สังคมวิทยา โดย bobby PDF

You might also like

You are on page 1of 199

BOBBYtutor Social Note

สังคมวิทยา
ตองปรับตัวใหเขากับสิง่ แวดลอมตามธรรมชาติ
1. มนุษย (สัตวสงั คม) และสัตวโลก เพื่อความอยูรอดและดํารงรักษาเผาพันธุมิใหสูญไป
เปนกระบวนการเลือกสรรของธรรมชาติ สัตวโลกที่ปรับตัวดี
โครงสรางสังคม เทานั้น จึงจะอยูรอดและดํารงเผาพันธุตอไป
2. สรางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม

3. สรางวัฒนธรรม (มีเฉพาะสังคมมนุษย)

มนุษย สังคม การเปลีย่ นแปลง

- สัตวสังคม - อยูรวมกัน - หวังวาจะดีขึ้น


- ตองการปจจัย 4 - พึง่ พาอาศัยกัน - มีการพัฒนา
- มีความแตกตางกัน - สรางกฎเกณฑ ระเบียบแบบแผน - มีวิวัฒนาการ
(ปจเจกชน) เพื่อสาธารณประโยชน - ปฏิรูป
- มีความคิด วิจารณญาณ - สรางบรรทัดฐาน - ปฏิวัติ
ทัศนคติ เจตคติ - กําเนิดสถาบัน - การแลกเปลีย่ น
- มีความเชื่อ - ขัดเกลาสมาชิก - แนวโนมหรือทิศทาง
- มีคานิยม - การคาดการณ
- มีวัฒนธรรม
- สรางสัญลักษณ
(ภาษา - อักษร)

2 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สิง่ ทีท่ าให


ํ ความเปนมนุษยสมบูรณยง่ิ ขึน้ คือ
1. การเรียนรู
2. มีการพัฒนา
3. มีคุณธรรม
4. มีสํานึก
5. รูจ กั คุณคา
โครงสรางสังคม

กลุมคน ลักษณะความสัมพันธ

- กลุม สังคม - ปฐมภูมิ


- ฝูงชน - ทุตยิ ภูมิ
การจัดระเบียบทางสังคม

บรรทัดฐาน สถาบัน คานิยม ความเชื่อ การขัดเกลาและการ


หรือปทัสถาน ควบคุมทางสังคม

- วิถีชาวบาน - 7 สถาบัน - สวนตัว - ในหลักเหตุผล - ครอบครัว


- จารีตหรือ - (การปกครองมี - ของสังคม - ในอํานาจทีม่ องไมเห็น - เพื่อนฝูง
กฎศีลธรรม อํานาจมากทีส่ ดุ ) - ที่ดีควรปลูกฝง - ศาสนา
- กฎหมาย - สถานภาพ - ทีต่ อ งแกไข - ครูอาจารย
* ติดตัวมา - สื่อมวลชน
* สังคมกําหนด * จูงใจหรือใหรางวัล
* บทบาทและ * ลงโทษ
บทบาทขัดแยง
ลวนเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม

