You are on page 1of 38

สรุป

พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534


แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
(แจกฟรี) เล่มที่ 19

รวบรวมโดยประพันธ์ เวารัมย์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com
http://waoram.igetweb.com
~1~

สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553


ชุด สานฝันคนสอบราชการ
โดยประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
**********************
ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2534
 ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
 พระราชบัญญัติน้ใี ห้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
 *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108/ตอนที่ 156/ฉบับพิเศษ หน้า 1/4 กันยายน 2534*
 ดังนัน้ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2534 มีผลบังคับใช้ วันที่ 5 กันยายน 2534 **
ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553
 ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
 พระราชบัญญัติน้ใี ห้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
 *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127/ตอนที่ 75 ก/ หน้า 51/ 7 ธันวาคม 2553*
 ดังนัน้ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553 มีผลบังคับใช้ วันที่ 8 ธันวาคม 2553 **
 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อ
 ประโยชน์สุขของประชาชน
 เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ
 ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น
 การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความ
สะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน
 การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุ และแต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้อง
คานึงถึงหลักการดังกล่าวข้างต้น
 ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้
คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีสว่ นร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
 เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
 ให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ดังนี้
(1) ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
(2) ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~2~

(3) ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
 การแบ่งราชการออกเป็นส่วนต่างๆ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
 ให้กาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือนโดยคานึงถึงคุณภาพและปริมาณงานของส่วนราชการนั้นๆ ไว้
ด้วย
 การบรรจุและการแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งหน้าที่ราชการต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย
 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ส่วนที่ 1 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
 ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือ ส่ ว นราชการที่เ รีย กชื่อ อย่างอื่น และมีฐ านะเป็นกรม ซึ่งสังกั ดหรือไม่สังกั ดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
สานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกระทรวง
ส่วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็นนิติบุคคล
 การจัดตั้ง สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
 การรวม หรือการโอนส่วนราชการ
 การรวมหรือการโอน สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
 การจัดตัง้ ทบวงโดยให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้ระบุการสังกัดไว้ในพระราชบัญญัติ
ด้วย
 การจัดตัง้ กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
กระทรวง หรือทบวง ให้ระบุการไม่สังกัดไว้ในพระราชบัญญัติดว้ ย
 การรวมหรือการโอนส่วนราชการสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ไม่ว่าจะมีผลเป็นการ
จัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่หรือไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้าง
เพิ่มขึน้ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกาให้ระบุอานาจหน้าที่ของส่วนราชการ การโอนอานาจหน้าที่ตามบทบัญญั ติแห่ง
กฎหมาย ซึ่งส่วนราชการหรือเจ้าพนักงานที่มีอยู่เดิม การโอนข้าราชการและลูกจ้าง งบประมาณรายจ่าย
รวมทั้งทรัพย์สนิ และหนี้สนิ เอาไว้ด้วย แล้วแต่กรณี
 ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิให้มี
การกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ หรือที่ถูกรวม
หรือโอนไปตามวรรคหนึ่ง เพิ่มขึน้ จนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมี
ผลใช้บังคับ
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~3~

 การเปลี่ยนชื่อสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และในกรณีที่ชื่อ


ตาแหน่งของข้าราชการในส่วนราชการนัน้ เปลี่ยนไปให้ระบุการเปลี่ยนชื่อไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น ประกาศ หรือ
คาสั่งใดที่อ้างถึงส่วนราชการหรือตาแหน่งของข้าราชการที่ได้ ถูกเปลี่ยนชื่อ ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น ประกาศหรือคาสั่งนั้นอ้างถึงส่วนราชการหรือ
ตาแหน่งของข้าราชการที่ได้เปลี่ยนชื่อนั้น
 การยุบสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม แล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่
เหลืออยู่ของส่วนราชการนั้นเป็นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่น ของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วนราชการ
อื่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งกาหนดโดย
ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิทธิและหนี้สินของส่วนราชการนั้นให้เป็นไป
ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ข้าราชการหรือลูกจ้างซึ่งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การยุบส่วนราชการ
ตามวรรคหนึ่ ง นอกเหนื อ จากสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ที่ พึ ง ได้ รั บ ตามกฎหมายหรื อ ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ อื่ น แล้ ว ให้
ข้าราชการหรือลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาด้วย
ในกรณีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรือลูกจ้าง
ตามวรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรือลูกจ้างผู้นั้นได้พ้นจากราชการตามวรรคสาม แต่ทั้งนี้
ต้องกระทาภายในสามสิบวันนับแต่พระราชกฤษฎีกามีผลใช้บังคับ
 การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมี
ฐานะเป็ น กรม ให้ อ อกเป็ น กฎกระทรวงและให้ ร ะบุ อ านาจหน้ า ที่ ข องแต่ ล ะส่ ว นราชการไว้ ใ น
กฎกระทรวงด้วย
ให้ รั ฐ มนตรี เ จ้ า สั ง กั ด ของส่ ว นราชการเป็ น ผู้ อ อกกฎกระทรวงแบ่ ง ส่ ว นราชการดั ง กล่ า ว
กฎกระทรวงนัน้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
 ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณร่วมกันเสนอความเห็นต่อ
คณะรัฐมนตรีในการแบ่งส่วนราชการภายในและในการกาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการ
ในการเสนอความเห็นดังกล่าวให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนจัดอัตรากาลัง และ
สานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณให้สอดคล้องเสนอไปในคราวเดียวกัน
 การแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันในทบวงมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามกฎหมายว่า
ด้วยมหาวิทยาลัยหรือสถาบันนั้น
หมวด 1 การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
 การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม ดังนี้ สานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับ ราชการทั่วไปของนายกรัฐมนตรี และ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~4~

คณะรั ฐ มนตรี รั บ ผิ ด ชอบการบริ ห ารราชการทั่ ว ไป เสนอแนะนโยบายและวางแผนการพั ฒ นาด้ า น


เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความมั่นคง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การ
บริหารงานบุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผล การปฏิบัติราชการ การ
ส่งเสริมการลงทุน การบริหารจัดการทรัพยากรน้า การปฏิ บัติภารกิจพิเ ศษ และราชการอื่นตามที่ มี
กฎหมายก าหนดให้ เ ป็ น อ านาจหน้ า ที่ ข องส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ ส่ ว นราชการที่ สั ง กั ด ส านั ก
นายกรัฐมนตรีหรือที่มไิ ด้อยู่ภายในอานาจหน้าที่ของกระทรวงใดโดยเฉพาะ
 ส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
(1) สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
(2) กรมประชาสัมพันธ์
(3) สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
 ส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
(4) สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
(5) สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
(6) สานักข่าวกรองแห่งชาติ
(7) สานักงบประมาณ
(8) สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
(9) สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
(10) สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
(11) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(12) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
(13) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
(14) สานักงานบริหารจัดการทรัพยากรน้าแห่งชาติ
ให้ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีบรรดาที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม มีฐานะเป็นกรม
 หน่วยงานในกากับของสานักนายกรัฐมนตรี
 กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
 รัฐวิสาหกิจ
 บริษัท อสมท จากัด (มหาชน)
 องค์การมหาชน
(1) สานักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน)
(2) องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~5~

(3) สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)


(4) สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
(5) สานักงานพัฒนาพิงคนคร (องค์การมหาชน)
(6) สถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องค์การมหาชน)
(7) สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน)
(8) สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)
(9) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(10) สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
(11) สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
 ส่วนราชการหรือหน่วยงานในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี
(1) สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
(2) สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
(3) สานักงานราชบัณฑิตยสภา
(4) สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(5) สานักงานตารวจแห่งชาติ
(6) สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(7) ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
(8) สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
(9) สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(10) คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
(11) คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
(12) สานักงานกองทุนหมูบ่ ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
(13) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(14) องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
(14) กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
(15) สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
สานักนายกรัฐมนตรีอาจจัดให้มีส่วนราชการเป็นการภายในขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อทา
หน้าที่จัดทานโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการตามนโยบายที่
คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ เพื่อการนี้นายกรัฐมนตรีจะสั่งให้กรมหรือส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่น
และมีฐานะเป็นกรมในสานักนายกรัฐมนตรีจัดทาก็ได้
สานักนายกรัฐมนตรีมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~6~

 สานักนายกรัฐมนตรีมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนด
นโยบาย เป้ า หมาย และผลสั ม ฤทธิ์ ข องงานในส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายที่
คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะให้มีรองนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้
ในกรณี ที่ มี ร องนายกรั ฐ มนตรี ห รื อ รั ฐ มนตรี ป ระจ าส านั ก นายกรั ฐ มนตรี หรื อ มี ทั้ ง รอง
นายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ป ระจ าส านั ก นายกรั ฐ มนตรี การสั่ ง และการปฏิ บั ติ ร าชการของรอง
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้ นใหม่
จะเข้ารับหน้าที่เพราะนายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่
ไว้วางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติให้
ถอดถอนจากตาแหน่ง ให้คณะรัฐ มนตรี มอบหมายให้รองนายกรัฐ มนตรีคนใดคนหนึ่งเป็ นผู้ป ฏิบั ติ
หน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน
ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า คณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่
จะเข้ารับหน้าที่ ให้คณะรัฐมนตรีดังกล่าวอานวยความสะดวกให้หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ ดาเนินการใดๆ
เท่าที่จาเป็น เพื่อรับแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินจากนายกรัฐมนตรีคนใหม่มาเตรียมการดาเนินการได้
 นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วน
ภูมิภาค และส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงาน
เกี่ ย วกั บ การปฏิ บัติร าชการ ในกรณีจาเป็ นจะยั บ ยั้ งการปฏิบัติ ราชการใดๆ ที่ขัด ต่อ นโยบายหรื อ มติ ของ
คณะรัฐ มนตรีก็ ไ ด้ และมีอานาจสั่ งสอบสวนข้อเท็จจริง เกี่ย วกั บ การปฏิบัติราชการของราชการส่วนกลาง
ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกากับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลาย
กระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตาแหน่ง ซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการที่
เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะ
ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ ในกรณีที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ง สังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรม
หนึ่ง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่ นว่านี้ให้ข้าราชการซึ่งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~7~

เสมือนเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถ้าเป็นการแต่งตั้ง


ข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิบดีหรือเทียบเท่าขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี หรือเป็น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบีย้ ประชุมหรือค่าตอบแทนให้แก่ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้หี รือกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้
 ในกรณีทีน่ ายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม แต่
มิได้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือทบวง นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี หรือ
รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนก็ได้
 ส านั ก เลขาธิ ก ารนายกรั ฐ มนตรี มี อ านาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ ราชการทางการเมื อ ง มี เ ลขาธิ ก าร
นายกรั ฐ มนตรีเ ป็ นผู้ บั งคั บ บั ญ ชาข้ า ราชการ และรับ ผิ ดชอบในการปฏิ บั ติร าชการขึ้ น ตรงต่ อ
นายกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ฝ่ายบริหาร เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการและจะให้มีผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็ นผู้ช่วยสั่ง
และปฏิบัติราชการด้วยก็ได้
 ให้ เ ลขาธิ ก ารนายกรั ฐ มนตรี แ ละรองเลขาธิ ก ารนายกรั ฐ มนตรี ฝ่ า ยการเมื อ ง เป็ น ข้ า ราชการ
การเมือง และให้ รองเลขาธิ การนายกรัฐ มนตรี ฝ่ายบริหาร และผู้ช่วยเลขาธิก ารนายกรัฐ มนตรี เป็ น
ข้าราชการพลเรือนสามัญ
 ส านั ก เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี มี อ านาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ ราชการของคณะรั ฐ มนตรี รั ฐ สภา และ
ราชการในพระองค์ มีเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐ มนตรี และให้มี รองเลขาธิการคณะรัฐ มนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
ราชการ และจะให้มผี ชู้ ่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้
 ให้เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็น
ข้าราชการพลเรือนสามัญ
 ในสานักนายกรัฐมนตรี อาจมีส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ได้ตามที่กาหนดใน
กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
 ส านั ก นายกรัฐ มนตรี นอกจากมี น ายกรัฐ มนตรี รองนายกรั ฐ มนตรี และรัฐ มนตรีป ระจาส านั ก
นายกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ
ของสานักนายกรัฐมนตรี และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการในสานัก
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~8~

นายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามนโยบายที่ นายกรัฐมนตรีกาหนดรวมทั้งกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการ


ปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(2) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีรองจากนายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่วนราชการซึ่งหัวหน้าส่วน
ราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ในการปฏิบัติราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้มรี องปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและ
ปฏิบัติราชการ และจะให้มีผชู้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้
ในกรณีที่มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรองปลัดสานัก
นายกรัฐ มนตรีและผู้ช่ว ยปลัด ส านักนายกรัฐ มนตรี ให้รองปลัดสานักนายกรัฐ มนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานัก
นายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาข้ า ราชการและรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ร าชการรองจากปลั ด ส านั ก
นายกรัฐมนตรี
ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ และให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้
ด ารงตาแหน่งที่เ รี ย กชื่ออย่า งอื่นในส านัก งานปลัดสานัก นายกรัฐ มนตรี มี อานาจหน้ าที่ตามที่ ป ลั ดสานั ก
นายกรัฐมนตรีกาหนดหรือมอบหมาย
 ส านั ก งานปลั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี มี อ านาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ ราชการประจ าทั่ ว ไปของส านั ก
นายกรัฐมนตรี และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัด
สานักนายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานัก
นายกรัฐ มนตรี ให้เ ป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบั ติราชการของสานัก นายกรัฐ มนตรี
ยกเว้นราชการของส่วนราชการซึ่งกฎหมายกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการขึน้ ตรงต่อนายกรัฐมนตรี
 ในกรณีท่สี านักนายกรัฐมนตรีมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดตั้งสานั กงานปลัดทบวง จะให้
สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีทาหน้าที่สานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้
หมวด 2 การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง
 ให้จัดระเบียบราชการของกระทรวง ดังนี้
(1) สานักงานรัฐมนตรี (ไม่มฐี านะเป็นกรม แต่มีฐานะเป็นส่วนราชการ)
(2) สานักงานปลัดกระทรวง
(3) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางกระทรวงเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยก
ส่วนราชการตัง้ ขึ้นเป็นกรมก็ได้
ให้ส่วนราชการตาม (2) และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นตาม (3) มีฐานะเป็นกรม

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~9~

 กระทรวงใดมีความจาเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหน้าที่จัดทานโยบายและแผน กากับ เร่งรัด และ


ติด ตามนโยบายและแผนการปฏิ บั ติ ร าชการของกระทรวง จะจั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการโดยอนุ มั ติ
คณะรัฐ มนตรีเ พื่อให้มี ส านัก นโยบายและแผนเป็ นส่ วนราชการภายใน ขึ้น ตรงต่อรัฐ มนตรีว่าการ
กระทรวงก็ได้
 ในกระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ใดโดยเฉพาะซึ่งไม่มี
ฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการดังกล่าวเป็นอธิบดีหรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มี
ฐานะเป็นอธิบดีก็ได้ ในกรณีเช่นนัน้ ให้อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นดังกล่าวมีอานาจหน้าที่
สาหรับส่วนราชการนั้นเช่นเดียวกับอธิบดี ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้คณะอนุกรรมการ
สามัญประจากระทรวงทาหน้าที่คณะอนุกรรมการสามัญประจากรม สาหรับส่วนราชการนัน้
 การแต่งตั้งอธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของส่วนราชการ ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นผู้
นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ และให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวเป็นผู้ดารงตาแหน่งระดับสูง
ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
 ก่อนที่คณะรัฐมนตรีจะให้ความเห็นชอบในร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการของกระทรวงใด ให้
นายกรัฐมนตรีส่งร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒสิ ภาเพื่อทราบ
 กระทรวงมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
 การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหนึ่งๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม ส่ ว นการจัด ระเบีย บราชการในกระทรวงที่เกี่ย วกั บ การทหาร และการศึกษา ให้เป็นไปตาม
กฎหมายว่าด้วยการนัน้
 ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจและหัวหน้าส่วนราชการตัง้ แต่ระดับกรมขึ้นไป วางแผนและประสาน
กิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่วนราชการต่างๆ ในกระทรวงร่วมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความ
คุ้มค่า และบรรลุเป้าหมายของกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการ หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้ากลุ่มภารกิจดังกล่าวจะมี มติให้นา
งบประมาณที่แต่ละส่วนราชการได้รับจัดสรรมาดาเนินการและใช้จ่ายร่วมกันก็ได้
 ในกระทรวงหนึ่ง ให้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบ
ในการก าหนดนโยบาย เป้ า หมาย และผลสั ม ฤทธิ์ ข องงานในกระทรวงให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายที่
คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนด หรืออนุมัติ โดยจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้
ในกรณี ที่มีรัฐ มนตรีช่ว ยว่าการกระทรวง การสั่ งหรือการปฏิบั ติราชการของรัฐ มนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย
ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็น
กรม แต่มิได้สังกัดกระทรวง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงจะมอบหมายให้รัฐมนตรีช่ วยว่าการกระทรวงปฏิบัติ
ราชการแทนก็ได้
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 10 ~

 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุ มราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติ
ราชการ กากับการทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบัติงานของส่ วน
ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการในกระทรวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
ของสานักงานปลัดกระทรวง
ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวง จะให้มี รองปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
ราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้
ภายในกระทรวงจะออกกฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่วนราชการขึ้น
ไปอยู่ภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผู้ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีคนหนึ่ง
เป็นหัวหน้ากลุ่มภารกิจรับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น
โดยปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และใน
กรณีที่ข้นึ ตรงต่อรัฐมนตรีต้องรายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง
ในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้ากลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่วนราชการระดับกรมแห่ง
หนึ่งปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรือการบริหารงานทั่วไปให้ แก่ส่วนราชการ
แห่งอื่นภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้
กระทรวงใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริมาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและ
ปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้
ในกรณีที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหั วหน้ากลุ่มภารกิจก็
ได้ และให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็นอานาจหน้าที่
ของหัวหน้ากลุ่มภารกิจนัน้ ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
 กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น และมีความจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่กาหนดไว้
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะร่วมกันอนุมัติให้
กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะกาหนดเงื่อนไขหรือ เงื่อนเวลาไว้ด้วย
หรือไม่ก็ได้
 ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้มีการประชุมพิจารณาร่วมกั น โดยกรรมการแต่ละฝ่าย
จะต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง จึงจะเป็นองค์ประชุม และในการออกเสียงลงมติจะต้องได้คะแนน
เสียงของกรรมการแต่ละฝ่ายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการฝ่ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้นามติดังกล่าว
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 11 ~

 ส านั ก งานรั ฐ มนตรี มี อ านาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ ราชการทางการเมื อ ง มี เ ลขานุ ก ารรั ฐ มนตรี ซึ่ ง เป็ น
ข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงาน
รัฐ มนตรีขึ้นตรงต่อรัฐ มนตรีว่ าการกระทรวง และจะให้มี ผู้ช่วยเลขานุก ารรัฐ มนตรีซึ่ง เป็นข้า ราชการ
การเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได้
 สานักงานปลัดกระทรวง (มีฐานะเป็นกรม) มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวง
และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดกระทรวงโดยเฉพ าะ
รวมทั้งกากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง
และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง
ในกรณีที่กระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดตั้งสานักงานปลัดทบวง จะให้สานักงาน
ปลัดกระทรวงทาหน้าที่สานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้
 การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวงให้อนุโลมตามการจัดระเบียบราชการ
ของกระทรวงซึ่งบัญญัติไว้ในมาตรา 18 ถึงมาตรา 23
หมวด 3
การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
 ราชการส่วนใดซึ่งโดยสภาพและปริมาณของงานไม่เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นกระทรวงหรือทบวงซึ่งมี
ฐานะเที ย บเท่ า กระทรวง จะจั ด ตั้ ง เป็ น ทบวงสั ง กั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ กระทรวง เพื่ อ ให้ มี
รัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวงก็ได้ และ
ให้จัดระเบียบราชการในทบวงดังนี้
(1) สานักงานรัฐมนตรี (ไม่มฐี านะเป็นกรม มีฐานะเป็นส่วนราชการเท่านั้น)
(2) สานักงานปลัดทบวง
(3) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางทบวงซึ่งเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วน
ราชการตัง้ ขึ้นเป็นกรมก็ได้
ให้ส่วนราชการตาม (2) และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นตาม (3) มีฐานะเป็นกรม
ในกรณีที่สานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัด และปริมาณและคุณภาพของราชการ
ในทบวงยั งไม่ส มควรจัด ตั้งส านักงานปลัดทบวง จะให้สานัก งานปลัดสานัก นายกรัฐมนตรีหรือสานัก งาน
ปลัดกระทรวงทาหน้าที่สานักงานปลัดทบวงด้วยก็ได้
 การจัดระเบียบราชการในทบวงหนึ่งๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
ส่วนการจัดระเบียบราชการในทบวงมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้
ทบวงมีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (**ปัจจุบัน
ไม่มที บวง**)

