําหนดเอง k k k k k k
แสงขาว
แก ้ไข k k k k k k
ถ่ายคร่อม k k
ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ o o o o o o o o k k k k o k k
แก้ไข แก ้ไขขอบภาพมืด k k k k k k k k k k k k k k k
ความคลาด
แก ้ไขความคลาดสี k k k k k k k k k k k k k k k
เคลือ่ นของ
เลนส์ แก ้ไขความคลาดส่วน
ลดจุดรบกวนจากการเปิ ด
ช ัตเตอร์นาน
ลดจุดรบกวนจากความไวแสง
ISO สูง
เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง k k k k k k
sRGB o o o o o o o o o o o o o k k
พิก ัดสี
Adobe RGB k k
*1: ไอคอน z แสดงถึงการถ่ายภาพนิง่ ในระหว่างทีถ
่ า่ ยภาพเคลือ
่ นไหว
*2: ภาพนิง่ จะถูกถ่ายด ้วยเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม
358
ั่ ทีใ่ ช ้งานได ้ตามโหมดการถ่ายภาพ
ตารางแสดงฟั งก์ชน

ภาพเคลือ
่ นไหว ภาพนิง่
่ั
ฟังก์ชน A 7 C 2 3 4 5 8 d sfa z*1
y k My k M
โหมดว ัดแสง
ใบหน ้า+การติดตาม k k k k k k k k k k k k k k k
FlexiZone - Multi k k k k k k k k k k k k k k k
FlexiZone - Single k k k k k k k k k k k k k k k
AF
โฟกัสด ้วยตนเอง
(MF)
k k k k k k k k k k k k k k k

Servo AF ภาพเคลือ่ นไหว k k k k k k k k k k k k k k k


การสลับโปรแกรม
ล็อค AE k k k *3
k *3

ระด ับแสง ชดเชยแสง k k k k


AEB
เช็คระยะชัดลึก
ถ่ายภาพเดีย
่ ว k k k
ถ่ายภาพต่อเนือ
่ ง*4 k k k
โหมดข ับ ถ่ายภาพเดีย
่ วแบบ
เคลือ
่ น เงียบ
การถ่ายภาพต่อ
เนือ
่ งแบบเงียบ
ตัง้ เวลา*4 k k k
แฟลชในต ัวกล้อง
อ ัตราส่วนภาพ
บ ันทึกเสียง k k k k k k k k k k k k
การควบคุมท ันใจ k k k k k k k k k k k k k k k
*3: คุณสามารถตัง้ ความไวแสงคงทีไ่ ด ้ด ้วย ISO อัตโนมัต ิ
*4: ทํางานได ้เฉพาะก่อนคุณเริม
่ ถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวเท่านัน ้

359
แผนผ ังระบบอุปกรณ์

ST-E2 ST-E3-RT 90EX 270EX II 320EX 430EX II 600EX-RT/ Macro Ring Lite Macro Twin Lite
600EX MR-14EX II MT-24EX

ตัวขยายกำลังช่องมองภาพ อุปกรณ์เสริม
ที่ใช้กบ
รุน
่ EP-EX15ll
ั กล้อง

ตัวขยายกำลัง ยางครอบช่อง
รุน
่ MG-Ef มองภาพ Ef

กรอบยาง Ef

สายคล้องคอ
เลนส์ปรับแก้สายตา
ซีรส
่ี ์ E

ช่องมองปรับมุม C

ชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้า AC
รุน
่ ACK-E18
เคสแบบกึ่งแข็ง
รุน
่ EH26-L/EH27-L
แบตเตอรี่แพ็ค แท่นชาร์จแบตเตอรี่
รุน
่ LP-E17 รุน
่ LC-E17E

สายคล้องมือ E2 อะแดปเตอร์ อุปกรณ์


ไฟฟ้า AC ต่อไฟ DC
รุน
่ AC-E6 รุน
่ DR-E18
กริ๊ปแบตเตอรี่
รุน
่ BG-E18

360
แผนผังระบบอุปกรณ์

ตัวรับสัญญาณ GPS ตัวควบคุมรีโมท รีโมทสวิตซ์


รุ่น GP-E2 รุน
่ RC-6 รุน
่ RS-60E3

เลนส์ EF เลนส์ EF-S

ไมโครโฟนภายนอก

สาย HDMI
รุน
่ HTC-100 (2.9 ม./9.5 ฟุต)

สาย AV แบบสเตอริโอ รุน


่ AVC-DC400ST (1.3 ม./4.3 ฟุต) โทรทัศน์/วิดโี อ

Connect Station รุน


่ CS100
EOS DIGITAL
Solution Disk

เครื่องพิมพ์ท่รองรั
ี บ PictBridge
สายเชื่อมต่อ
(1.3 ม./4.3 ฟุต)

สายเชื่อมต่อ รุน
่ IFC-200U/500U
(1.9 ม./6.2 ฟุต) / (4.7 ม./15.4 ฟุต)
พอร์ต USB

เมมโมรี่การ์ด
SD/SDHC/SDXC ตัวอ่านการ์ด คอมพิวเตอร์

ช่องใส่การ์ด

* ความยาวสายทั้งหมดเป็นความยาวโดยประมาณ

361
3 การตงค่
ั้ าเมนู
้ อ
การถ่ายภาพโดยใชช ่ งมองภาพและการถ่ายภาพแบบ Live View
r ถ่ายภาพ 1 (สีแดง) หน ้า
73 / 83 / 74 / 84 / 7a / 8a / b / c /
คุณภาพของภาพ 116
1+73* / 1*
เสียงเตือน เปิ ด / แตะเพือ
่ y / ปิ ด 256
่ ั ช ัตเตอร์ขณะไม่ม ี
ลน
ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 256
การ์ด
ระยะเวลาแสดงภาพ ปิ ด / 2 วินาที / 4 วินาที / 8 วินาที / แสดงภาพค ้างไว ้ 257
แก ้ไขระดับแสงขอบภาพ: ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน
แก้ไขความคลาดเคลือ
่ น
แก ้ไขสีคลาดเคลือ่ น: ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 140
ของเลนส์
้ ว: ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน
แก ้ไขภาพบิดเบีย
เปิ ด/ปิ ด ลดตาแดง ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน 167
ส่องแสงไฟแฟลช / E-TTL II / ความเร็วซิงค์แฟลชใน
โหมด Av / ตัง้ ค่าระบบแฟลชในตัวกล ้อง / ตัง้ ค่า
ควบคุมแฟลช 173
ระบบแฟลชติดตัง้ ภายนอก / ตัง้ ค่า C.Fn ของแฟลช
ภายนอก / ลบการตัง้ ค่า
* ไม่สามารถเลือกได ้ในโหมด <F> และ <G>

s ถ่ายภาพ 2 (สีแดง)
ปรับทีละ 1/3 ระดับ หรือ 1/2 ระดับ, ±5 ระดับ
ชดเชยแสง/AEB 160
(AEB: ±2 ระดับ)
ปร ับแสงเหมาะสม ไม่ใช ้งาน / ตํา่ / มาตรฐาน / สูง
136
อ ัตโนม ัติ ปิ ดใช ้งานเมือ
่ ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง
สมดุลแสงขาวกําหนดเอง การตัง้ ค่าสมดุลแสงขาวด ้วยตนเอง 132
แก ้ไขแสงขาว: ปรับแก ้สมดุลแสงขาว 134
ปร ับ/คร่อมแสงขาว
ตัง้ ค่าการถ่ายคร่อม: การถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว 135
พิก ัดสี sRGB / Adobe RGB 146
Dอัตโนมัต ิ / Pปกติ /Qภาพบุคคล /
รูปแบบภาพ Rภาพวิว /Sภาพเป็ นกลาง / Uภาพตามจริง / 125
Vภาพขาวดํา / Wผู ้ใช ้กําหนด 1-3
q วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ / w วัดแสงบางส่วน /
โหมดว ัดแสง r วัดแสงแบบจุด / 157
e วัดแสงเฉลีย
่ หนักกลางภาพ

ตัวเลือกเมนูซงึ่ เป็ นสีเทาจะไม่แสดงในโหมดการถ่ายภาพพืน


้ ฐาน

362
3 การตัง้ ค่าเมนู

t ถ่ายภาพ 3 (สีแดง) หน ้า
เก็ บข้อมูลลบภาพฝุ่น ่ อฟต์แวร์ EOS จะใช ้เพือ
รับข ้อมูลทีซ ่ ลบจุดผงฝุ่ น 272
ISO สูงสุด 400, ISO สูงสุด 800, ISO สูงสุด 1600,
ISO อ ัตโนม ัติ 123
ISO สูงสุด 3200, ISO สูงสุด 6400
ลดจุดรบกวนจากการ
ปิ ด / อัตโนมัต ิ / เปิ ด 138
เปิ ดช ัตเตอร์นาน
ลดจุดรบกวนจากความ ไม่ใช ้งาน / ตํา่ / มาตรฐาน / สูง /
137
ไวแสง ISO สูง ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ
อ ัตราส่วนภาพ 3:2 / 4:3 / 16:9 / 1:1 120
ถ่ายลดแสงวูบวาบ ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน 144

i ถ่ายภาพแบบ Live View (สีแดง)


ถ่ายภาพแบบ LIVE
ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 193
VIEW
u+การติดตาม / FlexiZone - Multi /
วิธโี ฟก ัสอ ัตโนฯ 206
FlexiZone - Single
AF ต่อเนือ
่ ง ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 204
ช ัตเตอร์แบบแตะ ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน 214
แสดงตาราง ไม่แสดง / ตาราง 1l / ตาราง 2m 204
4 วินาที / 8 วินาที / 16 วินาที / 30 วินาที / 1 นาที /
ระยะเวลาว ัดแสง 205
10 นาที / 30 นาที

1 ดูภาพ 1 (สีนํ้าเงิน)
ป้องก ันภาพ ป้ องกันภาพ 302
หมุนภาพ หมุนภาพ 283
ลบภาพ ลบภาพ 304
สง่ ั พิมพ์ กําหนดภาพทีจ
่ ะพิมพ์ (DPOF) 329
ตงค่
ั้ าโฟโต้บค
ุ๊ ่ ้องการใช ้ทําโฟโต ้บุค
กําหนดภาพทีต ๊ 333
ภาพหยาบ ขาว/ดํา / ซอฟต์โฟกัส / เอฟเฟคเลนส์ตาปลา /
ฟิ ลเตอร์สร้างสรรค์ ลูกเล่นศิลปะคมเข ้ม / ลูกเล่นภาพสีนํ้า / 312
ลูกเล่นกล ้องของเล่น / เอฟเฟคกล ้องรูเข็ม
ปร ับขนาดภาพ ลดขนาดจํานวนพิกเซลของภาพ JPEG 315

363
3 การตัง้ ค่าเมนู

2 ดูภาพ 2 (สีนํ้าเงิน) หน ้า
ต ัดภาพ ครอบตัดบางส่วนของภาพ 317
คะแนน [OFF] / l / m / n / o / p 284

สไลด์โชว์ คําอธิบายการเล่นภาพ / ระยะเวลาทีเ่ ล่น / เล่นซํ้า / 294


ลูกเล่นเปลีย
่ นภาพ / ดนตรีฉากหลัง
1 ภาพ / 10 ภาพ / 100 ภาพ / วันที่ / โฟลเดอร์ /
ข้ามภาพด้วยปุ่ม 6 279
ภาพเคลือ ่ นไหว / ภาพนิง่ / คะแนน
แสดงจุด AF ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน 309
ฮิสโตแกรม ความสว่าง / RGB 310
ควบคุมผ่าน HDMI ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน 299

4 ตงค่
ั้ า 1 (สีเหลือง)
เลือกโฟลเดอร์ สร ้างและเลือกโฟลเดอร์ 259
หมายเลขไฟล์ภาพ ่ ง / รีเซ็ตอัตโนมัต ิ / ผู ้ใช ้รีเซ็ตเอง
ต่อเนือ 261
หมุนภาพอ ัตโนม ัติ เปิ ดzD / เปิ ดD / ปิ ด 265
ฟอร์แมตการ์ด เตรียมและลบข ้อมูลในการ์ด 59
ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน
Wi-Fi/NFC
่ มต่อ NFC
อนุญาตการเชือ
ถ่ายโอนภาพระหว่างกล ้อง / เชือ ่ มต่อกับสมาร์ทโฟน / -*
่ ั Wi-Fi
ฟังก์ชน พิมพ์จากเครือ
่ งพิมพ์ Wi-Fi / อัปโหลดไปยังบริการบนเวป /
ดูภาพบนอุปกรณ์ DLNA
การตงค่
ั้ า Eye-Fi แสดงเมือ
่ มีการใส่การ์ด Eye-Fi ทีม
่ จ
ี ําหน่ายทั่วไป 352
* สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ื การใช ้งานฟั งก์ชน
ู่ อ ั่ Wi-Fi/NFC บน CD-ROM

364
3 การตัง้ ค่าเมนู

6 ตงค่
ั้ า2 (สีเหลือง) หน ้า
30 วินาที / 1 นาที / 2 นาที / 4 นาที / 8 นาที /
ปิ ดสวิตซ์อ ัตโนม ัติ 257
15 นาที / ไม่ใช ้งาน
ความสว่างจอ LCD ปรับความสว่าง (เจ็ดระดับ) 258
ปุ่ม ปิ ด/เปิ ด LCD ปุ่ มชัตเตอร์ / ชัตเตอร์/T / เปิ ดค ้างไว ้ 270
วันที่ (ปี , เดือน, วัน) / เวลา (ชัว่ โมง, นาที, วินาที) /
ว ันที/
่ เวลา/โซน 42
การปรับเวลาในฤดูร ้อน / ไทม์โซน
ภาษาK เลือกภาษาทีใ่ ช ้แสดง 44
แสดงตาราง: ซ่อน / แสดง 62
การแสดงช่องมองภาพ
การตรวจจับแสงวูบวาบ: แสดง / ซ่อน 63
ใช ้การตัง้ ค่าได ้เมือ
่ ติดตัวรับสัญญาณ GPS รุน
่ GP-E2
การตงค่
ั้ าอุปกรณ์ GPS -
(แยกจําหน่าย)

 เมือ่ ใช ้ฟั งก์ชน ั่ Wi-Fi หรืออุปกรณ์ GPS กรุณาตรวจสอบประเทศหรือพืน ้ ทีท่ ี่


สามารถใช ้งานได ้ และใช ้อุปกรณ์อย่างถูกต ้องตามกฎหมายหรือข ้อกําหนดของ
ประเทศหรือภูมภ ิ าคนัน ้
 ไม่สามารถตัง้ ค่า [Wi-Fi/NFC] ได ้หากกล ้องเชือ ่ มต่ออยูก ่ บ ั คอมพิวเตอร์ เครือ ่ ง
พิมพ์ ตัวรับสัญญาณ GPS เครือ ่ งรับโทรทัศน์ หรืออุปกรณ์อน ื่ ๆ ด ้วยสายเชือ ่ มต่อ
เมือ
่ ตัง้ ค่า [Wi-Fi/NFC] เป็ น [ใช้งาน] คุณจะไม่สามารถเชือ ่ มต่อกล ้องกับ
อุปกรณ์ทก ี่ ล่าวมาข ้างต ้นด ้วยสายเชือ ่ มต่อ
 เมือ ่ มต่อกล ้องนีก
่ เชือ ้ บั ตัวรับสัญญาณ GPS รุน ่ GP-E2 ด ้วยสายเชือ ่ มต่อ ให ้
อัพเดทโปรแกรมควบคุมของรุน ่ GP-E2 เป็ น Ver.2.0.0 หรือใหม่กว่า หากใช ้
โปรแกรมรุน ่ เก่ากว่านี้ คุณจะไม่สามารถใช ้งานกล ้องนีก ้ บ
ั รุน
่ GP-E2 ทีเ่ ชือ ่ มต่อผ่าน
สายได ้ โปรดทราบว่ารุน ่ GP-E2 สามารถใช ้งานได ้โดยติดเข ้ากับช่องเสียบแฟลช
ภายนอกของกล ้อง
สําหรับวิธก ี ารอัพเดทโปรแกรมควบคุมระบบ โปรดดูจากเวปไซต์แคนนอนหรือ
ติดต่อศูนย์บริการของแคนนอนทีใ่ กล ้ทีส ่ ด

365
3 การตัง้ ค่าเมนู

7 ตงค่
ั้ า 3 (สีเหลือง) หน ้า
สีหน้าจอ เลือกสีหน ้าจอตัง้ ค่าการถ่ายภาพ 270
คําแนะนําคุณสมบ ัติ ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 64
แบบส ัมผ ัส มาตรฐาน / ไว / ไม่ใช ้งาน 58
ข้อมูลแบตเตอรี่ ประจุทเี่ หลืออยู่ / ประสิทธิภาพในการชาร์จ 348
ทํางานอัตโนมัต:ิ ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน
271
ทําความสะอาดเซนเซอร์ ทําความสะอาดเดีย๋ วนี้
ทําความสะอาดด ้วยตนเอง 274
ระบบวิดโี อ NTSC / PAL 298