3 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม คือ การทําใหคนมาอยูร ว มกันในสังคมอยางมีระเบียบ โดยตองประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต
แบบแผน กฎเกณฑอนั เดียวกัน ซึง่ จะทําใหสงั คมดํารงอยูไ ดยง่ั ยืนและเปนปกติสขุ
เครือ่ งมือทีใ่ ชในการจัดระเบียบทางสังคม ไดแก
1. คานิยม (Value) คือ สิง่ ซึง่ เปนทีป่ รารถนาหรือสิง่ ทีส่ มาชิกของสังคมอยากจะได เพราะหวังในประโยชนทพ่ี ง่ึ
ไดรบั เมือ่ บุคคลประสบกับการเลือกหรือเผชิญกับเหตุการณ และตองตัดสินใจอยางใดอยางหนึง่ เขาจะนําคานิยมมา
ประกอบกับการตัดสินใจ คานิยมจึงเปนเสมือนแนวทางแหงการประพฤติปฏิบตั ขิ องบุคคลโดยทัว่ ไป
คานิยม หมายถึง สิง่ ทีค่ นในสังคมเห็นวาดี ถูกตอง พึงกระทํา นากระทํา
คานิยมทีม่ ปี ระโยชนตอ การจัดระเบียบของสังคม เชน
- การเคารพผูอาวุโส
- ความเอื้อเฟอเผื่อแผ
- ความเปนระเบียบวินยั
คานิยมทีเ่ ปนผลเสียตอการจัดระเบียบของสังคม เชน
- การไมมรี ะเบียบวินยั
- การไมเคารพเวลา
- การยกยองคนมีฐานะทางเศรษฐกิจ
ความสําคัญของคานิยม
1. เปนสิง่ กําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม
2. เปนสิง่ ทีท่ าให
ํ สงั คมสงบหรือวุน วายได
3. มีผลกระทบตอความเจริญและความเสือ่ มของรางกาย
คานิยมของสังคมไทย
1. มีความรัก เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย เพราะพระมหากษัตริยท รงเปนมิง่ ขวัญและศูนยรวม
จิตใจของคนทัง้ ชาติ ทรงหวงใยและชวยเหลือประชาชนอยางใกลชดิ
2. ยกยองอํานาจ การมีอํานาจทําใหคนอืน่ เกรงกลัว และเคารพนับถือ นํามาซึง่ สิง่ ปรารถนาไดโดยงาย
ฉะนัน้ ตําแหนงทีม่ อี านาจจึ
ํ งมีคนสวนใหญปรารถนา
3. ยกยองคนรํารวย ่ เงินเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวติ จึงเปนสิง่ ทีท่ กุ คนปรารถนา คนรํ่ารวยจึงไดรบั
การยกยองวา มีเกียรติ มีหนามีตา แมวา จะมีวธิ กี ารในการไดเงินดวยวิธกี ารทีไ่ มเหมาะสม
4. ยกยองความมีจติ ใจนักเลง หมายความถึง มีจติ ใจกลาไดกลาเสีย เขมแข็ง เด็ดขาด รักพวกพอง รักลูกนอง
คนทีม่ จี ติ ใจเชนนีจ้ งึ มีคนเคารพนับถือกันมาก
5. นิยมการมียศฐาบรรดาศักดิ์ คือ การไดรบั แตงตัง้ ใหดารงตํ ํ าแหนงทีม่ เี กียรติ เปนเจาคนนายคน มีฐานะ
ทางสังคมสูง ทํางานทีไ่ มตอ งใชกําลัง
6. ยกยองผูม คี วามกตัญูรคู ณ ุ คือ การใหความเคารพนับถือตอผูม พี ระคุณทีเ่ คยชวยเหลือตนมา ไมเนรคุณ
ตอทาน
7. ยกยองผูม คี วามรู ใครมีการศึกษาสูง หรือไดรบั การศึกษามาก ก็จะเปนทีย่ อมรับนับถือของคนทัว่ ไป
8. เชื่อถือในเรื่องโชคลาง ไมเชื่อตัวเอง
9. เคารพผูมีอายุมาก หรือประสบการณมาก ยอมไดรบั เกียรติและการยกยองทางสังคม

4 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

2. บรรทัดฐานหรือปทัสถาน (Norms) หมายถึง มาตรฐานทีค่ นสวนมากยึดถือเปนหลักปฏิบตั ิ เปนแบบแผนที่


ระบุวา ในสถานการณใดควรปฏิบตั อิ ยางไร ไดแก ระเบียบ กฎเกณฑตา งๆ หรือหมายถึง เปนพฤติกรรมซึง่ สมาชิกของ
สังคมนัน้ ๆ สามารถคาดการณไดลว งหนาวาทุกคนจะตองปฏิบตั ติ วั อยางนัน้ ในรูปแบบเดียวกัน หากสมาชิกของสังคม
ไมปฏิบตั ติ ามหรือฝาฝน ยอมมีความผิดถูกลงโทษ ซึง่ มาตรการในการลงโทษอาจจะรุนแรงมากนอยตางกันตามประเภท
ของบรรทัดฐาน
บรรทัดฐานแยกออกไดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ
1. วิถปี ระชา (Folkways) หรือวิถชี าวบาน
2. ศีลธรรมจรรยา หรือจารีตประเพณี (Mores)
3. กฎหมาย (Laws)