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 12 ~

 ทบวงหนึ่ งมี รั ฐ มนตรีว่ า การทบวงเป็น ผู้ บัง คั บ บัญ ชาข้ า ราชการ และก าหนดนโยบายของทบวงให้
สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวง
และจะให้มรี ัฐมนตรีช่วยว่าการทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได้
ในกรณีที่มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐ มนตรีช่วยว่าการทบวง ให้
เป็นไปตามที่รัฐมนตรีว่าการทบวงมอบหมาย
ในกรณีที่เป็นทบวงสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้รัฐมนตรีว่าการทบวงปฏิบัติราชการภายใต้
การกากับของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แล้วแต่กรณี
 ทบวง นอกจากมีรัฐมนตรีว่าการทบวงและรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง ให้มีปลัดทบวงคนหนึ่งมีอานาจ
หน้าที่ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในทบวง กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของทบวง และ
ลาดั บ ความสาคั ญ ของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการในทบวงให้เ ป็นไปตามนโยบายที่
รัฐมนตรีกาหนด รวมทั้งกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในทบวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในทบวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดทบวงและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงาน
ปลัดทบวง
ในการปฏิบัติราชการของปลัดทบวง ให้มีรองปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะให้มี
ผูช้ ่วยปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้
ในกรณีที่มีรองปลัดทบวงหรือผู้ช่วยปลัดทบวง หรือมีทั้งรองปลัดทบวงและผู้ช่วยปลัดทบวง ให้รอง
ปลัดทบวงหรือผูช้ ่วยปลัดทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ รองจากปลัด
ทบวง
ให้รองปลัดทบวง ผู้ช่วยปลัดทบวง และผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสานักงานปลัดทบวง มี
อานาจหน้าที่ตามที่ปลัดทบวงกาหนดหรือมอบหมาย
ในกรณี ที่ ป ลั ด ทบวงจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ หรื อ ค าสั่ ง ใด หรื อ มติ ข อง
คณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้
กล่าวถึงอานาจของปลัดทบวงไว้ให้ปลัดทบวงมีอานาจดังเช่นปลัดกระทรวง
ในกรณีที่ให้สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าที่สานักงานปลัด
ทบวง ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงทาหน้าที่ปลัดทบวง
 สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ย วกับ ราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซึ่งเป็น
ข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงาน
รัฐ มนตรีขึ้นตรงต่อรัฐ มนตรีว่าการทบวง และจัดให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐ มนตรี ซึ่งเป็นข้าราชการ
การเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได้

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 13 ~

[มาตรา 29 แก้ ไ ขค าว่ า “ส านั ก งานเลขานุ ก ารรั ฐ มนตรี ” เป็ น “ส านั ก งานรั ฐ มนตรี ” โดย
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545]
 ส านั ก งานปลั ด ทบวงมี อ านาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ ราชการประจ าทั่ ว ไปของทบวง และราชการที่
คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดทบวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและ
เร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในทบวงให้เ ป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติ
ราชการของทบวง
หมวด 4 การจัดระเบียบราชการในกรม
 กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวงอาจแบ่งส่วนราชการดังนี้
(1) สานักงานเลขานุการกรม
(2) กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง เว้นแต่บางกรมเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่แยกส่วนราชการ
ตั้งขึน้ เป็นกองก็ได้
กรมใดมีความจาเป็น จะแบ่งส่วนราชการโดยให้มสี ่วนราชการอื่นนอกจาก (1)หรือ (2) ก็ได้
สาหรับสานักงานตารวจแห่งชาติ จะแบ่งส่วนราชการให้เหมาะสมกับราชการของตารวจก็ได้ **(แก้ไข
ใหม่ตามฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553)**
 กรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามที่กาหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการของ
กรม หรือตามกฎหมายว่าด้วยอานาจหน้าที่ของกรมนั้น
 ในกรมหนึ่งมีอธิบดีคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ
กรมให้ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละเป็ น ไปตามเป้ า หมาย แนวทาง และแผนการปฏิ บั ติ ราชการของ
กระทรวงและในกรณีที่มีกฎหมายอื่นกาหนดอานาจหน้าที่ของอธิบดีไว้เป็นการเฉพาะ การใช้อานาจและ
การปฏิ บั ติห น้ าที่ ต ามกฎหมายดั ง กล่ า วให้ คานึ งถึ ง นโยบายที่ค ณะรัฐ มนตรี แถลงไว้ ต่อ รั ฐ สภาหรื อ ที่
คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ และนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงด้วย
 ในกรมหนึ่งจะให้มีรองอธิบ ดี เ ป็นผู้บังคับ บัญ ชาข้าราชการรองจากอธิบ ดี และช่วยอธิบดีปฏิบัติ
ราชการก็ได้
 รองอธิบดีมีอานาจหน้าที่ตามที่อธิบดีกาหนดหรือมอบหมาย
 สานักงานเลขานุการกรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของกรม และราชการที่มิได้แยกให้เป็น
หน้าที่ ของกองหรือส่ว นราชการใดโดยเฉพาะมีเลขานุก ารกรมเป็ นผู้บั งคับ บั ญ ชาข้าราชการ และ
รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานเลขานุการกรม
ส่วนราชการตามมาตรา 31 วรรคหนึ่ง (2) และส่วนราชการตามมาตรา 31 วรรคสอง ให้มีอานาจ
หน้าที่ตามที่ได้กาหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนัน้ ๆ โดยให้มีผู้อานวยการกอง หัวหน้ากอง หรือหัวหน้า
ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่เทียบเท่ากับผู้อานวยการกอง หรือหัวหน้ากองหรือหัวหน้าส่วนราชการตาม
มาตรา 31 วรรคสอง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 14 ~

 กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้มีหัวหน้า


ส่วนราชการประจาเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อเพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการก็ได้
หัวหน้าส่วนราชการประจาเขตมีอานาจหน้าที่เป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากกระทรวง ทบวง กรม มา
ปฏิบัติงานทางวิชาการ และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการประจาสานักงานเขตซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม
นั้น
ความในมาตรานีไ้ ม่ใช้บังคับแก่การแบ่งเขตและการปกครองบังคับบัญชาของตารวจซึ่งได้กาหนดโดย
พระราชกฤษฎีกา * (แก้ไขใหม่ตามฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553)*
 กระทรวง ทบวง หรือกรมใดโดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมี ผู้ตรวจราชการของกระทรวง
ทบวง หรือกรมนั้น ก็ให้กระทาได้
ผู้ ต รวจราชการของกระทรวง ทบวง หรื อ กรม มี อ านาจหน้ า ที่ ต รวจและแนะน าการปฏิ บั ติ
ราชการอั น เกี่ ย วกั บ กระทรวง ทบวง หรื อ กรมนั้ น ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ระเบี ย บ หรื อ ข้ อ บั ง คั บ ของ
กระทรวง ทบวง หรือกรมหรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี
 ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรมจะมีเลขาธิการ ผู้อานวยการ หรือตาแหน่งที่
เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวงหรืออธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการ
ปฏิ บั ติร าชการของส่ ว นราชการนั้ น ให้เ ป็ นไปตามที่ก ฎหมายก าหนด และจะให้มี ร องเลขาธิก าร รอง
ผูอ้ านวยการหรือตาแหน่งรองของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นหรือผู้ช่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยผู้อานวยการหรือ
ตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น หรือมีทั้งรองเลขาธิการ และผู้ช่วยเลขาธิการหรือทั้งรอง
ผู้อานวยการและผู้ช่วยอานวยการ หรื อทั้งตาแหน่งรองและตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น
เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และช่วยปฏิบัติราชการแทนก็ได้
หมวด 5 การปฏิบัติราชการแทน
 อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการดาเนินการอื่นที่ผู้ดารงตาแหน่งใด
จะพึงปฏิบัติหรือดาเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีใน
เรื่องใด ถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้
กาหนดเรื่องการมอบอานาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือมิได้ห้ามเรื่องการมอบอานาจไว้ ผู้ดารงตาแหน่งนั้น
อาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกันหรือส่วนราชการอื่น หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
เป็นผู้ปฏิบัติราชการแทนได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
 พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งอาจกาหนดให้มีการมอบอานาจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตลอดจนการมอบ
อานาจให้ทานิติกรรมสัญญา ฟ้องคดีและดาเนินคดี หรือกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขในการ
มอบอานาจหรือที่ผู้รับมอบอานาจต้องปฏิบัติก็ได้
 ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับอานาจในการอนุญาตตามกฎหมายที่บัญญัติให้ต้องออกใบอนุญาต
หรือที่บัญญัติผู้มีอานาจอนุญาตไว้เป็นการเฉพาะ ในกรณีเช่นนั้นให้ผู้ดารงตาแหน่งซึ่งมีอานาจตาม
กฎหมายดังกล่าวมีอานาจมอบอานาจให้ข้าราชการซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ว่าราชการจังหวัดได้
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 15 ~

ตามที่เ ห็นสมควร หรือตามที่ค ณะรัฐ มนตรีก าหนดในกรณีมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ผู้ว่า


