You are on page 1of 6

3.

3 การประยุกต์ทางเคมี
การทาปฏิกริ ยิ าเคมี การเปลีย่ นแปลงของสสาร
ตลอดจนการทีส ่ ารละลายมีการเปลีย่ นแปลงความเข้มข้น
โดยมีเวลาเป็ นค่าทีแ
่ ปรเปลีย่ นไปเป็ นช่วง ๆ
ลักษณะดังกล่าวนี้สามารถพิจารณาหาความสัมพันธ์ได้ในรูปของสมการเชิ
งอนุพนั ธ์ และหาคาตอบได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 3.3.1 ถังใบหนึ่งมีน้าเกลือบรรจุอยู่ 100 ลิตร


โดยมีปริมาณของเกลือละลายอยูห ่ นัก 60 กิโลกรัม
ถ้าให้น้าไหลเข้าถังในอัตรานาทีละ 2 ลิตร
และในขณะเดียวกันมีเครือ ่ งคนส่วนผสมของน้าเกลือให้เข้ากันอยูต ่ ลอดเวล
า แล้วปล่อยให้ไหลออกมาในอัตราทีเ่ ท่ากัน จงหาปริมาณ
ของเกลือทีเ่ หลืออยูใ่ นถังหลังจากเวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง
วิธีทา ให้ปริมาณของเกลือทีล่ ะลายอยูใ่ นถังภายใน t นาที
มีน้าหนักเป็ น x กิโลกรัม
 ความเข้มข้นของเกลือ  x กิโลกรัม/ลิตร
100
เนื่องจาก มีน้าไหลเข้าถังในอัตรานาทีละ 2 ลิตร
ดังนัน
้ ในช่วงเวลา dt นาที จะมีน้าไหลเข้า 2 dt ลิตร
และขณะเดียวกันจะมีน้าไหลออก 2 dt ลิตร
นั่นคือ ความเข้มข้นของเกลือทีล่ ะลายอยู่ คือ 100
x  2dt  x dt
50
กิโลกรัม
เนื่องจาก x เป็ นปริมาณของเกลือทีล่ ะลายอยูใ่ นถัง
จะได้วา่ dx คือ การเปลีย่ นแปลงปริมาณของเกลือ
ดังนัน

dx   x dt
50
(ค่าเป็ นลบเพราะปริมาณของเกลือลดลง)
dx   x dt
x 50
ln ( x)   1 t  C
50
………………………………….. (1)

เมือ
่ t  0, x  60 หาค่า C ได้ คือ
ln 60  C

จาก (1) แทนค่า C ได้สมการ คือ


ln ( x)  ln 60  t
50
………………………………….. (2)
ต้องการหาปริมาณของเกลือ (ค่า x ) เมือ
่ t  60 จาก (2)
จะได้
ln ( x)  ln 60  t
50
ln ( x)  ln 60   6
5
 
ln x   6
60 5
 
ln x  1.2
60
x  60 exp(1.2)
 60(0.301)
 18.06
 เมือ
่ เวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง
จะมีปริมาณของเกลือทีเ่ หลือในถัง 18 กิโลกรัม

ตัวอย่าง 3.3.2 ห้อง ๆ หนึ่งมีขนาดกว้าง 150 ฟุต ยาว 50 ฟุต


และสูง 12 ฟุต จากการตรวจสอบพบว่ามีคาร์บอนไดออกไซด์ผสมอยู่ 0.2%
ถ้าปล่อยให้อากาศซึง่ มีคาร์บอนไดออกไซด์ผสมอยู่ 0.05%
ไหลผ่านเข้าไปในห้องทางเครือ ่ งระบายอากาศในอัตรา 9, 000
ลูกบาศก์ฟุต/นาที
จงหาปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์ทม ี่ ีอยูใ่ นห้องเมือ
่ เวลาผ่านไป 20
นาที
วิธีทา เนื่องจากปริมาตรของห้องมีความจุ 150  50 12 ลูกบาศก์ฟุต
สมมติให้เมือ่ เวลาผ่านไป t นาที มี CO2 อยู่ x ลูกบาศก์ฟุต
นั่นคือ อัตราส่วนของ CO2  x
150  50 12
 x
90,000
ในช่วงเวลา dt ปริมาณ CO2 ผ่านเข้าไปในห้อง
 9, 000  0.05 dt ลูกบาศก์ฟุต
100
 4.5 dt ลูกบาศก์ฟุต
9, 000 x dt
ขณะเดียวกันปริมาณ CO2 ทีไ่ หลผ่านออกไป 
90, 000
ลูกบาศก์ฟุต
 x dt
10
ลูกบาศก์ฟุต
เนื่องจากการเปลีย่ นของปริมาณ CO2 คือ dx
ดังนัน
้ จะได้สมการ คือ
dx  4.5 dt  x dt
10

