You are on page 1of 67

ความรูเบื้องตนเรื่องการเสื่อมสภาพของโลหะ

(Introduction to Metal Degradation)


วิชา 2109101 วัสดุวิศวกรรม (Engineering Materials)
สําหรับปการศึกษา 2/2552
รองศาสตราจารย ดร. กอบบุญ หลอทองคํา
ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร
ตึก 4 ชั้น 16 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
การเสื่อมสภาพของโลหะ
(Metal Degradation)
ในที่นี้ศึกษา 4 ชนิด
-การกัดกรอน (Corrosion)
-การเกิดออกซิเดชัน (Oxidation) ที่อุณหภูมิสูง
-การสญเสียคารบอนของเหล็ก (Decarburization) ที่อุณหภูมิสูง
-การทําปฏิกริ ิยากับสารประกอบกํามะถัน (Sulfidation)
ที่อุณหภูมิสูง
การกัดกรอน (Corrosion)
หมายถึง การสูญเสียเนือ้ วัสดุเนื่องจากทําปฏิกิริยา
กับสิ่งแวดลอม กอใหเกิดความเสียหายของวัสดุ วัสดุ
ไมสามารถรับแรงหรือใชงานไดตามที่ออกแบบ
คําถาม
- การละลายของวัสดุในสารละลายเปนการกัดกรอนหรือไม
- ปฏิกิรยิ าอะไรที่เกี่ยวของ ในปรากฏการณการกัดกรอน
- ความเสียหายของวัสดุกอใหเกิดความเสียหายทาง
เศรษฐกิจมากนอยแคไหน
การกัดกรอน (Corrosion)
สําหรับโลหะ เกิดขึ้นทุกแหงที่มีการใชงาน ตัวอยางเชน
เครือ่ งมือ เครื่องใชไฟฟา
Where will you see corrosion on your appliances?
• Dishwasher interiors
• Washing machine interiors
• All around hot water heaters, including connections and
exterior frames
• Small kitchen appliances such as toasters and coffee pots
• Hinges, bolts, and connectors
การกัดกรอน (Corrosion)
สําหรับโลหะ เกิดขึ้นทุกแหงที่มีการใชงาน ตัวอยางเชน
ทอน้ําประปา ทอน้ําบาดาล
การกัดกรอน (Corrosion)
ทอน้ําของหอหลอความเย็นสําหรับอาคารพักอาศัย
การกัดกรอน (Corrosion)
สําหรับโลหะ เกิดขึ้นไดทุกที่มีการใช ตัวอยางเชน
รถยนต
Where will you find corrosion on your car?
• Automobile body parts that have scratches or nicks (e.g.
doors, metal bumpers)
• Chrome-plated trim
• Hinges and brackets
• Exhausted gas system
การกัดกรอน (Corrosion)
เกิดขึ้นทุกแหงที่มีการใชงานโลหะ ตัวอยางเชน
เครื่องจักรอุปกรณในอุตสาหกรรม ในครัวเรือน เครื่องใชสวนตัว ฯลฯ
การกัดกรอน (Corrosion)
เกิดขึ้นทุกแหงที่มีการใชโลหะ อุตสาหกรรมกาซธรรมชาติและน้ํามัน
การกัดกรอน (Corrosion)
เกิดขึ้นทุกแหงที่มีการใชโลหะ
ตัวอยางเชน
อุตสาหกรรมขนสงทางเรือ
เดินสมุทร
การกัดกรอน (Corrosion)
เกิดขึ้นทุกแหงที่มีการใชโลหะ
ตัวอยางเชน
อุตสาหกรรมเคมี
อุตสาหกรรมปโตรเคมี
อุตสาหกรรมอาหาร
อุตสาหกรรมยา
อุตสาหกรรมเครือ่ งอุปโภค
บริโภค
อุตสาหกรรมเหล็ก
การกัดกรอน (Corrosion)
- รถยนต
What can you do to control corrosion on your car?
• Remove rust and put on protective coating
• Repaint damaged areas
• Rinse off corrosive materials such as salt and sand quickly
• Replace damaged parts
• Before purchase, check car for smooth edges and finishes without
chips, pits, or gaps
• Keep car surface clean and apply wax or polish regularly for
protection
• Before purchase, check electroplated surface for thin spots
การกัดกรอน (Corrosion)
- เครือ่ งใชไฟฟา
What can you do to control corrosion on your appliances?
• Check electroplate quality before purchase
• Keep surfaces clean from lint, dirt, or water
• Apply wax to metal surfaces for corrosion protection and attractive
finish
• Apply greases (e.g., automobile, petroleum jelly) to moving joints or
electrical connections for corrosion protection and flexibility
• Inspect appliances regularly for smooth edges and surfaces without
chips or nicks
การกัดกรอน (Corrosion)
ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ผลการสํารวจป 1998
การกัดกรอนกอความ
เสียหายทางเศรษฐกิจ
เปนมูลคา 276 พันลาน
เหรียญ/ป
เนื่องมาจาก
การกัดกรอน (Corrosion)
มูลคาความเสียหายในประเทศญี่ปุนประมาณ
หลายพันลานลานเยน/ป ???
มูลคาความเสียหายในประเทศไทยยังไมมีการสํารวจ
ความเสียหายมาจาก
- การหยุดกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม
- การซอมบํารุงรักษา
- การปองกันการกัดกรอน
- ผลของเหตุการณรายที่เกิดขึ้นตามมา เชน การลมของเรือขาม
ทะเลเหนือ
หลักพื้นฐานการกัดกรอน
ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี (Electrochemical Reaction)
หลักพื้นฐานการกัดกรอน
ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี (Electrochemical Reaction)
องคประกอบของกระบวนการกัดกรอน
- ขั้วแอโนด (Anode) เกิดปฏิกิริยาแอโนดิก (Anodic Reaction) หรือ
ออกซิเดชัน (Oxidation)
M -----> Mn+ + ne-
- ขั้วแคโทด (Cathode) เกิดปฏิกิริยาแคโทดิก (Cathodic Reaction)
หรือรีดักชัน(Reduction) เชน
2H+ + 2e- -------> H2
O2 + 4H+ + 4e- -------> 2H2O pH < 3
O2 + 2H2O + 4e- -------> 4OH- pH > 3
- สารละลายที่นําไฟฟาได (Electrolyte)
องคประกอบของกระบวนการกัดกรอน
หลักพื้นฐานการกัดกรอน
จากความรูเรื่องไฟฟาเคมี สรางตารางศักยไฟฟามาตรฐาน (Eo)
ของโลหะและโลหะผสม (Standard Potentials) ที่ 25 องศาเซลเซียส
เครื่องวัดศักยไฟฟา