ราชการจังหวัดมีอานาจมอบอานาจได้ต่อไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้มอบอานาจกาหนด
 ในกรณีตามวรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนจะตราพระราชกฤษฎีกา
กาหนดรายชื่อกฎหมายที่ผู้ดารงตาแหน่งซึ่งมีอานาจตามกฎหมายดังกล่าวอาจมอบอานาจตามวรรคหนึ่ง
ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวก็ได้
 การมอบอานาจให้ทาเป็นหนังสือ”
 เมื่ อ มี ก ารมอบอ านาจแล้ ว ผู้ รั บ มอบอ านาจมี ห น้ า ที่ ต้ อ งรั บ มอบอ านาจนั้ น โดยผู้ ม อบอ านาจจะ
กาหนดให้ผู้รับมอบอานาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนต่อไป โดยจะกาหนด
หลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการใช้อานาจนัน้ ไว้ดว้ ยหรือไม่ก็ได้ แต่ในกรณีการมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการ
จังหวัดคณะรัฐมนตรีจะกาหนดหลักเกณฑ์ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องมอบอานาจต่อไปให้รองผู้ว่า
ราชการจังหวัด ปลัดจังหวัดหรือหัวหน้าส่วนราชการทีเ่ กี่ยวข้องในจังหวัดก็ได้
 ในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาถึงการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนความรวดเร็ว
ในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจและผู้รับ
มอบอานาจต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบอานาจตามวัตถุประสงค์ของการมอบอานาจดังกล่าว
หลักการพิจารณาในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาดังนี้
(1) การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน
(2) ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
(3) การกระจายอานาจความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผูร้ ับมอบอานาจ
(4) ผูร้ ับมอบอานาจต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบอานาจตามวัตถุประสงค์ของการมอบอานาจ
 เมื่อได้มอบอานาจแล้ว ผู้ มอบอานาจมีหน้าที่กากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบ
อานาจ และให้มอี านาจแนะนาหรือแก้ไขการปฏิบัติราชการของผูร้ ับมอบอานาจได้
 ในการปฏิบัติราชการของส่ ว นราชการภายในกรม ถ้าการปฏิบัติราชการใดของส่วนราชการนั้นมี
ลักษณะเป็นงานการให้บริการหรือมีการให้บริการเกี่ยวเนื่องอยู่ด้วยและหากแยกการบริหารออกเป็น
หน่วยบริการรูปแบบพิเศษจะบรรลุเป้าหมายตามมาตรา 3/1 ยิ่งขึ้น ส่วนราชการดังกล่าวโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจะแยกการปฏิบัติราชการในเรื่องนั้น ไปจัดตัง้ เป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ซึ่ง
มิใช่เ ป็นส่ว นราชการหรือรัฐวิสาหกิจแต่อยู่ในกากับของส่วนราชการดังกล่าวก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยให้กาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ การจัดตั้งการ
มอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทน วิธีการบริหารงาน การดาเนินการด้านทรัพย์สิน การกากับดูแล
สิทธิประโยชน์ของบุคลากรและการยุบเลิกไว้ด้วย
 ให้หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ มีหน้าที่ปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการตามภารกิจที่จัดตั้งหน่วยบริการ
รูปแบบพิเศษนั้นเป็นหลัก และสนับสนุนภารกิจอื่นของส่วนราชการดังกล่าวตามที่ได้รับมอบหมาย และ
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 16 ~

อาจให้บริการแก่ส่วนราชการอื่น หน่วยงานของรัฐหรือเอกชน แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อภารกิจอัน


เป็นวัตถุประสงค์แห่งการจัดตั้ง
 ให้รายได้ของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษเป็นรายได้ท่ีไม่ต้องนาส่งคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ
งบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
หมวด 6 การรักษาราชการแทน
 ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามี
รองนายกรัฐมนตรีหลายคน ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษา
ราชการแทน ถ้าไม่มผี ดู้ ารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี
มอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รัฐมนตรี
ช่ ว ยว่ า การกระทรวงเป็ น ผู้ รั ก ษาราชการแทน ถ้ า มี รั ฐ มนตรี ช่ ว ยว่ า การกระทรวงหลายคน ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้
ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
ให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่รัฐมนตรีว่าการทบวงด้วยโดยอนุโลม
 ในกรณีทีไ่ ม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้ช่วยเลขานุการ
รัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มอบหมายให้ผู้ช่ว ยเลขานุก ารรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รัก ษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ช่วยเลขานุการ
รัฐมนตรี ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่งตัง้ ข้าราชการในกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
ให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่เลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวงด้วยโดยอนุโลม
 ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองปลัดกระทรวง
เป็ น ผู้ รั ก ษาราชการแทน ถ้ า มี ร องปลั ด กระทรวงหลายคน ให้ น ายกรั ฐ มนตรี ส าหรั บ ส านั ก
นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่งตั้งรองปลัดกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการ
แทน ถ้าไม่มผี ดู้ ารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้นายกรัฐมนตรีสาหรับ
สานักนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่ง ไม่ต่า
กว่าอธิบดีหรือเทียบเท่าเป็นผู้รักษาราชการแทน
ในกรณีทีไ่ ม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ปลัดกระทรวงจะ
แต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่งด ารงตาแหน่ง ไม่ ต่ากว่า ผู้อ านวยการกองหรือ เทีย บเท่ าเป็ นผู้รัก ษา
ราชการแทนก็ได้
ให้นาความในมาตรา 44 มาใช้บังคับแก่กรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดทบวงหรือรองปลัดทบวงตาม
มาตรา 24 หรือมาตรา 28 ด้วยโดยอนุโลม

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 17 ~

 ในกรณี ที่ ไ ม่ มีผู้ ด ารงต าแหน่ งอธิบ ดี หรือ มี แต่ ไม่ อ าจปฏิ บัติ ราชการได้ ให้ ร องอธิ บ ดีเ ป็ น ผู้ รั ก ษา
ราชการแทน ถ้ามีรองอธิบดีหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งรองอธิบดีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษา
ราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองอธิบดีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง
ข้าราชการในกรมซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดี หรือข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งหัวหน้ากอง
หรื อ เที ย บเท่ า ขึ้ น ไปคนใดคนหนึ่ ง เป็ น ผู้ รั ก ษาราชการแทน แต่ ถ้ า นายกรั ฐ มนตรี ส าหรั บ ส านั ก
นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเห็นสมควรเพื่อความเหมาะสมแก่การรับผิดชอบการ
ปฏิบัติราชการในกรมนั้น นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงจะแต่งตั้งข้าราชการคนใดคน
หนึ่งซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่ารองอธิบดีหรือเทียบเท่า เป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
ในกรณีทีไ่ ม่มผี ดู้ ารงตาแหน่งรองอธิบดี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้อธิบดีจะแต่งตั้งข้าราชการใน
กรมซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดี หรือข้าราชการตั้งแต่ ตาแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่าขึ้นไปเป็น
ผูร้ ักษาราชการแทนก็ได้
ให้ น าความในวรรคหนึ่ ง และวรรคสองมาใช้ บั ง คับ แก่ ก รณี ที่ ไ ม่มี ผู้ ด ารงต าแหน่ ง เลขาธิ ก าร รอง
เลขาธิการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวงหรือ
อธิบดีในส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรมด้วยโดยอนุโลม
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ งเลขานุการกรมตามมาตรา 33 วรรคหนึ่ง หรือหัวหน้าส่วนราชการ
ตามมาตรา 33 วรรคสอง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมคนหนึ่ง ซึ่ง
ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า เป็นผู้รักษาราชการแทน
ให้นาความในมาตรานี้มาใช้บังคับ แก่ส่วนราชการที่เ รียกชื่ออย่างอื่นและมี ฐานะเป็นกรมด้วยโดย
อนุโลม
 ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัติน้ีมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
 ในกรณีท่ผี ู้ดารงตาแหน่งใดหรือผู้รักษาราชการแทนผูด้ ารงตาแหน่งนั้นมอบหมายหรือมอบอานาจให้ผู้
ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทน ให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบหมาย
หรือมอบอานาจ
ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นแต่งตั้งให้ผู้ ดารงตาแหน่งใดเป็นกรรมการหรือให้มีอานาจหน้าที่อย่างใด ให้
ผู้ รั ก ษาราชการแทนหรื อ ผู้ ป ฏิ บั ติ ร าชการแทนมี อ านาจหน้ า ที่ เ ป็ น กรรมการหรื อ มี อ านาจหน้ า ที่
เช่นเดียวกับผู้ดารงตาแหน่งนั้นในการรักษาราชการแทนหรือปฏิบัติราชการแทนด้วย แล้วแต่กรณี
 การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพระราชบัญญัตินี้ไม่กระทบกระเทือนอานาจนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
เจ้าสั งกั ด ปลั ด กระทรวง หรือผู้ดารงต าแหน่งเทีย บเท่าปลั ดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบ ดีหรือผู้ดารง
ตาแหน่งเทียบเท่าอธิบดี ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่จะแต่งตั้งข้าราชการอื่น เป็นผู้รักษาราชการแทนตาม
อานาจหน้าที่ที่มอี ยู่ตามกฎหมาย
 ในกรณีที่มีการแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ดารงตาแหน่งรองหรือผู้ช่วยพ้นจากความ
เป็นผู้รักษาราชการแทนนับแต่เวลาทีผ่ ู้ได้รับแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งเข้ารับหน้าที่
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 18 ~

 ความในหมวดนี้มิให้ใช้บังคับแก่ราชการในกระทรวงที่เกี่ยวกับทหาร

หมวด 7 การบริหารราชการในต่างประเทศ
 “คณะผู้แทน” หมายความว่า บรรดาข้าราชการฝ่ายพลเรือน หรือข้าราชการฝ่ายทหารประจาการใน
ต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถาน
รองกงสุล ส่วนราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเรียกชื่อเป็นอย่างอื่นและปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับ
สถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ่ และคณะผู้แทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ
 “หัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะผู้แทน
ถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่า ข้าราชการสังกัดส่วนราชการซึ่งได้รับแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผูแ้ ทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ
 “รองหัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้
ดารงตาแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน ในกรณีของคณะผู้แทนถาวรไทย
ประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่าข้าราชการสังกัดส่วนราชการ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งในลักษณะเดียวกัน
 ให้ หั ว หน้ า คณะผู้ แ ทนเป็ น ผู้ รั บ นโยบายและค าสั่ ง จากนายกรั ฐ มนตรี ใ นฐานะหั ว หน้ า รั ฐ บาล
คณะรั ฐ มนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิ บั ติ ก ารให้ เ หมาะสมกั บ การปฏิ บั ติ ร าชการใน
ต่างประเทศ และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทน และจะให้มีรองหัวหน้าคณะผู้แทนเป็น
ผูช้ ่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผูแ้ ทนก็ได้
การสั่ ง และการปฏิบัติราชการของกระทรวง ทบวง กรม ต่อ บุคคลในคณะผู้แ ทนให้ เ ป็ นไปตาม
ระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
หั ว หน้ า คณะผู้ แ ทนอาจมอบอ านาจให้ บุ ค คลในคณะผู้ แ ทนปฏิ บั ติ ร าชการแทนตามระเบี ย บที่
คณะรัฐมนตรีกาหนด
 ในกรณีทีไ่ ม่มีผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองหัวหน้าคณะ
ผู้แทนรักษาราชการแทน
ในกรณีที่ไม่มรี องหัวหน้าคณะผู้แทนที่จะรักษาราชการแทนตามวรรคหนึ่ง หรือไม่มีผู้ดารงตาแหน่งใด
อันเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือมีแต่บุคคลดังกล่าวไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้การรักษาราชการแทนหัวหน้า
คณะผู้แทนหรือผูด้ ารงตาแหน่งใดอันเป็นบุคคลในคณะผูแ้ ทน เป็นไปตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับข้าราชการฝ่ายทหารประจาการในต่างประเทศ
 หัวหน้าคณะผู้แทนมีอานาจและหน้าที่ ดังนี้
(1) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 19 ~

