You are on page 1of 11

ทรรศนะ

นาย กองเกียรติ เจริญจรัสฤกษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๔


นาย กสิณ กสิณธร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๗
นาย พงศกร อักโข ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๑
นาย ศุภกร สุวรรณเลิศลํ้า ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๖
นาย กาย นิเทศนพกุล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๓
นางสาว ปุณยภา ฐิติโชติรัตนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๙
นางสาว ชอนทอง นาคฤทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๑๐
นางสาว ณัฐกฤตา ยอดชัยพฤกษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๓ เลขที่ ๒๓
ทรรศนะคืออะไร
● ความคิดเห็น การเห็น

● ความคิดเห็นที่ประกอบดวยเหตุผล

● เราสามารถแสดงความคิดเห็นแลวแตนั้นยังไมใชเปนการแสดงทรรศนะเพราะการแสดงตอง
ประกอบดวยเหตุผล
แตกตางกันอยางไร
คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย อาศัยการสงเสริมและสนับสนุนจากสิ่งแวดลอมจึงจะพัฒนาไดเต็มที่ เพราะฉะนั้น อิทธิพลของ
สิ่งแวดลอมมีความสําคัญตอการแสดงทรรศนะของบุคคลมาก

อิทธิพลของสิ่งแวดลอม จะทําใหบุคคลมีความรู ประสบการณ ความเชื่อ รวมทั้งคานิยมแตกตางกัน ความแตกตางกันนี้ยอมมีผลทําให


บุคคลเกิดทรรศนะที่แตกตางกันเชน

- ความรูและประสบการณ
- ความเชือ่
- คานิยม
ทรรศนะของบุคคลแตกตางกันอยางไร
การแสดงทรรศนะดังกลาวเนื่องมาจากเหตุสําคัญ ๒ ประการ:

คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย และ อิทธิพลของสิ่งแวดลอม

คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย หมายถึง คุณสมบัติที่ติดตัวมนุษยมาแตกําเนิด เชน ความมีไหวพริบ เชาวน ปฏิภาณ ความถนัด


ฯลฯ

อิทธิพลของสิ่งแวดลอม มีความหมายกวาง หมายรวมทุกอยางทั้งที่เปนธรรมชาติ และเปนสิ่งที่มนุษยสรางหรือกระทําขึ้น อยูแวดลอม


ของแตละคนอาทิ ทุงนาปาเขา บานเมือง
ประเภทของทรรศนะ
ทรรศนะเชิงคุณคา ทรรศนะเชิงนโยบาย

-คือการประเมินวา สิ่งใดดีหรือไมดี สิ่งใดเปนประโยชนหรือ -คือการประเมินวา สิ่งใดดีหรือไมดี สิ่งใดเปนประโยชนหรือ


เปนโทษ สิ่งใดเหมาะหรือไม เปนโทษ สิ่งใดเหมาะหรือไม

-อาจเปนวัตถุ บุคคล กิจกรรม โครงการ วิธีการ นโยบายหรือ -อาจเปนวัตถุ บุคคล กิจกรรม โครงการ วิธีการ นโยบายหรือ
แมแตทรรศนะก็ได แมแตทรรศนะก็ได

-สามารถประเมินโดย เปรียบเทียบกับสิ่งที่อยูในประเภท -สามารถประเมินโดย เปรียบเทียบกับสิ่งที่อยูในประเภท


เดียวกัน เดียวกัน
ประเภทของทรรศนะ
ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง

- เรื่องราวที่เกิดขึ้นแลว แตยังเปนเรื่องที่คนในสังคมถกเถียงกัน วาอะไรคือขอเท็จจริงของเรื่อง


นั้นๆ
- เปนเพียงขอสันนิษฐานเทานั้น ไมวาจะนาเชื่อถือมากเพียงใด
ลักษณะของภาษาที่ใชในการแสดงทรรศนะ
๑.ใชคําหรือกลุมคําแสดงสั่งวาเปนเจาของทรรศนะ เชน

พวกเราเห็นรวมกันวา.......... ดิฉันเห็นวา..........

ผมขอสรุปวา..........ที่ประชุมมีมติวา..........

๒. ใชคําหรือกลุมคํากริยาชวยในขอสรุป

เพื่อแสดงใหเห็นวาเปนการแสดงทรรศนะ เชน คง ควรจะ นาจะ

๓. ใชคําหรือกลุมกอน

ใชคําหรือกลุมมคําอื่นที่มีความหมายบอกวาเปนการแสดงทรรศนะ อาจเปนการคาดคะแนแสดงความเชื่อมั่น
ปจจัยที่สงเสริมการแสดงทรรศนะ
มี 2 ประการ

- ปจจัยภายนอก เชน ผูรับสาร, บรรยากาศแวดลอม, เวลา, สถานที่, บุคคลอื่น

- ปจจัยภายใน เชน ความสามารถในการใชภาษา, ความเชื่อมั่นในตัวเอง ความรูและประสบการณ, ทัศนคติ


การประเมินคาทรรศนะ
● การประเมินคาทรรศนะไมควรจะยึดติดกับผูพูดเกินไป เพราะมนุษยไมสามารถเสนอสิ่งที่ถูกตลอด

เเนวทาง

● ประโยชนเเละลักษณะสรางสรรค
○ ประโยชนที่เปนประโยชนสวนกลุมนอยจะเปนประโยชนที่ไมมีคุณคาเเกสวนรวม
○ สรางสรรคหมายถึงทําประโยชนใหสังคมสงบสุขตลอดเวลา
● ความนาเชื่อถือเเละสมเหตุสมผล
○ ใหคิดวาเหตุผลที่นํามานั้นเหมาะเเกการยอมรับหรือไม
○ เหตุผลที่ใหมานั้นถูกตองตามเเบบฉบับตนเเบบหรือไม
○ ถาใชเหตุผลดวยนิรนัยอยางยอโดยไมระบุหลักการก็ตองคิดวาผูอานจะเขาใจเเละยอมรับไดหรือไม
โครงสรางของภาษา
โครงสรางของภาษาเเบงเปน 3 สวน ไดเเก

๑)ที่มา สวนที่เปนเรื่องราวที่ทําใหเกิดทรรศนะ ชวยใหผูรับสารเกิดความเขาใจ

๒)ขอสนับสนุน สามารถเปนไดทั้ง ขอเท็จจริง,หลักการทรรศนะ เเละมติของผูอื่น เพื่อประกอบใชเปนเหตุผลสนับสนุนขอสรุปของผูเขียน

๓)ขอสรุป เปนสวนที่สําคัญที่สุด อาจเปนขอเสนอเเนะขอวินิจฉัยขอสันนิฐาน หรือการประเมินคา

You might also like