You are on page 1of 17

ภูมิปญญาชาวไทใหญ

240

ยันตไทใหญ

ยันตปจจัย 24 ของไทยใหญ

ยันตปจจัย 24 เปนยันตเทียนที่ใชจุดเพื่อสะเดาะเคราะห ปองกันภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้น


และทําใหอายุมั่นยืนยาว โดยคาถาที่จะใชพันรอบไสเทียนนัน้ จะเขียนลงบนกระดาษสา ยันตปจ จัย
24 มีที่มาจากพระไตรปฏก หมวดพระอภิธรรม คือคัมภีรที่ 7 เรียกวาปฏฐาน หรือมหาปฏฐาน
ประกอบดวยคาถา 24 ประการคือ

1 เหตุปจจะโย 2 อารัมมะณะปจจะโย 3 อะธิปตติปจจะโย 4 อะนันตะระปจจะโย


5 สะมะนันตะระปจจะ 6 สะหะชาตะปจจะโย 7 อัญญะมัญญะปจจะ 8 นิสสะยะปจจะโย
โย โย
9 อุปปะนิสสะยะปจ 10 ปุเรชาตะปจจะโย 11 ปจฉาชาตะปจจะ 12 อาเสวะนะปจจะโย
จะโย โย
13 กัมมะปจจะโย 14 วิปากะปจจะโย 15 อาหาระปจจะโย 16 อินทริยะปจจะโย
17 ฌานะปจจะโย 18 มัคคะปจจะโย 19 สัมปะยุตตะปจจะ 20 วิปปะยุตตะปจจะ
โย โย
21 อัตถิปจจะโย 22 นัตถิปจจะโย 23 วิคะตะปจจะโย 24 อะวิคะตะปจจะโย

1. เหตุปจจัย (ปจจัย หรือเครื่องสนับสนุน ที่เปนเหตุ)


2. อารัมมณปจจัย (ปจจัยที่เปนอารมณ)
3. อธิปติปจจัย (ปจจัยที่เปนใหญ)
4. อนันตรปจจัย (ปจจัยที่เปนของไมมีอะไรคัง่ ในระหวาง)
5. สมนันตรปจจัย (ปจจัยที่เปนของกระชั้นชิด)
6. สหชาตปจจัย (ปจจัยที่เปนของเกิดพรอมกัน)
7. อัญญมัญญปจจัย (ปจจัยที่เปนของอิงอาศัยกันและกัน)
8. นิสสยปจจัย (ปจจัยที่เปนทีอ่ าศัยโดยตรง)
241

9. อุปนิสสยปจจัย (ปจจัยที่เปนที่อาศัยโดยสืบตอกันมา)
10. ปุเรชาตปจจัย (ปจจัยที่เปนของเกิดกอน)
11. ปจฉาชาตปจจัย (ปจจัยที่เปนของเกิดทีหลัง)
12. อาเสวนปจจัย (ปจจัยโดยการสองเสพ)
13. กัมมปจจัย (ปจจัยที่เปนกรรมคือการกระทํา)
14. วิปากปจจัย (ปจจัยที่เปนผลของกรรม)
15. อาหารปจจัย (ปจจัยที่เปนอาหาร)
16. อินทริยปจจัย (ปจจัยที่เปนอินทรีย)
17. ณานปจจัย (ปจจัยที่เปนฌาน คือสมาธิที่แนวแน)
18. มัคคปจจัย (ปจจัยที่เปนมรรค คือขอปฏิบัติใหถึงความดับกิเลสและดับทุกข
19. สัมปยุตตปจจัย (ปจจัยที่เปนของประกอบกันคือเกิดพรอมดับพรอมกัน)
20. วิปปยุตตปจจัย (ปจจัยที่เปนของไมประกอบกัน)
21. อัตถิปจจัย (ปจจัยที่เปนของมีอยู)
22. นัตถิปจจัย (ปจจัยที่เปนของไมมีอยู)
23. วิคตปจจัย (ปจจัยที่เปนของไปปราศคือพนไปหมดไป)
24. อวิคตปจจัย (ปจจัยที่เปนของไมปราศคือไมพนไปไมหมดไป)

โดยปจจัยทั้ง 24 ประการมีการวางตําแหนงเริ่มตนที่ 1 ขามทีละสองชองเวียนขวาเขาหาจุด


ศูนยกลางที่ 24 และมีความหมายดังนี้

1 14 9 20 3
24 19 2 15 10
13 8 24 4 21
18 23 6 11 16
7 12 17 22 5
242

อนึ่ง นอกเหนือไปจากยันตปจจัย 24 ทีใ่ ชเปนยันตเทียนแลว ในการทําหมากเบงของ


คนเมืองเชียงใหม ยังใชหมากจํานวน 24 ลูกซึ่งก็มีที่จากปฏฐาน ปจจัย 24 เชนเดียวกัน ซึ่งหมากเบ็ง
24 ลูกและความหมายแฝงนัน้ ศาสตราจารยเกียรติคุณ มณี พยอมยงค กลาวถึงที่มาของหมากเบง
จํานวน 24 ลูกนี้ไวในหนังสือเครื่องสักการะของลานนาวา หมากเบงจะใชคูกนั กับหมากสุม เพื่อใช
เปนเครื่องสักการะ
หมากเบง เปนตนเครื่องสักการะที่ทําจากไมไผมาทําเปนโครงราง ประดับดวยหมากที่
ใชเคี้ยว จํานวน 24 ผล เรียงกันเปนสัดสวนสวยงาม ที่ใชหมากจํานวน 24 ผล เพราะถือเอาปจจัย
24 ขอในอภิธรรมมัตถสังคหะ มาเปนเครือ่ งหมายวา เพราะเหตุปจ จัยทั้ง 24 นี้ จึงทําใหมนุษยและ
สัตวมีความเปนไปตางๆนานา
หมากสุม หมายถึง ตนที่ทําโครงรางแลว นําเอาหมากไหมที่ผาหมากเปนซีกแลวเสียบ
ดวยเชือกปอ หรือดายเรียงไวเปนแถวๆ แลวนํามา “ สุม “ หรือครอบลงบนโครงไมนั้นจนเต็ม เพื่อ
นําไปมอบใหเจานาย หรือผูที่ตนเคารพนับถือ
อยางไรก็ตาม รองศาสตราจารยสมหมาย เปรมจิตต และศรีเลา เกษพรหม กลาวไวใน
หนังสือความสัมพันธระหวางลานนา – ลานชางวา หมากเบ็งที่ใชลูกหมากสดมาเสียบไว จํานวน 24
ลูกนั้น มีที่มาจากมหาปฏฐาน 24 ที่เรียกวาปจจัย 24 โดยในสมัยโบราณหมากเบ็งและหมากสุม เปน
เครื่องสักการะบูชาพระพุทธรูปเทานั้น จึงไมสมควรที่จะนําเครื่องสักการะดังกลาว ไปมอบใหแก
คนธรรมดาสามัญ

ยันต 108

ยันต 108 เปนยันตเทียนทีใ่ ชจุดเพื่อสะเดาะเคราะห รับโชคลาภ และเพื่อความเปนสิริ


มงคลแกตนเอง โดยเลขยันตที่เขียนลงบนกระดาษสาในแนวตั้ง แนวนอน และมุมทแยงใชตัวเลข 5
หลัก คือ 6-8-10-12-72-จะมีผลบวกรวมกันได 108 ดังนี้