(2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือ ตามที่นายกรัฐมนตรีสั่ง


การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(3) บังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทนและข้าราชการฝ่ายพลเรือนที่มิใช่บุคคลในคณะผู้แทนซึ่งประจาอยู่ใน
ประเทศที่ตนมีอานาจหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบั งคับ หรือคาสั่งของ
กระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(4) รายงานข้อเท็จจริงและความเห็นเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการของบุคคลตาม (3) เพื่อประกอบการ
พิจารณาของผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการต้นสังกัดเกี่ยวกับการแต่งตั้งและการเลื่อนขั้นเงินเดือน
 รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐ มนตรีว่าการทบวง ปลัดสานักนายกรัฐ มนตรี ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง
อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้หัวหน้าคณะผู้แทนปฏิบัติราชการแทนได้ ในการนี้
ให้นาความในมาตรา 38 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
เมื่อมีการมอบอานาจตามวรรคหนึ่งโดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจนั้น และจะ
มอบอานาจนั้นให้แก่ผู้อื่นต่อไปไม่ได้ เว้นแต่เป็นการมอบอานาจต่อไปให้บุคคลในคณะผู้แทนตามระเบียบ
ที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
เมื่อได้มีการมอบอานาจแล้ว หัวหน้าคณะผู้แทนมีหน้าที่กากับ ติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้รับ
มอบอานาจ และให้มอี านาจแนะนาและแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอานาจได้
 การที่กระทรวง ทบวง กรม จะมอบอานาจหรือมีคาสั่งใดที่เกี่ยวข้องไปยังหัวหน้าคณะผู้แทน ให้แจ้ง
ผ่านกระทรวงการต่างประเทศ

ส่วนที่ 2 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
 ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดังนี้
(1) จังหวัด
(2) อาเภอ
หมวด 1 จังหวัด
 ให้รวมท้องที่หลายๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล
 การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่น
คาขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้
ให้ถือว่าจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
 ให้จังหวัดมีอานาจภายในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้
(1) นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
(2) ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและเป็นธรรม
ในสังคม
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 20 ~

(3) จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้อยโอกาสเพื่อให้ได้รับ


ความเป็นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวติ อย่างพอเพียง
(4) จัดให้มีการบริการภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็วและมีคุณภาพ
(5) จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สามารถดาเนินการ
ตามอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้มีขีดความสามารถพร้อมที่ จะดาเนินการตาม
ภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นของรัฐมอบหมาย หรือที่
มีกฎหมายกาหนด
เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องจั ง หวั ด ตามวรรคหนึ่ ง ให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องส่ ว นราชการและ
หน่วยงานของรัฐที่ประจาอยู่ในเขตจังหวัด ที่จะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัด
ตามมาตรา 53/1
 ในจังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรมการจังหวัด ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจัง หวัดในการบริหาร
ราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกาหนด คณะ
กรมการจังหวัดประกอบด้วย
(1) ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
(2) รองผู้วา่ ราชการจังหวัดหนึ่งคนตามที่ผวู้ ่าราชการจังหวัดมอบหมาย
(3) ปลัดจังหวัด
(4) อัยการจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด
(5) ผูบ้ ังคับการตารวจภูธรจังหวัด
(6) หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงและทบวงต่างๆ เว้นแต่กระทรวงมหาดไทยซึ่งประจา
อยู่ในจังหวัด กระทรวง หรือทบวงละหนึ่งคน เป็นกรมการจังหวัด
(7) หัวหน้าสานักงานจังหวัดเป็นกรมการจังหวัดและเลขานุการ
ถ้ากระทรวงหรือทบวงมีหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดซึ่งกรมต่างๆ ในกระทรวงหรือทบวงนั้นส่ง
มาประจาอยู่ในจังหวัด มากกว่าหนึ่งคน ให้ปลัดกระทรวงหรือปลัดทบวงกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการ
ประจาจังหวัดหนึ่งคนเป็นผู้แทนของกระทรวงหรือทบวงในคณะกรมการจังหวัด
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้หัวหน้าส่วน
ราชการประจาจังหวัดซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นกรมการจังหวัดเพิ่มขึ้น
เฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งก็ได้
 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ
และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด
 ในการจัดท าแผนพัฒนาจังหวั ดตามวรรคหนึ่ง ให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีก ารประชุมปรึก ษาหารือ
ร่วมกั นระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทาการอยู่ ในจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วน

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 21 ~

ภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดรวมทั้ง
ผูแ้ ทนภาคประชาสังคม และผูแ้ ทนภาคธุรกิจเอกชน
 การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จานวนและวิธีการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคมและผู้แทน
ภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
 เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และการดาเนินกิ จการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่ก ระทาในพื้นที่จังหวัด ต้อ ง
สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว
 ในจังหวัดหนึ่ง ให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่ง เป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรี ในฐานะ
หัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน
และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริห าร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคใน
เขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอาเภอ และจะให้มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ช่วย
ผูว้ ่าราชการจังหวัด หรือทั้งรองผู้วา่ ราชการจังหวัดและผูช้ ่วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
ราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัดก็ได้
 รองผู้ว่าราชการจังหวัดหรือ ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วน
ภูมิภาคในเขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการรองจากผูว้ ่าราชการจังหวัด
 ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และผูช้ ่วยผูว้ ่าราชการจังหวัดสังกัดกระทรวงมหาดไทย
(**ข้อสอบออกบ่อยผูว้ ่า รองผูว้ ่าสังกัด......./ ส่วนตาแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าฯ ตามกฎหมายบัญญัติ แต่ข้อเท็จยัง
ไม่มกี ารแต่งตั้งตาแหน่งดังกล่าวมาปฏิบัติราชการ)
 ในจังหวั ด หนึ่ง นอกจากจะมี ผู้ว่ าราชการจัง หวัด เป็น หัวหน้าปกครองบั งคับ บัญ ชาข้าราชการ และ
รับ ผิด ชอบงานบริห ารราชการของจั ง หวั ดดั ง กล่ าวในมาตรา 54 ให้มี ป ลั ด จัง หวัด และหั ว หน้ าส่ ว น
ราชการประจาจัง หวั ด ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่า งๆ ส่ งมาประจาท าหน้า ที่ เ ป็ น ผู้ช่ วยเหลือ ผู้ว่ า
ราชการจังหวัด และมีอานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาคซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง
กรมนั้น ในจังหวัดนัน้
 ในจังหวัดหนึ่งนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดคณะหนึ่ง เรียก
โดยย่อว่า “ก.ธ.จ.” ทาหน้าที่สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดแี ละเป็นไปตามหลักการที่กาหนดไว้ในมาตรา 3/1
คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) ประกอบด้วย
(1) ผูต้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอานาจในจังหวัดเป็นประธาน
(2) ผูแ้ ทนภาคประชาสังคม
(3) ผูแ้ ทนสมาชิกสภาท้องถิ่นที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร
(4) ผูแ้ ทนภาคธุรกิจเอกชน

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 22 ~

ทั้งนี้ จานวน วิธีการสรรหา และการปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี


ในกรณีที่ ก.ธ.จ. พบว่ามีการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับหรือมีกรณีที่เป็นการ
ทุจริต ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ที่จะต้องแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป”
 ในกรณีท่ไี ม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้ว่าราชการ
จังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้ว่า ราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้ให้ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าราชการ
จังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้ปลัดจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามี รองผู้ว่าราชการ
จังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด หรือปลัดจังหวัดหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้ง รองผู้ว่าราชการ
จังหวัด ผู้ช่วยผูว้ ่าราชการจังหวัด หรือปลัดจังหวัดคนใดคนหนึ่ง แล้วแต่กรณี เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้า
ไม่มที ั้งผูด้ ารงตาแหน่งรองผู้วา่ ราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด และปลัดจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจ
ปฏิบัติราชการได้ ให้หัว หน้า ส่ ว นราชการประจาจังหวัด ซึ่งมีอ าวุโสตามระเบีย บแบบแผนของทาง
ราชการเป็นผู้รักษาราชการแทน
 ***(ข้อสอบเคยถามว่า ตาแหน่งใดอาจได้รับแต่งแต่งรักษาราชการแทนผูว้ ่าราชการได้)**
 ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจและหน้าที่ดังนี้
(1) บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด
(2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการ
ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(3) บริหารราชการตามค าแนะนาและคาชี้แจงของผู้ตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไม่ขัดต่อกฎหมาย
ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ หรื อ ค าสั่ ง ของกระทรวง ทบวง กรม มติ ข องคณะรั ฐ มนตรี ห รื อ การสั่ ง การของ
นายกรัฐมนตรี
(3) กากับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่งประจาอยู่ในจังหวัดนั้น
ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย
ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ให้ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับหรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี
หรื อ ยั บ ยั้ งการกระท าใดๆ ของข้ า ราชการในจั ง หวั ด ที่ขั ด ต่ อกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บัง คั บ หรื อค าสั่ง ของ
กระทรวง ทบวง กรมมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไว้ชั่วคราวแล้วรายงานกระทรวง
ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้อง
(5) ประสานงานและร่ ว มมื อ กั บ ข้ า ราชการทหาร ข้ า ราชการฝ่ า ยตุ ล าการ ข้ า ราชการฝ่ า ยอั ย การ
ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครู ผู้ตรวจราชการ
และหัวหน้าส่วนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 23 ~

(6) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรือ เสนอขอจัดตั้งงบประมาณต่อสานักงบประมาณตาม


