You are on page 1of 33

การ

โน้มน้าวใจ
2

จัดทําโดย 1105
นาย อรรถวิทย์ โรจน์ทวีนิธิ เลขที่ 13
นาย กฤษณ์ พรหมโรกุล เลขที่ 11
นาย ธนิท จิตวัฒนภักดี เลขที่ 1
นาย ฐนกร ทรงวัฒนกําจร เลขที่ 15
นาย สิงหนาท ชุมพล เลขที่ 2
นาย แฟรงค์ เดวีส เลขที่ 3
นาย นิพิฐพล ยศอมรสุนทร เลขที่ 6
นาย ภัทรภูมิ ภูมิสนธิ์ เลขที่ 10
3

ความโน้นน้าวใจคืออะไร
● คําว่าโน้มน้าวประกอบด้วยคําว่า โน้ม และ คําว่า
น้าว

● คําว่าโน้ม = แปลว่าการทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เปลี่ยน
ทิศทางไปจากเดิม เช่น โน้มตัวลง หรือโน้มกิ่งไม้
ซึ่งก็หมายความว่า ทําให้ลําตัวหรือกิ่งไม้เปลี่ยน
ทิศทางไป จากเดิมให้เป็นไปตามทิศทางที่ผู้โน้ม
ต้องการ

● คําว่าน้าว = ก็มีความหมายไปในทํานองเปลี่ยน
ทิศทาง เช่นกัน เช่น น้าวคันธนู เป็นต้น รวม
ความแล้ว โน้มน้าว หมายถึง กระทําโดยพยายาม
เปลี่ยนสภาพเดิมของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เป็นไปตาม
ทิศทางที่ผู้กระทําต้องการ การโน้มน้าวใจจึงมีค
วามหมายว่า การกระทําของบุคคล อื่นด้วยกลวิธี
ที่เหมาะสม ให้มีผลกระทบใจผู้นั้น จนเกิดการ
ยอมรับและเปลี่ยนตามผู้โน้มน้าวใจต้องการ
ความต้องการ
พื้ นฐานของมนุษย์

เป็นแรงผลักดันให้มนุษย์สร้างทัศนคติ ความเชื่อ และ ค่า
5

นิยม อีกนานัปการก็เพื่ อความสนอง


ความต้องการของตนเอง

*หลักที่สําคัญที่สุดในการโน้มน้าวใจ คือ การทําให้มนุษย์


ประจักษ์ชัดแก่ใจตนเอง ถ้าเชื่อ เห็นคุณค่า หรือกระทําตาม
ที่ผู้โน้มน้าวใจชี้แจงหรือชักนําแล้ว ก็จะได้รับผลที่ตอบสนอง
ความต้องการขั้นพื้ นฐานของตนนั่นเอง
6

กลวิธีในการโน้มน้าวใจ
7

หลักที่สําคัญที่สุดของการโน้มน้าวใจคือการทําให้คน
พื้ นฐานของการ เชื่อว่าการทําสิ่งที่ถูกแนะนําหรือโน้มน้าวแล้ว จะได้ผลตาม
โน้มน้าวใจ ที่คนกระทําต้องการ การโน้มน้าวใจไม่ใช่การที่คนกระทํา
เพราะความรําคาญหรือเบื่อหน่าย แต่เป็นการกระทําเพราะ
ความเชื่อหรือความคิดที่ปรับเปลี่ยนไปจากเดิม
8

แสดงให้ถึงความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้
โน้มน้าวใจ
แสดงให้เห็นถึงการรู้จริง, การมีคุณธรรม, และ ความ
ปรารถนาดีต่อผู้อ่น
ื เพราะ ผู้คนที่มีสิ่งเหล่านี้ย่อมได้รับ
ความเชื่อถือจากผู้อ่น

9

แสดงให้เห็นความหนักแน่นของเหตุผล

บุคคลที่มีปัญญาสูงก็จะยิ่งทําให้คนอื่นคล้อยตามได้
ง่าย ผู้โน้มน้าวต้องแสดงให้เห็นถึงเรื่องที่กําลังโน้มน้าวใจ
นั้นมีเหตุผลหนักแน่นและควรค่าแก่การยอบรับ
10

แสดงให้เห็นถึงความรู้สึกหรืออารมณ์
ร่วมกัน
บุคคลที่มีความรู้สึกหรืออารมณ์ร่วมกัน ย่อมคล้อย
ตามกันได้ง่าย เราควรทําให้คนที่โน้มน้าวใจเห็นถึงความ
คล้อยตามกัน เพราะมันสามารถทําให้โน้มน้าวใจได้ง่ายกว่า
11