6 10 12 72 8
72 8 6 10 12
10 12 72 8 6
8 6 10 12 72
12 72 8 6 10
243

ผลบวกแนวนอน 6+10+12+72+8 = 108


ผลบวกแนวตัง้ 6+72+10+8+12 = 108
ผลบวกแนวทแยงซาย 6+8+72+12+10 = 108
ผลบวกแนวทแยงขวา 8+10+72+6+10 = 108

ตัวเลข 108 ดังกลาวนี้ อยูท ี่การวางตําแหนงใหลงตัวได 108 ทั้งแนวตั้ง แนวนอน และแนว


ทแยง โดยตัวเลขที่รวมกันได 108 นี้ เปนสัญลักษณของความเปนมงคล เชน มงคล 108 ในรอยพระ
พุทธบาท เปนตน

ลายสักไทยใหญ1

สัก เรียกเปนภาษาไทยใหญวา สับ ลายสักบนรางกายของไทยใหญแบงออกเปน 2 ลักษณะ


คือ การสักสวนบนตั้งแตเอว แขนขึ้นไปถึงศีรษะ เปนการสักเพื่อความอยูยงคงกระพัน และมหา
นิยม สวนการสักสวนลางตั้งแตเอาลงไปถึงหลังเทา เปนการสักเพื่อความสวยงาม ที่เรียกวาสักขา
ลาย และสักเพือ่ ปองกันพิษสัตวราย เชน งู แมลงปอง เปนตน

1. สักอยูยงคงกระพัน (สับยาขาม,สับปยะ)

ลายสักเพื่อความอยูยงคงกระพันนี้ เรียกอีกอยางหนึ่งวาสับยาขาม หรือสับกายะ ซึ่งจะใช


หมึกสีดํา เชื่อกันวาเมืองสักแลวจะทําใหเกิดความขลัง คงกระพันชาตรี รางกายทนตออาวุธหอก
ดาบ คอนกระบอง มีด ปน ยิงไมออก ฟนไมเขา รวมทั้งอักขระเลขยันตคาถาตางๆ จะชวยคุมครอง
ใหแคลวคลาดจากภัยอันตรายตางๆ
กอนที่จะมีการสักลวดลาย ครูจะใหผูสักจัดเตรียมขันครูโดยใชกาละมังสีขาว ที่เรียกเปน
ภาษาไทยใหญวา หวานจะหลุง ใสเครื่องบูชาครู ดังนี้
1 มะพราวออน 1 ลูก
2 ผาขาว 2 ผืน

1
สายสม ธรรมธิ. ลายสักไทยใหญ.รายงานการวิจัยของสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2538.
244

3 ผาแดง 1 ผืน
4 ขาวสาร 3 ลิตร
5 กลวยน้ําวาดิบ 2 หวี
6 กรวยดอกไม 5 อัน
7 กรวยใสพลู 5 อัน
8 เทียน 5 เลม
อนึ่ง สิ่งของที่ใสในขันครูนอี้ าจจะมีความแตกตางกันบางเล็กนอย รวมทั้งเงินคาขันตัง้ บูชา
ครู สมัยกอนเปนเงิน 37 บาท แตปจจุบนั เพิ่มเปน 370 บาท สวนคําขึ้นครูกอนที่จะสักนั้น ไมใช
คาถาแตเปนคําบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทวดา ครูบาอาจารย เพือ่ ใหมาชวยรักษาคุมครองครูผูสักและลูก
ศิษย รวมทั้งใหการสักยาสําเร็จและมีพลังอํานาจ
เมื่อทําพิธีบูชาครูแลว ครูจะเสกสมปอยแชน้ําแลวใหลูกศิษยอาบ เพื่อชําระรางกายให
สะอาด ชะลางความชั่วรายใหหมดไป หลังจากนั้นจึงเริม่ สักตามสวนบนของรางกายคือ กลางศีรษะ
หนาผาก แกม ลิ้น คาง หัวไหล หนาอก และแผนหลัง เปนตน ซึ่งในการสักรูปสัตวตางๆ หลายรูป

ครูจะใหลกู ศิษยกนิ ฝนกอนเล็กๆ ซึ่งมีฤทธิ์ทําใหมึนชา เพื่อลดความเจ็บปวด หลังจากสักเสร็จแลว


บาดแผลที่บวมพองจะใชใบพลูลนไฟประคบเบาๆ แผลจะหายเปนปกติเร็วขึ้น เพราะสรรพคุณของ
ใบพลูนั้นเปนยาสมานแผลพุพอง
สวนผสมของตัวยาทีใ่ ชสักนั้น ประกอบดวยตัวยาขามซึ่งทํามาจากวานสบูเลือด วานหนุ
มาน วานนกตีนนกเขา เคีย่ วใหแหงเปนกอนเก็บไว นํามาผสมกับน้ํามะพราวออน ซึ่งมีคุณสมบัติใน
การสมานแผลใหแหงและตกสะเก็ดเร็วขึน้ แลวฝนจันทนขาวและจันทนแดงเปนน้ํากระสาย
จากนั้นจึงใชยางเดื่อปลอง ดีหมูปา ดี หมี ดีงูเหลือม ดีววั กระทิง ดีลิงลม หรือไมก็ดไี ก ซึ่งชวยใหตัว
ยาซึมเขาสูผิวหนัง และเกาะติดผิวหนังไดดี ผสมกับเขมาไฟใหมีสดี ํา ในขณะที่ผสมตัวยาครูจะเสก
คาถาเพื่อเพิ่มความขลังกํากับดวย
การสักเพื่อความอยูยงคงกระพัน มีลวดลายหลายชนิดคือ
1 รูปเสือ 3 ปอด ( 3 สวน) เสือ 7 ปอด เสือหัวอาง คือเสือที่มีหัวเปนรูปยันต และเสือเย็น
คือเสือที่มีตัวเปนเสือ หัวเปนคน
2 แมวดํา
3 หมูเขี้ยวตัน หมูหลังหัก หมูหัวอาง คือหมูที่มีหัวเปนรูปยันต
4 ลิงลม
5 วัวกระทิง
6 รูปอักขระเลขยันต
245

ลายสักที่มีรูปสัตวตางๆเหลานี้ ถือวามีคุณสมบัติพิเศษคือ รูปเสือเมื่อตอสูกับศัตรูจะทําใหมี


จิตใจกลาหาญ และมีความดุดัน รวดเร็ว รูปแมวดํานิยมสักที่หัวไหล เมื่อเสียทีเพลี่ยงพล้ําถูกศัตรูจับ
ตัว เจาของลายสักจะใชลิ้นเลียรูปแมวดําแลวทองคาถา จะทําใหหลบหนีออกไปได ถาถูก
พันธนาการมัดมือมัดเทา สามารถสะเดาะเครื่องผูกมัดหลุดออกไปได สวนรูปวัวกระทิงจะทําใหมี
ความเตรียมพรอมตื่นตัวอยูต ลอดเวลา
การสักเพื่อความอยูยงคงกระพันนี้ อาจารยผูสักจะพิจารณานิสัยใจคอของผูสัก
ประกอบดวย เพื่อมิใหเปนคนกาวราว หรือเที่ยวขมเหงทํารายผูอื่น เพราะความทะนงตนวามี
อิทธิฤทธิ์ยิงไมออก ฟนไมเขา เมื่อสักแลวมีขอหามดานอาหารคือ หามกินผักบุง ผักงวนหมู ฟก
เขียว ฟกทอง บอน น้ําเตา บัวบก และมะขามปอม หามกินเนื้อสุนัข เนือ้ งู หามกินรกวัว รกควาย
หามกินหอยและหามกินอาหารในงานศพ สวนขอหามดานสถานที่คือ หามเขาบานทีผ่ ูหญิงคลอด
ลูกกําลังอยูไฟ หามลอดใตถนุ บาน ใตบนั ได ใตสะพาน รัว้ บาน แรววัว แรวควาย คือเบ็ดวัว เบ็ด
ควาย และหามลอดไมค้ําตนกลวย