วิถปี ระชา กฎศีลธรรม กฎหมาย


- เปนมาตรฐานความประพฤติที่เกี่ยว- - เปนมาตรฐานความประพฤติ - เปนมาตรฐานความประพฤติที่รัฐ
ของกับเรือ่ งของความดี ความชั่วแต ทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งของความดี บัญญัติขึ้นเพื่อใชควบคุมความ
เปนแนวทางที่สมาชิกของสังคมนิยม ความชั่ว ความมีคุณธรรมทาง ประพฤติของสมาชิกในสังคมไว
ปฏิบตั ิ ไดแก มารยาทโดยทัว่ ไปตาม จิตใจ เชน ความกตัญู ฯลฯ เปนลายลักษณอกั ษร
สมัยนิยม
- สังคมไมเขมงวดหรือไมเครงครัดกับ - สังคมมักเขมงวดหรือเครงครัด - บทบาทโทษจะรุนแรงมากหรือนอย
ผูล ะเมิดหรือผูไ มปฏิบตั ติ ามเทาใดนัก กับผูล ะเมิดหรือผูไ มปฏิบตั ิ ตลอดจนผูม หี นาทีเ่ กีย่ วของยอม
มาตรการในการลงโทษจึงไมรนุ แรง มาตรการในการลงโทษจึง เปนไปตามกระบวนการยุตธิ รรมที่
อาจเปนเพียงตําหนิ การถูกจองมอง รุนแรงกวาวิถปี ระชาชน เชน กําหนดไวชดั เจน
ฯลฯ การไมคบหาสมาคมดวย - เปนการลงโทษทางกฎหมายหรือ
การนินทา หรือการประจาน การลงโทษอยางเปนทางการ
หรือการขับไลออกจากกลุม
ฯลฯ

ทัง้ วิถปี ระชาและกฎศีลธรรมไมมบี ทลงโทษทีต่ ราไวเปนลายลักษณอกั ษร เรียกไดวา เปนการลงโทษทางสังคม


หรือการลงโทษอยางไมเปนทางการก็ได
ขอควรสังเกตเกีย่ วกับบรรทัดฐาน
1. สังคมหนึง่ ๆ ยอมมีบรรทัดฐานทีเ่ ปนลักษณะเฉพาะของสังคมของตน ดังนัน้ แตละสังคมจึงมีลกั ษณะบรรทัดฐาน
ทีแ่ ตกตางกันไปได
2. แตละสังคมอาจมีการรับรูปแบบบรรทัดฐานของสังคมอืน่ มาเปนบรรทัดฐานของสังคมตนได
3. บรรทัดฐานยอมมีการเปลีย่ นแปลงไดเสมอ

5 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

3. การขัดเกลาทางสังคม เปนกระบวนการทางสังคมกับจิตวิทยา ซึง่ ผลทํ าใหบุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทาง


ที่สงั คมตองการจะเริม่ ตนตัง้ แตบคุ คลเกิดมาเปนกระบวนการทีจ่ ะตองประสบตัง้ แตเกิดจนตาย ทัง้ โดยทางตรงและทางออม
จะไดรบั รูบ รรทัดฐานและขนบธรรมเนียมประเพณีทใ่ี ชอยูใ นสังคมพรอมทีจ่ ะใชชวี ติ ในแนวทางทีส่ งั คมตองการ
กระบวนการขัดเกลาทางสังคมจึงเปนสิง่ ทีม่ นุษยจะตองประสบตลอดชีวติ เพราะมนุษยเปนสัตวสงั คมเพือ่ ความเปน
มนุษยอยางแทจริง
จุดมุงหมายของการขัดเกลาทางสังคม
1. เพือ่ ปลูกฝงระเบียบวินยั
2. เพือ่ ปลูกฝงความมุง หวัง
3. สอนใหรจู กั บทบาทและทัศนคติตา งๆ
4. สอนใหรูจักเกิดความชํานาญหรือทักษะ

