You are on page 1of 52

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Quantum GIS

Quantum GIS 1.7.4


Wrocraw

โดย

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คํานํา

ในการประชุมสมัชชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาครั้งที่ 5 เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีใน
การจัดการแหล่งน้ําเมื่อเดือน มกราคม 2549 ได้มีการกล่าวถึงการบริหารความเสี่ยงในการจัดการทรัพยากรน้ํา
เนื่องจากสภาวะที่ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศเริ่มมีผลต่อการวางแผนและจัดการด้านทรัพยากรน้ํา
หลักการบริหารความเสี่ยงเริ่มเป็นเครื่องมือที่สําคัญที่จะมาวิเคราะห์หาสถานความเสี่ยง และการหามาตรการ
แนวทางการแก้ไขป้องกันที่เหมาะสม ตามสถาพของปัญหาและระดับความเสี่ยงที่เกิดขึ้น หรือ จะเกิดขึ้น
การศึกษาครั้งนี้ได้ทบทวนหลักการบริหารความเสี่ยงที่ใช้กันทั่วไป และนําหลักการดังกล่าวมาประยุกต์
ใช้การวิเคราะห์ปัญหาขาดแคลนน้ําเป็นตัวอย่าง โดยได้เสนอแนวทางการวิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงทั้งจากด้าน
ศักยภาพของแหล่งน้ําและความต้องการใช้น้ํา และยังได้เปรียบเทียบการวิเคราะห์ความเสี่ยงเป็นกรณีที่คิดถึง
ความแปรปรวนของอุทกวิทยาของน้ําฝนและน้ําท่ากับความสามารถในการให้น้ําของลุ่มน้ําเทียบกับกรณีที่ไม่คิด
องค์ประกอบดังกล่าว ซึ่งได้ผลการวิเคราะห์และมาตรการที่จะใช้แตกต่างกันไปอย่างน่าสนใจอย่างยิ่ง
คณะผู้ศึกษาก็หวังว่า รายงานการศึกษาเล่มนี้ คงเป็นการเริ่มศักราชของการนําแนวคิดหลักการบริหาร
ความเสี่ยงมาใช้ในการวางแผนจัดการน้ํา และจะเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยวางแผนจัดการน้ําต่อไปสําหรับผู้
สนใจทางด้านนี้ ในสภาวะที่โลกกําลังมีการเปลี่ยนแปลง และการแปลปรวนของสภาพภูมิอากาศ และทําให้
เข้าใจสภาวะความเสี่ยงและการรับสนองต่อความเสี่ยงในระดับและการลงทุนที่เหมาะสมในพื้นที่นั้นๆ ได้ดียิ่งขึ้น

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา
ห้อง 203 ตึก 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ํา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

สิงหาคม 2555
สารบัญ
หน้า
1. บทนําโปรแกรม Quantum GIS เบื้องต้น 1
1.1 Quantum GIS คืออะไร 1
1.2 วิวัฒนาการของโปรแกรม 1
1.3 หน้าต่างของโปรแกรม 1

2. การติดตั้งโปรแกรม 3
2.1 คุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3
2.2 ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม 3