2. สักมหานิยม (สับปยะ)

ลายสักมหานิยม (ปยะ) นี้ คือการสักในทางเมตตามหานิยม เพื่อความเปนสิริมงคล ใหผูอื่น


รักใครเมตตา ทํามาคาขายมีความเจริญรุงเรือง หมึกที่ใชสักมีสีแดงที่ไดจากหางหรือชาด ลวดลายที่
ใชสักเปนรูปอักขระเลขยันต บางคนสักกลางศีรษะเปนรูปนกยูงซึ่งเปนสัญลักษณของตะวัน รูป
กระตายสัญลักษณของพระจันทร และจิ้งจกสองหาง เปนตน โดยการสักเปนตัวอักขระเลขยันตนนั้
นิยมสักดวยตัวอักษรพมา หรือไมก็ตัวอักษรพื้นเมืองของชาวไตยวน เพราะออกเสียงไดถูกตอง
ชัดเจนกวา สวนอักษรไทยใหญนั้นการออกเสียงจะไมตายตัว สามารถออกเสียงได 2 เสียง เชน
อักษร ข และ ค อยูในรูปเดียวกัน บางครั้งก็ออกเสียงไมตรงตัวอักษรคือ ด เปน หล เชน แดง ออก
เสียงเปนแหลง ดี ออกเสียงเปน หลี เปนตน
การสักยามหานิยมตองทําพิธีขึ้นครู หรือตั้งขันบูชาครูกอน โดยใชกาละมัง หรือหวานจะ
หลุง จํานวน 3 ใบ แตละใบใสสิ่งของดังตอไปนี้
1 ขาวสาร 3 ลิตร
2 ผาขาว 1 ผืน
3 ผาแดง 1ผืน
4 มะพราวออน 1 ลูก
5 กรวยใสดอกไม 5 อัน
6 กรวยใสพลู 5 อัน
7 เทียน 5 เลม
246

สวนเงินคาขันครูมี 3 ระดับคือ ชั้นต่ํา ใสเงินจํานวน 37 บาท สําหรับผูที่ไมแนใจวาจะถือ


สัจจะในการรักษาศีล 5 ไดหรือไม หลังจากไดสักยาเสร็จแลว ชั้นกลาง ใสเงินจํานวน 108 บาท
สําหรับผูที่แนใจวาจะไมประพฤติผิดในกาม และไมดื่มสุราเมรัย ชั้นสูง ใสเงินจํานวน 270 บาท
สําหรับผูที่ถือศีล 5 ไดอยางเครงครัด โดยตองตั้งสัตยปฏิญาณตอหนาครู และดื่มน้ํายันตทาวทั้งสี่
ซึ่งครูจะเขียนยันตลงบนกระดาษสา แลวนําไปเผาไฟ จากนั้นจึงนําไปแชน้ํามะพราวออน ฝนน้ํา
จันทนขาว จันทนแดงเปนกระสาย หากผิดศีลหาก็จะทําใหคลุมคลั่งได
สําหรับสวนผสมตัวยามหานิยม ใชหมึกทีแ่ ดงที่ไดมาจากหางซึ่งมีพิษ ตองนําไปละลายพิษ
เสียกอน ดวยการแชหางไวในน้ํามะพราวออน เมื่อมีฝาพิษลอยบนผิวน้ําก็เททิ้ง จนกวาพิษจนหมด
จากนั้นจึงนําตัวยามหานิยมผสมกับน้ํามะพราวออน ยางเดื่อปลอง น้ํากระสายใชจนั ทนแดง จันทน
ขาว เมื่อผสมยาครูจะเสกคาถากํากับวา คะ ยะ ติ อุง สา ยะ ติ
กอนที่จะลงมือสักลวดลาย ลูกศิษยจะตองอาบน้ําแชสมปอย เพื่อชําระรางกายและมลทิน
ตางๆ แลวรับศีลหา จากนัน้ จึงเริ่มพิธีขึ้นครู โดยครูจะทองคาถานางโสรสติ (นางสรัสวดี) หรือที่
เรียกวาคาถานางสิบสองคน สวนรูปสัตวทใี่ ชสักมักจะเปนจิ้งจกสองหาง กระตาย และนกยูง
บริเวณที่สักเปนสวนบนของรางกายคือ ศีรษะ หนาผาก แกม ลิ้น คาง ไหล หนาอก และแผนหลัง

การสักมหานิยมมีสัจจะและขอหามที่จะตองปฏิบัติคือ เมื่อสักมหานิยมเสร็จแลว จะตอง


รักษาศีล 5 ใหครบ 7 วัน หลังจากนั้นจึงลดเหลือเพียง 2 ขอคือ หามประพฤติผิดในกาม และหามดื่ม
สุราเมรัย โดยผูสักจะตองอธิษฐานตอหนาอาจารยผูสักวา จะรักษาศีล 2 ขอนี้นานเทาไร อาจจะเปน
หนึ่งป สองป หรือเจ็ดเดือน เปนตน เชนถาอธิษฐานวาจะไมดื่มสุราเมรัยเปนเวลาหาเดือน แตผาน
ไปสามเดือนก็แอบไปดื่มแลว จะทําใหพลังอํานาจในการสักนั้นเสื่อมถอยลง

3. สักขาลาย (สับขาลาย)

สักขาลายเปนการสักดวยหมึกดําบริเวณเอวชวงลางลงมาถึงขา ลวดลายที่สักเปนเสนทึบ
หนา เพื่อแสดงความอดทนของผูชาย ซึ่งในสมัยกอนหากชายใดไมมีรอยสักที่ขา ผูหญิงจะไมสนใจ
จึงเปนคานิยมขอผูชายที่จะตองสักขา เพื่อเรียกรองความสนใจและแสดงความเปนชายชาตรี
การสักขาลายมีความแตกตางไปจากการสักชนิดอื่นๆ คือไมตองเสกคาถาอาคม หรือลง
อักขระเลขยันต แตเนนที่ความสวยงามมากวา ลวดลายทีใ่ ชสักบริเวณเอวมักเปนรูปหยักคลาย
เกล็ดปลา สันนิษฐานวาเปนสัญลักษณแทนเกล็ดนาค ทีป่ ลายเขาสักเปนรูปคลายเกล็ดนาคเชนกัน
สวนขาทั้งสองสักเปนรูปทรงที่เปนกรอบเหลี่ยม เสนกรอบหนาทึบมีรปู มอม ซึ่งเปนสัตวในเทพ
นิยายอยูในกรอบนั้น แตบางแหงวาเปนสิงห นอกกรอบมีรูปดอกไม ใบไม และรูปเสือซึ่งไม
247