มาตรา 52 วรรคสาม และรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ
(7) กากับดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย
(8) ก ากั บ การปฏิบัติห น้าที่ข องพนั ก งานองค์ ก ารของรัฐ บาลหรือรัฐ วิสาหกิจ ในการนี้ใ ห้ มีอานาจท า
รายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจต่อรัฐมนตรีเจ้า
สังกัดองค์การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ
(9) บรรจุ แต่ง ตั้ง ให้บ าเหน็จ และลงโทษข้า ราชการส่ว นภูมิ ภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และตามที่
ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย
 การยกเว้น จากัด หรือตัดทอน อานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด ในการบริหารราชการในจังหวั ด
หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอานาจหน้าที่ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเช่นเดียวกับผู้ว่า
ราชการจังหวัดจะกระทาได้โดยตราเป็นพระราชบัญญัติ **(ข้อสอบออกบ่อย)***
ให้นาความในมาตรา 48 และมาตรา 49 มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติราชการแทนตาม
หมวดนี้
 ให้แบ่งส่วนราชการของจังหวัดดังนี้
(1) ส านัก งานจังหวั ด มีหน้าที่เกี่ย วกั บราชการทั่วไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดนั้น มี
หัวหน้าสานักงานจังหวัด เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงาน
จังหวัด **(ข้อสอบเคยออกตาแหน่งใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานจังหวัด)***
(2) ส่วนต่างๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้นๆ มี
หัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดนั้นๆ เป็นผูป้ กครองบังคับบัญชารับผิดชอบ
หมวด 2 อาเภอ
 ในจังหวัดหนึ่งให้มหี น่วยราชการบริหารรองจากจังหวัดเรียกว่าอาเภอ
 การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา **(ออกข้อสอบบ่อย)***
 ให้อาเภอมีอานาจหน้าที่ภายในเขตอาเภอ ดังต่อไปนี้
(1) อานาจและหน้าที่ตามที่กาหนดในมาตรา 52/1 (1) (2) (3) (4) (5) และ (6) โดยให้นาความในมาตรา 52/1
วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม ดังนี้
(1) นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
(2) ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและเป็น
ธรรมในสังคม
(3) จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้อยโอกาสเพื่อให้ได้รับ
ความเป็นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวติ อย่างพอเพียง
(4) จัดให้มีการบริการภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็วและมีคุณภาพ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 24 ~

(5) จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่ อให้สามารถดาเนินการ


ตามอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้มีขีดความสามารถพร้อมที่จะดาเนินการตาม
ภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม
(6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นของรัฐมอบหมาย
หรือที่มกี ฎหมายกาหนด
(2) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มกี ารบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐในลักษณะศูนย์บริการร่วม
(3) ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อร่วมมือกับชุมชนในการดาเนินการให้มีแผนชุมชน เพื่อ
รองรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และกระทรวง ทบวง กรม
(4) ไกล่เกลี่ยหรือจัดให้มีการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคมตามมาตรา
61/2 และมาตรา 61/3
 ในอาเภอหนึ่ง ให้มีคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทของประชาชนที่คู่กรณีฝ่าย
ใดฝ่ายหนึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตอาเภอ ในเรื่องที่พิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดินมรดก และข้อพิพาททาง
แพ่งอื่นที่มที ุนทรัพย์ไม่เกินสองแสนบาท หรือมากกว่านั้น ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
 ให้นายอาเภอโดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัด จัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะทาหน้าที่เป็น
คณะบุ ค คลผู้ ท าหน้ า ที่ ไ กล่ เ กลี่ ย และประนอมข้ อ พิ พ าท โดยคั ด เลื อ กจากบุ ค คลที่ มี ค วามรู้ ห รื อ มี
ประสบการณ์เหมาะสมกับการทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
 เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นและคู่พิพาทตกลงยินยอมให้ใช้วิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้คู่พิพาทแต่ละฝ่ายเลือก
บุค คลจากบัญ ชี รายชื่ อตามวรรคสองฝ่ายละหนึ่ง คน และให้น ายอ าเภอ พนั ก งานอัย การประจ า
จังหวัดหรือปลัดอาเภอที่ได้รับมอบหมายคนหนึ่งเป็นประธาน เพื่อทาหน้าที่เป็นคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่
ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท
 ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทมีอานาจหน้าที่รับฟังข้อพิพาทโดยตรงจาก
คู่พิพาท และดาเนินการไกล่เกลี่ยให้เกิดข้อตกลงยินยอมร่วมกันระหว่างคู่พิพาทโดยเร็วถ้าคู่พิพาททั้งสอง
ฝ่ า ยตกลงกั น ได้ ให้ ค ณะบุ ค คลผู้ ท าหน้ า ที่ ไ กล่ เ กลี่ ย และประนอมข้ อ พิ พ าทจั ด ให้ มี ก ารท าสั ญ ญา
ประนีประนอมยอมความระหว่างคู่พิพาท และให้ถือเอาข้อตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
มีผลผูกพันคู่พิพาททั้งสองฝ่าย ในกรณีที่คู่พิพาทไม่อาจตกลงกันได้ ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ย
และประนอมข้อพิพาทสั่งจาหน่ายข้อพิพาทนั้น
 ข้ อ ตกลงตามวรรคสี่ ใ ห้ มี ผ ลเช่ น เดี ย วกั บ ค าชี้ ข าด ของอนุ ญ าโตตุ ล าการตามกฎหมายว่ า ด้ ว ย
อนุญาโตตุลาการ
 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทาบัญชี การดาเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการจัดทาสัญญาประนีประนอม
ยอมความ ตลอดจนค่าตอบแทนของคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ให้เป็นไป
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 25 ~

 ในกรณีท่ีคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความให้คู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่ง
ยื่นคาร้องต่อพนักงานอัยการ และให้พนักงานอัยการดาเนินการยื่นคาร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อให้
ออกค าบั ง คั บ ให้ ต ามสั ญ ญาประนี ป ระนอมยอมความดั ง กล่ า ว โดยให้ น ากฎหมายว่ า ด้ ว ย
อนุญาโตตุลาการมาใช้บังคับโดยอนุโลม
 เมื่อคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทได้รับ ข้อพิพาทไว้พิจารณา ให้อายุความใน
การฟ้องร้องคดีสะดุดหยุดลง นับแต่วันที่ยื่นข้อพิพาทจนถึงวันที่คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและ
ประนอมข้อพิพาทสั่ งจาหน่ายข้อพิพาทหรือวันที่คู่พิพาททาสัญ ญาประนีป ระนอมยอมความกั น
แล้วแต่กรณี
 ความในมาตรานีใ้ ห้ใช้กับเขตของกรุงเทพมหานครด้วยโดยอนุโลม
 บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอาเภอใดหากเป็นความผิดอันยอมความได้ และมิใช่
เป็นความผิดเกี่ยวกับเพศ ถ้าผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอม หรือแสดงความจานง ให้นายอาเภอ
ของอาเภอนั้นหรือปลัดอาเภอที่นายอาเภอดังกล่าวมอบหมายเป็นผู้ไกล่เกลี่ยตามควรแก่กรณี
และเมื่อผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอมเป็นหนังสือ ตามที่ไกล่เกลี่ย และปฏิบัติตามคาไกล่เกลี่ย
ดังกล่าวแล้ว ให้คดีอาญาเป็นอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
 ในกรณีท่ีผู้เสีย หายและผู้ถูกกล่ าวหา ไม่ยินยอมตามที่ไ กล่เ กลี่ย ให้จาหน่ายข้อพิพาทนั้นแต่เ พื่อ
ประโยชน์ในการที่ผู้เสียหายจะไปดาเนินคดีต่อไป อายุความการร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายอาญา
ให้เริ่มนับแต่วันที่จาหน่ายข้อพิพาท
 หลักเกณฑ์และวิธีในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง”
 ในอาเภอหนึ่ง มีนายอาเภอคนหนึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการในอาเภอ และ
รับผิดชอบงานบริหารราชการของอาเภอ
 นายอาเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย **(ข้อสอบออกบ่อยจาดีๆครับ) **
บรรดาอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกรมการอาเภอหรือนายอาเภอซึ่งกฎหมายกาหนดให้
กรมการอาเภอและนายอาเภอมีอยู่ ให้โอนไปเป็นอานาจและหน้าที่ของนายอาเภอ
 ในอ าเภอหนึ่ ง นอกจากจะมี น ายอ าเภอเป็ น ผู้ ป กครองบั ง คั บ บั ญ ชาและรั บ ผิ ด ชอบดั ง กล่ า วใน
มาตรา 62 ให้มีปลัดอาเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอซึ่งกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ส่งมา
ประจาให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือนายอาเภอ และมีอานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วน
ภูมภิ าคซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนัน้ ในอาเภอนัน้
 ในกรณีทีไ่ ม่มีผู้ดารงตาแหน่งนายอาเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งปลัดอาเภอ หรือหัวหน้าส่วน
ราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโส ตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็นผู้รักษาราชการแทน

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 26 ~

 ถ้ามีผู้ดารงต าแหน่ง นายอาเภอแต่ไ ม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้นายอ าเภอแต่งตั้งปลัดอาเภอ หรือ


หัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็นผู้รักษาราชการ
แทน
 ในกรณีที่ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภอมิได้แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนไว้ตามวรรคหนึ่งและวรรค
สอง ให้ปลัดอาเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทาง
ราชการเป็นผู้รักษาราชการแทน
 นายอาเภอมีอานาจและหน้าที่ดังนี้
(1) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้บัญญัติว่า
การปฏิบัติตามกฎหมายนั้ นเป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าที่ของนายอาเภอที่จะต้องรักษาการให้
เป็นไปตามกฎหมายนั้นด้วย
(2) บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการ
ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(3) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้มีหน้าที่ตรวจการอื่นซึ่ง
คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ในเมื่อไม่ขัด ต่อ
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของ
นายกรัฐมนตรี
(4) ควบคุมดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นในอาเภอตามกฎหมาย
 ให้แบ่งส่วนราชการของอาเภอดังนี้ **(ข้อสอบออกบ่อย)**
(1) สานักงานอาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอาเภอนั้นๆ มี นายอาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับ
บัญชาข้าราชการและรับผิดชอบ
(2) ส่วนต่างๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้นในอาเภอนั้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง
ทบวง กรมนัน้ ๆ มีหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอนั้นๆ เป็นผูป้ กครองบังคับบัญชารับผิดชอบ
ให้นาความในมาตรา 48 และมาตรา 49 มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้ปฏิบัติราชการแทน
ตามหมวดนี้
 การจัดการปกครองอาเภอ นอกจากที่ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย
การปกครองท้องที่
ส่วนที่ 3 การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
 ท้อ งถิ่ นใดที่ เ ห็ นสมควรจัด ให้ ราษฎรมี ส่ว นในการปกครองท้อ งถิ่ นให้ จั ดระเบีย บการปกครองเป็ น
ราชการส่วนท้องถิ่น
 ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้
(1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(2) เทศบาล
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 27 ~