C ตงค่
ั้ า 4 (สีเหลือง)
ร ับรองการแสดงโลโก้ แสดงบางโลโก ้รับรองของกล ้อง 347
ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว ั่ ของกล ้องดังทีต
กําหนดฟั งก์ชน ่ ้องการ 338
(C.Fn)
แสดงข ้อมูลลิขสิทธิ์ /
่ ผู ้สร ้างสรรค์ /
ป้ อนชือ
ข้อมูลลิขสิทธิ์ 263
ป้ อนรายละเอียดลิขสิทธิ์ /
ลบข ้อมูลลิขสิทธิ์
ลบการตัง้ ค่ากล ้องทัง้ หมด /
ลบการตงค่
ั้ า 267
ลบการตัง้ ค่าระบบส่วนตัว(C.Fn)ทัง้ หมด
zโปร.คุมระบบรุน
่ * สําหรับอัพเดทโปรแกรมควบคุมระบบ -
* ระหว่างการอัพเดทโปรแกรมควบคุมระบบ หน ้าจอสัมผัสจะถูกปิ ดใช ้งานเพือ
่ ป้ องกันการ
ทํางานโดยไม่ได ้ตัง้ ใจ

่ นต ัว (สีเขียว)
9 เมนูสว
ตงค่ ่ นต ัว
ั้ าเมนูสว บันทึกตัวเลือกเมนูทใี่ ช ้บ่อยและการตัง้ ค่าระบบส่วนตัว 346

366
3 การตัง้ ค่าเมนู

k การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
r ถ่ายภาพ 1 (สีแดง) หน ้า
73 / 83 / 74 / 84 / 7a / 8a / b / c /
คุณภาพของภาพ 116
1+73 / 1
เสียงเตือน เปิ ด / แตะเพือ
่ y / ปิ ด 256
่ ั ช ัตเตอร์ขณะไม่ม ี
ลน ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 256
การ์ด
ระยะเวลาแสดงภาพ ปิ ด / 2 วินาที / 4 วินาที / 8 วินาที / แสดงภาพค ้างไว ้ 257
่ น แก ้ไขระดับแสงขอบภาพ: ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน
แก้ไขความคลาดเคลือ
140
ของเลนส์ ่ น: ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน
แก ้ไขสีคลาดเคลือ

s ถ่ายภาพ 2 (สีแดง)
ชดเชยแสง ปรับทีละ 1/3 ระดับ หรือ 1/2 ระดับ, ±3 ระดับ 160
ปร ับแสงเหมาะสม ไม่ใช ้งาน / ตํา่ / มาตรฐาน / สูง
136
อ ัตโนม ัติ ปิ ดใช ้งานระหว่างตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง
สมดุลแสงขาวกําหนด
การตัง้ ค่าสมดุลแสงขาวด ้วยตนเอง 132
เอง
แก ้ไขแสงขาว: ปรับแก ้สมดุลแสงขาว 134
ปร ับ/คร่อมแสงขาว
ตัง้ ค่าการถ่ายคร่อม: การถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว 135
พิก ัดสี sRGB / Adobe RGB 146
Dอัตโนมัต ิ / Pปกติ /
Qภาพบุคคล / Rภาพวิว /
รูปแบบภาพ 125
Sภาพเป็ นกลาง / Uภาพตามจริง /
Vภาพขาวดํา / Wผู ้ใช ้กําหนด 1-3

 ตัวเลือกเมนูซงึ่ เป็ นสีเทาจะไม่แสดงในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน


 แท็บเมนูและตัวเลือกทีแ ่ สดงจะแตกต่างกันไประหว่างการถ่ายภาพโดยใช ้ช่องมอง
ภาพ/การถ่ายภาพแบบ Live View และการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว โปรดทราบว่า
แท็บเมนูและตัวเลือกทีแ ่ สดงใน [x1] ดูภาพ 1, [x2] ดูภาพ 2, [51] ตัง้ ค่า 1
ถึง [54] ตัง้ ค่า 4 และ [9] เมนูสว่ นตัวจะเหมือนกันกับทีแ ่ สดงในการถ่ายภาพ
โดยใช ้ช่องมองภาพ/การถ่ายภาพแบบ Live View (น.363-366)
 แท็บเมนู [Z1] และ [Z2] จะปรากฏขึน ้ ในการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวเท่านัน

367
3 การตัง้ ค่าเมนู

t ถ่ายภาพ 3 (สีแดง) หน ้า
เก็บข้อมูลลบภาพฝุ่น ่ อฟต์แวร์ EOS จะใช ้เพือ
รับข ้อมูลทีซ ่ ลบจุดผงฝุ่ น 272

v ภาพเคลือ
่ นไหว 1 (สีแดง)
u+การติดตาม / FlexiZone - Multi /
วิธโี ฟก ัสอ ัตโนฯ 248
FlexiZone - Single
Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน 248
ใช้ป่ มช
ุ ัตเตอร์หา AF
ขณะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว AF ครัง้ เดียว / ไม่ใช ้งาน 250
k
แสดงตาราง ไม่แสดง / ตาราง 1l / ตาราง 2m 250
4 วินาที / 8 วินาที / 16 วินาที / 30 วินาที / 1 นาที /
ระยะเวลาว ัดแสง 250
10 นาที / 30 นาที

w ภาพเคลือ
่ นไหว 2 (สีแดง)
• 1920x1080 / 1280x720 / 640x480
ขนาดการบ ันทึกภาพ • NTSC: 59.94p / 29.97p / 23.98p
233
เคลือ
่ นไหว PAL: 50.00p / 25.00p
• มาตรฐาน / อ่อน
บันทึกเสียง: อัตโนมัต ิ / ตัง้ เอง / ไม่ใช ้งาน
ระดับเสียง
บ ันทึกเสียง* 251
ลดเสียงลม: อัตโนมัต ิ / ไม่ใช ้งาน
ลดระดับเสียง: ไม่ใช ้งาน / ใช ้งาน
ถ่าย video snapshot: ใช ้งาน / ไม่ใช ้งาน
การตัง้ ค่าอัลบัม
้ : สร ้างอัลบัม
้ ใหม่ /
ถ่าย video snapshot 238
เพิม
่ ไปยังอัลบัม ้ ทีม
่ อ
ี ยู่
แสดงข ้อความยืนยัน: ใช ้งาน/ไม่ใช ้งาน
* ในโหมดการถ่ายภาพพืน
้ ฐาน [บ ันทึกเสียง] จะถูกตัง้ เป็ น [เปิ ด/ปิ ด]

368
ข้อแนะนําในการแก้ไขปัญหา
หากประสบปั ญหาในการใช ้กล ้อง ให ้อ ้างอิงข ้อแนะนํ าในการแก ้ปั ญหานีก
้ อ
่ น
หากข ้อแนะนํ าในการแก ้ปั ญหานีไ
้ ม่สามารถแก ้ไขปั ญหาได ้ โปรดติดต่อตัวแทน
จําหน่ายของคุณหรือศูนย์บริการของแคนนอนใกล ้บ ้าน

ปัญหาเกีย
่ วก ับพล ังงาน

ไม่สามารถชาร์จแบตเตอรีแ
่ พ็คได้
 ห ้ามใช ้แบตเตอรีแ
่ พ็ครุน
่ อืน
่ ๆ นอกเหนือจากแบตเตอรีแ
่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ของแท ้

ไฟแสดงสถานะของแท่นชาร์จกะพริบ
 หาก (1) แท่นชาร์จแบตเตอรีห ่ รือแบตเตอรีแ ่ พ็คมีปัญหา (2) การอ่านข ้อมูล
แบตเตอรีแ ่ พ็คล ้มเหลว (กับแบตเตอรีแ่ พ็คทีไ่ ม่ใช่ของแคนนอน) ระบบการ
ป้ องกันจะทําการหยุดชาร์จและหลอดไฟของแท่นชาร์จจะกะพริบเป็ นสีส ้ม ใน
กรณีท ี่ (1) ให ้ถอดปลั๊กของแท่นชาร์จออกจากเต ้ารับ เอาแบตเตอรีแ ่ พ็คออก
แล ้วใส่กลับไปเข ้าไปในแท่นชาร์จใหม่อก ี ครัง้ รอสักครู่ จากนั น
้ เสียบปลั๊กเข ้า
กับเต ้ารับอีกครัง้ หากยังคงมีปัญหาอยู่ ให ้ติดต่อตัวแทนจําหน่ายของคุณหรือ
ศูนย์บริการของแคนนอนทีใ่ กล ้ทีส ่ ด

ตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องเป็น <1>


กล้องไม่ทํางานแม้ตงสวิ
ั้
 ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าใส่แบตเตอรีล่ งในกล ้องอย่างถูกต ้อง (น.36)
 ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าปิ ดฝาช่องใส่แบตเตอรีเ่ รียบร ้อยแล ้ว (น.36)
 ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าปิ ดฝาครอบช่องใส่การ์ดเรียบร ้อยแล ้ว (น.37)
 ชาร์จแบตเตอรีอ
่ ก
ี ครัง้ (น.34)
 กดปุ่ ม <T> (น.61)

ตซเ์ ปิ ด/ปิ ดกล้องเป็น <2>


ไฟแสดงสถานะย ังคงกะพริบแม้ตงสวิ
ั้
 หากปิ ดกล ้องขณะกําลังบันทึกภาพไปยังการ์ด ไฟแสดงสถานะจะยังคงสว่าง/
กะพริบต่อไปอีกสักครู่ เมือ ้ แล ้ว กล ้องจะปิ ดโดยอัตโนมัต ิ
่ บันทึกภาพเสร็จสิน

369
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

[การสือ่ สารแบตเตอรีข ่ แี้ สดงโลโก้ Canon หรือไม่] แสดงขึน


่ ัดข้อง แบตเตอรีน ้
 ห ้ามใช ้แบตเตอรีแ
่ พ็ครุน
่ อืน
่ ๆ นอกเหนือจากแบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 ของแท ้
 ถอดแบตเตอรีอ ่ อกแล ้วใส่กลับเข ้าไปใหม่อก
ี ครัง้ (น.36)
 หากขัว้ ของแบตเตอรีไ่ ม่สะอาด ให ้ทําความสะอาดด ้วยผ ้านุ่ม

พล ังงานแบตเตอรีห
่ มดลงอย่างรวดเร็ว
 ใช ้แบตเตอรีท ่ ช ี่ าร์จจนเต็ม (น.34)
 ประสิทธิภาพของแบตเตอรีอ ่ าจลดลง โปรดดู [53: ข้อมูลแบตเตอรี]่ เพือ ่
ตรวจสอบระดับของประสิทธิภาพในการชาร์จของแบตเตอรี่ (น.348) หาก
ประสิทธิภาพของแบตเตอรีต ่ ํา่ ให ้เปลีย ่ นแบตเตอรีแ ่ พ็คใหม่
 ประสิทธิภาพการทํางานของแบตเตอรีแ ่ บบชาร์จพลังใหม่ได ้จะลดลงเมือ่ ใช ้ซํา้
ควรซือ ้ แบตเตอรีก ่ ้อนใหม่
 จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้จะลดลงเมือ ่ ใช ้การทํางานใดๆ ต่อไปนี:้
• กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ เป็ นระยะเวลานาน
• เปิ ดใช ้ระบบโฟกัสอัตโนมัตบ ิ อ
่ ยๆ โดยไม่มก ี ารถ่ายภาพ
• การใช ้ระบบลดภาพสัน ่ ของเลนส์
• การใช ้จอ LCD บ่อยๆ
• ใช ้การถ่ายภาพแบบ Live View หรือการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวอย่างต่อเนือ
่ ง
เป็ นระยะเวลานาน
• ฟั งก์ชนั่ อ่านข ้อมูลการ์ด Eye-Fi ทํางานอยู่

กล้องจะปิ ดเครือ
่ งเอง
 ระบบปิ ดสวิตซ์อัตโนมัตก ิ ําลังทํางาน หากคุณไม่ต ้องการให ้ระบบปิ ดสวิตซ์
อัตโนมัตท ิ ํางาน ให ้ตัง้ ค่า [52: ระบบปิ ดสวิตช์อ ัตโนม ัติ] เป็ น [ไม่ใช้งาน]
(น.257)
 แม ้ว่าจะตัง้ ค่า [52: ระบบปิ ดสวิตช์อ ัตโนม ัติ] ไว ้เป็ น [ไม่ใช้งาน] จอ LCD
จะยังคงปิ ดเมือ ่ ไม่ได ้ใช ้งานครบ 30 นาที (ไม่ปิดกล ้อง) ให ้กดปุ่ ม <T>
เพือ
่ เปิ ดจอ LCD

370
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

ปัญหาเกีย
่ วก ับการถ่ายภาพ

ไม่สามารถติดเลนสไ์ ด้
 กล ้องไม่สามารถใช ้กับเลนส์ EF-M ได ้ (น.45)

ช่องมองภาพมืด
 ใส่แบตเตอรีแ ่ าร์จเต็มแล ้วลงในกล ้อง (น.34)
่ พ็คทีช

ไม่สามารถถ่ายภาพหรือบ ันทึกภาพได้
 ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าใส่การ์ดอย่างถูกต ้อง (น.37)
 เลือ
่ นสวิตซ์ป้องกันการบันทึกของการ์ดไปทีต ่ ําแหน่งเขียน/ลบ (น.37)
 หากการ์ดเต็ม ให ้เปลีย ่ นแผ่นการ์ดหรือลบภาพทีไ่ ม่จําเป็ นทิง้ เพือ
่ ให ้มีทวี่ า่ ง
(น.37, 304)
 หากคุณพยายามจับโฟกัสในโหมด AF ครัง้ เดียวและตัวแสดงการโฟกัส <o>
ในช่องมองภาพกะพริบ คุณจะไม่สามารถถ่ายภาพได ้ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่
หนึง่ อีกครัง้ เพือ
่ โฟกัสใหม่โดยอัตโนมัต ิ หรือโฟกัสด ้วยตนเอง (น.50, 111)

ไม่สามารถใชง้ านการ์ดได้
 หากมีข ้อความแสดงข ้อผิดพลาดของการ์ดแสดงขึน
้ โปรดูหน ้า 37 หรือ 382

ภาพหลุดโฟก ัส
 ปรับสวิตซ์เลือกโหมดโฟกัสของเลนส์ไปที่ <AF> (น.45)
 กดปุ่ มชัตเตอร์อย่างเบามือเพือ ่ (น.49-50)
่ ป้ องกันไม่ให ้กล ้องสัน
 หากเลนส์มรี ะบบลดภาพสัน ่ ให ้ปรับสวิตซ์ของ IS ไปที่ <1>
 ความเร็วชัตเตอร์อาจลดลงเมือ ่ อยูใ่ นสภาวะแสงน ้อย ใช ้ความเร็วชัตเตอร์ทส
ี่ งู
ขึน
้ (น.150) ปรับความไวแสง ให ้สูงขึน ้ (น.122) เปิ ดแฟลช (น.166) หรือใช ้
ขาตัง้ กล ้อง

371
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

ไม่สามารถล็อคโฟก ัสและจ ัดองค์ประกอบภาพได้


 ปรับการโฟกัสอัตโนมัตไิ ปที่ AF ครัง้ เดียว การล็อคโฟกัสไม่สามารถทําได ้เมือ

ใช ้ AI Servo AF หรือเมือ
่ Servo กําลังทํางานขณะใช ้งานโหมด AI Focus AF
(น.100)

ปรากฏน๊อยสเ์ ป็นเสน
้ หรือลายคลืน
่ ในภาพ
 น๊อยส์เป็ นเส ้นหรือลายคลืน ่ อาจถูกบันทึกลงในภาพโดยขึน ้ อยูก
่ บ
ั วัตถุ มีแนว
โน ้มทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณีตอ ่ ไปนี้
• การถ่ายภาพลายเส ้นแนวนอนทีล ่ ะเอียด รูปแบบตาข่าย ฯลฯ
• เมือ
่ มีแหล่งแสงทีส ่ ว่างจ ้า เช่น แสงอาทิตย์หรือแสงสว่างภายในหรือ ใกล ้
ขอบเขตการถ่ายภาพ
ในกรณีนี้ น๊อยส์และลายคลืน ่ อาจลดน ้อยลงได ้ด ้วยวิธก ี ารต่อไปนี้
• เปลีย่ นขนาดของวัตถุโดยการเปลีย ่ นระยะโฟกัสหรือกําลังขยายการซูม
• จัดองค์ประกอบภาพใหม่เพือ ่ ป้ องกันแหล่งแสงทีส ่ ว่างจ ้าไม่ให ้เข ้ามาใน
ขอบเขตการถ่ายภาพ
• สวมเลนส์ฮด ู เพือ
่ ป้ องกันแสงทีส ่ ว่างจ ้าไม่ให ้เข ้าสูเ่ ลนส์
 หากคุณใช ้เลนส์ TS-E ชิฟท์หรือทิลท์ น๊อยส์เป็ นเส ้นหรือลายคลืน ่ อาจถูก
บันทึกลงในภาพ

้ ลายทางแนวนอน หรือค่าแสงหรือโทนสีดผ
เกิดเสน ู ด ้ น
ิ เพีย
 เส ้นลายทางแนวนอน (น๊อยส์) หรือค่าแสงทีไ่ ม่สมํา่ เสมออาจเกิดจากแสงไฟ
ฟลูออเรสเซนต์ แสงไฟ LED หรือแหล่งแสงอืน ่ ๆ ขณะถ่ายภาพผ่านช่องมอง
ภาพหรือถ่ายภาพแบบ Live View และอาจส่งผลให ้ค่าแสงหรือโทนสีออกมา
้ น อาจแก ้ปั ญหาได ้ด ้วยการใช ้ความเร็วชัตเตอร์ทต
ผิดเพีย ี่ ํา่