คานิยม
1. เปนสิง่ ทีต่ วั เรากําหนดเองดวยความพอใจ โดยการ
- ใชความคิด พิจารณา ประเมินคา ตัดสินใจ ดูวา ถูกตองเหมาะสม ดีหรือไม
- และเลือกในทีส่ ดุ
2. เมือ่ ประสบภาวะทีต่ อ งเลือก คนเราจะใชคานิยมเสมอ
3. เปนรูปแบบของความคิด ทีใ่ ชในการประเมินคาสิง่ ตางๆ ทัง้ รูปธรรม (ธรรมชาติ โบราณสถาน) และนามธรรม
(ความซือ่ สัตย ตรงเวลา เคารพอาวุโส) และมีผลตอการแสดงออก หรือแสดงพฤติกรรมของบุคคลตามความคิดนัน้
4. คานิยมจึงมีทง้ั สิง่ ทีด่ ี และทีค่ วรแกไข (ไมด)ี
5. เปนพืน้ ฐานสําคัญทีก่ อ ใหเกิดบรรทัดฐาน เชน ความกตัญูรคู ณ ุ คน
6. ในขณะทีเ่ ราตองยอมรับบรรทัดฐานของสังคม แตขณะเดียวกันก็ตอ งสัมพันธกบั คนจํานวนมากในสังคม
จึงทําใหเกิดคานิยมตามมา
7. เรียงลําดับความสัมพันธระหวาง
คานิยม (ของสังคม)

สมัยนิยม

รสนิยม (สวนตัว)

6 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

บรรทัดฐาน
1. เปนสิง่ ทีส่ งั คมกําหนด สมาชิกตองปฏิบตั ติ ามโดยไมมสี ทิ ธิโตแยง
2. เปนสวนหนึง่ ของวัฒนธรรม
3. มีลกั ษณะเปนกฎเกณฑ เปนแบบแผน เปนมาตรฐานในการประพฤติปฏิบตั ขิ องสมาชิกในทุกสถานการณ
เชน เปนลูกตองเลีย้ งดูพอ แม (วิถชี าวบานและจารีต)
4. เปนแบบอยางของการปฏิบตั ริ ะหวางบุคคลตางๆ เชน พอแม-ลูก, นาย-บาว, หญิง-ชาย, ครู-ศิษย พอ
คา-ลูกคา
5. - วิถชี าวบาน ไมมกี ารลงโทษเปนลายลักษณ
- จารีต ไมมกี ารลงโทษเปนลายลักษณ แตมกี ารลงโทษทางสังคมทีช่ ดั เจน ไดแก การมอง ตําหนิ นินทาวาราย
ไมพอใจ และการขับไลออกจากสังคม
- กฎหมาย มีบทลงโทษเปนลายลักษณอกั ษร เปนบรรทัดฐานทีเ่ ปลีย่ นแปลงงายทีส่ ดุ

สถาบัน
1. เปนแบบแผนพฤติกรรมทีป่ ฏิบตั สิ บื ตอกันมา และเปนทีย่ อมรับในสังคม (เหมือนบรรทัดฐาน)
2. เปนสวนหนึง่ ของวัฒนธรรม
3. มีลกั ษณะเปนรูปแบบของความสัมพันธแบบเปนทางการ หรือเปนกิจกรรม องคกร เพือ่ ใหสมาชิกของสังคม
ไดมอี ะไรทํารวมกันเพือ่ ชวยพัฒนาสังคมในหลายๆ ดาน
- เปนกระบวนการทีจ่ ดั ไวเปนหมวดหมูต ามประเภทของความตองการ มีการจัดระเบียบอยางดี
- กําหนดสถานภาพ และบทบาทของผูเ กีย่ วของ
- มีความชัดเจน เปนรูปธรรมแนนอน และเปลีย่ นแปลงยาก
4. เปนระบบของความสัมพันธทางสังคม ซึง่ ประกอบดวย กระบวนการ วัตถุ อุปกรณ บางอยางมีลกั ษณะเปน
นามธรรม
5. บุคคลหนึง่ คนอาจจะมีหลายสถานภาพ และหลายบทบาทก็ได และเมือ่ นําไปปฏิบตั บิ างครัง้ ก็เกิดบทบาท
ขัดแยงได (สถานภาพขัดแยงไมมี)