แสดงให้เห็นทางเลือกด้านดีและด้านเสีย

การโน้มน้าวใจบุคคลอื่นทําให้เกิดความนึกคิด การบอก
ทั้งข้อดีและข้อเสียจึงทําให้ผู้ถูกโน้มน้าวได้ใช้วิจารณญาณ
ของตนเองด้วย
12

สร้างความหรรษาแก่ผู้รับสาร

หากเราจริงจังมากจนเกินไปแล้ว การโน้มน้าวใจนั้นก็
อาจจะไม่ได้ผล เพราะฉะนั้น การนําอารมณ์ขันมาใช้บ้างก็
อาจจะได้ผลที่ดีกว่า
13

เร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า

เวลาที่มนุษย์เกิดอารมณ์ขึ้นอย่างแรงกล้า เมื่อต้อง
ตัดสินใจในขณะอยู่ในอารมณ์ต่างๆนั้น คนเหล่านั้นก็อาจ
ตัดสินใจคล้อยตามผู้โน้มน้าวใจได้ง่าย
14

ภาษาที่ในการโน้มน้าวใจ
มีลักษณะอย่างไร
15

การโน้มน้าวใจไม่ใช่ดารขู่บังคับ หรือคุกคาม
ภาษาที่โน้มน้าวใจ ความคิดของบุคคล ผู้โน้มน้าวใจควรใช้ภาษาที่ได้
มีลักษณะดังนี้ กล่าวมาข้างต้นและต้องเป็นไปในเชิงเสนอแนะ
ขอร้อง วิงวอน หรือเร้าใจ จะต้องเลือกใช้คําให้สื่อ
ความหมายามที่ต้องการ โดยคํานึงถึงจังหวะและ
ความนุ่มนวลด้วย
16

“แม้คนส่วนใหญ่จะนิยมแต่งงานกันอย่างหรูหรา
ใช้เงินทองมาก โดยถือว่าจะต้องทําให้สมเกียรติแก่
ตัวอย่างภาษา คู่บ่าวสาวสําหรับสําคัญเพี ยงครั้งเดียวในชีวิต แต่
ที่ใช้โน้มน้าวใจ ก็ใช่ว่าเราจะต้องทําตามอย่างเขาเสมอไป เราน่าจะ
พิ จรณาให้พอเหมาะพอควรสมแก่ฐานะของเรา
ระหว่างความหรูหรามีหน้ามีตาเพี ยวชั่วระยะเวลา
วันหนึ่งหรือหนึ่งคืน กับความมั่นมันคงของชีวิต
ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน เราจะเลือกอะไร เธอ
ทั้งสองก็เป็นคนมีวิจารณญาณ คงจะเห็นมิใช่หรือ
ว่า เราน่าจะเลือกประการหลังขอให้ตรองดูให้จงดี
เถิด”
17

จากตัวอย่างดังกล่าว จะเห็นได้ว่า
นํา้ เสียงของภาษาที่ใช้โน้มน้าวใจ จะต้องพยายาม
ภาษาที่โน้มมีลักษณะดังนี้ สร้างความรู้สึกให้ผู้รับสารเกิดความคล่้อยตาม ไม่
กล่าวตายตัว ตรงไปตรงมา หรือกล่าวในเชิงตําหนิ
ไม่ใช้นาํ้ เสียงที่เป็นคําสั่งหรือแสดงอํานาจ แต่ต้องใช้
ภาษาที่มีลักษณะจูงใจให้ผู้รับสารใช้ความคิด
พิ จารณาจนประจักษืด้วยตนเอง ข้อความที่ใช้ไม่
จําเป็นต้องยืดยาว เพี ยงใช้ถ้อยคําสั้นๆ แต่ต้องแต่ง
ขึ้นอย่างกระชับได้ใจความมีอํานาจในการเร้าใจมนุษย์
ได้
การโฆษณาสินค้าและบริการ

18
19
การโฆษณาสินค้าและบริการคืออะไร?

เป็นการส่งสารโน้มน้าวใจต่อประชาชน
เพื่ อประโยชน์ต่อการขายสินค้าและ
บริการเท่านั้น
20

วิธีการลงโฆษณา

การลงโฆษณา ผู้ที่ต้องการจะลงจะต้องจ่ายเงินเพื่ อซื้อ


เวลาและเนื้อที่ของสื่อที่จะใช้ เพื่ อนําสารโฆษณาของตน
เผยแพร่สู่ประชาชนในวงกว้าง การจ่ายเงินเพื่ อซื้อเวลา
และเนื้อที่เป็นเงื่อนไขสําคัญของการสื่อสารเชิงโฆษณา
สารประเภทโฆษณาสินค้าและบริการ มีลักษณะพิ เศษดังนี้