เกี่ยวกับเสือในลายสักอยูย งคงกระพัน แตเปนเสือที่เชื่อกันวาเปนเครือ่ งหมายของไทยใหญ เพราะ


ชาติกําเนิดตามประวัติความเปนมานั้น ไทยนอยกําเนิดมาจากนาค แตไทยใหญกําเนิดมาจากเสือ
อนึ่ง เนื่องจากการสักขาลายเกิดจากจารีตประเพณี เพื่อความสวยงามและแสดงความเปน
ชายเต็มตัวเทานั้น จึงไมมกี ารเสกคาถาอาคมกํากับ และไมมีขอหามแตอยางใด เมื่อสภาพสังคม
เปลี่ยนไป ทําใหความนิยมในการสักขาลายเสื่อมลงโดยลําดับ เพราะไมมีใครอยากเสี่ยงตอความ
เจ็บปวด ประกอบกับตองใชความละเอียดและใชเวลานานมาก ประเพณีการสักขาลายจึงคอยๆสูญ
หายไปในที่สดุ

4. สักขามเขี้ยว (สับขามพิษ)

การสักขามเขี้ยว หรือสับขามพิษ หมายถึงการสักเพื่อปองกันพิษจากเขีย้ วเล็บของสัตว เชน


สุนัข งู ตะขาบ แมลง ปอง ผึ้ง รวมทั้งสัตวที่มีพิษชนิดอืน่ ๆ บริเวณที่สกั อยูตรงนองลงไปถึงหลังเทา
ลวดลายที่ใชสกั เปนอักขระคาถาเลขยันต รูปแมว รูปเสือ นอกจากผูชายจะนิยมสักแลว ผูหญิงก็
นิยมสักขามเขีย้ วเชนเดียวกัน แตมักจะสักเปนอักขระคาถา เชน อักษรตัววะ จํานวน 3 ตัว หรือตัว
ยอหัวใจคาถาสั้นๆ เชน อิ สวา สุ เปนตน
248

สมุนไพรไทใหญ

ยามหาสิงอนิก (ยามหาสิงห)
สวนประผสม พริกไทย พริกชาง ขิงแกง สมุงทั้ง 5 สะเริมดํา ผักอายสวย หัวขา พาลา ไม
แมลงแกง กาละโวย สรอยบุญนาค อยางละ 5 สตางค เทากันมาผสมจาติโผ แลวผสมเลญาง จึงตําผง
ทําเปนเม็ด เปนกอนไวใช หากวาไมสบายเปนไขเนื้อรอนกินน้ําจันทร 2 อยาง หากขี้บิดเยี่ยวบิด กิน
ดวยน้ําหาดเยือง ไขทั้งหลายหนาว-รอนและขี้รากสองหนเหลานี้กินน้ําอุนบอยๆ ชื่อยา มหาสิงหอะ
นิก(ยามหาสิงห)

เลญางแกเนยางานปะเตสา (ยาไขประเทสา)
สวนผสม กาบโผ ซองมวยคา บัวทั้งหา ปานนุ ปานมะ กัตตระสังแข กาละโวย จาติโผ
เลญาง เทากันผสมพริกชาง แลวแบงออกสองสวน สวนหนึ่งบุญนาค แบงออกสามสวน สวนหนึ่ง
เซปูเล แบงออกอีกสามสวน สวนหนึ่งโพมะสิ่ง สวนหนึ่งผสมปดปวแดง ทั้งหมดรวมกันตําผงบด
ทําเปนแทง หรือเปนลูกกลอนตากแหงเก็บไวใช
สรรพคุณของยา คือโรคทั้งหลายไดหมดทั้งที่เปนไขดํา ไขแดง ไขขาว ไขเลือด ไขลม ไข
แอน(วิ่ง) ไขลุก ไดหมด ไขวิ่งตามผิวเนื้อผิวหนัง ไดหมด ไขกินตีนกินมือไดหมด น้ําผสมกินหาก
รอนใน น้ําจันทนสองอยาง หากใจไมดี ใหกินน้ํามะขาม(มะขามปอม) รอนตามรางกายใหกินน้ํา
หมากขอ (มะตัน,พุทรา) หากเกี่ยวกับอาเจียนทั้งหลาย น้ําขาวสารคั่ว หากอาการไมหนัก ใหกินวัน
สองครั้ง เมื่อคืน 1 ครั้ง กลางวัน 1 ครั้ง คนไขอาการหนักใหกินวันละ 3 เวลา ใหกินครั้งที่หนึ่ง เวลา
เที่ยง สอง หลังตะวันตก เที่ยงคืน ครั้งหนึ่ง ทั้งกลางวันและกลางคืนใหกิน 5 ครั้งจึงไดเรียกวาหาภูมิ
ดังนั้น เมื่อเริ่มใหกินยาใหเสกคาถาแลวถึงจะใหกินคาถามีดังนี้
โอมเยอริยา สวาหะ เสกแลวใหกลาวถึงพระคุณของครูบาอาจารย ทุกอยางจะดีเอง

กยามยามีอยาบผูหญิง (สูตรยาผูหญิงปวยหลังคลอด)
สวนผสม คือ พริกไทย พริกชาง ขิงแกง จมุงทั้ง 5 เซปูเล ปญญาแหลงกา ปดปวแดง
กระเทียม เหลานี้ 1 สลึงเทากัน รากสะกึน 1 บาท หนังผักกุม สามบาท จมุงนาค 3 บาท ขมิ้นชัน 3
บาท เครือสายมะหนอย (บอระเพ็ด) 1 บาท หัวขา 3 บาท ตัวยาทั้งหมดผสมใบกิ่งปนรวมกันตําแลว
คอยแบงออก 3 สวน สวนหนึ่งพริกไทย สวนหนึ่ง สามปู สวนหนึ่งผสมขิง ตําผงไวใช
สรรพคุณของยา ไมสบาย กินไมไดนอนไมหลับปวดเมื่อย เลือดลม ปาตะลัก ทองผูก ธาตุ
ไมสมดุล ผูหญิงหลังคลอดเปน เลือดแหง ซูบผอม เหี่ยวแหง โรคที่เกี่ยวเลือดทั้งหลายไดหมด กิน
วันละ 3 สามเวลาผสมเกลือกินกับน้ําอุน
249

ยาตาฟาง
สวนผสม จาติโผ 2 สลึง เลญาง 2 สลึง จันทร 2 สลึง กาละโวย 2 สลึง จมุงทั้ง 5 อยางละ 2
สลึง ผงมอด สองสลึง รวมกันตําเปนผงเก็บไวใช เอาทาตาตับ อาบ รมควัน ตับ 1 หอย(น้ําหนัก 8
บาท) ผงยา 10 สตางค
2/16.เอาใสกระบอกหลามเผาไฟ เอาแผนบิดปากกระบอกเผาไฟรมทาเสร็จแลวเอาผงยาทาตับกินก็
ดีแล

กยามยาหัวอูเยน (สูตรยาปวดหัว)
สวนผสม คือ หัวถั่วโปง (ถั่วพู) คุขนาน ผักลี่แมน (ผักยอดแมน) ผักเด็ดหลวง
ผักหวานออย (ผักหวานบาน) รากถั่วแตบ (รากมะแปบ) เปลือกหอยฟา เปลือกมะตอย เปลือกมะปน
ขิงแกง พริกไทย พริกชาง ไมลมดํา สกุงปก หมากไมโกตก หัวมะแคกเผือก รากแตงซั้ง ยาทั้ง 19
อยางนี้รวมกันไวดําหัว (สระผม) เอาผสมน้ําดิบ (น้ําเปลา)กินและทา หรือใชกับมะเร็งปวดหัวก็ได
แลวกินและทาเชนกัน