372
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

่ งชา้
ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ
 ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจช ้าลง ทัง้ นีข
้ น
ึ้ อยูก
่ บั ชนิดของเลนส์ ความ
เร็วชัตเตอร์ ค่ารูรับแสง สภาพวัตถุ ความสว่าง ฯลฯ
 หากคุณตัง้ ค่า [z3: ถ่ายลดแสงวูบวาบ] ไว ้เป็ น [ใช้งาน] และคุณถ่ายภาพ
ภายใต ้แหล่งแสงวูบวาบ ความเร็วในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจลดลงเล็กน ้อย
หรือช่วงเวลาในการถ่ายภาพต่อเนือ ่ งอาจผิดปกติ และช่วงเวลาก่อนลั่นชัตเตอร์
ได ้อีกครัง้ อาจนานกว่าปกติเล็กน ้อย (น.144)
 หากคุณตัง้ ค่า [ภาพบิดเบีย ้ ว] เป็ น [ใช้งาน] ความเร็วในการถ่ายภาพต่อ
เนือ
่ งจะลดลง (น.141)

จํานวนภาพต่อเนือ
่ งสูงสุดขณะถ่ายภาพต่อเนือ
่ งลดลง
 หากคุณถ่ายภาพวัตถุทมี่ รี ายละเอียดสูง เช่น สนามหญ ้า ไฟล์ภาพจะมีขนาด
ใหญ่ขน
ึ้ และจํานวนภาพต่อเนือ ่ งสูงสุดอาจลดลงจากจํานวนทีร่ ะบุในหน ้า 117

ไม่สามารถตงค่
ั้ า ISO 100 ได้
 ภายใต ้ [54: ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพ
บริเวณสว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน] ไม่สามารถตัง้ ค่า ISO 100 ได ้ หากคุณตัง้ ค่า
[0: ไม่ใช้งาน] จึงจะสามารถใช ้งาน ISO 100 ได ้ (น.339) ซึง่ ปรับใช ้กับ
การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวด ้วยเช่นกัน (น.226)

ไม่สามารถตงค่
ั้ าความไวแสง ISO [H] (เทียบเท่า ISO 25600)
 ภายใต ้ [54: ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพ
บริเวณสว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน] จะไม่สามารถเลือกความไวแสง [H] (เทียบ
เท่า ISO 25600) ได ้แม ้ว่าตัง้ ค่า [2: ขยายความไวแสง ISO] ไว ้เป็ น
[1: เปิ ด] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพบริเวณสว่าง] เป็ น [0: ไม่ใช้งาน]
จึงจะสามารถตัง้ ค่า [H] ได ้ (น.339)

ไม่สามารถตงค่
ั้ าการปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติได้
 ภายใต ้ [54: ตงค่ ั้ าระบบส่วนต ัว (C.Fn)] หากตัง้ ค่า [3: เน้นโทนภาพ
บริเวณสว่าง] เป็ น [1: ใช้งาน] จะไม่สามารถตัง้ ค่าการปรับแสงเหมาะสม
อัตโนมัตไิ ด ้ หากตัง้ ค่าเป็ น [0: ไม่ใช้งาน] จึงจะสามารถตัง้ ค่าการปรับแสง
เหมาะสมอัตโนมัตไิ ด ้ (น.339)

373
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

แม้วา
่ จะปร ับลดการชดเชยแสง ภาพทีอ
่ อกมาย ังสว่างอยู่
 ตัง้ ค่า [z2: ปร ับแสงเหมาะสมอ ัตโนม ัติ] เป็ น [ไม่ใช้งาน] เมือ
่ ตัง้ ค่าเป็ น
[ตํา่ ], [มาตรฐาน] หรือ [สูง] แม ้ว่าคุณจะปรับลดการชดเชยแสงหรือลด
ชดเชยระดับแสงแฟลช ภาพทีอ ่ อกมายังอาจสว่างอยู่ (น.136)

เมือ ้ ฟลชในโหมด <f> ความเร็วชตเตอร์


่ ใชแ ั จะชา้ ลง
 หากคุณถ่ายภาพในเวลากลางคืนทีม ่ ฉี ากหลังมืด ความเร็วชัตเตอร์จะช ้าลงโดย
อัตโนมัต ิ (ถ่ายภาพแบบซิงค์ช ้า) เพือ ่ ให ้กล ้องเก็บภาพวัตถุและฉากหลังได ้
อย่างสมบูรณ์ เพือ ่ ป้ องกันการใช ้ความเร็วชัตเตอร์ตํา่ ใน [z1: ควบคุม
แฟลช] ให ้ตัง้ ค่า [ความเร็ วซิงค์แฟลชในโหมด Av] เป็ น [1/200-1/60
วินาที อ ัตโนม ัติ] หรือ [1/200 วินาที (คงที)่ ] (น.174)

้ เอง
แฟลชในต ัวกล้องยกขึน
 ในโหมดการถ่ายภาพ (<A> <C> <2> <4> <C> <6>) ซึง่ การ
ตัง้ ค่าเริม
่ ต ้นเป็ น <a> (แฟลชอัตโนมัต)ิ แฟลชในตัวกล ้องจะถูกยกขึน ้ โดย
อัตโนมัตเิ มือ ่ จําเป็ น
 ในโหมด <x> และ <G> เมือ ่ คุณกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ภายใต ้สภาวะ
แสงน ้อย แฟลชในตัวกล ้องอาจยกขึน ้ โดยอัตโนมัตแ ิ ละยิงแสงไฟช่วยปรับ
โฟกัสออกมา

แฟลชในต ัวกล้องไม่ทํางาน
 หากคุณใช ้แฟลชในตัวกล ้องบ่อยภายในช่วงระยะเวลาสัน
้ ๆ แฟลชอาจไม่ทํา
งานสักพักเพือ
่ ปกป้ องตัวยิงแสง

374
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

แฟลชม ักจะยิงแสงเต็มกําล ังไฟ


 หากคุณใช ้แฟลชตัวอืน ี่ ์ EX แฟลชจะยิงแสงเต็ม
่ นอกเหนือจาก Speedlite ซีรส
กําลังไฟ (น.172)
 ภายใต ้ [z1: ควบคุมแฟลช] หาก [โหมดว ัดแสงแฟลช] ใน [ตงค่ ั้ า C.Fn
ของแฟลชภายนอก] ถูกตัง้ ค่าเป็ น [ว ัดแสงแฟลช TTL] (แฟลชอัตโนมัต)ิ
แฟลชจะยิงแสงเต็มกําลังไฟเสมอ (น.178)

ไม่สามารถตงค่ ํ หร ับ Speedlite ภายนอก


ั้ าชดเชยระด ับแสงแฟลชสา
 หากตัง้ ค่าชดเชยระดับแสงแฟลชกับ Speedlite ภายนอกแล ้ว จะไม่สามารถตัง้
ค่าชดเชยระดับแสงแฟลชด ้วยกล ้องได ้ เมือ่ ยกเลิกชดเชยระดับแสงแฟลชของ
Speedlite ภายนอก (ตัง้ เป็ น 0) จึงจะสามารถตัง้ ค่าชดเชยระดับแสงแฟลชด ้วย
กล ้องได ้

ไม่สามารถตงค่
ั้ าซิงค์แฟลชความเร็วสูงในโหมด <f> ได้
 ใน [z1: ควบคุมแฟลช] ให ้ตัง้ ค่า [ความเร็ วซิงค์แฟลชในโหมด Av]
เป็ น [อ ัตโนม ัติ] (น.174)

กล้องมีเสียงเล็กน้อยเมือ
่ ถูกเขย่า
 อาจได ้ยินเสียงเล็กน ้อยหากกลไกภายในของกล ้องขยับ


ชตเตอร์
สง่ เสียงถ่ายภาพสองครงในขณะถ่
ั้ ายภาพแบบ Live View
 หากคุณใช ้แฟลช ชัตเตอร์จะดังสองครัง้ ทุกครัง้ ทีถ
่ า่ ยภาพ (น.193)

375
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

ระหว่างการถ่ายภาพแบบ Live View หรือการถ่ายภาพเคลือ


่ นไหว
จะแสดงไอคอน <s> สีขาวหรือ <E> สีแดง
 ไอคอนนีแ ้ สดงว่าอุณหภูมภิ ายในตัวกล ้องเพิม
่ สูง หากแสดงไอคอนสีขาว
<s> คุณภาพของภาพนิง่ อาจลดลง หากแสดงไอคอนสีแดง <E> บ่งบอก
ว่าอีกไม่นานจะสิน้ สุดการถ่ายภาพแบบ Live View และการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
โดยอัตโนมัต ิ (น.218, 253)

การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหวหยุดลงเอง
 หากความเร็วในการเขียนของการ์ดตํา่ การถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวอาจหยุดลงโดย
อัตโนมัต ิ ให ้ใช ้การ์ดในระดับ SD Speed Class 6 “ ” หรือสูงกว่านั น

หากต ้องการตรวจสอบความเร็วในการอ่าน/การเขียนของการ์ด โปรดดูข ้อมูล
จากเวปไซต์ของผู ้ผลิตการ์ด ฯลฯ
 หากเวลาในการถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวถึง 29 นาที 59 วินาที การถ่ายภาพเคลือ ่ น
ไหวจะหยุดลงโดยอัตโนมัต ิ

ไม่สามารถตงค่ ํ หร ับการถ่ายภาพเคลือ
ั้ าความไวแสง ISO สา ่ นไหวได้
 ในโหมดการถ่ายภาพนอกเหนือจาก <a> ความไวแสง ISO จะถูกปรับโดย
อัตโนมัต ิ ในโหมด <a> คุณจะสามารถตัง้ ค่าความไวแสง ISO ได ้เอง (น.226)

การเปิ ดร ับแสงเปลีย
่ นไประหว่างถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
 หากคุณเปลีย ่ นความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรับแสงระหว่างถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว
ความเปลีย ่ นแปลงในการเปิ ดรับแสงอาจถูกบันทึก
 การปรับการซูมของเลนส์ระหว่างถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว อาจทําให ้เกิดความ
เปลีย
่ นแปลงในการเปิ ดรับแสง ไม่วา่ ค่ารูรับแสงกว ้างสุดของเลนส์จะเปลีย่ น
หรือไม่ก็ตาม ส่งผลให ้ความเปลีย ่ นแปลงของการเปิ ดรับแสงอาจถูกบันทึก

ว ัตถุในภาพดูบด ้ วขณะถ่ายภาพเคลือ
ิ เบีย ่ นไหว
 หากคุณขยับกล ้องไปทางซ ้ายหรือขวาอย่างรวดเร็ว (แพนกล ้องด ้วยความเร็วสูง)
หรือถ่ายภาพวัตถุทก
ี่ ําลังเคลือ
่ นไหว อาจทําให ้ภาพดูบด
ิ เบีย
้ ว

376
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

้ ลายทางแนวนอนปรากฏระหว่างถ่ายภาพเคลือ
เกิดภาพไหวหรือเสน ่ นไหว
 ภาพไหว เส ้นลายทางแนวนอน (น๊อยส์) หรือค่าแสงทีไ่ ม่สมํา่ เสมออาจเกิดจาก
แสงไฟฟลูออเรสเซนต์ แสงไฟ LED หรือแหล่งแสงอืน ่ ๆ ขณะถ่ายภาพเคลือ่ น
ไหว รวมถึงกล ้องอาจบันทึกการเปลีย
่ นแปลงของค่าแสง (ความสว่าง) หรือโทน
สีอก
ี ด ้วย ในโหมด <a> ความเร็วชัตเตอร์ตํา่ อาจช่วยลดปั ญหาได ้

Wi-Fi

ไม่สามารถตงค่
ั้ า Wi-Fi ได้
่ มต่ออยูก
 หากกล ้องเชือ ่ บ
ั คอมพิวเตอร์ เครือ ่ งพิมพ์ ตัวรับสัญญาณ GPS เครือ ่ ง
รับโทรทัศน์ หรืออุปกรณ์อน ื่ ๆ ด ้วยสายเชือ ่ มต่อ จะไม่สามารถตัง้ ค่า Wi-Fi ได ้
([51: Wi-Fi/NFC] จะจางเป็ นสีเทา) ถอดสายเชือ ่ มต่อออกก่อนเปลีย
่ น
แปลงการตัง้ ค่าใดๆ
 สําหรับรายละเอียด โปรดดูคม ื การใช ้งานฟั งก์ชน
ู่ อ ั่ Wi-Fi/NFC

ปัญหาในการทํางาน

เสียงเตือนเบาลงระหว่างการใชง้ านจอสมผ
ั ัส
 ตรวจสอบว่านิว้ ของคุณบังลําโพงอยูห
่ รือไม่ (น.26)

ปัญหาในการแสดงภาพ

หน้าจอเมนูแสดงเพียงบางแท็บและต ัวเลือก
 ในโหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐานและโหมดถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว บางแท็บและบาง
ตัวเลือกเมนูจะไม่แสดงขึน
้ ให ้ปรับโหมดการถ่ายภาพไปทีโ่ หมดการถ่ายภาพ
สร ้างสรรค์ (น.53)

377
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

่ ไฟล์เป็นขีดล่าง (“_”)
อ ักขระต ัวแรกของชือ
่ จะ
 ปรับพิกัดสีเป็ น sRGB หากตัง้ ค่าไว ้เป็ น Adobe RGB อักขระตัวแรกของชือ
เป็ นขีดล่าง (น.146)

่ ไฟล์ขน
ชือ ึ้ ต้นด้วย “MVI_”
 แสดงว่านีค
่ อ
ื ไฟล์ภาพเคลือ
่ นไหว (น.262)

ลําด ับหมายเลขไฟล์ไม่เริม
่ ต้นที่ 0001
 หากในการ์ดมีไฟล์ภาพทีบ
่ ันทึกอยูแ
่ ล ้ว หมายเลขของไฟล์ภาพอาจไม่เริม
่ ต ้น
จาก 0001 (น.262)

ข้อมูลว ันทีแ
่ ละเวลาทีถ
่ า
่ ยภาพไม่ถูกต้อง
 ตรวจสอบว่าตัง้ วันทีแ
่ ละเวลาเรียบร ้อยแล ้ว (น.42)
 ตรวจสอบไทม์โซนและการปรับเวลาในฤดูร ้อน (น.42)

ว ันทีแ
่ ละเวลาไม่ปรากฏบนภาพ
 วันทีแ
่ ละเวลาทีถ ่ า่ ยภาพไม่ปรากฏบนภาพ วันทีแ ่ ละเวลาทีถ ่ า่ ยภาพจะถูกจัด
เก็บเป็ นข ้อมูลการถ่ายภาพไว ้ในข ้อมูลภาพแทน เมือ่ พิมพ์ คุณสามารถสัง่ พิมพ์
วันทีแ่ ละเวลาลงบนภาพได ้โดยใช ้ข ้อมูลวันทีแ
่ ละเวลาทีบ่ ันทึกไว ้ในข ้อมูลการ
ถ่ายภาพ (น.325)

กล้องแสดง [###]
 หากจํานวนภาพถ่ายทีบ
่ น
ั ทึกบนการ์ดเกินกว่าจํานวนภาพทีก
่ ล ้องสามารถแสดง
้ (น.285)
ได ้ [###] จะแสดงขึน

จอ LCD ไม่แสดงภาพทีช ั
่ ดเจน
 หากจอ LCD ไม่สะอาด ให ้ทําความสะอาดด ้วยผ ้านุ่ม
 การแสดงภาพของจอ LCD อาจดูช ้าหรือดูมด ื หากใช ้งานในบริเวณอุณหภูมต
ิ ํา่
หรือสูง และจะกลับเป็ นปกติทอ
ี่ ณ
ุ หภูมห
ิ ้อง

378
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

[การตงค่
ั้ า Eye-Fi] ไม่ปรากฏ
 [การตงค่
ั้ า Eye-Fi] จะปรากฏต่อเมือ ่ เสียบการ์ด Eye-Fi เข ้ากับกล ้องเท่านั น

หากการ์ด Eye-Fi ปรับสวิตซ์ป้องกันการบันทึกไว ้ทีต
่ ําแหน่ง LOCK คุณจะไม่
สามารถตรวจสอบสถานะการเชือ ่ มต่อหรือปิ ดการส่งสัญญาณ Eye-Fi ได ้
(น.352)

ปัญหาในการเล่นภาพ

บางส่วนของภาพกะพริบเป็นสีดา

 ลักษณะนีค
้ อ
ื การเตือนบริเวณสว่างโพลน (น.310) พืน
้ ทีใ่ นภาพทีไ่ ด ้รับแสง
มากจนบริเวณสว่างหายไปจะกะพริบ

ไม่สามารถลบภาพได้
 หากภาพถูกป้ องกัน จะไม่สามารถลบภาพดังกล่าวได ้ (น.302)

ไม่สามารถเล่นภาพเคลือ
่ นไหวได้
 ภาพเคลือ
่ นไหวทีแ
่ ก ้ไขในคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเล่นด ้วยกล ้องได ้

ได้ยน
ิ เสียงการทํางานของกล้องเมือ
่ เล่นภาพเคลือ
่ นไหว
 หากคุณใช ้งานปุ่ มปรับหรือเลนส์ของกล ้องขณะถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว เสียงการทํา
งานจะถูกบันทึกลงไปด ้วย แนะนํ าให ้ใช ้ไมโครโฟนภายนอก (มีจําหน่ายทั่วไป)
(น.251)

ภาพเคลือ
่ นไหวหยุดชะง ักเป็นบางจุด
 ในขณะถ่ายภาพเคลือ ่ นไหวโดยใช ้การเปิ ดรับแสงอัตโนมัต ิ หากมีการเปลีย
่ น
แปลงค่าระดับแสงทีร่ นุ แรง การบันทึกภาพจะหยุดลงชัว่ ขณะจนกว่าค่าระดับ
แสงจะคงที่ ในกรณีนี้ ให ้ถ่ายด ้วยโหมด <a> (น.225)