โลหะ ขั้วไฟฟา
ไฮโดรเจน H2
Pt 1 atm
[Mn+]=1 M [H+]=1 M

ภาพแสดงการวัดศักยไฟฟามาตรฐานอยางงาย
ตารางศักยไฟฟามาตรฐาน
หรือตารางอนุกรมกัลวานิก ตัวอยางที่ 25 องศาเซลเซียส
โลหะ ศักยไฟฟา (V) อนุกรมในน้ําทะเล
Noble Pt +1.20 Titanium
Ag +0.80 Monel
Cu +0.35 Passive 18/8
Hydrogen 0 Ag
Sn -0.13 Nickel
Ni -0.25 CuNi
Fe -0.44 Active 18/8
Zn -0.77 Steel
Active Mg -1.80 Zinc
ตารางศักยไฟฟามาตรฐาน
ตารางศักยไฟฟามาตรฐาน
ตารางศักยไฟฟามาตรฐาน
ตัวอยางการนําไปใชงาน
คูโลหะ แคโทด แอโนด
เหล็ก-สังกะสี เหล็ก สังกะสี
เหล็ก-แมกนีเซียม เหล็ก แมกนีเซียม
เหล็ก-ดีบุก ดีบุก เหล็ก
เหล็ก-เหล็กกลาไรสนิม เหล็กกลาไรสนิม เหล็ก
ทองแดง-เหล็ก ??? ???
เหล็ก-อะลูมิเนียม ??? ???
เหล็ก-ทองเหลือง ??? ???
ตารางศักยไฟฟามาตรฐาน
ตัวอยางการนําไปใชคํานวณคาศักยไฟฟา
ลักษณะการกัดกรอน
โดยทั่วไปแบงตามรูปรางรอยทีเกิดการกัดกรอน เปน 9 แบบ
-การกัดกรอนแบบสม่ําเสมอ (General corrosion)
-การกัดกรอนแบบกัลวานิก (Gavalnic Corrosion)
-การกัดกรอนแบบรูเข็ม (Pitting Corrosion)
-การกัดกรอนในซอก (Crevice Corrosion)
-การกัดกรอนที่ขอบเกรน (Intergranular Attack)
-การกัดกรอนที่มีแรงเคน (Stress Corrosion)
-การกัดกรอนแบบสกัดเฉพาะที่ (Selective Leaching)
-การกัดกรอนเนื่องจากการไหล (Erosion Corrosion)
-การเสียหายเนื่องจากไฮโดรเจน (Hydrogen Damage)
การกัดกรอนแบบสม่ําเสมอ
เปนการสูญเสียเนื้อโลหะปริมาณเทา ๆ กันทุกสวน