เนยางานแก (สูตรยาแกไข)
สวนผสม ผลจาติโผ จาติโผบวาง (ดอกจาติโผ) เลญาง โพมะสิ่ง พริกไทย พริกชาง หญาไร
ปลาย ซองเมคา พาลา ขิงแกง สมุงนาค กาละโวย ทั้งผลและใบ ปานนะ กิจจุ จีหยา (ยี่หรา) กัต
ตระสังแข ปานยีง อุปสักกะ สิดกย่ําโบ ปานมะ จุรานาพา เซปูเล บุญนาค ฟนผักชี จมุงทั้ง 5 อยาง
ละ 10 สตางค ตําผงเก็บไวใช
สรรพคุณของยาคือ แก อาบน้ําผิ ด กินอาหารผิ ด กินยาผิ ด ใหกิน กับน้ําอุนบอยๆ หาก
ทองรวง น้ําเบญจกาแดง หากผูหญิงผิดเลือดผสมเลญางกิน หากเลือดไมมา กินน้ําพริกไทยผสมกิน
เชนกัน ผูหญิงอยูไฟ เนื้อเลือดใหม กินอาหารผิด เนื้อ ปลาย ผักสดและเกิดเปนเลือดคันเปนผื่น กิน
น้ําจันทนสองอยาง อาบน้ําผิด รอนเนื้อรางกาย ตัวรอนอยูตลอด ใหไปขุดเอาผิวไมไผ ผสมขาวสุก
เผาไฟแชน้ํากิน
หากเปนไขชัก ผสมน้ําหญาหอมเกี่ยว เปนบวม เอาขาวสุกผสมผิวไมไผเผาไฟแชกินน้ํา
เชนกัน

กยามยานิพพานโกซีก(สูตรยานิพพาน 9 ชั้น )
สวนผสม งิกสิก กุงกะม่ํา อ่ําผาด สนัดถอ กอลาเจน กาละนิกโซย กะโต เฮงญีงหารแดง
เหลานี้ อยางละ10 สตางค สูสา แมงสีลา ฤดูลิง เลือดผา (เลือดเลียงผา) เลือดจง (เลือดแรด) ขี้ผึ้ง
250

เฝอก อินทนีลา(อินทนิล)เหลานี้ 1 สลึงเทากัน ผลจาติโผ ดอกจาติโผ เลญาง จันทนแดง จันทนขาว


กุกกะลา ใบกาละโวย ผลกาละโวย ใบปานนุ กัตตระสังแข สารขาวตอก สวักสา เหลานี้ 2 สลึง
เทากัน เครือหวาน 2 บาท เกลือสินเธาว 4 บาท การบูร 2 บาท ทองคํา 1 กรัม พลอย 1 กรัม ทั้งหมด
ตําผง เอาน้ํามะพราวเปนน้ําผสมบด ทําเปนลูกกลอนเทาพริกไทย
สรรพคุณของยาคือ เกิดอาการรอน กินกับน้ําจันทนสองอยาง เกิดอาการหนาว กินกับน้ําจา
ติโผ ใจไมดี กินกับน้ําขาวสารจาว และน้ําจันทนสองอยาง ผูหญิงเลือดออก กินน้ําเลญาง เจ็บปวด
ตามรางกาย น้ํากุกกะลา เปนวัณโรค หอบหืด น้ําเลือดผา
คนไขไ ม ลืมตา น้ํ าฤดูลิง เป น ป ว ยไข ไ ด สี่ ห าวัน หนาวสั่น ไขสัน นิบาต ตอนเชากิน น้ําอ่ําฝาด
กลางวัน น้ํางิกสิก ยามตะวันตก น้ําดีหมี กุงกะม่ํา ยามเชา น้ําดีหมี ออนเพลีย น้ําโพมะสิ่ง หากเลือด
คันเลือดซาน น้ําปานนุ ไอแหง น้ําสินเธาว
หากวาอยากทําเปนหาชั้น (ภูมิ) แบงออก 5 บาท 1 บาทผสมดอกจาติโผ อีกบาทหนึ่งผสม งิ
กสิก อีก 1 บาท ผสมสูสา อีกบาทหนึ่งผสมแมงสีลา อีกบาทหนึ่งผสมกุงกะม่ํา แลวใสหารแดง อีก 5
สตางค บดทําเปนลูกกลอนเทาฟนผักชี กินวันละ 3 ครั้งกินครั้งละหนึ่งกอน กลางคืนกินสองครั้งๆ
ละหนึ่งลูกเชนกัน เปนโรคบาหมู บาไก เลือดไต ลมซาน ผูหญิงอยูไฟ กินกับน้ําอุนบอยๆ หาก เปน
ไขชัก กินกับน้ําดีหมี วินิจฉัยดีแลวจึงใหกิน

ยานิพพานโกซีก (ยานิพพาน 9 ชั้น)


สวนผสม จมุงทั้ง 5 ปานนุ ปานมะ กัตตระสังแข ซองโมยคา จุลานะพา กะโต เหลานี้ 5
สตางคเทากัน หินจีน 9 สตางค กัตตระสังแข 1 สลึง เลญาง 2 สลึง กุกกะลา 1 สลึง ยี่หรา 10 สตางค
ดอกจาติโผ 2.10 สตางค สินเธาว 2.10 สตางค กุรุนิกซวย 10 สตางค อ่ําผาด 30 สตางค งิกสิก 1 สลึง
สนัดเถอ 2 สลึง ทั้งหมด ผสมการบูร แลวผสมเครือหวาน ทําเปนลูกกลอนไวใช กินกับน้ําอุนวันละ
3 เวลา

ยาแกไขสันนิบาด
สวนผสม กุงกะม่ํา อ่ําฝาด พริกไทย พริกชาง ขิงแกง ปานนุ ปานมะ กัตตระสังแข ซองโมย
คา พาลา พาลานมิก กุกกะลา ผลกาละโวย ใบกาละโวย ผักฮามปาย(ผักไรปลาย) กาบโผ สาร
ขาวตอก สมุงทั้ง 5 สมุงนาค เหลานี้ 10 สลึงเทากัน โพมะสิ่ง เลญาง ผลจาติโผ ดอกจาติโผ เหลานี้ 6
สลึง เทากัน นํามาตําทําเปนแทงเก็บไวใช
สรรพคุณของยา คือคนเปนไขสันนิบาต อาการพูดจาไมรูเรื่อง เท าสั่นมือสั่น รางกายไมอยูนิ่ง
กระวนกระวาย มือดึงเสื้อดึงผา จําใครไมได ตัวเย็น แข็ง เปนบาหมู บาไก หนามืด ปวดหัว เปนอํา
มะพาต ลิ้นคางแข็ง ตาตั้ง ตามัว ไมหลับไมนอนดังที่กลาวมานี้ ใหเอายานี้สามสวน สวนหนึ่งโพมะ
251

สิ่งสวนหนึ่ง เลญาง สวนหนึ่งผลจาติโผ นํามารวมกันแลว กิ๊ก (บด)ทําเปนลูกเทาพริกไทยไวใช ให