3. เมนูและไอคอนการทํางานของโปรแกรม 3
3.1 ไอคอนหรือปุ่มคําสั่ง (Tools Bar) 3

4. การ Join ตาราง และ Location 7

5. การติดตั้ง Plug-in Open Layer Plug in 10

6. การติดตั้ง Plug-in Table Manager 12

7. การคํานวนหาความยาว และ คํานวนหาพื้นที่ 14

8. Google Layer Setting 17

9. การตรึงภาพ 21

10. การติดตั้ง Plug-in แบบ Offline 25

11. การนําเข้าข้อมูลตารางพิกัด 29

12. การนําค่าพิกัดมาแสดงในตาราง 31

13. การแปลงระบบพิกัด 33

14. การสร้างเส้นชั้นความสูงจาก Dem 35

15. การใส่ข้อมูลพิกัด ประเภท Point Line Polygon 37


คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

1. บทนําโปรแกรม Quantum GIS เบื้องต้น


1.1 Quantum GIS คืออะไร
Quantum GIS หรือ QGIS เป็นโปรแกรม Desktop GIS ประเภทหนึ่งที่มีประสิทธิภาพใน
การนํามาใช้จัดการข้อมูลปริภูมิจัดอยู่ในกลุ่มซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Free and Open Source Software:
FOSS) ที่ใช้งานง่าย ลักษณะการใช้งานเป็นแบบ Graphic User Interface ซึ่งสะดวกต่อการใช้งาน
ไม่ว่าจะเป็นการเรียกใช้ข้อมูลภาพ ข้อมูลตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจน
สามารถสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและนําเสนอข้อมูลได้ในรูปแบบแผนที่ สามารถเรียกใช้ข้อมูล
เวกเตอร์ แรสเตอร์ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานแพร่หลาย เช่น Shapefile และ GeoTIFF QGIS
สามารถแก้ไข Shape File format ได้ซึ่งเป็นที่ต้องการมากในเวลานี้ QGIS พัฒนาบนพื้นฐานของ Qt
ที่เป็นไลบรารี่สําหรับ Graphical User Interface (GUI) ที่ใช้งานได้ทั้ง UNIX, Window และ Mac
การพัฒนาใช้ภาษา C++ เป็นหลักนอกจากนั้น QGIS ยังเชื่อมต่อกับ Geospatial RDBMS เช่น
PostGIS/PostgreSQL สามารถอ่านและเขียนฟีเจอร์ที่จัดเก็บใน PostGIS ได้โดยตรง สามารถเชื่อม
ต่อกับ GRASS ได้ทําให้สามารถเรียกดูข้อมูลที่จัดเก็บใน GRASS โดยตรง และสามารถเรียกใช้
ฟังก์ชันต่างๆของ GRASS ได้ สนับสนุนการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) ในเบื้องต้นและ
การแสดงผลข้อมูลเชิงตําแหน่งในรูปแบบของแผนที่ การสร้างและการแก้ไขข้อมูลเชิงตําแหน่ง
(Spatial Data) และข้อมูลตาราง (Attribute Data) สามารถจัดการข้อมูลได้ง่ายโดยใช้เครื่องมือตาม
GUI ที่กําหนด

1.2 วิวัฒนาการของโปรแกรม
โปรแกรม Quantum GIS หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า QGis เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนา
ขึ้นโดยกลุ่มนักพัฒนาซอฟต์แวร์จากประเทศเยอรมัน ในปี ค.ศ. 2002 ประมาณเวอร์ชั่น 0.0.1-alpha
และได้มีพัฒนาการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปี ค.ศ. 2011 ได้ออกเวอร์ชั่นล่าสุดมา คือ Quantum GIS
1.7.4 ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นที่ได้รับการปรับปรุงทั้งในเรื่องของ bug ในตัวของโปรแกรมทําให้การทํางาน
ของระบบมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งในส่วนการแก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ (Edit, Insert, Delete Data) มี
การเพิ่มเติมในส่วนของปุ่มการทํางานที่ช่วยในเรื่องของการแสดงผล รวมไปถึงการพัฒนาการ
ทํางานในส่วนของข้อมูลราสเตอร์ (Raster Data) ที่เพิ่มฟังก์ชั่นในการประมวลผลข้อมูลภาพได้หลาก
หลาย สอดคล้องกับการทํางานของ Gdal library, Ogr library ในรูปแบบ X/MIT style ภายใต้ Open
Source license
และที่สําคัญโปรแกรม Quantum GIS ได้ถูกพัฒนาให้รองรับการทํางานร่วมกับข้อมูลในรูป
แบบที่แตกต่างกันตามมาตรฐานสากล Open Geospatial Consortium (OGC) รวมไปถึงในเรื่องของ
การแสดงผลทั้งในส่วนของข้อมูล GDAL Raster Formats และ OGR Vector Formats

1.3 หน้าต่างของโปรแกรม (Graphical User Interface)


GUI ประกอบด้วย Menu Bar, Tools Bar, Legend, Overview, Map Display, Map
Coordinate, Map Scale และ Project Properties ซึ่งทุกรายการนี้สามารถเคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด
ตามความเหมาะสมต่อการใช้งานเพื่ออํานวยความสะดวกของผู้ใช้

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 1
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