กัดกรอน
การกัดกรอนแบบสม่ําเสมอ
การวัดอัตราการกัดกรอนแบบสม่ําเสมอ
- วัดน้ําหนักที่หายไป เชน กรัม/ม2/ชม (g/m2/h)
- วัดการลดความหนา เชน มม/ป (mm/yr) มิล/ป (mils/yr or mpy)
- 1 กรัม/ม2/ชม. = 1.1 มม/ป = 43 mpy

ตารางแสดงอัตราการกัดกรอนและระดับความรุนแรง
อัตราการกัดกรอน ความรุนแรงการกัดกรอน
<0.1 มม/ป (< 5 mpy) มีความตานทานสูง
0.1-1.00 มม/ป (5-50 mpy) ตองใชอยางระวัง
> 1.0 มม/ป (>50 mpy) รุนแรงมาก ไมควรใช
การกัดกรอนแบบกัลวานิก
โลหะสองชนิดตอกันเกิดขั้วแอโนดและแคโทด
กัดกรอน

แคโทด แอโนด
การกัดกรอนแบบกัลวานิก
สาเหตุทําใหเกิดขั้วแอโนด และขั้วแคโทด
- ความแตกตางของสวนผสมเคมีในเนื้อโลหะ
(Chemical Composition Couples)
ใช Galvanic Series
- ความแตกตางของแรงเคน (Stress Couples)
บริเวณที่มีความเคนสูงกวาจะเปนแอโนด
- ความแตกตางความเขมขน (Concentration Couples)
บริเวณที่มีออกซิเจนนอยกวาเปนแอโนด
การกัดกรอนแบบกัลวานิก
การกัดกรอนกัลวานิกที่หนาแปลนตอทอเหล็กกลาคารบอนกับทอสเตนเลส AISI 321

การตอสายไฟระหวางหนาแปลน การวัดศักยไฟฟาระหวางหนาแปลน
การกัดกรอนแบบรูเข็ม
มักจะเกิดกับเหล็กกลาไรสนิมในสารละลายที่มีคลอไรด เพราะ
ฟลมโครเมียมออกไซดที่ผิวถูกทําลาย
รูเข็ม
การกัดกรอนในซอก
ในซอกมีปริมาณออกซิเจนนอยกวาจะเปนแอโนด

แคโทด
O2 + 2H2O + 4e- -------> 4OH-

แอโนด
M ---> Mn+ + ne-
การกัดกรอนในซอก
หนาแปลนทอ สกรู
การกัดกรอนในซอก
Filiform corrosion
เกิดที่ผิวกระปองบรรจุ
อาหารเคลือบดวยฟลม
พลาสติก เก็บในสภาพ
อากาศชื้นสูง
การกัดกรอนที่ขอบเกรน
ที่ขอบเกรนมีสารประกอบคารไบดตกผลึก มักเกิดใน
เหล็กกลาไรสนิม
การกัดกรอนที่ขอบเกรน
ที่รอยกระทบรอนขางเนื้อเชือ่ ม
การกัดกรอนที่มีแรงเคน
แรงเคน + การกัดกรอน ถาแรงเคนมีการสลับทิศทางตลอดเวลา
เรียกวา การกัดกรอนที่มีแรงสลับ
F

รอยแตก

บรรยากาศ กัดกรอน

F
การกัดกรอนที่มีแรงเคน

บริเวณทีถ่ กู กัดกรอน
การกัดกรอนแบบสกัดเฉพาะที่
เกิดในโลหะผสมทองเหลือง (Dezincification)
ทองเหลือง (CuZn) CuNi
การกัดกรอนเนื่องจากการไหล
ของไหลไหลดวยความเร็วสูงหรือมีการเปลี่ยนทิศทางการไหล
เกิดฟองกาซกระแทกหรือแตกที่ผิวโลหะดวยแรงเคนสูงกวาจุดคราก