7 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สถาบันทางสังคม
สถาบันสังคมเปนสิง่ ทีส่ งั คมกอตัง้ ใหมขี นึ้ เพือ่ การดํารงอยูข องสังคมนัน้ การทีส่ ถาบันใดสถาบันหนึง่ จะดํารงอยูไ ด
หรือสูญสิน้ จึงขึน้ อยูก บั การทีค่ นในสังคมเห็นวามีคณ ุ คามากนอยเพียงใด

สถาบัน ตําแหนงทางสังคม หนาที่ แบบแผนการปฏิบตั ิ


ศาสนา - ศาสนา - สรางความศรัทธาและความเชือ่ ทาง - เสียสละ
- ผูส บื ทอดศาสนา ศีลธรรมจรรยา - ซือ่ สัตยสจุ ริต
- อบรมสัง่ สอนและความประพฤติของ - ปฏิบตั ศิ าสนาไดอยาง
บุคคล ถูกตอง
การศึกษา - ครู อาจารย - ใหความรูเ กีย่ วกับกฎเกณฑทางสังคม - การถายทอดวิทยาการ
- นักเรียน - รูจ กั ใชแหลงคนควา - ฝกทักษะความชํานาญ
- นักเรียนตองขยันใฝหา
ความรูเพิ่มเติม
เศรษฐกิจ - ผูผลิต - ผลิตสินคาและใหบริการ - ชวยเหลือเกือ้ กูลกันใน
- ผูบริโภค สังคมขนาดเล็ก
สือ่ สารมวลชน - เจาหนาทีฝ่ า ยขาวสาร - แพรขา วสารความรู - เสนอขาวที่เปนจริง
นันทนาการ - บุคคลทุกคนใน - สรางเสริมสุขภาพรางกายและจิตใจ - ใหรจู กั หลักเกณฑการ
สังคม ของสมาชิกในสังคม เลนกีฬา
- มีนํ้าใจเปนนักกีฬา
ครอบครัว - พอ แม ลูก พี่ ปา - ใหกําเนิดสมาชิกใหม - ความผูกพันลึกซึง้ ทาง
นา อา - อบรมเลีย้ งดู การสมรสและสายโลหิต
- สัง่ สอนกฎเกณฑและคุณคาทางสังคม
การปกครอง - คณะรัฐบาล - รักษาความสงบเรียบรอยในสังคม - ความรวมมือกันระหวาง
- คณะกรรมการ - ออกกฎหมาย ประชาชนและเจาหนาทีร่ ัฐ
ตุลาการ - ควบคุมใหมกี ารปฏิบตั ิ - ประชาชนตองเคารพ
กฎหมาย
- เจาหนาทีต่ อ งปฏิบตั หิ นาที่
ดวยความยุตธิ รรม