Menu Bar

Tools Bar

Map  
Display
Legend

Map Coordinate at mouse cursor Current Map Project Propoties

รูปที่ 1 แสดงรูปร่างหน้าตาของโปรแกรม Quantum GIS

รูปที่ 2 แสดงเมนูการทํางานหลัก

ปุ่มเมนูการทํางานบนโปรแกรมสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ส่วนหลัก เพื่อให้มองเห็นภาพรวม


ของหน้าจอการทํางานประกอบด้วย
- การสร้าง New Project และบันทึก Project
- การเพิ่มชั้นข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ตามมาตรฐานสากล (Vector, Raster, PostgreSQL DB,
SQLite DB,
WMS, WFS GPS Data)
- การสร้างปรับปรุงแก้ไขข้อมูล (Edit Data)
- เครื่องมือช่วยในการแสดงผล (Display Map)
- เครื่องมือช่วยในการคํานวณเรขาคณิต (Measure length and areas)

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 2
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

2. การติดตั้งโปรแกรม
2.1 คุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์
โปรแกรม Quantum GIS สามารถทํางานบนระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ
โอเอส (OS)
ได้ทั้ง Linux, Unix, Mac OSX และ Microsoft Windows

2.2 ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม
1. ทําการ Download โปรแกรม Quantum GIS จาก URL http://qgis.org/ โดยผู้ใช้สามารถ
เลือกเวอร์ชั่นของโปรแกรมได้ตามต้องการ

รูปที่ 3 แสดงเว็บไซต์ในการดาวน์โหลดโปรแกรม

2. Double click ไฟล์ *.exe ที่ท าการดาวน์โหลดมา เพื่อท าการติดตั้งโปรแกรม ซึ่งลักษณะ


ขั้นตอนการติดตั้งนั้นไม่ยุ่งยากซับซ้อน คือสามารถกดปุ่ม Next เพื่อติดตั้งได้ตามปกติคล้ายกับการ
ติดตั้งซอฟต์แวร์ฟรีทั่วๆไป

>>โปรแกรมทําการตรวจสอบและโหลด
โปรแกรมเพื่อเตรียมการติดตั้ง

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 3
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

>>อ่านเงื่อนไขยอมรับการติดตั้งโปรแกรม แล้วกดปุ่ม I
Agree เพื่อดําเนินการขั้นต่อไป

>>เลือกพื้นที่ในการติดตั้งโปรแกรมโดยกด ปุ่ม
Browser…
>>กดปุ่ม Next เพื่อดําเนินการขั้นต่อไป

>>เลือก Data set ที่ต้องการจะติดตั้งไปพร้อม กับโปรแกรม


โดยจะเลือกหรือไม่เลือกก็ได้
>>กดปุ่ม Next เพื่อดําเนินการขั้นต่อไป

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 4
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

>>รอการติดตั้งโปรแกรม

>>เสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม

3. เมนูและไอคอนการทํางานของโปรแกรม
3.1 ไอคอนหรือปุ่มคําสั่ง (Tools Bar)
เพื่อให้เกิดความสะดวกและง่ายต่อการทํางานโปรแกรมจึงสร้างไอคอนหรือปุ่มเครื่องมือที่
ใช้ในการจัดการข้อมูลแผนที่ ซึ่งสามารถใช้เมาส์คลิกไปที่ปุ่มเครื่องมือที่ต้องการ โปรแกรมจะตอบ
สนองคําสั่งโดยจะขึ้น Popup ใหม่หรือดําเนินการในคําสั่งนั้นทันที

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 5
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เปิด Project ที่บันทึกไว้ ปุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการข้อมูล Vector ปุ่มเครื่องมือในการคํานวณ

ปุ่มเครื่องมือในการแสดงผล
สร้าง New  Project เพิ่มชั้นข้อมูลปริภูมิในรูปแบบต่างๆ

รูปที่ 4 แสดงไอคอนหรือปุ่มคําสั่ง

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 6
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การ Join ตาราง  และ  ตาราง Location

โดยการนําเขา  Shape File ที่ตองการ  Join Table และ  Shape


file ที่ตองนํามา  Join Table โดยขอมูลที่นํามา Join  จะตองเปนไฟล  
.CSV จากนั้นทําการ
-  เปดตาราง  (Open Attribute Table)
-  Start Edit
-  สราง  Filed ใหม  โดยกําหนดใหเปน  Number
-  แลวจากนั้นคลิกขวาที่  Shape File ที่ตองการ  Join แลวไปที่  
Properties แลวไปที่คําสั่ง  Join
-  จากนั้นเลือก  Add Vector Join
-  จากนั้นเลือกที่  Join Layer ใหตารางทีต่ องการ  Join
-  และเลือก  Join Field และ  Target Field ใหเปน        
   ตารางขอมูลที่ตองการนําเขาไป  Join ดวย  และกด  Ok ก็จะ    เสร็จ
   สมบูรณ