379
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

ไม่มภ
ี าพบนเครือ
่ งร ับโทรท ัศน์
 ตรวจสอบว่าได ้เสียบสาย HDMI หรือสายสเตอริโอ AV จนสุดแล ้ว (น.298-301)
 ตัง้ ค่า [53: ระบบวิดโี อ] เป็ น [NTSC] หรือ [PAL] ให ้ถูกต ้อง (ขึน ้ อยูก
่ ับ
ระบบวิดโี อของเครือ ่ งรับโทรทัศน์ของคุณ)
 หากตัง้ ค่า [51: Wi-Fi/NFC] เป็ น [ใช้งาน] กล ้องจะไม่สามารถเชือ ่ มต่อเข ้า
กับเครือ ่ งรับโทรทัศน์ได ้ ให ้ตัง้ ค่า [Wi-Fi/NFC] เป็ น [ไม่ใช้งาน] จากนัน ้
จึงเชือ ่ มต่อกล ้องเข ้ากับเครือ
่ งรับโทรทัศน์ด ้วยสาย HDMI หรือสาย AV แบบ
สเตอริโอ

่ นไหวหลายไฟล์สําหร ับการถ่ายภาพเคลือ
มีไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวครงเดี
ั้ ยว
 หากขนาดไฟล์ภาพเคลือ ่ นไหวถึง 4 GB ไฟล์ภาพเคลือ
่ นไหวใหม่จะถูกสร ้าง
โดยอัตโนมัต ิ (น.235)

ต ัวอ่านการ์ดตรวจหาการ์ดไม่พบ
 หากใช ้ตัวอ่านการ์ดและคอมพิวเตอร์ในระบบ OS อาจทําให ้ไม่สามารถตรวจ
่ มต่อกล ้องของคุณเข ้ากับ
พบการ์ด SDXC ได ้อย่างถูกต ้อง ในกรณีนี้ ให ้เชือ
่ มต่อ จากนัน
คอมพิวเตอร์ด ้วยสายเชือ ้ ถ่ายโอนภาพเข ้าคอมพิวเตอร์ด ้วย EOS
Utility (ซอฟต์แวร์ EOS, น.402)

ไม่สามารถปร ับขนาดภาพ ไม่สามารถครอบต ัดภาพ


 ไม่สามารถปรับขนาดหรือครอบตัดภาพ JPEG c และ RAW ได ้ (น.315,
น.317)

มีกล่องสีแดงแสดงอยูบ
่ นภาพ
 ตัง้ ค่า [32: แสดงจุด AF] เป็ น [ใช้งาน] (น.309)

ไม่มก
ี ล่องสีแดงแสดงอยูบ
่ นภาพ
 แม ้ว่าตัง้ ค่า [32: แสดงจุด AF] เป็ น [ใช้งาน] (น.309) กล่องสีแดงจะไม่
แสดงขึน ้ สําหรับภาพต่อไปนี:้
• ภาพทีถ ่ า่ ยด ้วยการลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ (น.137)
• ภาพทีบ ่ ใช ้งานแก ้ไขความคลาดส่วน (น.141)
่ ันทึกเมือ
• ภาพทีถ ่ า่ ยโดยใช ้ <F> หรือ <G> ในโหมด <8>
• ภาพทีค ่ รอบตัด (น.317)
• ภาพทีใ่ ช ้เอฟเฟคเลนส์ตาปลาหลังจากการถ่ายภาพ (น.312)
380
ข ้อแนะนํ าในการแก ้ไขปั ญหา

ปัญหาในการทําความสะอาดเซนเซอร์


มีเสียงชตเตอร์
ในระหว่างการทําความสะอาดเซนเซอร์
๋ วนีf
 หากคุณเลือก [ทําความสะอาดเดีย ้ ] ไว ้ ชัตเตอร์จะมีเสียงแต่จะไม่ม ี
การถ่ายภาพเกิดขึน
้ (น.271)

การทําความสะอาดเซนเซอร์แบบอ ัตโนม ัติไม่ทํางาน


 หากคุณปรับสวิตซ์ <1> / <2> ซํา้ ไปมาในช่วงเวลาสัน
้ ๆ ไอคอน
<f> อาจไม่แสดงขึน ้ (น.40)

ปัญหาเกีย
่ วก ับการพิมพ์

มีลก
ู เล่นการพิมพ์ปรากฏน้อยกว่าทีร่ ะบุในคูม ื การใชง้ าน
่ อ
 รายละเอียดทีแ ่ สดงบนหน ้าจอแตกต่างกันไปขึน ้ อยูก่ บ
ั เครือ
่ งพิมพ์ คูม ื การใช ้
่ อ
งานนีร้ ะบุลก
ู เล่นการพิมพ์ทงั ้ หมดทีส
่ ามารถทําได ้ (น.324)

การพิมพ์โดยตรงไม่ทํางาน
 หากตัง้ ค่าเป็ นโหมดการถ่ายภาพหรือฟั งก์ชน ั่ ใดดังต่อไปนี้ จะไม่สามารถทํา
การเชือ่ มต่อกล ้องกับเครือ่ งพิมพ์ได ้ ให ้ยกเลิกการตัง้ ค่าทีเ่ กีย
่ วข ้องทัง้ หมด
จากนั น
้ จึงเชือ่ มต่อกล ้องกับเครือ
่ งพิมพ์ด ้วยสายเชือ ่ มต่อ
• <F> หรือ <G> ในโหมด <8>
• ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ
• [51: Wi-Fi/NFC] ตัง้ ค่าเป็ น [ใช้งาน]

่ มต่อคอมพิวเตอร์
ปัญหาการเชือ

ไม่สามารถดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์ได้
 ให ้ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ EOS (EOS DIGITAL Solution Disk CD-ROM) ลงใน
คอมพิวเตอร์ (น.402)
 หากตัง้ ค่า [51: Wi-Fi/NFC] เป็ น [ใช้งาน] กล ้องจะไม่สามารถเชือ ่ มต่อเข ้า
กับคอมพิวเตอร์ได ้ ให ้ตัง้ ค่า [Wi-Fi/NFC] เป็ น [ไม่ใช้งาน] จากนั น ่ ม
้ จึงเชือ
ต่อกล ้องเข ้ากับคอมพิวเตอร์ด ้วยสายเชือ่ มต่อ

381
รห ัสข้อผิดพลาด
หมายเลขข ้อผิดพลาด หากเกิดปั ญหาขึน
้ กับกล ้อง ข ้อความแสดงข ้อ
ผิดพลาดจะปรากฏขึน ้ ให ้ปฏิบตั ต
ิ ามข ้อแนะนํ า
บนหน ้าจอ

สาเหตุและข ้อควรปฏิบต
ั ิ

หมายเลข ข้อความแสดงข้อผิดพลาดและการแก้ปญ
ั หา
การสือ่ สารระหว่างกล้องก ับเลนส์มข
ี อ ั้ ัมผ ัส
้ ผิดพลาด ทําความสะอาดขวส
เลนส์
01
 ทําความสะอาดขัว้ ไฟฟ้ าของกล ้องและเลนส์ ใช ้เลนส์ของแคนนอน หรือ
ถอดแบตเตอรีอ
่ อกแล ้วใส่กลับเข ้าไปอีกครัง้ (น.25, 26, 36)
ไม่สามารถเข้าถึงการ์ด ใส่การ์ดใหม่/เปลีย
่ นการ์ด หรือทําการฟอร์แมต
02 การ์ดด้วยกล้อง
 ถอดและใส่การ์ดใหม่อก
ี ครัง้ เปลีย
่ นแผ่นการ์ด หรือฟอร์แมตการ์ด (น.37, 59)
บ ันทึกภาพไม่ได้เนือ
่ งจากการ์ดเต็ม เปลีย
่ นแผ่นการ์ด
04
 เปลีย
่ นแผ่นการ์ด ลบภาพทีไ่ ม่จําเป็ น หรือฟอร์แมตการ์ด (น.37, 304, 59)
้ ไม่ได้ ปิ ดและเปิ ดกล้องอีกครงั้
ยกแฟลชในต ัวกล้องขึน
05
 เปิ ด/ปิ ดสวิตซ์กล ้อง (น.40)
ทําความสะอาดเซนเซอร์ไม่ได้ ปิ ดและเปิ ดกล้องอีกครงั้
06
 เปิ ด/ปิ ดสวิตซ์กล ้อง (น.40)
10, 20 ข้อผิดพลาดทําให้ถา่ ยภาพไม่ได้ ปิ ดกล้องแล้วเปิ ดอีกครงหรื
ั้ อถอดแล้ว
30, 40 ใส่แบตเตอรีใ่ หม่
50, 60
70, 80 ี ครัง้ หรือใช ้เลนส์ของ
 เปิ ด/ปิ ดสวิตซ์กล ้อง ถอดแล ้วใส่แบตเตอรีใ่ หม่อก
99 แคนนอน (น.40, 36, 45)

* หากย ังเกิดข้อผิดพลาดเช่นเดิมอยู่ ให้จดหมายเลขข้อผิดพลาดแล้วติดต่อศูนย์


บริการของแคนนอนใกล้บา้ น

382
ข้อควรระว ังในการใชง้ าน: เลนส ์ STM (เลนสใ์ นชุดอุปกรณ์)
เลนส์ในชุดอุปกรณ์* ใช ้ Stepping Motor ทีค
่ วบคุมเลนส์โฟกัส มอเตอร์นี้
ควบคุมเลนส์โฟกัสแม ้ในระหว่างทําการซูม
* EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS STM, EF-S18-135mm f/3.5-5.6 IS STM และ
EF-S55-250mm f/4-5.6 IS STM
1. เมือ
่ ปิ ดกล้อง
มอเตอร์จะไม่ทํางานเมือ ่ ปิ ดกล ้องหรือเมือ
่ กล ้องปิ ดเนือ ั่ ปิ ดกล ้อง
่ งจากฟั งก์ชน
้ ผู ้ใช ้ควรตระหนั กถึงข ้อต่อไปนี้
อัตโนมัต ิ ดังนั น
 ไม่สามารถทําการโฟกัสด ้วยตนเองได ้
 การโฟกัสอาจไม่แม่นยําในระหว่างการซูม
2. เมือ่ เลนส์อยูใ่ นโหมดพ ัก
หากไม่ได ้ใช ้งานเป็ นช่วงระยะเวลาหนึง่ เลนส์ชนิดนีจ
้ ะเข ้าสูโ่ หมดพักเพือ ่ เป็ น
การประหยัดพลังงานนอกเหนือจากการปิ ดกล ้องอัตโนมัต ิ กดปุ่ มชัตเตอร์ลง
ครึง่ หนึง่ เพือ
่ ออกจากโหมดพัก
ในโหมดพัก มอเตอร์จะไม่ทํางานแม ้ว่ากล ้องเปิ ดอยู่ ดังนัน ้ ผู ้ใช ้ควรตระหนั ก
ถึงข ้อต่อไปนี้
 ไม่สามารถทําการโฟกัสด ้วยตนเองได ้
 การโฟกัสอาจไม่แม่นยําในระหว่างการซูม
3. ระหว่างการรีเซ็ ตเบือ ้ งต้น
เมือ
่ กล ้องเปิ ดอยู่ หรือเมือ่ กล ้องถูกเปิ ดด ้วยการกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึง่ หนึง่ ใน
ขณะทีก ่ ล ้องปิ ดเนือ
่ งจากฟั งก์ชน ั่ ปิ ดกล ้องอัตโนมัต*ิ 1 เลนส์จะทําการรีเซ็ต
เลนส์โฟกัสเบือ ้ งต ้น
 แม ้ว่าภาพในช่องมองภาพจะหลุดโฟกัสในระหว่างการรีเซ็ตเบือ ้ งต ้น แต่
ไม่ใช่การทํางานผิดปกติแต่อย่างใด
 รอประมาณ 1 วินาที*2 จนกว่าการรีเซ็ตเบือ ้ ก่อนทําการ
้ งต ้นจะเสร็จสิน
ถ่ายภาพ
*1: ใช ้ได ้กับกล ้องดิจต
ิ อล SLR ทีใ่ ช ้เลนส์ EF-S ต่อไปนี:้
EOS 7D Mark II, EOS 7D, EOS 70D, EOS 60D, EOS 60Da, EOS 50D, EOS
40D, EOS 30D, EOS 20D, EOS 20Da, EOS 600D, EOS 550D, EOS 500D, EOS
450D, EOS 1200D, EOS 1100D, EOS 1000D, EOS 400D DIGITAL, EOS 350D
DIGITAL, EOS 300D DIGITAL
*2: เวลาทีใ่ ช ้ในการรีเซ็ตเบือ
้ งต ้นจะแตกต่างออกไปขึน ้ อยูก ั กล ้องทีใ่ ช ้
่ บ

383
ข้อมูลจําเพาะ
•ประเภท
ประเภท: กล ้องดิจต ิ อลสะท ้อนภาพเลนส์เดีย
่ วทีม
่ รี ะบบโฟกัสอัตโนมัต/ิ
เปิ ดรับแสงอัตโนมัตพ ิ ร ้อมแฟลชในตัวกล ้อง
่ จัดเก็บข ้อมูล:
สือ เมมโมรีก ่ าร์ด SD/SDHC*/SDXC*
*ใช ้งานร่วมกับการ์ด UHS-I
ขนาดของเซนเซอร์ภาพ: ประมาณ 22.3 x 14.9 มม.
เลนส์ทรี่ องรับ: เลนส์แคนนอน EF (รวมทัง้ เลนส์ EF-S)
*ไม่รองรับเลนส์ EF-M
(ความยาวโฟกัสเทียบเท่า 35 มม. ประมาณ 1.6 เท่าของ
ความยาวโฟกัสของเลนส์)
เมาท์เลนส์: เมาท์แคนนอน EF
•เซนเซอร์ภาพ
ประเภท: เซนเซอร์ CMOS
พิกเซลใช ้งานจริง: ประมาณ 24.2 ล ้านพิกเซล
*ปั ดเศษใกล ้สุดที่ 10,000
อัตราส่วนภาพ: 3:2
ระบบลบภาพฝุ่ น: อัตโนมัต/ิ แมนนวล, ผนวกข ้อมูลการลบภาพฝุ่ น
•ระบบการบ ันทึก
รูปแบบการบันทึก: หลักการออกแบบระบบไฟล์กล ้อง 2.0 (Design rule for
Camera File System)
ชนิดของภาพ: JPEG, RAW (14 บิต แบบฉบับแคนนอน)
สามารถบันทึกไฟล์ขนาด RAW+JPEG ได ้ในเวลาเดียวกัน
พิกเซลทีบ
่ น
ั ทึก: L (ใหญ่) : 24 ล ้านพิกเซล (6000 x 4000)
M (กลาง) : ประมาณ 10.6 ล ้านพิกเซล (3984 x 2656)
S1 (เล็ก 1) : ประมาณ 5.9 ล ้านพิกเซล (2976 x 1984)
S2 (เล็ก 2) : ประมาณ 2.5 ล ้านพิกเซล (1920 x 1280)
S3 (เล็ก 3) : ประมาณ 350,000 พิกเซล (720 x 480)
RAW : 24 ล ้านพิกเซล (6000 x 4000)
อัตราส่วนภาพ: 3:2, 4:3, 16:9, 1:1
สร ้าง/เลือกโฟลเดอร์: ทําได ้
หมายเลขไฟล์ภาพ: ่ ง, รีเซ็ตอัตโนมัต,ิ ผู ้ใช ้รีเซ็ตเอง
ต่อเนือ
•การประมวลผลภาพระหว่างถ่ายภาพ
รูปแบบภาพ: อัตโนมัต,ิ ปกติ, ภาพบุคคล, ภาพวิว, ภาพเป็ นกลาง, ภาพตาม
จริง, ภาพขาวดํา, ผู ้ใช ้กําหนด 1 - 3
พืน
้ ฐาน+: ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ, ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ
ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ: ทําได ้ (ในโหมด <CA>)
สมดุลแสงขาว: อัตโนมัต,ิ ตัง้ ไว ้ (แสงแดด, แสงในร่ม, เมฆครึม
้ , หลอดไฟ
ทังสเตน, แสงหลอดฟลูออเรสเซนต์ขาว, แสงแฟลช),
กําหนดเอง
สามารถปรับแก ้สมดุลแสงขาวและถ่ายภาพคร่อมสมดุลแสงขาว
*เปิ ดใช ้การส่งผ่านข ้อมูลอุณหภูมส ี องแสงแฟลช
ิ ข
384
ข ้อมูลจําเพาะ

ลดน๊อยส์: ใช ้ได ้กับการถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงนานและใช ้ความไวแสงสูง