1. สวนนําที่สะดุดหู สะดุดตา เช่นการใช้ถ้อยคําใหม่ๆ อาจเป็นคําสัมผัสอักษร เลียน


เสียง และอื่นๆ
2. ไม่ใช้ถ้อยคําที่ยืดยาวละเอียดลออ และ ไม่ครอบคลุมเนื้อหาอย่างครบถ้วน ใช้
ประโยคสั้นๆ หรือวลีสั้นๆ
3. เนื้อหาชี้ให้เห็นความดีวิเศษของสินค้าและบริการที่ดีเกินความจริง
4. จับจุดอ่อนของกลุ่มผู้ซื้อที่เป็นเป้าหมาย
5. ข้อมูลต้องถูกต้องจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
6. ดัดแปลงสารเมื่อส่งสารนั้นๆซํ้าๆกันมาเป็นเวลาพอสมควร หากลวิธีเรียกร้อง
ความสนใจจากสาธารณชน
21
22

ประโยชน์ของการโฆษณาสินค้าและบริการ
1. เป็นการป่าวประกาศให้ผู้คนได้รู้จักสินค้าและบริการ
2. ทําให้สื่อมวลชนได้กําไรมหาศาล

โทษของการโฆษณาสินค้าและบริการ
1. ทําให้ประชาชนเกิดความเข้าใจผิด หรือหลงผิดไปตาม
โฆษณา ตัดสินใจผิด ซื้อของที่ไม่จําเป็นสําหรับตน
PROPAGANDA
โฆษณา
ชวนเชื่อ
24

โฆษณาชวนเชื่อ
ทางการค้า
ผู้โฆษณาชวนเชื่อมักมี
เป้าหมายที่จะจูงใจให้ผู้
รับชมซื้อสินค้าหรือ
บริการของผู้
โฆษณาชวนเชื่อ
25

โฆษณาชวนเชื่อ
ทางการเมือง
ผู้โฆษณาชวนเชื่อมักมี Place your screenshot here

เป้าหมายที่จะเปลี่ยน
อุดมการณ์ของคนหมู่
มาก
26

กลวิธีในการโฆษณาชวนเชื่อ
1. ตราชื่อ
2. ใช้ถ้อยคําหรูหรา
3. อ้างบุคคล/สถาบัน
4. ทําเหมือนชาวบ้านธรรมดา
5. อ้างแต่ที่เป็นประโยชน์
6. อ้างคนส่วนใหญ่
27
28
29

คําเชิญชวน
คําเชิญชวน
คําเชิญชวน เป็นการแนะนําให้ช่วยกันกระทําการ
อย่างใด อย่างหนึ่ง เพื่ อให้เกิด ประโยชน์ส่วนรวม
มักจะพบในการเขียนคําขวัญ เพลงปลุกใจ
บทความปลุกใจ หรือการพู ดในโอกาสต่าง ๆ
บอกจุดประสงค์อย่างชัดเจนและชี้ให้เห็นประโยชน์รวมทั้งบอกวิธี
ปฏิบัติด้วย โดยโน้มน้าวให้เกิดความภาคภูมิใจว่าถ้าปฏิบัติตามคํา
เชิญชวนจะเป็นผู้ทําประโยชน์แก่ส่วนรวม

● - การพู ดปลุกใจให้ประชาชนรักชาติ
● - พู ดจูงใจให้ประชาชนออกไป
● - ลงคะแนนเสียง
● - เลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร
● - พู ดโน้มน้าวใจให้คนบริจาคโลหิต
● - พู ดโน้มน้าวใจ
● - ให้คนซื้อสินค้าที่ตนเองจําหน่าย
- พู ดโน้มน้าวในใจให้ประชาชนช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม
32
การพิ จารณาสารโน้มน้าวใจมีลักษณะอย่างไร

การโน้มน้าวเข้ามามีส่วนในชีวิตประจําวันของมนุษย์ทุกวันในเรื่องของการตัดสินใจและ
ยิ่งเมื่อทุกวันนี้ทุกคนใช้เทคโนโลยีทําให้การโน้มน้าวจิตใจเข้าถึงผู้คนได้ง่ายขึ้น

ส่วนคนที่เป็นผู้ชมก็ควรที่จะมีการคิดวิเคราะห์และใช้วิจารณญาณในการรับฟังการ
โน้มน้าวจิตใจจากโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเพื่ อที่จะรับรู้ถึงจุดประสงค์ของการโน้มน้าวของ
โฆษณาชวนเชื่อ

การโน้นน้าวจิตใจมีอยู่ 3 ชนิดได้แก่
คําเชิญชวน
โฆษณาสินค้าหรือโฆษณาบริการ
โฆษณาชวนเชื่อ
33

ขอบคุณครับ

You might also like