เปลี่ยนทิศ การแกไข

เกิดฟอง
การกัดกรอนเนื่องจากการไหล
ตัวอยาง
การเสียหายเนื่องจากไฮโดรเจน
การพองเนื่องจากไฮโดรเจน (Hydrogen Blistering)
การเสียหายเนื่องจากไฮโดรเจน
การเปราะเนื่องจากไฮโดรเจน (Hydrogen embrittlement)
โลหะผสมหลายชนิด โดยเฉพาะเหล็กกลา คาความเหนียว
และคาความเคนลดลงเมื่อมีอะตอมไฮโดรเจนแทรกอยูใน
เนื้อแมวาจะมีเพียงความเขนขนสวนในลาน (ppm)
ในวงการเชื่อมใชชอื่ วา Hydrogen Induced Cracking (HIC)

จาก www.azom.com
การเสียหายเนื่องจากไฮโดรเจน
การเกิดสารประกอบไฮดรายด (Hydride formation)
อะตอมไฮโดรเจนรวมตัวโลหะตาง ๆ ได เชน Ti, Zr, Mg, Ta,
Nb, V, U, Th เกิดเปนสารประกอบโลหะไฮดรายด
xM + yH MxHy
ซึ่งมีคุณสมบัติเปราะ โลหะสูญเสียความเหนียว คาความ
แข็งแรงลดลง
การเสียหายเนื่องจากไฮโดรเจน
การแตกเนื่องจากเกิดกาซมีเทน (Hydrogen attack)
อะตอมไฮโดรเจนรวมตัวคารบอนกลายเปนกาซมีเทน
C + 4H CH4
เกิดการแตกราวที่ขอบเกรน

จาก www.corrosionist.com
การปองกันการกัดกรอน
ที่นิยมใชกัน คือ
- การทาสีหรือการเคลือบผิวดวยสารอินทรีย
- การใชสารยับยั้ง (Inhibitors)
- การเลือกใชโลหะที่เหมาะกับสภาวะแวดลอม
- การปองกันแบบทําใหโลหะใชงานเปนขั้วแคโทด
(Cathodic protection) เชน
- การใชโลหะอืน่ ใหเปนขั้วแอโนดแทน เชน แผนเหล็กเคลือบสังกะสี
สังกะสีเปนขั้วแอโนด
- การใชกระแสไฟฟาภายนอกใหเปนแหลงจายอิเล็กตรอนแทน
การปองกันแบบทําใหโลหะใชงานเปนขั้วแคโทด
(Cathodic protection)
การปองกันแบบทําใหโลหะใชงานเปนขั้วแคโทด
(Cathodic protection)
การปองกันแบบทําใหโลหะใชงานเปนขั้วแคโทด
(Cathodic protection)
การปองกันแบบทําใหโลหะใชงานเปนขั้วแคโทด
(Cathodic protection)
การเกิดออกซิเดชัน (Oxidation) ที่อุณหภูมิสูง
ที่อุณหภูมิสูงโลหะจะทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศมาก
ขึ้นแมวาจะไมมีความชื้น เกิดเปนชั้นโลหะออกไซดที่หนา
เรียกวา สเกล (Scale) ปฎิกิริยาออกซิเดชันของโลหะเปน
ปฏิกิริยาที่มีการถายเทอิเล็กตรอน
สเกล
M M -----> Mn+ + ne-
1/2 O2 + 2e- -------> O2
M + 1/2O2 --------> MO
“Scaling, Tarnishing, Dry corrosion”
การเกิดออกซิเดชัน (Oxidation) ที่อุณหภูมิสูง
สเกลของเหล็ก
การเกิดออกซิเดชัน (Oxidation) ที่อุณหภูมิสูง
ชนิดของโลหะออกไซดที่เกิด
- ชนิดที่มีความหนาแนนนอยกวาหรือปริมาตรมากกวาโลหะ จะขัด
ขวางปฏิกิริยาออกซิเดชัน
- ชนิดที่มีความหนาแนนมากกวาหรือปริมาตรนอยกวาโลหะจะไมขัด
ขวางปฏิกิริยาออกซิเดชัน มีรูพรุน เชน ออกไซดของ Na, Ca, Mg
- ชนิดที่กลายเปนไอได จะมีความหนาคงที่ เมือ่ อัตราการระเหย =
อัตราการเกิด เชน ออกไซดของ Mo, Os
- ชนิดที่ไดเกิดยาก เพราะความดันออกซิเจนในบรรยายกาศนอยกวา
คาความดันทีแ่ ตกตัวได เชน ออกไซดของ Au, Ag
การเกิดออกซิเดชัน (Oxidation) ที่อุณหภูมิสูง
Pilling –Bedworth ratio