ปรับความสว่างภาพอัตโนมัต:ิ ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ
เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง: ทําได ้
แก ้ไขความคลาดเคลือ ่ น แก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพ, แก ้ไขความคลาดสี, แก ้ไข
ของเลนส์: ความคลาดส่วน
•ช่องมองภาพ
ประเภท: กระจกห ้าเหลีย
่ มระดับสายตา
ครอบคลุมการมองเห็น: แนวตัง้ /แนวนอน ประมาณ 95% (ระยะสายตาประมาณ 19 มม.)
*ระยะมองเห็นแนวตัง้ ในอัตราส่วนภาพ 16:9 คือประมาณ 93%
กําลังขยาย: ประมาณ 0.82 เท่า (-1 m-1 ด ้วยเลนส์ 50 มม. ถึงระยะอนันต์)
ระยะสายตา: ประมาณ 19 มม. (-1 m-1 จากจุดศูนย์กลางของเลนส์ชอ ่ งมอง
ภาพ)
ปรับแก ้สายตาในตัวกล ้อง: ประมาณ -3.0 - +1.0 m-1 (dpt)
ฉากปรับโฟกัส: แบบคงที,่ มีความแม่นยําบนผิวด ้าน
แสดงเส ้นตาราง: ทําได ้
กระจกสะท ้อนภาพ: แบบดีดตัวกลับเอง
เช็คระยะชัดลึก: ทําได ้
•โฟก ัสอ ัตโนม ัติ
ประเภท: ระบบบันทึกภาพ TTL พร ้อมการตรวจสอบความแตกต่างด ้วย
เซนเซอร์โฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบเฉพาะ
จุดโฟกัสอัตโนมัต:ิ 19 จุด (จุดโฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบกากบาท: สูงสุด 19 จุด)
*สําหรับเลนส์บางชนิด
การโฟกัสแบบกากบาททีจ ่ ุดโฟกัสอัตโนมัตบ ิ ริเวณขอบภาพ
จะไม่สามารถทําได ้
*จุดโฟกัสอัตโนมัตจิ ด ุ กลางใช ้การโฟกัสแบบกากบาทคูท ่ ี่ f/2.8
(ยกเว ้น EF28-80mm f/2.8-4L USM และ EF50mm f/2.5
Compact Macro)
ช่วงความสว่างการโฟกัส: EV -0.5 - 18 (เงือ ่ นไข: จุดโฟกัสอัตโนมัตจ ิ ด
ุ กลางไวต่อ f/2.8,
AF ครัง้ เดียว, อุณหภูมห ิ ้อง, ISO 100)
ระบบโฟกัส: AF ครัง้ เดียว, AI Servo AF, AI Focus AF
โฟกัสด ้วยตนเอง (MF)
โหมดเลือกพืน้ ทีโ่ ฟกัส โฟกัสอัตโนมัตจิ ุดเดียว (เลือกด ้วยตนเอง), โฟกัสอัตโนมัต ิ
อัตโนมัต:ิ แบบโซน (เลือกโซนด ้วยตนเอง), โฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด
เงือ
่ นไขของการเลือกจุด สามารถเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัตไิ ด ้โดยอัตโนมัตใิ นโหมด
โฟกัสแบบอัตโนมัต:ิ AF ครัง้ เดียว โดยใช ้ข ้อมูลสีทเี่ ทียบเท่ากับโทนสีผวิ
แสงไฟช่วยปรับโฟกัส: ยิงแสงแฟลชถีๆ่ จากแฟลชในตัวกล ้อง

385
ข ้อมูลจําเพาะ

•ควบคุมการเปิ ดร ับแสง
โหมดวัดแสง: โหมดวัดแสงแบบ TTL ทีเ่ ปิ ดช่องรับแสงกว ้างสุด 63 โซน
โดยใช ้เซนเซอร์วด ั แสง 7560 พิกเซล RGB plus IR
• วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ (สัมพันธ์กบ ั จุดโฟกัสทุกจุด)
• วัดแสงบางส่วน (พืน ้ ทีป่ ระมาณ 6.0% กลางช่องมองภาพ)
• วัดแสงแบบจุด (พืน ้ ทีป ่ ระมาณ 3.5% กลางช่องมองภาพ)
• วัดแสงเฉลีย ่ หนั กกลางภาพ
ช่วงความสว่างการวัดแสง: EV 1 - 20 (ทีอ ่ ณ
ุ หภูมห ิ ้อง, ISO 100)
ควบคุมการเปิ ดรับแสง: โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต ิ (ฉากอัตโนมัตอ ิ จ
ั ฉริยะ, ปิ ดแฟลช,
อัตโนมัตแ ิ บบสร ้างสรรค์, บุคคล, วิว, ระยะใกล ้, กีฬา, โหมด
ฉากพิเศษ (เด็ก, อาหาร, แสงเทียน, บุคคลกลางคืน, ถ่าย
กลางคืนแบบมือถือ, ควบคุมแสงพืน ้ หลัง HDR), โปรแกรม),
ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์, ระบุคา่ รูรับแสง, ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วย
ตนเอง
ความไวแสง ISO โหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน*: ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตใิ นช่วง ISO
(ดัชนีคา่ แสงทีแ
่ นะนํ า): 100 - ISO 6400
*ภาพวิว: ISO 100 - ISO 1600, <SCN> ถ่ายกลางคืนแบบ
มือถือ: ISO 100 - ISO 12800
โหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์: ตัง้ ค่าด ้วยตนเองในช่วง ISO
100 - ISO 12800 (เพิม ้ ทีละระดับ), ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัต ิ
่ ขึน
ในช่วง ISO 100 - ISO 6400, สามารถตัง้ ค่า ISO สูงสุด
สําหรับความไวแสงแบบอัตโนมัต,ิ หรือขยายความไวแสง ISO
เป็ น “H” (เทียบเท่า ISO 25600)
ชดเชยแสง: ตัง้ เอง: ปรับทีละ 1/3 หรือ 1/2 ระดับ ภายใน ±5 ระดับ
ถ่ายภาพคร่อม:ปรับทีละ 1/3 หรือ 1/2 ระดับ ภายใน ±2 ระดับ
(สามารถใช ้ร่วมกับการชดเชยแสงแบบตัง้ เอง)
ล็อคค่าแสง: อัตโนมัต:ิ ปรับใช ้กับ AF ครัง้ เดียวทีม ่ ก
ี ารวัดแสงประเมินทัง้ ภาพ
เมือ
่ จับโฟกัสได ้
ตัง้ เอง: โดยใช ้ปุ่ มล็อคค่าแสง
ลดแสงวูบวาบ: ทําได ้
•ช ัตเตอร์
ประเภท: ชัตเตอร์ระนาบโฟกัส ควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส์
ความเร็วชัตเตอร์: 1/4000 วินาที ถึง 30 วินาที (ช่วงความเร็วชัตเตอร์ทงั ้ หมด
ช่วงทีเ่ ลือกได ้ต่างกันไปตามโหมดการถ่ายภาพ), ชัตเตอร์ B
(Bulb), ซิงค์แฟลชที่ 1/200 วินาที
•ระบบข ับเคลือ
่ น
โหมดขับเคลือ
่ น: ถ่ายภาพเดีย ่ ว, ถ่ายภาพต่อเนือ่ ง, ถ่ายภาพเดีย
่ วแบบเงียบ,
ถ่ายภาพต่อเนื่องแบบเงียบ,
ตัง้ เวลา: ตัง้ เวลา 10 วินาที/รีโมทคอนโทรล, ตัง้ เวลา 2 วินาที,
ตัง้ เวลา 10 วินาทีแล ้วถ่ายแบบต่อเนื่อง
ความเร็วในการถ่ายภาพ ถ่ายภาพต่อเนื่อง: สูงสุดประมาณ 5.0 ภาพ/วินาที
ต่อเนือ
่ ง: ถ่ายภาพต่อเนื่องแบบเงียบ: สูงสุดประมาณ 3.0 ภาพ/วินาที
386
ข ้อมูลจําเพาะ

จํานวนภาพต่อเนื่องสูงสุด JPEG ใหญ่/ละเอียด: 180 (940) ภาพ


(ประมาณ): RAW: 7 (8) ภาพ
RAW+JPEG ใหญ่/ละเอียด: 6 (6) ภาพ
*จํานวนทีไ่ ด ้ขึน
้ อยูก
่ บั มาตรฐานการทดสอบของแคนนอน
(อัตราส่วนภาพ 3:2, ISO 100 และรูปแบบภาพปกติ)
โดยใช ้การ์ด 8 GB
*จํานวนในวงเล็บขึน ้ อยูก
่ บ
ั มาตรฐานการทดสอบของแคนนอน
ใช ้การ์ดทีร่ องรับ UHS-I ขนาด 8 GB
•แฟลช
แฟลชในตัวกล ้อง: แฟลชยกขึน ้ เองอัตโนมัต ิ และสามารถดึงกลับ
ไกด์นัมเบอร์: ประมาณ 12/39.4 (ISO 100, เมตร/ฟุต)
ระยะครอบคลุมแสงแฟลช: ประมาณ 17 มม. ในมุมมองของ
เลนส์
เวลาในการชาร์จประมาณ 3 วินาที
แฟลชภายนอก: Speedlite ซีรส ี่ ์ EX
วัดแสงแฟลช: แฟลชอัตโนมัต ิ E-TTL II
ชดเชยระดับแสงแฟลช: ปรับทีละ 1/3 หรือ 1/2 ระดับ ภายใน ±2 ระดับ
ล็อคแสงแฟลช: ทําได ้
ช่องต่อ PC: ไม่ใช ้
ควบคุมแฟลช: ตัง้ ค่าระบบแฟลชในตัวกล ้อง, ตัง้ ค่าระบบแฟลชติดตัง้ ภายนอก,
ตัง้ ค่าระบบส่วนตัวของแฟลชภายนอก
ควบคุมแฟลชไร ้สายโดยการส่งข ้อมูลผ่านแสงได ้
•การถ่ายภาพแบบ Live View
วิธก
ี ารโฟกัส: Hybrid CMOS AF III System (ใบหน ้า+การติดตาม,
FlexiZone-Multi, FlexiZone-Single), โฟกัสด ้วยตนเอง
(ขยายได ้ประมาณ 5x / 10x)
โฟกัสอัตโนมัตแ
ิ บบ ทําได ้
ต่อเนือ
่ ง:
ช่วงความสว่างการโฟกัส: EV 0 - 18 (ทีอ่ ณุ หภูมหิ ้อง, ISO 100)
ชัตเตอร์แบบแตะ: ทําได ้
โหมดวัดแสง: วัดแสงในเวลาจริงโดยใช ้เซนเซอร์ภาพ
วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ (315 โซน), วัดแสงบางส่วน (ประมาณ
10% ของหน ้าจอ Live View), วัดแสงแบบจุด (ประมาณ 2.7%
ของหน ้าจอ Live View), วัดแสงเฉลีย ่ หนักกลางภาพ
ช่วงความสว่างการวัดแสง: EV 0 - 20 (ทีอ่ ณุ หภูมหิ ้อง, ISO 100)
ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ภาพ: ภาพหยาบ ขาว/ดํา, ซอฟต์โฟกัส, เอฟเฟคเลนส์ตาปลา,
ลูกเล่นศิลปะคมเข ้ม, ลูกเล่นภาพสีนํ้า, ลูกเล่นกล ้องของเล่น,
เอฟเฟคกล ้องรูเข็ม
แสดงเส ้นตาราง: สองแบบ

387
ข ้อมูลจําเพาะ

•การถ่ายภาพเคลือ
่ นไหว
รูปแบบการบันทึก: MP4
ภาพเคลือ
่ นไหว: MPEG-4 AVC/H.264
อัตราบิต (เฉลีย ่ ) ผันแปร
เสียง: AAC
ขนาดการบันทึกและอัตรา Full HD (1920x1080) : 29.97p/25.00p/23.98p
เฟรม: HD (1280x720) : 59.94p/50.00p/29.97p/25.00p
VGA (640x480) : 29.97p/25.00p
วิธกี ารบีบอัด: มาตรฐาน/อ่อน
ขนาดไฟล์: Full HD (29.97p/25.00p/23.98p)
(มาตรฐาน) : ประมาณ 216 MB/นาที
Full HD (29.97p/25.00p) (อ่อน) : ประมาณ 87 MB/นาที
HD (59.94p/50.00p) (มาตรฐาน) : ประมาณ 187 MB/นาที
HD (29.97p/25.00p) (อ่อน) : ประมาณ 30 MB/นาที
VGA (29.97p/25.00p) (มาตรฐาน) : ประมาณ 66 MB/นาที
VGA (29.97p/25.00p) (อ่อน) : ประมาณ 23 MB/นาที
วิธก
ี ารโฟกัส: เหมือนกับการโฟกัสเมือ ่ ถ่ายภาพแบบ Live View
Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว: ทําได ้
ช่วงความสว่างการโฟกัส: EV 0 - 18 (ทีอ ่ ณุ หภูมห ิ ้อง, ISO 100)
โหมดวัดแสง: เฉลีย ่ หนักกลางภาพและวัดแสงประเมินทัง้ ภาพโดยใช ้เซนเซอร์
ภาพ
*ตัง้ ค่าอัตโนมัตผ ิ ่านวิธก ี ารโฟกัส
ช่วงความสว่างการวัดแสง: EV 0 - 20 (ทีอ ่ ณ ุ หภูมห ิ ้อง, ISO 100)
ควบคุมการเปิ ดรับแสง: โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัตส ิ ําหรับภาพเคลือ ่ นไหวและตัง้ ค่า
ระดับแสงด ้วยตนเอง
ชดเชยแสง: ปรับทีละ 1/3 หรือ 1/2 ระดับ ภายใน ±3 ระดับ
ความไวแสง ISO ด ้วยการถ่ายภาพแบบเปิ ดรับแสงอัตโนมัต:ิ
(ดัชนีคา่ แสงทีแ่ นะนํ า): ตัง้ ค่าโดยอัตโนมัตใิ นช่วง ISO 100 - ISO 6400
โดยการเปิ ดรับแสงแบบตัง้ เอง: ตัง้ ค่า ISO 100 - ISO 6400
อัตโนมัต/ิ ด ้วยตนเอง, สามารถขยายเป็ น H (เทียบเท่า ISO 12800)
ภาพเคลือ ่ นไหวเอฟเฟค ทําได ้
กล ้องรูเข็ม:
Video snapshots: สามารถตัง้ ค่าได ้ 2 วิ./4 วิ./8 วิ.
บันทึกเสียง: มีไมโครโฟนในตัวกล ้องแบบสเตอริโอ
และช่องต่อไมโครโฟนภายนอกแบบสเตอริโอ
สามารถปรับระดับเสียงทีบ ่ น
ั ทึกได ้ มีระบบลดเสียงลมและระบบ
ลดระดับเสียง
แสดงเส ้นตาราง: สองแบบ
ถ่ายภาพนิง่ : ทําได ้

388
ข ้อมูลจําเพาะ

•จอ LCD
ประเภท: จอ LCD สี TFT
ขนาดจอและความละเอียด: กว ้าง, 7.7 ซม. (3.0 นิว้ ) (3:2) ทีม
่ ป
ี ระมาณ 1.04 ล ้านจุด
ปรับความสว่าง: ด ้วยตนเอง (7 ระดับ)
ภาษาทีใ่ ช ้แสดง: 25
เทคโนโลยีหน ้าจอสัมผัส: การตรวจจับชนิดเก็บประจุ
คําแนะนํ าคุณสมบัต:ิ แสดงได ้
•เล่นภาพ
รูปแบบการแสดงภาพ: แสดงภาพทีละภาพ (ไม่มข ี ้อมูลการถ่ายภาพ),
แสดงภาพทีละภาพ (มีข ้อมูลพืน ้ ฐาน), แสดงภาพทีละภาพ
(แสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ: ข ้อมูลแบบละเอียด, เลนส์/
ฮิสโตแกรม, สมดุลแสงขาว, รูปแบบภาพ, พิกด ั สี/ลดจุดรบกวน,
แก ้ไขความคลาดเคลือ ่ นของเลนส์), แสดงภาพแบบดัชนี (4/9/
36/100 ภาพ)
อัตราขยายการซูม: ประมาณ 1.5x - 10x
เตือนบริเวณสว่างโพลน: กะพริบบริเวณพืน ้ ทีท
่ ม
ี่ แี สงสว่างจ ้าเกินไป
แสดงจุดโฟกัสอัตโนมัต:ิ ทําได ้
วิธก
ี ารเลือกดูภาพ: ทีละภาพ, ข ้ามไปทีละ 10 หรือ 100 ภาพ, แสดงตามวันทีถ ่ า่ ยภาพ,
ตามโฟลเดอร์, เฉพาะภาพเคลือ ่ นไหว, เฉพาะภาพนิง่ , ตาม
คะแนนภาพ
หมุนภาพ: ทําได ้
การให ้คะแนน: ทําได ้
เล่นภาพเคลือ
่ นไหว: รองรับ (จอ LCD, ช่องสัญญาณเสียง/วิดโี อออก, สัญญาณออก
HDMI)
ลําโพงในตัวกล ้อง
ป้ องกันภาพ: ทําได ้
สไลด์โชว์: ทุกภาพ, ตามวันที,่ ตามโฟลเดอร์, เฉพาะภาพเคลือ ่ นไหว,
เฉพาะภาพนิง่ , ตามคะแนนภาพ
เลือกลูกเล่นเปลีย่ นภาพได ้ห ้าแบบ
ดนตรีฉากหลัง: เลือกเล่นได ้ในสไลด์โชว์และการเล่นภาพเคลือ ่ นไหว
•การประมวลผลภาพในภายหล ัง
ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ภาพ: ภาพหยาบ ขาว/ดํา, ซอฟต์โฟกัส, เอฟเฟคเลนส์ตาปลา,
ลูกเล่นศิลปะคมเข ้ม, ลูกเล่นภาพสีนํ้า, ลูกเล่นกล ้องของเล่น,
เอฟเฟคกล ้องรูเข็ม
ปรับขนาดภาพ: ทําได ้
ตัดภาพ: ทําได ้
•การพิมพ์ภาพโดยตรง
เครือ
่ งพิมพ์ทรี่ องรับ: เครือ
่ งพิมพ์ทรี่ องรับระบบ PictBridge
ภาพทีพ ่ ม
ิ พ์ได ้: ภาพ JPEG และ RAW
คําสัง่ พิมพ์: รองรับมาตรฐาน DPOF เวอร์ชน ั่ 1.1