(3) สุขาภิบาล
(4) ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด
 การจัดระเบียบการปกครอง องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และราชการส่วนท้องถิ่น
อื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ส่วนที่ 4 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
 ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ร.” ประกอบด้วย
(1) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน
(*ปัจจุบันนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธาน ก.พ.ร. (ข้อมูล ณ 7/10/2561)
(2) รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรีกาหนดเป็นรองประธาน
(*ปัจจุบัน นายสุ ว พั นธุ์ ตันยุ ว รรธนะรัฐ มนตรีป ระจาสานัก นายกรัฐ มนตรีรองประธาน ก.พ.ร. (ข้ อมูล ณ
7/10/2561)
(3) ผูซ้ ึ่งคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมาย 1 คน
(4) กรรมการผู้ท รงคุ ณวุ ฒิ ไม่ เ กิน 10 คน ซึ่ งคณะรั ฐ มนตรี แต่ง ตั้งจากผู้มี ความรู้ความเชี่ ย วชาญใน
ทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์รัฐศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยา
องค์การ และสังคมวิทยาอย่างน้อยด้านละ 1 คน
 ในกรณี ท่ี มี ค วามจ าเป็ น เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านบรรลุ ผ ล คณะรั ฐ มนตรี จ ะก าหนดให้ ก รรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคนต้องทางานเต็มเวลาก็ได้
เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง
(**ข้อสอบออกบ่อย ใครเป็นเลขาธิการ ก.พ.ร.ปัจจุบันนายปกรณ์ นิลประพันธ์ ตั้งแต่ 29 มิถุนายน พ.ศ.
2561 – ปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันที่ 7 ตุลาคม 2561)****
การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาจากรายชื่อบุคคลที่ได้รับการเสนอ
โดยวิธีการสรรหา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒติ ้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(1) มีสัญชาติไทย
(2) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(3) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับ ความผิดที่ได้กระทาโดย
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(4) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผูบ้ ริหารท้องถิ่น กรรมการหรือ ผู้ซึ่งดารง
ตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง
(5) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตต่อ
หน้าที่ หรือถือว่ากระทาการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 28 ~

 กรรมการผู้ท รงคุ ณวุ ฒิ มีว าระการด ารงตาแหน่ง คราวละสี่ปี ผู้ซึ่ง พ้นจากต าแหน่งแล้ว อาจได้รั บ
แต่งตั้งอีกได้แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่
ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินั้นปฏิบัติหน้าที่ไปก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่
 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒพ ิ ้นจากตาแหน่งเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 71/2
(4) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ
 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระและยังมิได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน
ตาแหน่งที่วา่ ง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ตอ่ ไปได้
 เมื่ อต าแหน่ ง กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุฒิ ว่ างลงก่อ นวาระ ให้ด าเนิ นการแต่ ง ตั้ง กรรมการผู้ท รงคุณ วุ ฒิ
ภายใน 30 วัน เว้ นแต่ว าระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเ หลือ ไม่ ถึง 180 วันจะไม่แต่งตั้งกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิก็ได้
 กรรมการผู้ท รงคุ ณวุฒิซึ่งได้รับ แต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่าง หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้ง
เพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ท รงคุณวุฒิอื่นยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับ
แต่งตัง้ มีวาระการดารงตาแหน่งเท่ากับเวลาที่เหลืออยู่ของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิที่ยังอยู่ในตาแหน่ง
 การประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มี
อยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม ไม่ว่ากรรมการดังกล่าวจะเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ทางานเต็มเวลาหรือไม่
 ในการประชุม ก.พ.ร. ถ้าประธานไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานปฏิบัติหน้าที่
แทน ในกรณีที่ไม่มรี องประธานหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคน
หนึ่งทาหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุม
 การวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียง
เท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชีข้ าด
 การปฏิบัติหน้าที่และค่าตอบแทนของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีต้องทางานเต็มเวลา ให้เป็นไปตามที่
กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
 ให้มีสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ท า
หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบงานธุ ร การของ ก.พ.ร. และหน้ า ที่ อื่ น ตามที่ ก ฎหมายหรื อ ก.พ.ร. ก าหนด โดย มี
เลขาธิการ ก.พ.ร. ซึ่งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของ
ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการ และรั บ ผิ ด ชอบการปฏิ บั ติ ร าชการขึ้ น ตรงต่ อ
นายกรัฐมนตรี
 ก.พ.ร. มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 29 ~

(1) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐ


อย่างอื่น ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรมและ
จริยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น ให้เป็นไปตามมาตรา 3/1 โดยจะเสนอแนะให้มีการกาหนด
เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการก็ได้
(2) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหารตามที่
หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ
(3) รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มกี ารดาเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน
มาตรา 3/1
(4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตัง้ การรวม การโอน การยุบ
เลิก การกาหนดชื่อ การเปลี่ยนชื่อ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วนราชการ
ที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่น
(5) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ี
(6) ดาเนินการให้มีการชี้ แจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชน
ทั่วไป รวมตลอดทั้งการฝึกอบรม
(7) ติ ด ตาม ประเมิ น ผล และแนะน าเพื่ อ ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ และรายงานต่ อ
คณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ
(8) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ หรือ กฎหมายว่าด้วยการ
ปรั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้ ง ก าหนดแนวทางปฏิ บั ติ ในกรณี ที่ เ ป็ น ปั ญ หา มติ ข อง
คณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้บังคับได้ตามกฎหมาย
(9) เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชีแ้ จงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา
(10) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่นเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภา
(11) แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ คณะอนุ ก รรมการ หรื อ คณะท างาน เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต่ า งๆ ตามที่
มอบหมาย และจะกาหนดอัตราเบีย้ ประชุมหรือค่าตอบแทนอื่นด้วยก็ได้
(12) ปฏิบัติหน้าที่อ่นื ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้หี รือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

โดยรายละเอียดของมาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ


ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่ง รัฐ การลด
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิก หน่วยงานที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจ และทรัพยากร
ให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผรู้ ับผิดชอบต่อผลของงาน
การจั ด สรรงบประมาณ และการบรรจุแ ละแต่งตั้ง บุคคลเข้า ดารงตาแหน่ง หรือ ปฏิบัติ หน้า ที่ต้อ ง
คานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง
ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 30 ~

ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้


ค านึ งถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ ป ฏิบั ติ ง าน การมี ส่ว นร่ วมของประชาชน การเปิ ด เผยข้อ มู ล การติด ตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และ
วิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
***************************************
ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2534
ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108/ตอนที่ 156/ฉบับพิเศษ หน้า 1/4 กันยายน 2534*
ดังนัน้ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2534 มีผลบังคับใช้ วันที่ 5 กันยายน 2534 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายอนันต์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี

ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535


ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109/ตอนที่ 21/ หน้า 6/ 16 มีนาคม 2535*
ดังนัน้ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ วันที่ 17 มีนาคม 2535 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายอนันต์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี

ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2536


ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 110/ตอนที่ 127/ หน้า 1/ 6 กันยาน 2536*
ดังนัน้ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ วันที่ 7 กันยายน 2536 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2543


ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117/ตอนที่ 37ก / หน้า 22/ 28 เมษายน 2543*
ดังนัน้ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2543 มีผลบังคับใช้ วันที่ 29 เมษายน 2543 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545


ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com
~ 31 ~

ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119/ตอนที่ 99ก / หน้า 1/ 2 ตุลาคม 2545*
ดังนัน้ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใช้ วันที่ 3 ตุลาคม 2545 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี

ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2546


ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 120/ตอนที่ 108ก / หน้า 1/ 31 ตุลาคม 2546*
ดังนัน้ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550


ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124/ตอนที่ 55 ก / หน้า 1/ 15 กันยายน 2550*
ดังนัน้ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ วันที่ 16 กันยายน 2550 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
มาตรา 17 ในระหว่างที่ยังมิได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการ
แทนตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัตินี้ ให้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการมอบอานาจตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545 ยังคงใช้บังคับต่อไปได้ ทั้งนี้ ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ใี ช้บังคับ
หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญั ติฉบับนี้ คือ โดยที่เ ป็นการสมควรปรับ ปรุงระบบการ
บริหารราชการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้ สอดคล้องกับทิศทางการ
นาพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อให้การปฏิบัติราชการสามารถอานวยความสะดวกและให้บริการ
แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ สนับสนุนให้มกี ารมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนได้กว้างขวางขึ้น
เพื่อเน้นการบริการประชาชนให้มีความสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนั้น เพื่อให้การบริหารราชการในราชการ
บริหารส่วนภูมิภาคสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัด
บรรลุ ผล สมควรปรับ ปรุงอานาจการดาเนินการของจังหวัด การจัดท าแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดท า
งบประมาณของจังหวั ด ให้เ หมาะสม รวมทั้งสมควรส่งเสริมให้มีคณะกรรมการธรรมาธิบ าลจังหวัด เพื่อ
สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
อันจะทาให้การบริหารเป็นไปด้วยความโปร่งใสเป็นธรรม และมีความรับผิดชอบตลอดจนปรับปรุงอานาจ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 32 ~

ในทางปกครองของอ าเภอเพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความสงบเรี ย บร้ อ ยในสั ง คม และสมควรให้ ส านั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นส่วนราชการในสานัก นายกรัฐ มนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี

ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553


ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
พระราชบัญญัติน้ใี ห้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศใน *ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127/ตอนที่ 75 ก/ หน้า 51/ 7 ธันวาคม 2553*
ดังนัน้ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553 มีผลบังคับใช้ วันที่ 8 ธันวาคม 2553 **
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้องค์กรอัยการเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ และมาตรา 255 วรรคห้า บัญญัติให้องค์กรอัยการมี
หน่วยธุรการที่เป็นอิสระ ในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดาเนินการอื่น โดยมีอัยการสูงสุด
เป็นผู้บังคับบัญชา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ จึงจาเป็นตราพระราชบัญญัติน้ี
*********************************************