8 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

วัฒนธรรม
ตลอดระยะทีผ่ า นมา ไมวา จะเปนชาวบาน, ขาราชการ, พอคานักธุรกิจหรือแมแตในหมูป ญ  ญาชนนักวิชาการ
ดวยกันเอง ตางมีความเขาใจตอความหมายแหงคําวา "วัฒนธรรม" กันอยางชนิดผลิแผกแตกตางกันออกไป แตกตางกัน
จนแทบจะไมสามารถหลอมใหอยูบ นพืน้ ฐานแหงความเขาใจไปในแนวทางเดียวกันไดกม็ ี
ซึง่ จุดนีถ้ อื วาไมเปนคุณตอ "การสานตอวัฒนธรรมไทย/ทามกลางกระแสโลกานุวตั ร" ในเวลานีเ้ ลย ฉะนัน้ เพือ่ เปน
การหาบรรทัดฐานกลาง ในการทําความเขาใจ ความหมายแหง "วัฒนธรรม" รวมกัน จึงขอรวบรวมคํานิยามความหมาย
ทีน่ กั คิด นักทฤษฎีดา นสังคมวิทยาและมนุษยวิทยาไดใหคําจํากัดความไวอยางหลากหลายมาเปน "หลักคิด" ไวดงั นี้
คําวา "วัฒนธรรม" (Culture) เกิดจากการรวมคํา 2 คํา เขาดวยกันคือ "วัฒนะ" เปนภาษาบาลี หมายถึง
ความเจริญความงอกงาม คําวา "ธรรม" เปนภาษาสันสกฤต หมายถึง คุณความดี, ความจริง
ความหมายคําวา "วัฒนธรรม" เอ็ดเวิรด บี ทายเลอร นักมนุษยวิทยาทีม่ ชี อ่ื เสียง ใหคําจํากัดความไววา คือ
สิง่ รวมทัง้ หมด ทีซ่ บั ซอน ประกอบดวยความรู ความเชื่อ ศิลปะ กฎหมาย ศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ความสามารถอืน่ ๆ และรวมถึงนิสยั มนุษยในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของสังคม ศาสตราจารยเฮอรสโควิซส นักสังคมวิทยา
ชือ่ ดังใหความหมายไววา คือ ทุกสิง่ ทุกอยางทีม่ นุษยสรางขึน้ ซึง่ กินความหมายกวางขวางเกินจริยศาสตร, สุนทรียศาสตร
และขนบธรรมเนียมประเพณี
นอกจากนัน้ นักมนุษยวิทยาอีกกลุม หนึง่ ยังใหคําจํากัดความอันหลากหลายดังนี้ คือ
- เปนรูปแบบของความประพฤติทงั้ หมดทีไ่ ดมา อันไดแก แนวความคิด คานิยมหรือคุณธรรม และสิง่ ทัง้ หลาย
ซึง่ เปนมรดกทางสังคมทีบ่ รรพบุรษุ ของเราไดสะสมไวและตกทอดมาถึงคนรุน ตอมาได โดยการเรียนรูจ ากสัญลักษณนน้ั ๆ
- เปนทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ ปนผลงานของกลุม คน เชน ภาษา การทําเครือ่ งมืออุตสาหกรรม ศิลปะวิทยาศาสตร,
กฎหมาย, รัฐบาล, ศีลธรรม และศาสนา เปนตน
- เปนทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ กิดจากการเรียนรูด ว ยการสือ่ สารตอกัน ขนบธรรมเนียม จารีต และสถาบันตางๆ
- เปนทีร่ วมของบรรทัดฐาน (Norms), คานิยม (Value), ความเชื่อ (Belief)
ความหมายจากนักวิชาการไทย
- ศาสตราจารย ดร. สาโรช บัวศรี ใหความหมายไว คือ ความดี ความงาม และความจริงในชีวติ มนุษย
ซึง่ ปรากฏในรูปแบบตางๆ และไดตกทอดมาถึงเราในสมัยปจจุบนั
- พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ใหความหมายไว คือ เปนการสัง่ สมประสบการณ ความรู ความสามารถ
ภูมิธรรม ภูมปิ ญ
 ญาทัง้ หมดทีไ่ ดชว ยมนุษยในสมัยนัน้ ๆ อยูร อดและเจริญสืบตอมาไดและเปนอยูอ ยางทีเ่ ปนในบัดนี้

9 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ประเภทของวัฒนธรรม อิทธิพลของวัฒนธรรม
1. คติธรรม วัฒนธรรมเกีย่ วกับคานิยมในการดําเนินชีวิต 1. ไทยเปนวัฒนธรรมผสมผสาน
เชน ความซือ่ สัตย การตรงตอเวลา ความขยันขันแข็ง 2. ความขัดแยงทางวัฒนธรรม
2. เนติธรรม วัฒนธรรมเกีย่ วกับกฎระเบียบปฏิบตั ใิ นทาง- 3. ความลาหลังหรือความลาชาทางวัฒนธรรม
กฎหมาย ประเพณีตา งๆ เชน การบวช แตงงาน 4. วัฒนธรรมใหญ และวัฒนธรรมรองหรือวัฒน-
3. วัตถุธรรม วัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วกับวัตถุสง่ิ ของเครือ่ งใชหรือ ธรรมยอย
ความสะดวกสบายตางๆ
4. สหธรรม วัฒนธรรมเกีย่ วกับมารยาทของสังคม เชน
การเขาสังคม การรับประทานอาหาร การปรับตัวในสถาน-
การณตา งๆ