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 7
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

โดยการนําเขา  Shape File ที่ตองการ  Join Table และ  Shape file ที่
ตองนํามา  Join Table โดยขอมูลที่นํามา Join  จะตองเปนไฟล  .CSV
จากนั้นทําการ

Start Edit

สราง  Filed ใหม  โดยกําหนดใหเปน  Number

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 8
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

แลวจากนั้นคลิกขวาที่  Shape File ที่ตองการ  Join แลวไปที่  Properties แลวไปที่คําสั่ง  Join


-  จากนั้นเลือก  Add Vector Join -  จากนั้นเลือกที่  Join Layer ใหตารางที่ตองการ  Join
-  และเลือก  Join Field และ  Target Field ใหเปนตารางขอมูลที่ตองการนําเขาไป  Join ดวย  และกด  Ok ก็จะ
   เสร็สมบูรณ

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 9
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การติดตัง้  Plug-in Open Layer Plug in

จากนัน้ ทําการดาวโหลดเครื่องมือ  Open Layer Plug in โดยไปที่  


Plugins>Fetch Python Plugins …

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 10
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เมื่อโหลด  Open Layer Plug in มาเสร็จแลว  กทําการ  install


เครื่องมือลงในโปแกรมโดย

ทําการ  install

และเมื่อทําการลงโปรแกรมเสร็จเรียบรอยแลว  ก็จะไดหนาตาของ  
โปรแกรมดัง้ นีแ้ ละเมื่อเรียกใชโปรแกรมก็จะไดหนาตางตามขางลางนี้

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 11
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การติดตั้ง  Plug-in Table Manager

จากนัน้ ทําการดาวโหลดเครื่องมือ  Table Manager โดยไปที่  


Plugins>Fetch Python Plugins …

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 12
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เมื่อโหลด  Table Manager มาเสร็จแลว  กทําการ  install


เครื่องมือลงในโปแกรมโดย

ทําการ  install

และเมื่อทําการลงโปรแกรมเสร็จเรียบรอยแลว  ก็จะไดหนาตาของ  
โปรแกรมดัง้ นี้ และเมื่อเรียกใชโปรแกรมก็จะไดหนาตาง
ตามขางลางนี้

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 13
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การคํานวณหาความยาว  และคํานวณพื้นที่

โดยไปที่  Shape File ที่ตองการคํานวณหาระยะทางความยาวหรือ


คํานวณพื้นที่  แลวทําการ
-  เปดตาราง  (Open Attribute Table)
-  Start Edit
-  สราง  Filed ใหม  โดยกําหนดใหเปน  Number โดยตั้งชื่อให
   เปน  Length หรือ  Area
-  แลวไปที่  field calculator
-  แลวเลือกที่  Update Existing Field แลวเลือกไป    ที่สิ่ง
   ที่ตองการหา  (Length , Area )
-  จากนัน้ เลือกที่ length หรือ  Area แลวกด  Ok โปรแกรมก็
     จะความความยาวหรือพืน้ ที่ใหโดยอัตโนมัติ

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 14
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เปดตาราง  (Open Attribute Table)

สราง  Filed ใหม  โดยกําหนดใหเปน  Number โดยตั้งชื่อใหเปน  Length หรือ  


Area

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 15
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

-  แลวไปที่  field calculator                        


-  แลวเลือกที่  Update Existing Field แลวเลือกไปที่ตองการหา  (Length , Area )
-  จากนั้นเลือกที่ length หรือ  Area แลวกด  Ok โปรแกรมก็จะความความยาวหรือพื้นที่ใหโดยอัตโนมัติ

Start Edit

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 16
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การคํานวณหาความยาว  และคํานวณพื้นที่
Google Layer Setting

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 17
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