คนไขกินครั้งละ 2 ลูก
หากหนาว กินน้ําอุนรอนๆ หากรอนกินน้ําอุนเย็น หากอาการรอนไมลดเอาดีหมีตัดแลวให
กิน สองกรัม สังเกตดูแลวใหกินตามอาการ
เนยางานมหาสิงอะนิก (สูตรยามหาสิงห)
สวนผสม ผลจาติโผ 2 สลึง สารขาวตอก 2 สลึง เลญาง 2 สลึง ยี่หรา 2 สลึง กาละโวย 2
สลึง เกสี 2 สลึง กตัตระสังแข 2 สลึง ปดปวแดง 2 สลึง ราไมนา 2 สลึง พริกชาง 2 สลึง ดอกขาว 2
ดอกงา 2 สลึง ดอกคิดลา 2 สลึง ดอกจามเงิน ดอกจามคํา อยางละ 2 สลึง จันทนทั้ง 5 อยางละ 2
สลึง หินทั้ง 5 อยางละ 2 สลึง บัวทั้ง 5 อยางละ 2 สลึง เปลือกไมหมูป (ไมหมูอวน) 2 สลึง โพมะสิ่ง
1 บาท ปานนุ 1 บาท กุกกะลา 1 บาท พริกไทย 1 บาท ฟองสมุทร 1 บาท เซปูเล 1 บาท แกงหอม 9
สลึง หวานหอม 9 สลึง จมุงนาค 9 สลึง บุญนาค 9 สลึง สินเธาว 9 สลึง เบญจะแดง 9 สลึง แกน
จันทนกู 9 สลึง อุปสักกะ 9 สลึง นําตัวยามารวมกันแลว แบงเปน 3 สวน สวนหนึ่งผสมผลจาติโผ
สวนหนึ่งผสมบุญนาค สวนหนึ่งผสมเลญาง รวมกันแลว แบงออกอีก 5 สวน สวนหนึ่งหวานหอม
สวนหนึ่งอุปสักกะ สวนหนึ่ง จันทนขาว สวนหนึ่ง ดอกจาติโผ รวมกันแลวตําบดใหละเอียดทําเปน
ลูกกลอนไวใช
สรรพคุณของยา แกสัพพะโรคทั้งหลาย 96 จริต 80 อยาง ธาตุ 4 อยาง สัพพะโรคทั้งหลาย
ใหพิจารณา วินิจฉัยแลวเอายานี้ใหกิน หากไขขึ้น เปนไขชัก เอายานี้ผสม ดอกจาติโผ ใหกิน หาก
เปนลมเลือด ลมปราณ น้ําเซปูเล ใหกิน หากเปนสันนิบาด ไข 25 ลิ้นแข็ง คางแข็ง ผสมจาติโผกิน
หากเปนลมอภิญาณ กินน้ําอุปสักกะ เปนลม จริตขําคอ กินน้ําสินเธาว หากวาคนไขอาการหนัก
รุนแรงเหมือนใกลตาย สังเกตดูอาการแลวผสมดอกจาติโผใหกิน อาเจียน ใหกินน้ําจันทน 2 อยาง
เมื่อเราจะเริ่มรักษานั้นใหถามดูอาการกอน หากวาเปนได 2-3 วัน เตโชธาตุ อาการทุรนทุราย ใหกิน
น้ําแมงสีลา เปนได 4-5 วันเปน วาโยธาตุ ไมอยากกินขาวปลาอาหาร ลมไขจะเกิดตามกระดูกและ
เอ็น อาการทางรางกายจะแข็งกระดาง ใหกินน้ําจาติโผ เชนกัน หากเปนได 6-7 วัน
เปนปฐวีธาตุ อาโบธาตุ ผสมกัน เรียกวา งานกยาม งานดํา (ไขดําอาการรุนแรง) เอายาผสมดอกจาติ
โผใหกิน หากเลยกวานั้นไปเปนอาการงาน (ไข-ไขชัก) ทั้งหมด หากเปนงานสันนิบาด (ไขสันนิ
บาด) เหงื่อไมออก หนาวเย็น เอาน้ํายาที่เราใหกินกอนนั้นใหกินเหมือนเดิม ถาเลยกวานั้นนั้นไป
เปนลมอภิญาณ ใหกลับไปดูยาที่เราผสมที่ผานมานั้นใหกินเหมือนเดิม หากวาเลยกวานั้นไปได
เดือนหนึ่ง สองเดือน เอายานี้ 1 สลึง เลญาง 1 สลึง โพมะสิ่ง 1 สลึง ดอกจาติโผ 1 สลึง ปานนุ 1 สลึง
คลุกผสมกันใหกิน หากเปนไขรอนสันนิบาดกําหัวใจ ทุรนทุรายถอดเสื้อผา เอายานี้ 1 สลึง เครือ
หวาน 1 สลึง ฟองสมุทร 1 สลึง ดีหมี 1 สลึงบดใหเขากันแลวทําเปนลูกเทาพริกไทย ใชกินและทา
252

สังวักสาก? ยา 10 สตางค กานพลู 10 สตางค กํากู (ชอก) 10 สตางค จมุงนาค 10 สาร


ขาวตอก 10 สตางค
5/17.ดีหมี 2 สลึง บดผสมกันทาที่ลิ้น เปนไข หนาวเย็นทั้งตัว เหงื่อออก กินน้ําหมากแหงเฝอก (มะ
แควงขาว) ทาน้ําหอมแดง หากออกอีสุกอีใส ยานี้ 10 สตางค กาฝากไมหาดเยือง 1 สลึง ฝากหมาก
ขอ(กาฝากมะตัน ,พุทรา) 1 สลึง กินทุกเชาทุกกเย็น หากกินตามเวลา กอนเที่ยง น้ําเลญาง ยามบาย
น้ําอุปสักกา ยามหัวค่ํา น้ําจันทร เที่ยงคืน น้ําเลญาง
เด็กเปนทองผูก ผอมแหง ทองโต กินอาหารผิดเปนไขจนตัวเหลือง รองไหงอแง ตัวรอนจี๋
เอายานี้ 1 สลึง จาติโผ 1 สลึง เลญาง 1 สลึง กุกกะลา 7 บาท หมากสองกอ 1 สลึง ซีงโข 2 สลึง สาม
ปู 1 สลึง สีกพู 2 สลึง หมี่หัวลอม(หอมหัวลวน ) 7 หัวจมุงนาค 2 สลึง ดอกขาว 2 สลึง บดผสมกัน
ทําเปนลูกกลอนเก็บไวใช
6/6.กินทุกเชาทุกเย็นหาย หากเปนเหมผูก สวยผูก? รากหญาวัวเบื่อ
6/7.หาบาท พริกไทย 2 บาทครึ่ง เกลือ 1 บาทครึ่ง ยาเสน1 สลึงบดผสมกันกินผูกทั้งหลายหายหมด
หากวาผูชาย
6/8.เปนบาว (หนุม)ใหเอายา ตูมหนึ่งหรือ 1 มัด 1 กํามือ หนู ชางงา 1 ไฝ 1 กํา คาบแมลงมุม 7 ตัว
ตอกบิดซาย 7 ปม เทียนดํา 1 สลึง จมุงนาค 1 สลึง เสนผม บดผสมกันแลวใชดมบอยๆ หากเปน
ผูหญิงขึ้น ยา 1 บาทครึ่ง เลือดจง 1 บาทครึ่ง เอากี๊ก(บด)ผสมกันเอาหาญทําเปนน้ํายากิน