เพิ่มเติม เหตุผลที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติฉบับนี้


พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติคณะกรรมการ
จัดระบบการจราจรทางบก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการจัดระบบ
การจราจรทางบก เป็นส่วนราชการสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี มีเลขาธิการคณะกรรมการจัดระบบการจราจร
ทางบกเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ในการนี้
สมควรแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ เสียใหม่
เพื่อให้สอดคล้องกัน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๙/ตอนที่ ๒๑/หน้า ๖/๑๔ มีนาคม ๒๕๓๕)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๖
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญ ญั ติฉ บับ นี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรก าหนดให้
เลขาธิก ารคณะกรรมการพิเ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริเ ป็นผู้บังคับ บัญ ชา
ข้าราชการในส านัก งานคณะกรรมการพิเ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และ
รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีและโดยที่พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบาย
พลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งได้ใช้บังคับแล้วบัญญัติให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงาน

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 33 ~

แห่งชาติเป็นส่วนราชการสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี มีเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็น
ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ในการนี้ต้องแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการทั้งสองเป็นผู้ บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๐/ตอนที่ ๑๒๗/ฉบับพิเศษ หน้า ๖/๖ กันยายน ๒๕๓๖)

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓


มาตรา ๕ พระราชกฤษฎี ก าแบ่ ง ส่ ว นราชการภายในส่ ว นราชการตามมาตรา ๘ วรรคสี่ แห่ ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาให้คงใช้บังคับได้ตอ่ ไป จนกว่าจะมีกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๘ ฉ
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใช้
บังคับ
มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย มาตรา ๒๓๐ ได้บัญญัติให้การรวมหรือโอนกระทรวง ทบวง กรม ที่ไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตรา
ของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นหรือการยุบเลิกส่วนราชการดังกล่าว สามารถทาได้โดยตราเป็นพระราช
กฤษฎีกา ดังนั้น สมควรกาหนดลักษณะของกรณีที่สามารถตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและวิธีการดาเนินการ
ของแต่ละกรณี และรูปแบบของพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว รวมทั้งปรับปรุงหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการ
ภายในสานักงานเลขานุการรัฐมนตรีและส่วนราชการระดับกรม ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๗/ตอนที่ ๗๗ ก/หน้า ๒๒/๒๘ เมษายน ๒๕๔๒)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๑๖ ในวาระเริ่มแรก ให้ ก.พ.ร. ดาเนินการเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีการปรับปรุง
โครงสร้าง ระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร การปรับเปลี่ยนส่วนราชการเป็นองค์ การมหาชน
หรือองค์กรรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ ภายในสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ใี ช้บังคับ
มาตรา ๑๘ ให้ดาเนินการแต่งตั้ง ก.พ.ร. ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติ นี้ใช้
บังคับ
ให้โอนงบประมาณและบุคลากรของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตามที่นายกรัฐมนตรี
ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ไปเป็นของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 34 ~

ให้อานาจหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนตามมาตรา ๘ ทวิ และตามมาตรา ๘


สัตต ในส่วนที่เกี่ยวกับการแบ่งส่วนราชการและการกาหนดอานาจหน้าที่ของส่วนราชการซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นอานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร.
ให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสานักงานคณะกรรมการข้ าราชการพลเรือน คงมีอานาจ
หน้าที่เท่าที่ไม่ซ้ากับอานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร.
ให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน เพื่อกาหนดภารกิจของ ก.พ.ร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือน และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้เหมาะสม ซึ่งต้องทาให้แล้วเสร็จและ
เสนอสภาผู้แทนราษฎรภายในสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ใี ช้บังคับ
มาตรา ๑๙ ให้บทบัญญัติมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๓๔ ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี คงใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ให้นากรณี
ที่สว่ นราชการใดขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีไปบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระบบ
บริหารราชการเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการแก่ประชาชนได้
อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโดยกาหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย
และแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับได้อย่างชัดเจน มีกรอบการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการกากับการกาหนดนโยบายและการปฏิบัติราชการ และเพื่อให้
กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ จึงกาหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดย
กระทรวงสามารถแยกส่ ว นราชการจั ด ตั้ ง เป็ นหน่ ว ยงานตามภาระหน้า ที่ เพื่ อ ให้เ กิ ด ความคล่ อ งตั ว และ
สอดคล้องกับเป้าหมายของงานที่จะต้องปฏิบัติ และกาหนดให้มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่างๆ ที่มีงาน
สัมพันธ์กัน เพื่อที่จะสามารถกาหนดเป้าหมายการทางานร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกากับการบริหารงาน
ของกลุ่มภารกิจนั้นโดยตรงเพื่อให้งานเป็นไปอย่างมีประสิท ธิภาพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีการประสานการ
ปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพื่อที่จะให้การบริหารงานของทุกส่วนราชการบรรลุเป้าหมายของกระทรวง
ได้อย่างมีป ระสิทธิ ภาพและลดความซ้าซ้อน มีการมอบหมายงานเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ และ
สมควรก าหนดการบริห ารราชการในต่า งประเทศให้เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะการปฏิบัติห น้าที่แ ละสามารถ
ปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็วและมีเ อกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ
นอกจากนี้ สมควรให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพื่อเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลการจัด
ส่วนราชการและการปรับปรุงระบบการทางานของภาคราชการให้มีการจัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
ต่อไป จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนที่ ๙๙ ก/หน้า ๑/๒ ตุลาคม ๒๕๔๕)

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 35 ~

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๖


หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันได้มีการโอนกรม
ตารวจไปจัดตั้งเป็นสานักงานตารวจแห่งชาติและกาหนดให้ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด ทาหน้าที่หัวหน้า
ตารวจภูธรจังหวัด จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในส่วนของชื่อกรม
ต ารวจและต าแหน่ ง ของข้ า ราชการต ารวจในกรมการจั ง หวั ด ให้ ส อดคล้ อ งกั น จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งตรา
พระราชบัญญัติน้ี
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐/ตอนที่ ๑๐๘ ก/หน้า ๑/๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๑๗ ในระหว่างที่ยังมิได้มกี ารตราพระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนตาม
มาตรา ๓๘ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย
พระราชบัญญัติน้ี ให้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการมอบอานาจตามมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๕ ยังคงใช้บังคับต่อไปได้ ทั้งนี้ ไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ใี ช้บังคับ
หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญั ติฉบับ นี้ คือ โดยที่เ ป็นการสมควรปรับ ปรุงระบบการ
บริหารราชการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางการ
นาพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อให้การปฏิบัติราชการสามารถอานวยความสะดวกและให้บริการ
แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ สนับสนุนให้มีการมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนได้กว้ างขวางขึ้น
เพื่อเน้นการบริการประชาชนให้มีความสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนั้น เพื่อให้การบริหารราชการในราชการ
บริหารส่วนภูมิภาคสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัด
บรรลุ ผล สมควรปรับ ปรุงอานาจการดาเนินการของจังหวัด การจัดท าแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดท า
งบประมาณของจังหวั ด ให้เ หมาะสม รวมทั้งสมควรส่งเสริมให้มีคณะกรรมการธรรมาธิบ าลจังหวัด เพื่อ
สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
อันจะทาให้การบริหารเป็นไปด้วยความโปร่งใสเป็นธรรม และมีความรับผิดชอบตลอดจนปรับปรุงอานาจ
ในทางปกครองของอ าเภอเพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความสงบเรี ย บร้ อ ยในสั ง คม และสมควรให้ ส านั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นส่วนราชการในสานัก นายกรัฐ มนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนที่ ๕๕ ก/หน้า ๑/๑๕ กันยายน ๒๕๕๐)

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓


หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญ ญัติฉ บับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจัก รไทย
บัญญัติให้องค์กรอัยการเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ และมาตรา ๒๕๕ วรรคห้า บัญญัติให้องค์กรอัยการมี

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


~ 36 ~

หน่วยธุรการที่เป็นอิสระ ในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดาเนินการอื่น โดยมีอัยการสูงสุด


เป็นผู้บังคับบัญชา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ จึงจาเป็นตราพระราชบัญญัติน้ี
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนที่ ๗๕ ก/หน้า ๕๑/๗ ธันวาคม ๒๕๕๓)
**************************************************************
แจกฟรี (สาหรับผู้ไม่ค่อยมีงบประมาณ หรือมีแต่หาซื้อไม่ได้)
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553
ชุด สานฝันคนสอบราชการ
โดยประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ

หากมีข้อผิดพลาดประการใด ขออภั ยไว้มา ณ ที่นี้ด้วย หากจะกรุณาแจ้งมาที่เฟซบุ๊ กก็จะพระคุณ


อย่างยิ่ง เฟซบุ๊กส่วนตัว ประพันธ์ เวารัมย์ https://www.facebook.com/prapun2523
เฟซบุ๊กแจกแนวข้อสอบหรือ ฝึกทาข้อสอบชื่อเฟซคือ แนวข้อสอบท้องถิ่นและส่วนราชการ
อื่นๆ
https://www.facebook.com/groups/1539791162903094
หากต้องการสนับสนุนค่า น้าชา กาแฟ สามารถโอนเงินมาได้ท่ี เลขที่บัญชี 983-2-12605-3
ธนาคารกรุงไทย สาขาศูนย์ราชการจังหวัดบุรรี ัมย์ (นายประพันธ์ เวารัมย์)
หากต้องการฝากขนมของดีจังหวัดมาให้ชิม (อิ อิ) ส่งมาที่อบต.สวายจีก อ.เมืองบุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์
31000 หรือ 20 หมู่ที่ 5 บ้านสี่เหลี่ยม ต.สี่เหลี่ยม อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ 31140

(อย่าให้ตัวเองเดือดร้อน ไม่ได้บังคับนะครับ)
ขอให้โชคดีในการสอบครับผม

(นายประพันธ์ เวารัมย์)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com
เบอร์โทรศัพท์ 08-5764-3290
ไอดีไลน์ 0857643290

ประพันธ์ เวารัมย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com // http://waoram.igetweb.com


สรุป
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
(แจกฟรี)
(แจกฟรี) *ขอเป็นส่วนหนึ่งในการแบ่งปันความรู้ สู่ความก้าวหน้า*
*หมายเหตุ อนาคตข้อสอบบางข้ออาจเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
โดยเฉพาะชื่อบุคคล หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงเพิม่ เติมกฎหมาย
บางข้ออาจเปลี่ยนแปลงตามเหตุการณ์และยุคสมัย**
(อย่าลืมไปตรวจทาน อีกครั้งนะครับ)

รวบรวมโดยประพันธ์ เวารัมย์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ

เว็บไซต์ http://valrom.igetweb.com
http://waoram.igetweb.com

You might also like