ความหมายของวัฒนธรรม ความสําคัญของวัฒนธรรม
1. หมายถึง ทุกสิง่ ทุกอยางทีม่ นุษยสรางสรรคขน้ึ เพือ่ ใชใน 1. เปนแบบแผนหรือเปนวิถที างในการดําเนินชีวิต
การพัฒนาและแกปญ  หาของชีวติ เพือ่ ตอบสนองความ ของแตละสังคมทุกสังคมมนุษยจะลาหลังหรือ
ตองการและจัดเปนสิง่ ทีส่ ลับซับซอน ไมเคยปรากฏวามี ทันสมัยลวนมีวฒ ั นธรรม
มนุษยกลุม ไหนไรวฒ
ั นธรรม 2. สามารถพัฒนาและเปลีย่ นแปลงได (ทัง้ เพิม่ เติม
2. หมายถึง ผลงานทีม่ นุษยไดสรางสรรคขน้ึ ระหวางความรู และสูญสลาย)
ความคิด ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรม กฎหมาย ขนบ- 3. เปนมรดกตกทอดและเปนเอกลักษณของแตละ
ธรรมเนียม พฤติกรรม วาจาทาที และกิจกรรมทีม่ กี าร สังคม
สือ่ สารระหวางวัฒนธรรม จึงมีลกั ษณะทีเ่ ดนชัด และเปน 4. มิใชภาวะธรรมชาติ
สากลสําหรับมนุษยทกุ สังคม 5. นํามาเปรียบเทียบกันไมได (วาวัฒนธรรมใดดี
กวากัน)
6. มิใชสง่ิ ทีด่ งี ามเหมือนศีลธรรมเสมอไป

10 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สังคมไทย
โครงสรางของสังคมไทย
1. มีประชากรประมาณ 63 ลานคน (ธันวาคม 2544) มีจํานวนทีเ่ ปนเพศหญิงมากกวาเพศชายเล็กนอย
2. มีดนิ แดนทีอ่ ยูอ าศัยบริเวณใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ
5 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 321 ลานไร
3. ประชากรสวนใหญ (ประมาณรอยละ 80) ประกอบอาชีพอยูต ามชนบท
4. ประชากรสวนใหญ (ประมาณรอยละ 70) ประกอบอาชีพทางการเกษตร ทีเ่ หลือนอกนัน้ ประกอบอาชีพทาง
ดานธุรกิจการคา อุตสาหกรรมและบริการ ซึง่ สวนใหญของผูป ระกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรเหลานีจ้ ะอาศัยอยูใ นตัวเมือง
(รอยละ 20) โครงสรางของสังคมไทยจึงประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สังคมชนบท และสังคมเมือง
5. ประชาชนกวารอยละ 80 นับถือศาสนาพุทธ
6. มีพระมหากษัตริยเ ปนประมุขของชาติสบื ตอกันมาหลายรอยป และในปจจุบนั สถาบันพระมหากษัตริยเ ปน
ศูนยรวมจิตใจและพลังความสามัคคีของปวงชนชาวไทยทัง้ ชาติ
7. เปนสังคมทีก่ ําลังพัฒนาอยางรวดเร็วทัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง
8. คานิยมทีป่ รากฏใหพบเห็นโดยทัว่ ไป คือ การเคารพผูอ าวุโส การเชือ่ ถือโชคลาง รักความเปนอิสระ ใจบุญสุนทาน
และไมอาฆาตพยาบาทนาน
9. เอกลักษณและภาพพจนของสังคมไทย คือ ปรับตัวเกงมีน้าใจอั ํ ธยาศัยไมตรี รักครอบครัว
ลักษณะเดนของระบบสังคมไทย
ตามทัศนะของ ดร. ไพบูลย ชางเรียน สรุปลักษณะสังคมไทยทีส่ ําคัญเปนดังนี้
1. เปนระบบชนชั้น ทัง้ นีส้ บื เนือ่ งมาจากระบบศักดินาโดยถือเอาเกียรติ หรือฐานะทางสังคม หรือฐานะทางการ
ศึกษาเปนเครือ่ งวัด
2. เปนสังคมชนบท กลาวคือ ครอบครัวมีขนาดใหญ ความสัมพันธระหวางครอบครัวเปนไปตามความรูส กึ หรือ
ขนบธรรมเนียมประเพณี รักถิน่ ทีอ่ ยูไ มชอบการโยกยาย อาศัยอยูต ามชนบท มีการศึกษานอย สภาพชีวติ ความเปนอยูม ี
ลักษณะงาย
3. เปนสังคมทีส่ มาชิกโดยทัว่ ไปมีจติ ใจโอบออมอารี เอือ้ เฟอ เผือ่ แผซง่ึ กันและกันเสมอ
4. เปนสังคมเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทางการเกษตร
5. คานิยม (Social value) ยังนิยมยกยองเงิน ยกยองอํานาจ ยกยองความเปนผูอ าวุโส และนิยมยกยอง
การเปนเจาคนนายคน