389
ข ้อมูลจําเพาะ

•ตงค่
ั้ าระบบส่วนต ัว
ตัง้ ค่าระบบส่วนตัว: 13
การบันทึกเมนูสว่ นตัว: ทําได ้
ข ้อมูลลิขสิทธิ:์ ใส่และบันทึกข ้อมูลลิขสิทธิข
์ องภาพได ้
่ มต่อ
•การเชือ
ช่องสัญญาณเสียง/ การส่งสัญญาณภาพอนาล็อก (ใช ้งานได ้กับ NTSC/PAL)/
วิดโี อออก/ การส่งสัญญาณเสียงแบบสเตอริโอ
ช่องสัญญาณดิจต
ิ อล: ่ สารกับคอมพิวเตอร์, พิมพ์
เทียบเท่า USB ความเร็วสูง: สือ
โดยตรง, ตัวรับสัญญาณ GPS รุน ่ มต่อกับ
่ GP-E2, เชือ
Connect Station CS100
ช่องส่งออกสัญญาณ ชนิด C (ปรับเปลีย
่ นความละเอียดอัตโนมัต)ิ , รองรับ CEC
HDMI mini:
ช่องต่อเข ้าไมโครโฟน ช่องสเตอริโอขนาดเล็กเส ้นผ่านศูนย์กลาง 3.5 มม.
ภายนอก:
ช่องรีโมทคอนโทรล: สําหรับรีโมทสวิตซ์ รุน
่ RS-60E3
รีโมทคอนโทรลแบบไร ้สาย: ใช ้งานร่วมกับตัวควบคุมรีโมท รุน
่ RC-6
การ์ด Eye-Fi: รองรับ
•พล ังงาน
แบตเตอรี:่ แบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน
่ LP-E17 (1 ก ้อน)
*สามารถใช ้ไฟบ ้านผ่านชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้ า AC รุน ่ ACK-E18
จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้: ่ ถ่ายภาพโดยใช ้ช่องมองภาพ: ประมาณ 440 ภาพ ทีอ
เมือ ่ ณ ุ หภูม ิ
ห ้อง (23°C/73°F) และประมาณ 400 ภาพ ทีอ ่ ณุ หภูมต ิ ํา่ (0°C/
32°F)
เมือ่ ถ่ายภาพแบบ Live View: ประมาณ 180 ภาพ ทีอ ่ ณ
ุ หภูม ิ
ห ้อง (23°C/73°F) และประมาณ 150 ภาพ ทีอ ่ ณุ หภูมต ิ ํา่ (0°C/
32°F)
*เมือ ่ ใช ้แบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน่ LP-E17 ทีช ่ าร์จไฟเต็ม
ระยะเวลาถ่ายภาพเคลือ ่ นไหว: ประมาณ 1 ชัว่ โมง 20 นาที ทีอ ่ ณ ุ หภูมห ิ ้อง (23°C/73°F)
ประมาณ 1 ชัว่ โมง ทีอ ่ ณ
ุ หภูมติ ํา่ (0°C/32°F)
*เมือ ่ ใช ้แบตเตอรีแ ่ พ็ค รุน่ LP-E17 ทีช ่ าร์จไฟเต็ม
•ขนาดและนํา้ หน ัก
ขนาด (กว ้าง x สูง x หนา): ประมาณ 131.9 x 100.7 x 77.8 มม. / 5.20 x 3.97 x 3.07 นิว้
นํ้ าหนัก: ประมาณ 555 กรัม / 19.58 ออนซ์ (ข ้อกําหนด CIPA),
ประมาณ 510 กรัม / 17.99 ออนซ์ (เฉพาะตัวกล ้อง)
•สภาพแวดล้อมการทํางาน
ช่วงอุณหภูมใิ นการทํางาน: 0°C - 40°C / 32°F - 104°F

้ ในการทํางาน:
ความชืน 85% หรือน ้อยกว่า

390
ข ้อมูลจําเพาะ

•แบตเตอรีแ
่ พ็ ค รุน
่ LP-E17
ประเภท: แบตเตอรีล่ เิ ธียมไอออนแบบชาร์จซํ้าได ้
แรงดันไฟฟ้ า: 7.2 V DC
ความจุแบตเตอรี:่ 1040 mAh
ช่วงอุณหภูมใิ นการทํางาน: ระหว่างการชาร์จ: 5°C - 40°C / 41°F - 104°F
ระหว่างการถ่ายภาพ: 0°C - 40°C / 32°F - 104°F
ความชืน ้ ในการทํางาน: 85% หรือน ้อยกว่า
ขนาด (กว ้าง x สูง x หนา): ประมาณ 33.0 x 14.0 x 49.4 มม. / 1.30 x 0.55 x 1.94 นิว้
นํ้ าหนัก: ประมาณ 45 กรัม / 1.59 ออนซ์ (ไม่รวมฝาครอบป้ องกัน)

•แท่นชาร์จแบตเตอรี่ รุน
่ LC-E17E
แบตเตอรีท ่ รี่ องรับ: แบตเตอรีแ
่ พ็ค รุน
่ LP-E17
ระยะเวลาในการชาร์จ: ประมาณ 2 ชัว่ โมง (ทีอ
่ ณ
ุ หภูมห
ิ ้อง 23°C/73°F)
กระแสไฟเข ้า: 100 - 240 V AC (50/60 Hz)
กระแสไฟออก: 8.4 V DC / 700 mA
ช่วงอุณหภูมใิ นการทํางาน: 5°C - 40°C / 41°F - 104°F
ความชืน ้ ในการทํางาน: 85% หรือน ้อยกว่า
ขนาด (กว ้าง x สูง x หนา): ประมาณ 67.3 x 27.7 x 92.2 มม. / 2.65 x 1.09 x 3.63 นิว้
(ไม่รวมสายไฟ)
นํ้ าหนัก: ประมาณ 80 กรัม / 2.82 ออนซ์ (ไม่รวมสายไฟ)

391
ข ้อมูลจําเพาะ

•EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS STM


ความยาวโฟกัส / ค่ารูรับแสง: 18 mm-55 mm f/3.5-5.6
โครงสร ้างเลนส์: ้ ใน 11 กลุม
13 ชิน ่
ค่ารูรับแสงตํา่ สุด: f/22 - 36
*f/22-38 เมือ ่ กําหนดการปรับค่ารูรับแสงทีละ 1/2 ระดับ
มุมมอง: ขอบเขตเส ้นทแยงมุม: 74°20´ - 27°50´
ขอบเขตแนวตัง้ : 45°30´ - 15°40´
ขอบเขตแนวนอน: 64°30´ - 23°20´
ระยะโฟกัสใกล ้สุด: 0.25 ม. / 0.82 ฟุต
กําลังขยายสูงสุด: 0.36 เท่า (ทีค ่ วามยาวโฟกัส 55 มม.)
ระยะมองเห็น: ประมาณ 129 x 199 - 42 x 63 มม. / 5.08 x 7.83 - 1.65 x
2.48 นิว้ (ที่ 0.25 ม. / 0.82 ฟุต)
ขนาดฟิ ลเตอร์: 58 มม.
เส ้นผ่านศูนย์กลางสูงสุด ประมาณ 69.0 x 75.2 มม. / 2.72 x 2.96 นิว้
x ความยาว:
นํ้ าหนัก: ประมาณ 205 กรัม / 7.2 ออนซ์
ฮูด: EW-63C (แยกจําหน่าย)
ฝาครอบเลนส์: E-58 II
ถุงใส่เลนส์: LP1016 (แยกจําหน่าย)
•EF-S18-135mm f/3.5-5.6 IS STM
ความยาวโฟกัส / ค่ารูรับแสง: 18 mm-135 mm f/3.5-5.6
โครงสร ้างเลนส์: ้ ใน 12 กลุม
16 ชิน ่
ค่ารูรับแสงตํา่ สุด: f/22 - 36
*f/22-38 เมือ ่ กําหนดการปรับค่ารูรับแสงทีละ 1/2 ระดับ
มุมมอง: ขอบเขตเส ้นทแยงมุม: 74°20´ - 11°30´
ขอบเขตแนวตัง้ : 45°30´ - 6°20´
ขอบเขตแนวนอน: 64°30´ - 9°30´
ระยะโฟกัสใกล ้สุด: 0.39 ม. / 1.28 ฟุต
กําลังขยายสูงสุด: 0.28 เท่า (ทีค ่ วามยาวโฟกัส 135 มม.)
ระยะมองเห็น: ประมาณ 248 x 372 - 53 x 80 มม. / 9.76 x 14.65 - 2.09 x
3.15 นิว้ (ที่ 0.39 ม. / 1.28 ฟุต)
ขนาดฟิ ลเตอร์: 67 มม.
เส ้นผ่านศูนย์กลางสูงสุด ประมาณ 76.6 x 96.0 มม. / 3.02 x 3.78 นิว้
x ความยาว:
นํ้ าหนัก: ประมาณ 480 กรัม / 16.9 ออนซ์
ฮูด: EW-73B (แยกจําหน่าย)
ฝาครอบเลนส์: E-67 II
ถุงใส่เลนส์: LP1116 (แยกจําหน่าย)

392
ข ้อมูลจําเพาะ

•EF-S55-250mm f/4-5.6 IS STM


ความยาวโฟกัส / ค่ารูรับแสง: 55 mm-250 mm f/4-5.6
โครงสร ้างเลนส์: ้ ใน 12 กลุม
15 ชิน ่
ค่ารูรับแสงตํา่ สุด: f/22 - 32
มุมมอง: ขอบเขตเส ้นทแยงมุม: 27°50´ - 6°15´
ขอบเขตแนวตัง้ : 15°40´ - 3°30´
ขอบเขตแนวนอน: 23°20´ - 5°20´
ระยะโฟกัสใกล ้สุด: 0.85 ม. / 2.79 ฟุต
กําลังขยายสูงสุด: 0.29 เท่า (ทีค ่ วามยาวโฟกัส 250 มม.)
ระยะมองเห็น: ประมาณ 197 x 296 - 52 x 78 มม. / 7.76 x 11.69 - 2.05 x
3.07 นิว้ (ที่ 0.85 ม. / 2.79 ฟุต)
ขนาดฟิ ลเตอร์: 58 มม.
เส ้นผ่านศูนย์กลางสูงสุด ประมาณ 70.0 x 111.2 มม. / 2.76 x 4.38 นิว้
x ความยาว:
นํ้ าหนัก: ประมาณ 375 กรัม / 13.2 ออนซ์
ฮูด: ET-63 (แยกจําหน่าย)
ฝาครอบเลนส์: E-58 II
ถุงใส่เลนส์: LP1019 (แยกจําหน่าย)

 ข ้อมูลทัง้ หมดข ้างต ้นเป็ นไปตามมาตรฐานการทดสอบของแคนนอน รวมทัง้ มาตรฐาน


การทดสอบและข ้อกําหนดของ CIPA (Camera & Imaging Products Association)
 ขนาด เส ้นผ่านศูนย์กลางสูงสุด ความยาว และนํ้ าหนักทีร่ ะบุข ้างต ้นเป็ นไปตามข ้อกําหนด
ของ CIPA (ยกเว ้นนํ้ าหนักเฉพาะตัวกล ้อง)
 ข ้อมูลจําเพาะของผลิตภัณฑ์และรูปลักษณ์ภายนอก อาจเปลีย ่ นแปลงโดยไม่มก ี ารแจ ้ง
ให ้ทราบ
 หากมีปัญหาเกิดขึน ้ กับเลนส์ทต ิ กับกล ้องซึง่ ไม่ใช่ของแคนนอน โปรดติดต่อสอบถามผู ้
ี่ ด
ผลิตเลนส์ทเี่ กีย
่ วข ้อง

393
เครือ
่ งหมายการค้า
 Adobe เป็ นเครือ่ งหมายการค ้าของ Adobe Systems Incorporated
 Microsoft และ Windows เป็ นเครือ ่ งหมายการค ้าหรือเครือ
่ งหมายการค ้าจดทะเบียนของ
Microsoft Corporation ในสหรัฐอเมริกาและ/หรือประเทศอืน ่ ๆ
 Macintosh และ Mac OS เป็ นเครือ ่ งหมายการค ้าของ Apple Inc. ทีจ ่ ดทะเบียนในสหรัฐ
อเมริกาและประเทศอืน ่ ๆ
 โลโก ้ SDXC เป็ นเครือ
่ งหมายการค ้าของ SD-3C, LLC
 HDMI, โลโก ้ HDMI และ High-Definition Multimedia Interface เป็ นเครือ ่ งหมายการ
ค ้าหรือเครือ
่ งหมายการค ้าจดทะเบียนของ HDMI Licensing LLC
 เครือ
่ งหมายการค ้าอืน
่ ทัง้ หมดเป็ นของเจ ้าของเครือ
่ งหมายการค ้านัน
้ ๆ

เกีย
่ วก ับสิทธิการใช้งาน MPEG-4
“This product is licensed under AT&T patents for the MPEG-4 standard and may be
used for encoding MPEG-4 compliant video and/or decoding MPEG-4 compliant video
that was encoded only (1) for a personal and non-commercial purpose or (2) by a
video provider licensed under the AT&T patents to provide MPEG-4 compliant video.
No license is granted or implied for any other use for MPEG-4 standard.”
* ข ้อความนีจ
้ ะแสดงเป็ นภาษาอังกฤษหากจําเป็ น

394
แนะนําให้ใช้อป
ุ กรณ์เสริมแท้ของแคนนอน
ผลิตภัณฑ์นถ ี้ ก
ู ออกแบบเพือ ่ ให ้มีประสิทธิภาพการทํางานทีด ่ เี ยีย ่ ม เมือ่ ใช ้คูก
่ บ
ั อุปกรณ์
เสริมแท ้ของแคนนอน
แคนนอนไม่สามารถรับผิดชอบต่อความเสียหายทีเ่ กิดจากอุบต ั เิ หตุ เช่น ไฟไหม ้ เป็ นต ้น
หรือเกิดจากการทํางานทีผ ่ ด
ิ ปกติอน ่ งมาจากการใช ้กล ้องคูก
ั เนือ ่ บ ั อุปกรณ์เสริมทีไ่ ม่ใช่
ของแท ้ของแคนนอน (เช่น การรั่วซึม และ/หรือ การระเบิดของแบตเตอรีแ ่ พ็ค) โปรด
ทราบว่าการรับประกันนัน ้ ไม่รวมการซ่อมผลิตภัณฑ์ทเี่ สียหายอันเนือ ่ งมาจากการใช ้คูก ่ บ

อุปกรณ์เสริมทีไ่ ม่ใช่ของแท ้ของแคนนอน ถึงแม ้ว่าผู ้ใช ้มีความประสงค์สง่ ซ่อมและชําระ
เงินตามราคามาตรฐานก็ตาม

395
เมือ ่ มต่อปลั๊กไฟและใช ้เต ้ารับภายในบ ้าน ควรใช ้ชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้ า
่ ทําการเชือ
AC รุน่ ACK-E18 (กระแสไฟเข ้า: 100-240 V AC 50/60 Hz, กระแสไฟออก:
8.0 V DC) เท่านัน้ การใช ้ชุดอุปกรณ์อน ื่ อาจเป็ นสาเหตุให ้เกิดไฟไหม ้ ความร ้อนสูง
หรือไฟฟ้ าช๊อต

ข้อควรระว ัง
่ งทีจ
มีความเสีย ่ นใช ้แบตเตอรีผ
่ ะเกิดการระเบิดหากเปลีย ิ ประเภท ให ้กําจัดแบตเตอรีใ่ ช ้
่ ด
แล ้วตามข ้อบังคับของท ้องถิน

396
การดูคมู่ อื การใชง้ านใน CD-ROM /
15
การดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์
บทนีไ ้ ด ้อธิบายวิธก
ี ารดู CD-ROM คูม ื การใช ้งานกล ้องบน
่ อ
คอมพิวเตอร์ การดาวน์โหลดภาพจากกล ้องลงในคอมพิวเตอร์
สรุปรายละเอียดโดยรวมของซอฟต์แวร์ซงึ่ อยูใ่ น EOS
DIGITAL Solution Disk (CD-ROM) พร ้อมกับอธิบายวิธก ี าร
ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ลงในคอมพิวเตอร์ และอธิบายวิธด ี ค
ู ม
ู่ อ
ื การ
ใช ้งานซอฟต์แวร์

คูม
่ อ
ื การใช้งานกล้อง EOS DIGITAL Solution Disk
(ซอฟต์แวร์/คูม ื การใช ้งานซอฟต์แวร์)
่ อ

397
่ อื การใชง้ านกล้อง
การดู CD-ROM คูม

CD-ROM คูม ื การใช ้งานกล ้องประกอบด ้วยคูม


่ อ ื การใช ้งาน
่ อ
(ไฟล์ PDF) ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับผลิตภัณฑ์นี้

การดู CD-ROM คูม ื การใชง้ านกล้อง


่ อ
ในการดูคม ื การใช ้งาน (ไฟล์ PDF) จําเป็ นต ้องติดตัง้ Adobe Reader 6.0 หรือ
ู่ อ
สูงกว่าบนคอมพิวเตอร์ สามารถดาวน์โหลด Adobe Reader ได ้ฟรีจากอินเทอร์
เน็ ต และหลังจากติดตัง้ Adobe Reader แล ้ว ให ้ทําตามขัน ้ ตอนด ้านล่างนี้