  x  45 dt
10 10 
  x  45 dt
10
dx   1 dt
x  45 10
ln(x  45)   1 t  C
10
ln( x  45)   t  ln C
10
x  45
ln( ) t
C 10
 
x  45  C exp  t
10
…………………………………..
(1)
เมือ
่ t 0 ปริมาณ CO2 มี 0.2% จะได้
x  0.2  90, 000
100
 180
จาก (1) หา C ได้เมือ่ t  0, x  180
180  45  C
C  135
นั่นคือ จาก (1) ได้สมการความสัมพันธ์ คือ
x  45  135exp  t
10   ………………….. (2)

ต้องการหาปริมาณ CO2 (ค่า x ) เมือ


่ t  20 จาก (2) แทนค่า
x  45  135 exp  20
10  
 45  135 e2
 45  135  0.13534 
 63.2709
ดังนัน
้ เมือ
่ เวลาผ่านไป 20 นาที ปริมาณ CO2 ในห้องจะมีอยู่
63.2709
หรือคิดเป็ นร้อยละ
63.2709 100  0.0703
90,000

ตัวอย่าง 3.3.3 ถ้าการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง


เป็ นปฏิภาคโดยตรงกับปริมาณของสารนัน ้ ในขณะทีก่ าลังสลายตัวอยู่
ปรากฏว่าในเวลา 10 ปี สารนี้จะหายไป 0.5%
จงหาปริมาณของสารนี้ทจี่ ะสลายไปในเวลา 100 ปี และหาระยะครึง่ ชีวต ิ
(half-life) ของสารนี้ดว้ ย
วิธีทา สมมติให้สารกัมมันตรังสีมีจานวน x กรัม ในเวลา t ปี
นั่นคือ อัตราการสลายตัวของสารนี้ คือ dx
dt
dx  x
dt
เนื่องจากการสลายตัวของ x มีคา่ ลดลง
 dx  kx , k  0
dt
dx   k dt
dt
ln ( x)   kt  C
………………………………….. (1)
เมือ
่ t  0 ให้ x  x0 จะได้
ln ( x0 )  C
แทนค่า C จาก 1 จะได้
ln  x   kt  ln x0
ln  x   ln x0  kt
 
ln  x   e kt
 x0 
x  x0e kt ………………………….. (2)
ในเวลา 10 ปี สารสลายตัวไป 0.5%
นั่นคือ สารนี้สลายตัวไป
0.5 x  0.005 x
100 0 0 กรัม
จะมีสารเหลือ x  x0  0.005 x0 กรัม
x  0.995 x0 กรัม
แทนค่าใน  2
0.995 x0  x0 e10k
0.995  e10k …………………………. (3)
ต้องการหา x เมือ
่ t  100 จาก  2 และ  3 จะได้
x  x0 e100 k
 x0  e100 k 
10

 x0 (0.995)10
ปริมาณของสารทีห
่ ายไป x  x0   0.995 x0 กรัม
10

 1   0.995   x0 กรัม
10
 
1   0.995 10  x
คิดเป็ นร้อยละ   0 100
x0
 4.9%
ระยะครึง่ ชีวต
ิ ของสารกัมมันตรังสีทห
ี่ ายไป คือ
ระยะเวลาทีส
่ ารนัน้ หายไป 50%
นั่นคือ ต้องการหา t เมือ
่ x  1 x0
2
จากสมการ  2 แทนค่า จะได้
1 x  x e kt
2 0 0

1  e kt
2
1   e kt 10
t

2
1   0.995 10t
2

ln 1  t ln  0.995 
2 10
ln  0.5   t ln  0.995 
10
10 ln  0.5 
t
ln  0.995 
 1.087
 ระยะครึง่ ชีวต
ิ ของสารทีห
่ ายไป คือ 1.087 ปี

You might also like