ทําการดาวโหลดเครื่องมือ  Google Layers โดยไปที่  


Plugins>Fetch Python Plugins …

เมื่อโหลด  Google Layers มาเสร็จแลว  กทําการ  install เครื่องมือ


ลงในโปแกรมโดย

ทําการ  install

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 18
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

ทําการเซ็ทคา  Google Layers โดยไปที่  Plugins>Google


Layers>Setting แลว  เซ็ทคาไปที่  Hybird

หลังการทําการตั้งคาใหเปน  Hybird แลว  ก็มาทําการเซ็ทคาพิดักใหเปน


คาเดียวกันกับภาพถายดาวเทียมของ  Google Earth  
โดยไปที่                    ซึ่งจะอยูท างมุมลางขวามือของโปรแกรม  

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 19
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

จากนัน้ ทําการตั้งคาที่
Enable  “On  the  Fly”  
และทําการ  Search
Cordinate System
โดยใช  Code 900913
จากนัน้ เลือกและกด  Apply และ
Ok

เมื่อตองการแกไขเสนคลองก็สามารถกดไปที่ไอคอน              และจะได
ภาพจาก  Google Earth  ดังภาพขางลางนี้

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 20
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การตรึงภาพ

ไปที่โปแกรม  Georeferencer

Georeferencer

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 21
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เลือกไฟลภาพที่
ตองการนํามา
ตรึง

**กอนทําการตรึงภาพควร
เลือกที่บันทึกขอมูลกอน  
และชื่อไฟลที่เก็บขอมูล
จําเปนจะเปน เลือกที่
ภาษาอังกฤษเทานั้น บันทึก
ไฟล

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 22
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

จากนั้นทําการตรึงภาพใหตรงตามภาพที่นํามาตรึง

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 23
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เมื่อตรึงภาพเสร็จแลวมหกดปุม  Ok

เมื่อตรึงภาพเสร็จแลวจะไดภาพที่
ทับซอนกับ  Shape File แบบ
สมบูรณ

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 24
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การติดตั้ง Plugin แบบ Offline

Thursday, August 30, 12

การติดตั้ง Plugin แบบ Offline เนื่องจากในหลายครั้งสถานที่อบรมไม่มีบริการ internet ดังนั้น


การเตรียมการติดตั้ง plugin ที่จําเป็นในการทํางานด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์

1. การเรียกปรับปรุงข้อมูล plugin โดย เข้าไปที่เมนู Plugins -> Fetch Python Plugins…


โปรแกรมจะทําการเรียกไปที่ website ที่พัฒนา plugin ต่างๆ

หน้าจอเรียกเข้า website
หน้าจอ Plugins

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 25
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

2. ให้เข้าไปทําการเพิ่ม server plugin ที่ tab “Repostories” แล้วเพิ่มโดยการกดปุ่ม “Add 3rd


party repositories” ในระบบจะเพิ่มรายการ server เพิ่มจากเดิม

หน้าจอเพิ่ม server

Thursday, August 30, 12

3. ให้ไปต่อที่ tab “Options” เพื่อให้ระบบเพิ่ม plugins ที่อยู่ระหว่างการทดสอบเข้าไปใน


รายการ plugins

หน้าจอ plugins ทั้งหมดและที่กําลังทดสอบ

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 26
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

4. ทําการเลือกติดตั้ง plugins ที่จําเป็นจาก tab “Plugins” โดยเลือก plugins ที่ต้องการ และกดปุ่ม


“Install/upgrade plugin”

หน้าจอติดตั้ง plugins

Thursday, August 30, 12

หากพบคําว่า “upgrade” ขึ้นข้างหน้า plugins ที่ติดตั้ง สามารถกดปุ่ม “upgrade all” เพื่อทําการติดตั้ง


plugins ที่ติดตตั้งและมีการ upgrade ทั้งหมด

! โดย plugins ที่จําเป็นในการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้นโดย plugin ที่จําเป็น คือ


- OpenLayers Plugin ใช้เพิ่มข้อมูลพื้นหลังจาก google maps, yahoo และ bing เป็นต้น แบบ online
- Google Layers ใช้เพิ่มข้อมูลพื้นหลังจาก google maps แบบ online และ จัดเก็บแบบ offline
- Ftools ใช้เป็นเครื่องมือวิเคราะห์และจัดการข้อมูลประเภท vector
- Gdaltools ใช้สําหรับ แก้ไขจัดการข้อมูลประเภท Vector และ Raster
- Table Manager ใช้เพื่อจัดการข้อมูลตารางของข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ เช่น เพิ่ม, ลบ แก้ไข และ
เปลี่ยนลําดับ