ใส่ CD-ROM “CAMERA INSTRUCTION


1 MANUAL” ในคอมพิวเตอร์

2 ดับเบิลคลิกที่ CD-ROM
สําหรับ Windows ให ้ดับเบิลคลิกทีไ่ อคอนของ CD-ROM
ใน [(My) Computer] สําหรับ Macintosh ให ้ดับเบิล
คลิกทีไ่ อคอนของ CD-ROM บนเดสก์ท็อป
 ไอคอนทีแ ่ สดงอาจแตกต่างกันไป ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ระบบปฏิบัต ิ
การของคอมพิวเตอร์

3 ดับเบิ
ลคลิกทีไ่ ฟล์ START
ไอคอนทีแ
่ สดงอาจแตกต่างกันไป ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ระบบปฏิบัต ิ
การของคอมพิวเตอร์

398
การดู CD-ROM คูม ื การใช ้งานกล ้อง
่ อ

4 คลิกทีภ่ าษาของคุณ
5 คลิ
กทีค
 คูม
่ อ
่ ม
ู่ อ
ื ทีค
ื จะแสดงขึน
่ ณ
ุ ต้องการอ่าน
้ มา

 คุณสามารถบันทึกไฟล์ PDF ลงในคอมพิวเตอร์


 หากต ้องการเรียนรู ้การใช ้ Adobe Reader โปรดดูในส่วนช่วยเหลือของ Adobe
Reader

399
การดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์
คุณสามารถใช ้ ซอฟต์แวร์ EOS เพือ
่ ดาวน์โหลดภาพจากกล ้องไปยังคอมพิวเตอร์
โดยทําได ้สองวิธ ี

่ มต่อกล้องเข้าก ับคอมพิวเตอร์
การดาวน์โหลดโดยเชือ
ติดตงซอฟต์
ั้ แวร์ (น.403)
1

้ ายเชือ
่ มต่อทีจ ่ มต่อ
2 ใชส ่ ัดให้ เพือ
กล้องเข้าก ับคอมพิวเตอร์
่ เชือ

 ใช ้สายเชือ
่ มต่อทีใ่ ห ้มาพร ้อมกับกล ้อง
 ต่อสายเข ้ากับช่องสัญญาณดิจต ิ อลบนตัว
กล ้อง โดยให ้สัญลักษณ์ <D> หันไป
ทางด ้านหน ้าของกล ้อง
 เสียบปลายอีกด ้านเข ้ากับช่อง USB ของ
คอมพิวเตอร์

้ EOS Utility เพือ


3 ใช
 โปรดดูคม
่ ดาวน์โหลดภาพ
ื การใช ้งาน EOS Utility
ู่ อ
(น.404)

หากตัง้ ค่า [51: Wi-Fi/NFC] เป็ น [ใช้งาน] กล ้องจะไม่สามารถเชือ ่ มต่อเข ้ากับ


คอมพิวเตอร์ได ้ ให ้ตัง้ ค่า [Wi-Fi/NFC] เป็ น [ไม่ใช้งาน] จากนัน ่ มต่อกล ้อง
้ จึงเชือ
เข ้ากับคอมพิวเตอร์ด ้วยสายเชือ ่ มต่อ

400
การดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์

้ ัวอ่านการ์ด
การดาวน์โหลดภาพโดยใชต
คุณยังสามารถใช ้ตัวอ่านการ์ดเพือ
่ ดาวน์โหลดภาพลงในคอมพิวเตอร์
ติดตงซอฟต์
ั้ แวร์ (น.403)
1

2 เสี
ยบการ์ดเข้าไปในช่องของต ัวอ่าน
การ์ด

้ Digital Photo Professional


3 ใช
เพือ
่ ดาวน์โหลดภาพ
 โปรดดูคม ื การใช ้งาน Digital Photo
ู่ อ
Professional (น.404)

่ ดาวน์โหลดภาพจากกล ้องไปยังคอมพิวเตอร์โดยใช ้ตัวอ่านการ์ดแต่ไม่ใช ้ซอฟต์แวร์


เมือ
EOS ให ้คัดลอกโฟลเดอร์ DCIM ในการ์ดไปยังคอมพิวเตอร์

401
ภาพรวมของซอฟต์แวร์

EOS DIGITAL Solution Disk


EOS DIGITAL Solution Disk ประกอบด ้วยซอฟต์แวร์ตา่ งๆ
สําหรับกล ้อง EOS DIGITAL

EOS Utility
่ มต่อกล ้องเข ้ากับคอมพิวเตอร์ EOS Utility ช่วยให ้คุณสามารถถ่าย
ในขณะทีเ่ ชือ
โอนภาพนิง่ และภาพเคลือ ่ นไหวทีถ่ า่ ยไว ้ในกล ้องไปยังคอมพิวเตอร์ คุณสามารถ
ใช ้ซอฟต์แวร์นเี้ พือ
่ ปรับการตัง้ ค่าต่างๆ ของกล ้อง และควบคุมการถ่ายภาพระยะ
ไกลจากคอมพิวเตอร์ทต ี่ อ ่ มอยูก
่ เชือ ่ บั กล ้อง นอกจากนี้ คุณสามารถคัดลอกเพลง
ประกอบ เช่น EOS Sample Music* ลงในการ์ดได ้อีกด ้วย
* คุณสามารถเล่นดนตรีฉากหลังใน Video snapshot ภาพเคลือ
่ นไหว หรือเมือ
่ ดูภาพสไลด์
โชว์ โดยใช ้กล ้องของคุณ

Digital Photo Professional


ี้ ําหรับผู ้ใช ้ทีถ
ขอแนะนํ าซอฟต์แวร์นส ่ า่ ยภาพในแบบ RAW คุณสามารถดู แก ้ไข
และพิมพ์ภาพ RAW และภาพ JPEG ได ้
ั่ อาจแตกต่างกันระหว่างเวอร์ชน
* บางฟั งก์ชน ั่ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ บนคอมพิวเตอร์ 64 บิตและทีต
่ ด
ิ ตัง้ บน
คอมพิวเตอร์ 32 บิต

Picture Style Editor


คุณสามารถแก ้ไขรูปแบบภาพ สร ้างและบันทึกไฟล์ของรูปแบบภาพต ้นฉบับ
ี้ อกแบบมาสําหรับผู ้ใช ้งานขัน
ซอฟต์แวร์นอ ้ สูงซึง่ มีประสบการณ์ในการจัดการ
ภาพถ่าย

402
การติดตงซอฟต์
ั้ แวร์
่ มต่อกล้องก ับคอมพิวเตอร์กอ
 ไม่ควรเชือ ่ นทีค่ ณ
ุ จะทําการติดตงซอฟต์
ั้ แวร์
เพราะอาจทําให้การติดตงซอฟต์ ั้ แวร์เกิดความผิดพลาด
 หากมีการติดตัง้ เวอร์ชน ั่ ก่อนหน ้าไว ้แล ้ว ให ้ทําตามขัน
้ ตอนด ้านล่างนี้เพือ
่ ติดตัง้
ซอฟต์แวร์ใหม่อก ี ครัง้ (เวอร์ชน ั่ ใหม่จะติดตัง้ ทับเวอร์ชน
ั่ เก่า)

1 ใส่ EOS DIGITAL Solution Disk ลงในคอมพิวเตอร์


 สําหรับ Macintosh ให ้ดับเบิลคลิกเพือ
่ เปิ ดไอคอน CD-ROM ทีแ
่ สดงบน
เดสก์ท็อป จากนัน
้ ดับเบิลคลิก [setup]
2 คลิก [Easy Installation] และทําตามคําแนะนําบนหน้าจอ
เพือ
่ ติดตงั้
 หากหน ้าจอสําหรับติดตัง้ “Microsoft Silverlight” แสดงขึน
้ ระหว่างการติด
ตัง้ ให ้ติดตัง้ “Microsoft Silverlight”
3 คลิก [Restart] และนํา CD-ROM ออกจากคอมพิวเตอร์หล ัง
จากรีสตาร์ท
 เมือ
่ คอมพิวเตอร์เปิ ดขึน
้ อีกครัง้ การติดตัง้ จะเสร็จสมบูรณ์

403
คูม ื การใชง้ านซอฟต์แวร์
่ อ
มีคม ื การใช ้งานซอฟต์แวร์อยูบ
ู่ อ ่ น EOS DIGITAL Solution Disk
คุณสามารถคัดลอกและดูคม ื การใช ้งานซอฟต์แวร์ (ไฟล์ PDF)
ู่ อ
ได ้ดังต่อไปนี:้

1 ใส่ EOS DIGITAL Solution Disk ลงในคอมพิวเตอร์


2 ปิ ดหน้าจอการติดตงั้
 เมือ
่ หน ้าจอสําหรับติดตัง้ EOS DIGITAL Solution Disk ปรากฏขึน

ให ้ปิ ดหน ้าจอการติดตัง้ นัน

3 คลิกเปิ ด CD-ROM
4 เปิ ดโฟลเดอร์ [Manual]
5 ค ัดลอกโฟลเดอร์ [English] ไปย ังคอมพิวเตอร์
 คูม ื การใช ้งานแบบ PDF ตามรายชือ
่ อ ่ ด ้านล่างจะถูกคัดลอกไป

Windows Macintosh
EOS Utility EUx.xW_E_xx EUx.xM_E_xx
Digital Photo Professional DPPx.xW_E_xx DPPx.xM_E_xx
Picture Style Editor PSEx.xW_E_xx PSEx.xM_E_xx

6 ด ับเบิลคลิกไฟล์ PDF ทีค่ ัดลอกมา


 จําเป็ นต ้องติดตัง้ Adobe Reader (แนะนํ าให ้ใช ้เวอร์ชน
ั่ ล่าสุด) ใน
คอมพิวเตอร์
 สามารถดาวน์โหลด Adobe Reader ได ้ฟรีจากอินเทอร์เน็ ต

404
ด ัชนี
ต ัวเลข NTSC ..................................233, 366
1280x720 ................................... 233 ONE SHOT (AF ครัง้ เดียว).............. 101
1920x1080 ................................. 233 P (โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต)ิ ....... 148
640x480..................................... 233 PAL .....................................233, 366
PictBridge................................... 319
อ ักษรโรม ัน
Q (ควบคุมทันใจ) ............51, 88, 198,
A (ฉากอัตโนมัตอ ิ จั ฉริยะ) .............. 66
232, 286
Adobe RGB................................. 146
RAW ............................. 28, 117, 119
AEB (ถ่ายภาพคร่อมการเปิ ดรับแสง
RAW+JPEG.................... 28, 117, 119
อัตโนมัต)ิ .............................160, 338
sRGB.......................................... 146
AF (โฟกัสอัตโนมัต)ิ
การโฟกัสอัตโนมัต.ิ .................... 100 Tv (ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์) ............ 150
จัดองค์ประกอบภาพ..................... 69 Video snapshot ........................... 238
จุดโฟกัสอัตโนมัต ิ...................... 104 WB (สมดุลแสงขาว) ...................... 132
วัตถุทย ี่ ากต่อการโฟกัส ........110, 212 Wi-Fi.......................................... 364
วิธโี ฟกัสอัตโนมัต ิ ...............206, 248
ส่งเสียงเตือน (เสียงเตือน) .......... 256 ก
หลุดโฟกัส ............ 48, 49, 110, 212 กดลงครึง่ หนึง่ .................................50
เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัต .ิ .............. 106 กดลงจนสุด ....................................50
แสงไฟช่วยปรับโฟกัส ................ 340 กรอบพืน ้ ทีโ่ ฟกัสอัตโนมัต.ิ .................29
โฟกัสด ้วยตนเอง (MF) ........111, 216
กริ๊ ปแบตเตอรี่ ......................... 41, 360
โหมดเลือกพืน ้ ที่ AF................... 104
กล ้อง
AF ต่อเนือ ่ ง.................................. 204
่ .................................. 163
กล ้องสัน
AI FOCUS (AI Focus AF) .............. 102 ถือกล ้อง....................................49
AI SERVO (AI Servo AF) ........ 69, 102 ลบการตัง้ ค่ากล ้อง ..................... 267
Av (ระบุคา่ รูรับแสง) ....................... 152 แสดงการตัง้ ค่า ......................... 266
A/V OUT (สัญญาณออกเสียง/วิดโี อ) ...301 กลาง (คุณภาพในการบันทึกภาพ)... 28, 315
B/W (ภาพขาวดํา)..................126, 129 การชาร์จ ..........................34, 41, 348
BULB (ชัตเตอร์ B) ........................ 156 การถ่ายภาพมาโคร ..........................78
C (อัตโนมัตแ ิ บบสร ้างสรรค์) ........... 72 การถ่ายภาพแบบอัตโนมัต ิ
DPOF ......................................... 329 (ฉากอัตโนมัตอ ิ ัจฉริยะ).....................66
FEB (ถ่ายภาพคร่อมด ้วยแฟลช) ....... 176 การถ่ายภาพโดยล็อคกระจกขึน ้ ... 163, 342
HD......................................288, 298 การสัน ่ ของกล ้อง ....................... 48, 49
HDMI ..................................288, 298 การเลือกจุด AF อัตโนมัต ิ .........104, 108
HDMI CEC .................................. 299 การเลือกภาษา ...............................44
JPEG .......................................... 117 การแก ้ไขปั ญหา ............................ 369
M (ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง) ......... 155 การ์ด ................................ 24, 37, 59
MF (โฟกัสด ้วยตนเอง) ............111, 216 SD speed class ...........................5
ฟอร์แมต....................................59
405
ดัชนี

ฟอร์แมตแบบ Low Level ............. 60 ความไวแสง ISO สูงสุดสําหรับ ISO


สวิตซ์ป้องกันการบันทึก ............... 37 อัตโนมัต ิ ..................................123
เตือนการ์ด ...............................256 ตัง้ ค่าอัตโนมัต ิ (อัตโนมัต)ิ ...........124
แก ้ไขปั ญหา ......................... 38, 60 คะแนน ........................................284
การ์ด Eye-Fi.................................352 ่ า่ เริม
คืนสูค ่ ต ้น ...............................267
การ์ด SD, SDHC, SDXC 9 การ์ด คุณภาพในการบันทึกภาพ ................116
กีฬา............................................. 79

เก็บข ้อมูลลบภาพฝุ่ น ......................272
จอ LCD ...................................24, 39
แก ้ไขความคลาดส่วน .....................141 การปรับความสว่าง .....................258
แก ้ไขความคลาดสี .........................141 ตัง้ ค่าฟั งก์ชนั่ ถ่ายภาพ .............28, 61
แก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพ ........140 สีหน ้าจอ ..................................270
เล่นภาพ ............................ 97, 277

แสดงเมนู ........................... 53, 362
ขนาดไฟล์ .....................117, 235, 307
จํานวนพิกเซล...............................116
ขยายภาพ ............................ 216, 280
จํานวนภาพต่อเนือ ่ งสูงสุด ........ 117, 118
ข ้อควรระวังด ้านความปลอดภัย .......... 20
จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได .้ .........41, 117, 193
ข ้อมูลจําเพาะ................................384
จําลองภาพผลลัพธ์ ................ 197, 229
ข ้อมูลลิขสิทธิ์ ...............................263
จุดสัมผัสในการซิงค์แฟลช ................ 26
ข ้อมูลแบบละเอียด .........................307
จุดโฟกัส (จุดโฟกัสอัตโนมัต)ิ ...........104
ค ฉ
ครอบตัด ......................................317
ฉากกลางคืน .............................84, 85
ควบคุมทันใจ ......51, 88, 198, 232, 286
ฉากอัตโนมัตอ
ิ จ
ั ฉริยะ....................... 66
ควบคุมแสงพืน ้ หลัง HDR ................. 86

ความคมชัด ..................................128
ความละเอียดสูงสุด (Full HD) .........221, ชดเชยแสง...................................159
288, 298 ช่อง USB (ดิจต ิ อล) ............... 320, 402
ความสว่าง (การเปิ ดรับแสง).............159 ช่องมองภาพ ................................. 29
การชดเชยแสง..........................159 ตรวจจับแสงวูบวาบ ..................... 63
ถ่ายภาพคร่อมการเปิ ดรับ ปรับแก ้สายตา ............................ 49
แสงอัตโนมัต ิ (AEB) ........... 160, 338 แสดงตาราง............................... 62
ล็อคการเปิ ดรับแสง ช่องสกรูยด ึ ขาตัง้ กล ้อง..................... 27
อัตโนมัต ิ (ล็อค AE) ...................162 ช่องสัญญาณดิจต ิ อล .............. 320, 402
วิธก
ี ารวัด (โหมดวัดแสง) .............157 ช่องเสียบแฟลชภายนอก ........... 26, 171
ความอิม่ ตัวของสี ...........................128 ชัตเตอร์ซงิ ค์ (ม่านชัตเตอร์ท ี่ 1/2) .....177
ความเปรียบต่าง ............................128 ชัตเตอร์แบบแตะ ...........................214
ความไว 9 ความไวแสง ISO ่ ไฟล์ .......................................261
ชือ
ความไวแสง ISO ...........................122 ชุดอะแดปเตอร์ไฟฟ้ า AC.................349
ขยายความไวแสง ISO ...............338
เช็คระยะชัดลึก ..............................154
406
ดัชนี