- AO = Atomic Weight of Oxide, AM = Atomic Weight of Metal


- ρO, ρM = ความหนาแนนของออกไซดและโลหะตามลําดับ
- P-B ratio < 1 ออกไซดมีรูพรุน
- P-B ratio > 1 ออกไซดมแี รงอัดมาก
- P-B ratio 2-3 ออกไซดแตก
-
การเกิดออกซิเดชันที่อุณหภูมิสูง
การแกไขการเกิดออกซิเดชันที่อุณหภูมิสูง
- การผสมธาตุในโลหะเพื่อยับยั้งหรือลด ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
เชน 0.1%Ceในโลหะผสมนิกเกิลโครเมียม
- การเลือกใชโลหะผสมที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได
นอยกวา (ศึกษาขอมูลจากคูมือหรือการทดลอง) เชน
เหล็กผสมโครเมียมหรืออะลูมิเนียม
- การควบคุมบรรยากาศใหมีปริมาณออกซิเจนหรือ
ปริมาณสารประกอบที่เรงปฏิกิริยาออกซิเดชันนอย
เชน การใชกาซไฮโดรเจน กาซแอมโมเนีย การอบโลหะใน
บรรยายกาศกาซเฉื่อย
การสญเสียคารบอนของเหล็กที่อุณหภูมิสูง
คารบอนผสมในเหล็กทําใหเหล็กมีความแข็งแรงมากขึ้น
ความแข็งแรงลดลงเมื่อลดปริมาณคารบอน
บริเวณที่สูญเสีย
C(Fe) + 4H (Fe) = CH4 O2 + N2
C(Fe) + H2O = H2 + CO CO + CO2
C(Fe) + CO2 = 2CO H2O (g)
Fe + H2O = FeO + H2
Fe + CO2 = FeO + CO
การทําปฏิกิริยากับสารประกอบ
กํามะถัน (Sulfidation) ที่อุณหภูมิสูง
บรรยากาศที่มี H2S, S2, SO2, ฯลฯ เชน ไอเสียจากการเผาไหม
น้ํามันหรือถานหิน ไอเสียรถยนต ฯลฯ อาจเกิดปฏิกิริยากับผิว
โลหะเกิดสารประกอบกํามะถัน ทําให
- สีผิวเปลี่ยนแปลง เชน ผิวทองแดงกลายเปนสีคล้ํา ผิวเหล็ก
กลายเปนสีดํา เพราะเกิดสารประกอบโลหะซัลไฟด
- เกิดรอยแตกราวเพราะเกิดสารประกอบที่มีจุดหลอมเหลวต่ํา
เชน โลหะผสมนิกเกิล เกิด Ni3S2 (645°C) พบในงานเชื่อม
กรณีศึกษา (Case Study)
วัสดุทางการแพทย Biomaterial ขอตอกระดูกเชิงกราน
กรณีศึกษา (Case Study)
วัสดุทางการแพทย Biomaterial ขอตอกระดูกเชิงกราน
กรณีศึกษา (Case Study)
วัสดุทางการแพทย Biomaterial ขอตอกระดูกเชิงกราน
กรณีศึกษา (Case Study)
วัสดุทางการแพทย Biomaterial ขอตอกระดูกเชิงกราน
กรณีศึกษา (Case Study)
วัสดุทางการแพทย Biomaterial ขอตอกระดูกเชิงกราน
กรณีศึกษา (Case Study)
กรณีศึกษา (Case Study)
Mitsuo Niinomi, Journal of the Mechanical Behavior of Biomedical Materials, Volume 1, Issue 1, 2008, pp. 30-42.
เอกสารอางอิง
1. W.D. Callister, Materials Science and Engineering: An
Introduction, John Wiley & Sons, Inc., 2003.
2. K.Budinski, Engineering Materials, 4th ed., Prentice Hall Inc.,
New Jersey, 1992.
3. M.G.Fontana, Corrosion Engineering, 3rd ed., McGraw Hill
Book Company, New York, 1987.
4. E.C. Rollason, Metallurgy for Engineers, 4th ed., ELSB,
Richard Clay Ltd, Suffolk, 1985.
5. D. A. Jones, Principles and Prevention of Corrosion,
Macmillan Publishing Company, Singapore, 1992.
6. Mitsuo Niinomi, Journal of the Mechanical Behavior of
Biomedical Materials, Volume 1, Issue 1, 2008, pp. 30-42.

You might also like