กยามยางานหลวง (สูตรยาแกไขหลวง)
สวนผสม กันเอก มิ้นสลาง(ขมิ้นชัน) หญาหัวหลวง สีกพู สามปู ไมยางขาวหลวง ขี้กาน
(สะคาน) หญารากกาน โพมะราชา เซปูเล ขิง ขา กาบแง (เปลือกหอยแครง)เผาไฟ แลวใส พริกไทย
พริกชาง ขิงแกง ยามดิบ (ดินประสิว) สับปู จํานวนเทากันแลวมาผสมขิงขา บดผสมน้ําชายคา ทํา
เปนลูกเปนแทงเก็บไวใช
สรรพคุณของยา แก ปอดบวม ปอดอักเสบ กั้บอก (แนนหนาอก) ไสบวม ไสฟอง ลมอุด
ตันหัวใจ เลือดอุดตันลมปราณ จุดเฉียด เปนหมากหลันหนีบ (ดันหนีบ) หนีบในคอ เปนสะอึก มือ
เทาเย็น เปนเกี่ยว (ตะคริว) เปนชัก มือเทาหด งอ เปนไข ถูกผี เนื้อหนังเหลือง ตาตั้ง กัดฟน คางแข็ง
คอแข็ง กระหายน้ํารอนใน กระวนกระวาย อาการที่กลาวมานี้ ใหกินน้ําจันทนขาวก็ดี น้ําขาวสารคั่ว
ก็ดี น้ําอุนก็ดี หากวาหนาวกินกับน้ําขิงหายแล

กยามงานหลวง (สูตรยาแกไข-ชัก)
สวนผสมจมุงทั้ง 5 พริกไทย พริกชาง ขิงแกง เซปูเล หญารากกาน 10 อยางนี้จํานวนเทากัน
แลวมาผสมกิจจุ ทั้งหมดมาผสมดอกจาติโผแลวผสมเลญาง แลวแบงออกเปน 3 สวน สวนหนึ่งพริก
ชาง สวนหนึ่งกาบแง (เปลือกหอยแครง) สวนหนึ่งสินเธาว นํามารวมกันแลวแบงออกอีก 5 สวน
253

สวนหนึ่ง จี่หยา (ยี่หรา) สวนหนึ่ง กาละโวย สวนหนึ่งปานนุ สวนหนึ่งปลิง สวนหนึ่งกุกกะลา


ทั้งหมดนํามารวมที่เดียวกันแลวตําเปนผง ทําเปนลูกกลอนเก็บไวใช
สรรพคุณ ของยา คื อ เป น ไขสั น นิ บ าตให กิ น ด ว ยน้ํ าอุ น บ อยๆ เป น ไข กิ น น้ํ าขิ ง ไข 10
ประการไดหมด หัวอก หัวใจกั๊บ (แนนหนาอก) ลมกําขึ้นหัวใจ (ลมปราณ) จริตขึ้น ไอแหง ปวด
เมื่อยตารางกาย ตามเสนเอ็น อัมพาต มือ เทา เย็น เสนเอ็นทับ
ผอมแหง ไมอยากกินอาหาร ไมมีกําลังออน ออนเพลีย ปวดหัว เปนริดสีดวงเจ็บปวด เหมือนดัง
โดนพิษงูเหา ลมรายวิ่งกระดุกตามเอ็น ปวดเอว ปวดขาปวดตามรางกาย มือเทาชา หรือกินอาหารผิด
กินยานี้กับน้ําอุนน หายแล

ยางานแตง(ยาแทงแกไข)
สวนผสม จาติโผ เลญาง จันทนแดง จันทนขาว จมุงนาค จมุงทั้ง 5 ตรีกฏก กาละโวย กุก
กะลา สามปู ปดปวแดง กานเอก ยามลิบ (ดินประสิว) สับปู โพมะราชา เปาเลือด ขี้ขา กาน (ดินไฟ)
กินดวยขมิ้นชัน กิ่งปน แมงสีลา ผักเนื้อไก (มะคอนกอม)หญารากกาน เซปูเล หญาหัวหลวง ขมิ้น
เหลือง สินเธาว หญาไขเหา หญาเอ็นดู ใบพลูลิง หมาก พลู ปูนแหง กัตตระสั่งแข พันผักชี บัวทั้ง 5
โพมะสิ่ง ดอกจาติโผ ผักไรปลาย ตัวยาทั้งหลายเหลานี้ นํามารวมกันแลว ตําผง บดทําเปนแทงเก็บ
ไวใช
สรรพคุณของยา คือ เปนไขหนาว กินกับน้ําจาติโผ เปนชัก ลมขึ้น น้ําหญาหอมเกี่ยว หาก
ไมบรรเทา กินน้ําเตาตืน เปนงานขาว (ไขขาว) กินกับน้ําหญาหัวหลวง เปนงานขยุก (เปนไขรวม)
เนื้อรอน ทองผูก น้ําจันทน 2 อยาง กินบอยๆ เปนไขปดเปนไขแข็ง กินกับน้ําหญาโบตอและหญา
ตึดสึบ (ตึงตอ) หายแล

ยาเลือดผองขอน(ยาเลือดผงสีเทา)
สวนผสม จมุงทั้ง 5 ผลจาติโผ ปานนุ ปานมะ กิจจุ หวานหอม พาลา กาบโผ เครือหวาน
สินเธาว กัตตระสังแข จันทนขาว ซองโมยคา เซปะจุนตก เลือดจง โพมะสิ่ง บุนนาค ผลบัวสรอย
บัว นอดหอม อุปสักกะ ปดปวแดง พริกไทย ขิงแกง พริกชาง ตัวยาทั้งหมดจํานวนเทากัน ตําเปนผง
ไวใช
สรรพคุณของยาคือ หากวาเลือดไมปกติ เลือดลมเสีย หมดสติ เปนปราสาท เกิดอาการ
กลาๆ กลัวๆ กินกับน้ําอุนบอยๆ หากตัวรอน กินกับน้ําจันทน 2 อยาง คอแหง กินกับน้ําสินเธาว
และพริกชางผสมกันกิน หากเลือดตกมาก กินกับน้ําเลญาง หากเลือดไมตก แกดวยพริกไทย กิน
บอยๆ

ยาเลือดผองออน(ยาเลือดผง)
254

สวนผสม จมุงทั้ง 5 อยางละ 5 กรัม แมงสีลา 1 บาทครึ่ง สูสา 1 บาทครึ่ง จีนตะนีลา 1 บาท
ครึ่ง ขี้ผึ้งเผือก 1 บาทครึ่ง ผลจาติโผ 1 บาทครึ่ง ดอกจาติโผ 1 บาทครึ่ง เลญาง 1 บาทครึ่ง กุงกาง 1
บาทครึ่ง จันทนแดง 1 บาทครึ่ง จันทนขาว 1บาทครึ่ง หวานหอม 1 บาทครึ่ง หาญ 1 สลึง เปกะโต 8
กรัม
สรรพคุณของยาเลือด คือ รอนนอก รอนใน กินกับน้ําขาวสารจาว หากเลือดขึ้น ขี้รากสอง
หน กินกับน้ําจาติโผ หากเปนเลือดบา (ประสาท) บาหมู กินกับน้ําขางแสง (ขาวก่ํา) คั่ว เลือดลง กิน
กับน้ําเลญาง เปนลม ออนเพลีย กําลังออน ผอมแหง ผสมพริกไทยกินกับน้ําอุนบอยๆ หากผูหญิง
ตะงครรภ กินกับน้ํามะนาว เลือดลมเสีย กินกับน้ําจาติโผ เหมือนเดิม รอนใน ใจไมดี กินน้ําจันทน 2
อยาง หมากไมหนิ๋ม เลือดจง (เลือดแรด) ฝนผสมกันใหกินบอยๆ กินอาหารผิด กินกับน้ําอุนบอยๆ