ซ ถ่ายภาพเดีย่ ว ... 75, 112, 355, 357, 359


ซอฟต์แวร์.................................... 404 ถ่ายภาพแบบ Live View ........... 70, 191
ซอฟต์โฟกัส ..........................202, 313 AF ต่อเนือ่ ง.............................. 204
FlexiZone - Multi ..................... 208
ซิงค์มา่ นชัตเตอร์ทสี่ อง ................... 177
FlexiZone - Single ................... 210
ซิงค์มา่ นชัตเตอร์แรก...................... 177 ควบคุมทันใจ............................ 198
ซีเปี ย (ภาพขาวดํา) ................. 90, 129 จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได ้................... 193
โซนเวลา .......................................42 แสดงตาราง ............................. 204
ระยะเวลาวัดแสง ....................... 205
ด อัตราส่วนภาพ........................... 120
ดนตรีฉากหลัง .............................. 297 แสดงข ้อมูล.............................. 194
ดาวน์โหลดภาพ ............................ 403 โฟกัสด ้วยตนเอง (MF) ............... 216
ดูบนเครือ ่ งรับโทรทัศน์.............288, 298 ใบหน ้า+การติดตาม................... 206
เด็ก ..............................................81 ถ่ายภาพแบบเงียบ
ถ่ายภาพต่อเนื่อง ....................... 112
ต ถ่ายภาพเดีย ่ ว ........................... 112
ตรวจจับแสงวูบวาบ.................... 29, 63 ถ่ายภาพแบบใช ้แฟลชไร ้สาย ........... 179
ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่...................41 ถ่ายลดแสงวูบวาบ ......................... 144
ตาราง ............................ 62, 204, 250

ตารางแสดงค่าเริม ่ ต ้น ..................... 268
ทําความสะอาด (เซนเซอร์ภาพ) ... 271, 274
ั่ ถ่ายภาพ ................ 28, 61
ตัง้ ค่าฟั งก์ชน
ทําความสะอาดเซนเซอร์ ..........271, 274
ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง ........155, 225
แท่นชาร์จ ......................................... 34
ตัง้ ค่าระบบส่วนตัว.......................... 336
โทนสี ..............................82, 83, 128
ตัง้ ค่าโฟโต ้บุค ๊ .............................. 333
ตัง้ เวลา ....................................... 114 น
ตัง้ เวลา 10 วินาที หรือ 2 วินาที ........ 114 นามสกุลไฟล์................................ 262
ตัวแสดงการโฟกัส ........................... 66 เน ้นโทนภาพบริเวณสว่าง ................ 339
เตือนบริเวณสว่างโพลน .................. 310 เน ้นโทนสี .................................... 339
เตือนอุณหภูม ิ ........................218, 253 แนะนํ าคุณสมบัต ิ .............................64
แตะ..............................................56 บ
ถ บริเวณสว่างโพลน ......................... 310
ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ .................... 85 บุคคลกลางคืน ................................84
ถ่ายภาพคร่อม .......................135, 160 เบลอฉากหลัง.................................74
ถ่ายภาพด ้วยรีโมทคอนโทรล ........... 350 แบตเตอรี่........................... 34, 36, 41
ถ่ายภาพด ้วยลูกเล่นพิเศษ ................. 73 ป
ถ่ายภาพต่อเนือ่ ง ........................... 112 ปกติ (คุณภาพในการบันทึกภาพ) ........28
ถ่ายภาพตามการเลือกบรรยากาศ ........90 ปรับขนาดภาพ .............................. 315
ถ่ายภาพตามแสงหรือบรรยากาศ .........94 ปรับเวลาในฤดูร ้อน...........................43
407
ดัชนี

ปรับแก ้สายตา................................ 49 ฟ
ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัต ิ ..............136 ฟอร์แมต (เตรียมใช ้งานการ์ด) ........... 59
ปลั๊กไฟภายในบ ้าน.........................349 ฟั งก์ชน ั่ ทีส
่ ามารถตัง้ ค่าได ้ตาม
ป้ องกันฝุ่ นในภาพ ..........................271 โหมดการถ่ายภาพ .........................354
ป้ องกันภาพ..................................302 ฟิ ลเตอร์สร ้างสรรค์ ................. 200, 312
ปิ ดสวิตซ์อัตโนมัต ิ.................... 40, 257 แฟลช
ปุ่ ม INFO. ..................................... 97 การลดตาแดง ...........................167
ปุ่ มชัตเตอร์ .................................... 50 ควบคุมแฟลช ...........................173
ความเร็วการซิงค์แฟลช ...............172
ปุ่ มหมุนหลัก .................................. 26
ชดเชยระดับแสงแฟลช ...............168
ปุ่ มโหมด....................................... 30 ชัตเตอร์ซงิ ค์ (ม่านชัตเตอร์ที่ 1/2) ... 177
เปิ ดรับแสงนาน..............................156 ตัง้ ค่าระบบส่วนตัว ......................178
โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต ิ .............148 ถ่ายภาพคร่อมด ้วยแฟลช (FEB)....176
โปรไฟล์ ICC ................................146 ปิ ดแฟลช ....................... 71, 75, 89
ระยะทีม ่ ผ
ี ล...............................166
ผ ล็อค FE ...................................169
ผู ้ใช ้รีเซ็ตเอง ................................262 แฟลชกําหนดเอง............... 177, 190
แผนผังระบบอุปกรณ์ ......................360 แฟลชภายนอก..........................171
แฟลชในตัวกล ้อง ......................166
ฝ ไร ้สาย .....................................177
ฝาปิ ดช่องมองภาพ .................. 33, 351 แฟลชทีไ่ ม่ใช่ของแคนนอน ..............172
พ แฟลชภายนอก..............................171
พลังงาน แฟลชในตัวกล ้อง ..........................166
การชาร์จ.............................. 34, 41 โฟกัส 9 AF
ข ้อมูลแบตเตอรี่ .........................348 โฟกัสด ้วยตนเอง (MF)............ 111, 216
จํานวนภาพทีถ ่ า่ ยได .้ .....41, 117, 193 โฟกัสอัตโนมัต ิ (AF).......................100
ตรวจสอบระดับแบตเตอรี่ .............. 41
โฟกัสอัตโนมัตจิ ุดเดียว....................104
ประสิทธิภาพในการชาร์จ .............348
ปลั๊กไฟภายในบ ้าน.....................349 โฟกัสอัตโนมัตแ ิ บบโซน ..................104
ปิ ดสวิตซ์อตั โนมัต ิ ......................257 โฟกัสแบบกากบาท ........................109
พิกด
ั สี (ช่วงการปรับค่าการแสดงสี) ...146 โฟกัสแบบเลือกอัตโนมัต ิ 19 จุด .......104
พิมพ์ภาพ.....................................319 ไฟแสดงสถานะ .............................. 38
ครอบตัดภาพ ............................327

คําสัง่ พิมพ์ (DPOF) ....................329
จัดหน ้ากระดาษ .........................323 ภาพ
ตัง้ ค่าโฟโต ้บุค
๊ ..........................333 การดูภาพแบบขยาย ...................280
ปรับตัง้ กระดาษ .........................322 การลบ ....................................304
ลูกเล่นการพิมพ์.........................324 ข ้อมูลการถ่ายภาพ .....................306
แก ้ไขภาพเอียง .........................327 ดูบนเครือ ่ งรับโทรทัศน์ ........ 288, 298
ถ่ายโอนภาพ ............................352
พิมพ์ภาพโดยตรง ..........................320
ป้ องกัน ....................................302
408
ดัชนี

สไลด์โชว์ ................................ 294 โฟกัสด ้วยตนเอง ....................... 222


หมายเลขไฟล์ภาพ .................... 261 ล็อค AE .................................. 162
หมุนภาพด ้วยตนเอง................... 283 ภาพเคลือ ่ นไหวความละเอียดสูง
หมุนภาพอัตโนมัต ิ ..................... 265 (HD) ...................................288, 298
ฮิสโตแกรม .............................. 310 ภาพเคลือ ่ นไหวเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม .... 236
เตือนบริเวณสว่างโพลน .............. 310
เล่นภาพ ............................ 97, 277 ม
เล่นภาพอัตโนมัต ิ ...................... 294 มุมมอง..........................................46
เวลาการแสดง .......................... 257 เมนู ..............................................53
แสดงจุด AF ............................. 309 การตัง้ ค่า ................................. 362
แสดงภาพแบบข ้าม (เลือกดูภาพ) ... 279 ขัน้ ตอนการตัง้ ค่า .........................54
แสดงภาพแบบดัชนี ................... 278 เมนูสว่ นตัว ............................... 346
ให ้คะแนน ................................ 284
เมนูสว่ นตัว ................................... 346
ภาพขาวดํา ..................... 90, 126, 129
เมมโมรีก ่ าร์ด 9 การ์ด
ภาพบุคคล ............................. 76, 126
ไมโครโฟน................................... 222
ภาพวิว .................................. 77, 126
ภาพหยาบ ขาว/ดํา .................202, 313

ภาพเคลือ ่ นไหว ............................ 221 ยางครอบช่องมองภาพ ................... 351
Servo AF ภาพเคลือ ่ นไหว........... 248 ร
Video snapshot ....................... 238 รหัสข ้อผิดพลาด ........................... 382
การถ่ายภาพนิง่ ......................... 230
การบันทึกเสียง ......................... 251 ระดับขัน้ ในการตัง้ ค่าระดับแสง .......... 338
การเพลิดเพลินกับภาพเคลือ ่ นไหว....288 ระดับเสียง (เล่นภาพเคลือ ่ นไหว) ...... 291
การแก ้ไข ................................ 292 ระบบวิดโี อ .................... 233, 298, 366
ขนาดการบันทึก ........................ 233 ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์................... 150
ขนาดการบันทึกภาพเคลือ ่ นไหว ... 233 ระบุคา่ รูรับแสง .............................. 152
ขนาดไฟล์ ............................... 235
ระยะเวลาบันทึก
ควบคุมทันใจ............................ 232
ภาพเคลือ ่ นไหว......................... 235
ดูบนเครือ ่ งรับโทรทัศน์.........288, 298
ตาราง ..................................... 250 ระยะเวลาวัดแสง ....................205, 250
ถ่ายแบบตัง้ ค่าระดับแสงเอง ......... 225 ระยะเวลาแสดงภาพ ....................... 257
ภาพเคลือ ่ นไหวเอฟเฟคกล ้องรูเข็ม ...236 ระยะใกล ้ .......................................78
ระยะเวลาวัดแสง ....................... 250 รีเซ็ตอัตโนมัต ิ............................... 262
ลดระดับเสียง ........................... 251
รีโมทสวิตซ์ .................................. 351
ลดเสียงลม .............................. 251
วิธโี ฟกัสอัตโนมัต ิ ...............232, 248 รุน
่ โปรแกรมควบคุมระบบ................. 366
อัตราเฟรม ............................... 233 รูปแบบภาพ................... 125, 127, 130
อัลบัม ้ video snapshot .............. 238 ล
เปิ ดรับแสงอัตโนมัต ิ ................... 222
เล่นภาพ .................................. 290 ลดจุดรบกวน
แก ้ไขฉากแรกและฉากสุดท ้าย...... 292 ความไวแสง ISO สูง .................. 137
แสดงข ้อมูล ............................. 227 เปิ ดชัตเตอร์นาน........................ 138

409
ดัชนี

ลดจุดรบกวนจากการเปิ ดชัตเตอร์นาน ... 138 วัดแสงแบบจุด ..............................157


ลดจุดรบกวนจากความไวแสง ISO สูง ...137 วันที/่ เวลา ..................................... 42
ลดจุดรบกวนถ่ายหลายภาพ .............137 ส
ลดตาแดง ....................................167 ส่งเสียงเตือน (เสียงเตือน) ...............256
ลดระดับเสียง................................251 สมดุลแสงขาว...............................132
ลดเสียงลม...................................251 กําหนดเอง ...............................132
ลบการตัง้ ค่ากล ้อง..........................267 ถ่ายภาพคร่อม...........................135
ลบภาพ .......................................304 ส่วนตัว ....................................133
ล็อค AE.......................................162 แก ้ไข ......................................134
ล็อคแฟลช FE ..............................169 สมดุลแสงขาวกําหนดเอง ................133
ล็อคโฟกัส..................................... 69 สร ้าง/เลือกโฟลเดอร์ ......................259
ละเอียด (คุณภาพในการบันทึกภาพ).... 28 ส่วนต่างๆ ของกล ้อง........................ 26
ลาก ............................................. 57 สวิตซ์เลือกโหมดโฟกัส ......45, 111, 216
ลําโพง ........................................290 สายคล ้อง ..................................... 33
สายเชือ ่ มต่อ .................... 3, 298, 301,
ลั่นชัตเตอร์ขณะไม่มก ี าร์ด ................256
320, 360, 402
ลูกเล่นกล ้องของเล่น .............. 203, 314
สไลด์โชว์.....................................294
ลูกเล่นฟิ ลเตอร์ ..................... 129, 312
สัญลักษณ์คะแนน ..........................284
ลูกเล่นภาพสีนํ้า ..................... 202, 314
เสียงเตือนขณะสัมผัส ...................... 57
ลูกเล่นศิลปะคมเข ้ม................ 202, 314
แสงเทียน...................................... 83
ลูกเล่นโทนสี (ภาพขาวดํา) ..............129
แสดงข ้อมูลการถ่ายภาพ..................306
เล็ก (คุณภาพในการบันทึกภาพ).... 28, 315
แสดงภาพทีละภาพ ......................... 97
เล่นภาพ ................................ 97, 277
แสดงภาพแบบข ้าม ........................279
เล่นภาพอัตโนมัต .ิ ..........................294
แสดงภาพแบบดัชนี ........................278
เลนส์ ................................ 25, 31, 45
ปลดล็อค .................................. 46 ห
ระบบลดภาพสัน ่ ......................... 48 หน ้าจอสัมผัส .................... 27, 56, 281
แก ้ไขความคลาดส่วน .................141 หมายเลขไฟล์แบบต่อเนื่อง ..............261
แก ้ไขความคลาดสี .....................141
หมุน (ภาพ)...................265, 283, 327
แก ้ไขระดับแสงบริเวณขอบภาพ ....140
หมุนภาพแนวตัง้ อัตโนมัต ิ ................265
เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัตด ิ ้วยตนเอง.....106
หยุดค่ารูรับแสง .............................154
เลือ่ นค่าโปรแกรม ..........................149
โหมดการถ่ายภาพ .......................... 30
ว Av (ระบุคา่ รูรับแสง) ...................152
วัดแสงบางส่วน .............................157 M (ตัง้ ค่าระดับแสงด ้วยตนเอง) .....155
วัดแสงประเมินทัง้ ภาพ ....................157 P (โปรแกรมระดับแสงอัตโนมัต)ิ ...148
วัดแสงเฉลีย
่ หนักกลางภาพ..............158 Tv (ระบุคา่ ความเร็วชัตเตอร์) ........150
โหมดการถ่ายภาพพืน ้ ฐาน ................ 30

410
ดัชนี

โหมดการถ่ายภาพสร ้างสรรค์ ............. 30


โหมดขับเคลือ
่ น ......... 28, 75, 112, 114
โหมดฉากพิเศษ.............................. 80
โหมดถ่ายภาพ
A (ฉากอัตโนมัตอ ิ จ
ั ฉริยะ) .......... 66
7 (ปิ ดแฟลช) ..........................71
C (อัตโนมัตแ ิ บบสร ้างสรรค์) ....... 72
2 (ภาพบุคคล)..........................76
3 (ภาพวิว).............................. 77
4 (ระยะใกล ้) ............................ 78
5 (กีฬา)................................. 79
8 (ฉากพิเศษ)....................... 80
C(เด็ก)....................................81
P (อาหาร)................................82
x (แสงเทียน)........................... 83
6 (บุคคลกลางคืน) .................... 84
F (ถ่ายกลางคืนแบบมือถือ) .........85
G (ควบคุมแสงพืน ้ หลัง HDR) ...... 86
โหมดทํางานแฟลช.................176, 177
โหมดวัดแสง ................................ 157
ใหญ่ (คุณภาพในการบันทึกภาพ).... 28, 315

อาหาร .......................................... 82
อัตราส่วนภาพ .............................. 120
อัตราเฟรม ................................... 233
อัตโนมัตแ ิ บบสร ้างสรรค์ .................... 72
อัลบัม
้ video snapshot .................. 238
อุณหภูมส ิ ี .................................... 132
อุปกรณ์ ...........................................3
อุปกรณ์ตอ ่ ไฟ DC.......................... 349
เอฟเฟคกล ้องรูเข็ม .................203, 314
เอฟเฟคเลนส์ตาปลา...............202, 314
ไอคอน J (การถ่ายภาพสร ้างสรรค์) .....8
ไอคอน 3 ..................................8
ไอคอนแสดงฉาก ...................196, 224

ฮิสโตแกรม (ความสว่าง/RGB) ......... 310

411
รายละเอียดทั้งหมดนี้จะสอดคล้องกับวิธีการตรวจสอบที่เป็นมาตรฐานของแคนนอน หาก
ผู้ใช้ตรวจพบสิ่งใดที่ผิดพลาดไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์ตัวอักษรหรือการแปลความหมายก็ตาม
ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและข้อจำกัดของผลิตภัณฑ์
ขออภัยหากไม่ได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงข้อจำกัดและรูปแบบตัวกล้อง ต้องขออภัยที่ไม่ได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า
เนื้อหาที่ใช้อธิบายตามภาพหน้าจอกล้องในคู่มือการใช้งานนี้ อาจมีความแตกต่างกันเล็กน้อย
เมื่อเทียบกับเนื้อหาจริงที่ปรากฏบนตัวกล้อง

คำอธิบายในคู่มือการใช้งานนี้เป็นข้อมูลล่าสุดถึงเดือนมีนาคม 2015 สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับ


ความเข้ากันได้กับผลิตภัณฑ์ใดๆ ที่มีการแนะนำหลังจากนี้ โปรดติดต่อศูนย์บริการของ
แคนนอน สำหรับคู่มือการการใช้งานในเวอร์ชั่นล่าสุด โปรดดูจากเวปไซต์แคนนอน
CPX-E154-001 © CANON INC. 2015

You might also like