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 27
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

5. ทําการเรียกใช้ plugins .ในโปรแกรมโดยการเข้าไปที่เมนู Plugins -> Manage Plugins…


Plugins ที่เรียกใช้งาน

เพิ่ม ข้อมูลตารางพิกัด x,y

.ใช้จับข้อมูลพิกัดจาก ระบบพิกัดต่างๆ

ใช้จัดวิเคราะห์และการจัดการข้อมูล vector และ raster

ใช้จัดวิเคราะห์และการจัดการข้อมูล vector

ใช้เพิ่มทิศเหนือในภาพแผนที่

หน้าจอจัดการ Plugins ใช้เพิ่ม scale bar ในภาพแผนที่

เพิ่มข้อมูลพื้นหลัง Google Maps, Yahoo, Bing แบบ online

เพิ่มข้อมูล Google Maps แบบ online และ offline

Thursday, August 30, 12

6. การติดตั้ง plugins แบบ ไม่มี Internet ไฟล์ทั้งหมดของ plugins

จะอยู่ในโฟล์เดอร์ C:\Documents and Settings\Administrator\.qgis (Windows XP) ให้ copy


โฟล์เดอร์ “.qgis” ทั้งหมด

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 28
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การนําเขาขอมูลตารางพิกัด

โดยการนําเขา  Shape File ที่ตองการ  Join Table และ  โดย


ขอมูลที่นํามา Join  จะตองเปนไฟล  .CSV เทานั้น  จากนั้นทําการ

-  ไปที่เครื่องมือ  Add delimited text layer


-  จากนัน้ เลือกไฟลที่ตองการทําการขําเขา
-  ตั้งคาพิกัด  X และ  Y ใหถกู ตอง  โดย  E = X และ  N = Y
-  จากนัน้ กด  ok
-  และก็จะได  Shape File ที่เปนจุดแบบมีพกิ ัด
-  จากนัน้ กด  Save As

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 29
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

ไปที่เครื่องมือ  Add delimited text layer

-  จากนั้นเลือกไฟลที่ตองการทําการ
ขําเขา
-  ตั้งคาพิกัด  X และ  Y ใหถูกตอง  
โดย  E = X และ  N = Y
-  จากนั้นกด  ok

ก็จะได  Shape File ที่เปนจุดแบบมีพิกัด


จากนั้นกด  Save As และจะได  Shape File ใหม

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 30
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การนําคาพิกัดมาแสดงในตาราง

Vector > Geometry Tools > Export/Add Geometry Colums

เลือกที่  Save นําขอมูลจุดที่


File ไมมีพิกัด

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 31
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

เมื่อเสร็จแลวก็จะไดตารางในกรอบสีแดงดังภาพ

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 32
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การแปลงระบบพิกดั

โดยการนําเขา  Shape File ที่ตองการแปลงพิกัด  หรือตองการใส


พิกัด  และจากนั้น
1.ในกรณียงั ไมมีพิกัด  ใหไปที่
-  Vector ที่บนแถบเครื่องมือ
-  Data Management Tools และ  Define
Current Projection
-  และทําการตัง้ คาพิกัดตามตองการ
2.ในกรณีที่มีคาพิกัดอยูแลว  และตองการเปลี่ยนคาพิกัด
-  ใหคลิกขวาที่  Shape File ที่ตองการเปลี่ยนคาพิกัด
-  เลือก  Save As และตั้งคาพิกัดที่ตองการใหม  และจากนัน้ กด  
Save  ก็จะไดพิกัดใหมตามตองการ        

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 33
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

1.ในกรณียังไมมีพิกัด  ใหไปที่
-  Vector ที่บนแถบเครื่องมือ
-  Data Management Tools และ  Define Current Projection

2.ในกรณีที่มีคาพิกัดอยูแลว  และตองการเปลี่ยนคาพิกัด
-  ใหคลิกขวาที่  Shape File ที่ตองการเปลี่ยนคาพิกัด
-  เลือก  Save As และตั้งคาพิกัดที่ตองการใหม