เนยานิบปานนะติกขิ (สูตรยานิพพานทักขิ-ทักษิณ)
สวนผสม จันทนขาว จันทนแดง หมากคํา กอนหมู เลือดจง (เลือดแรด) เซปะจุนตก
บุนนาค สินเธาว ปานยีง เครือหวาน เปหนามสา พะยุก (การบูร) โพมะสิ่ง ตัวยาทั้งหมด 10 สตางค
เทากัน ตําผงกี๊ก (บด) เปนแทง น้ําบดผสมของยาใหเอาน้ําแกงหวาน
สรรพคุณของยา คือ เปนยาแก รักษาปอดบวม ไสบวม มามบวม ใหกินดวยน้ําปอหมัน
ออน หากเกิดอาการ รอน เย็น กินดวยน้ําปูนขาว หากใจไมดี รอนรน อาเจียน กินกับน้ําหญาราก
กาน เรียกไมไดยิน ถามไมตอบ กินดวยน้ําออยก่ํา ซี่เกคาย ซี่เกลอย (เอ็นยาย เอ็นลอย) กินดวยน้ํา
เปลือกปอหมัน

เนยาจ่ําปูมังกยาม(สูตรยาพญาชุมพู)
สวนผสม หวานปน 12 บาทครึ่ง หวานหัวหลวง 12 บาทครึ่ง หวานหอม 12 บาทครึ่ง หญา
แปลนวัว 12 บาทครึ่ง สามปู 12 บาทครึ่ง ปดปวแดง 12 บาทครึ่ง กานเอก 12 บาทครึ่ง ผักฮามปาย
(ผักไรปลาย) 12 บาทครึ่ง ผักอายสวย 12 บาท ครึ่ง หญาหลั่ง 12 บาทครึ่ง พริกไทย 28 บาทครึ่ง
พริกชาง 28 บาทครึ่ง
สรรพคุณของยา คือ เปนขี้รากสองหน ทองรวง เจ็บทอง เปนไมรูสาเหตุ กินน้ําชายคาป
ยาน (กลับ) ลูบดวยน้ําหมอนึ่ง หากวัว ควาย เปนขัดเปนแข็ง หรือ คนก็ดี ใสน้ําหมอนึ่งกินและทา
เปนขี้รากสองหนบิด ใหเอาหัวขา 12 บาทครึ่ง ปูนไมสู ??
12 บาทครึ่ง พริกชี้ฟา 12 บาทครึ่ง มิ้นสลาง (ขมิ้นชัน) 12 บาทครึ่ง กินและทาเฃนกัน

กยามยากอบ (สูตรยาประคบ)
255

สวนผสม คือ รากสะกึน ใบกุงแดง ผักไรปลาย ใบตองฮูก ใบมะนาว ใบมะเขือบาดํา มัน


หมู เปนยาประคบที่ทอง พันทอง เปนกอนในทองในปุม (ทองหรือพุง) เอายาประคบ คาถาเสกมัน
คือ โอม กาเล กาลอ เตชาเตวานํ สวาหะ เสก 7 หน

ยางานเลือด(ยาแกไข แกบํารุงเลือด)
สวนผสม จาติโผ เลญาง กิจจุ พาลา กาบโผ เครือหวาน สินเธาว กัตตระสั่งแข จันทนแดง
จันทนขาว ซองโมยคา เซปะจุนตก เลือดจง โพมะสิ่ง สรอยบุญนาค สรอยบัว ผลบัว ปานนุ ตัวยา
ทั้งหมดมี 18 อยาง น้ําหนักเทากัน นํามาผสมจันกูแดงแลงจึงตําผงเก็บไวใช
หากทําเปนยาแทงเหลือง ใหเอายานิพพาน 9 ชั้น 1 อยาง กอลาเจน 1 อยาง ดีหมี 1 อยาง สู
สา 1 อยาง แมงสีลา 1 อยางรวมกันแลว กี๊ก(บด)ทําเปนแทงไว เปนยาแทงเหลือง
ยาแทงแดง สวนผสม จันทนแดง จันทนขาว กุงกาง ขี้ผึ้งเฝอก สูสา แมงสีลา อินตะหนี่หลา
(อินทนิล) ผลจาติโผ ดอกจาติโผ เลญาง งิกสิก ใสอยางละ 5 กรัม หาญ
1 สลึง ผลจาติโผ ดอกจาติโผ เลญาง
กุกกะลา 4 อยางนี้ 1 สลึงเทากัน โพมะสิ่ง 1 บาท สวักสา 1 บาท เครือหวาน 4 บาท สินเธาว 4 บาท
เปนยาสินทะวา กินทุกเชาเย็น

ยานิพพาน 9 ชั้น
สวนผสม ผลจาติโผ ดอกจาติโผ เลญาง ปานนุ กัตตระสั่งแข หมากกาละโวย ใบกาลาโวย
พาลา ซางพอ พาลาจีน กุกกะลา ลิกชู กะโต พันผักชี ผักไรปลาย พาลานะพิก จมุง 5 อยางเหลานี้
อยางละ 1 สลึง งิกสิก อ่ําฝาด.กุงกะม่ํา สนัดถอ กอลาเจน กาละนิกซวย สูสา เฮงยิงหิน อินตะนัน
อินตะนีลา (อินทนิล) หมากกิกกูเส กะเมน ดีหมี เหลานี้ อยางละ 5 กรัม จันทน 5 อยาง 10 กรัม
เทากัน กะโต 4 กรัม ทั้งหมดรวมกันแลวแบงออก 5 ปุน (สวน) สวนหนึ่งกุกกะลา สวนหนึ่งเลญาง
สวนหนึ่งการบูร สวนหนึ่งดอกจาติโผ สวนหนึ่งผลจาติโผ รวมกันแลวจึงตําทําเปนผงบดทําเปน
ลูกกลอน เทาลูกพริกไทยไวใช
หากวาทําเปนมหาคุณ สวนผสม เปหนามสา 5 อยาง เปกะโต เปกอลาเจน 7 อยาง ยานี้ใส
แลวเปนนิพพานโกซีก (9 ชั้น) หากทําเปนยาแทงเหลือง เอาผงมัน งิกสิก 1 อยาง อ่ําฝาด 1 อยาง กอ
ลาเจน 1 อยาง ดีหมี 1 อยาง สูสา 10 สตางค แมงสีลา 10 สตางค เทากัน บดทําเปนแทงไวใช เปนยา
แทงเหลือง น้ําที่กิน หากวาหนาว กินน้ําอุน หากรอนใหกินน้ําสุกที่เย็นแลว

You might also like