เลือกที่  Save

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 34
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การสรางเสนชั้นความสูงจาก  Dem

เปดขอมูล  Dem และไปที่  Raster > Extraction > Contour

เลือกที่  Save

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 35
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 36
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

การใส่ข้อมูลพิกัด ประเภท Point | Line | Polygon

Thursday, August 30, 12

1. เริ่มจากเปิดโปรแกรม Notepad } Start > Notepad

2. เปิดโปรแกรม Quantum GIS

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 37
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

3. ทําการ Add Data


> เลือก Data ที่เตรียมไว้

Thursday, August 30, 12

4. ทําการ Set Coordinate


> โดยเลือกเป็น Google Marcator EPSG:900913

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 38
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

5. ทําการ Set Google Layer


> Plugin > Google Layers > Setting > Hybird > OK!

Thursday, August 30, 12

6. ทําการดึงภาพจาก Google Layer

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 39
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

ตั้งค่า Coordinate Capture


> O >WGS 84 / UTM zone 47N EPSG : 32647

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

ค่าพิกัด CSR

Start Capture

ใช้คําสั่ง Start Capture และทําการกําหนดจุด


> สังเกตุ ค่าพิกัด CSR

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 40
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

การเพิ่มข้อมูลประเภทเส้น point แบบ ข้อมูลตารางมีโครงสร้างดังนี้


- ตัวแบ่งชุดข้อมูลเราใช้ “|”
- เราแยกข้อมูล X Y ด้วย “ “
- geometry แบบ point ใช้คําสั่งในรูป POINT(X1 Y1) เป็นต้น

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

1
Delimited text layer

Add พิกัดจาก Notepad โดยใช้ Delimited text layer

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 41
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

ทําการ Set Coordinate Point


> คลิกขวาที่ Point > Set layer CRS > WGS 84 / UTM zone 47N EPSG:32647

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 42
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Point

เสร็จแล้วววววววววว
Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Line

ค่าพิกัด CSR

Start Capture

ใช้คําสั่ง Start Capture และทําการกําหนดจุด


> สังเกตุ ค่าพิกัด CSR

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 43
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Line

การเพิ่มข้อมูลประเภทเส้น line แบบ ข้อมูลตารางมีโครงสร้างดังนี้


- ตัวแบ่งชุดข้อมูลเราใช้ “|”
- เราแยกข้อมูล X Y ด้วย “ ”
- เราแยกข้อมูล X1Y1 กับ X2Y2 ด้วย “,”
- geometry แบบ line ใช้คําสั่งในรูป LINESTRING(X1 Y1,X2 Y2,X3 Y3) เป็นต้น

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Line

1
Delimited text layer

Add พิกัดจาก Notepad โดยใช้ Delimited text layer

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 44
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Line

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Line

ทําการ Set Coordinate Line


> คลิกขวาที่ Point > Set layer CRS > WGS 84 / UTM zone 47N EPSG:32647

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 45
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Line

เสร็จแล้วววววววววว
Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Polygon

ค่าพิกัด CSR

Start Capture

ใช้คําสั่ง Start Capture และทําการกําหนดจุด


> สังเกตุ ค่าพิกัด CSR

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 46
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Polygon

การเพิ่มข้อมูลประเภทเส้น polygon แบบ ข้อมูลตารางมีโครงสร้างดังนี้


- ตัวแบ่งชุดข้อมูลเราใช้ “|”
- แยกข้อมูล X Y ด้วย “ ”
- แยกข้อมูล X1Y1 กับ X2Y2 ด้วย “,”
- แยกข้อมูลชุด polygon ออกจากกันด้วย “( )”
- geometry แบบ polygon ใช้คําสั่งในรูป POLYGON(X1 Y1,X2 Y2,X3 Y3) เป็นต้น

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Polygon

1
Delimited text layer

Add พิกัดจาก Notepad โดยใช้ Delimited text layer

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 47
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Polygon

Thursday, August 30, 12

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Polygon

ทําการ Set Coordinate Polygon


> คลิกขวาที่ Point > Set layer CRS > WGS 84 / UTM zone 47N EPSG:32647

Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 48
คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS (เบื้องต้น)

วิธีการใส่ข้อมูลพิกัดประเภท Polygon

เสร็จแล้วววววววววว
Thursday, August 30, 12

หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ํา 49

You might also like