11 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

โครงสรางเดนของสังคมไทย
ประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สังคมชนบท และสังคมเมือง
สังคมชนบท หมายถึง กลุม คนทีอ่ าศัยอยูใ นเขตนอกตัวเมืองออกไป ตามสวน ไร นา และปาเขา
สังคมเมือง หมายถึง กลุม คนทีอ่ าศัยรวมกันอยูอ ยางหนาแนน มีความเจริญและศูนยกลางตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับเศรษฐกิจ
สังคมและการเมือง การปกครอง

เกณฑตา งๆ สังคมชนบท สังคมเมือง


1. ลักษณะครอบครัว - สวนใหญเปนครอบครัวขยาย - สวนใหญเปนครอบครัวเดีย่ ว
2. อาชีพ - กสิกรรมเปนอาชีพหลัก - หลายประเภท เชน อุตสาหกรรม การคา
งานบริการ ราชการ พนักงาน ธุรกิจเอกชน
3. ระบบการติดตอสัมพันธ - เปนแบบอรูปนัย - เปนแบบรูปนัย
4. ขนาดของชุมชน - มีขนาดเล็ก - มีขนาดใหญ
5. ความหนาแนนของประชากร - ความหนาแนนนอย พลเมือง - ความหนาแนนมาก พลเมืองอยูใ กลชดิ กัน
แยกกันอยูเ ปนกลุม เล็กๆ เปนกลุม ใหญ
6. ความแตกและความเหมือน - มี Homogeneity (ความเหมือน - Heterogeneity (ความแตกตางกัน)
ของประชากร กัน) ทางดานเชือ้ ชาติ วัฒนธรรม ทางดานอาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจของ
และลักษณะทางจิตวิทยาสังคม ชาติ ศาสนา แนวความคิดทางการเมือง
7. ความแตกตางของชัน้ ทาง - มีนอยกวาเมือง - มีความแตกตางกันมา
สังคมและเศรษฐกิจ
8. ชีวติ ความเปนอยู - โดยทัว่ ไปยึดมัน่ ในคานิยมและ - สวนใหญคลอยไปตามวัฒนธรรมตะวันตก
วัฒนธรรมดั้งเดิมและดํารงชีวติ การดํารงชีวติ ประจําวันคอนขางสับสน
อยูอ ยางงายๆ ซับซอน
9. การเคลือ่ นยาย - การเคลือ่ นยายภายในมีนอ ย - การเคลือ่ นยายภายในมีมาก
10. สิง่ แวดลอม - มีสง่ิ แวดลอมเปนธรรมชาติเปน - มีสง่ิ แวดลอมเปนอาคารบานเรือนทีม่ อี ยู
สวนใหญและมีอทิ ธิพลตอชีวติ อยางหนาแนนและเต็มไปดวยสถานเริงรมย
ความเปนอยูมาก

12 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ลักษณะความแตกตาง สังคมชนบท สังคมเมือง


1. ประชากรและครอบครัว มีประชากรจํานวนมาก แตอยูก นั มีประชากรจํานวนมาก แตอยูก นั
อยางกระจัดกระจายและเปน อยางหนาแนนจนกลายเปนชุมชนแออัด
ครอบครัวขนาดใหญ และเปนครอบครัวเดีย่ ว
2. การตัง้ ถิน่ ฐานของประชากร ตัง้ บานเรือนตามริมถนน แมน้าํ มีการแบงเขตเมือง เชน เขตทีอ่ ยูอ าศัย
หนองบึงและทางรถไฟ เขตธุรกิจ เขตอุตสาหกรรม ฯลฯ
3. การศึกษา มีการศึกษาคอนขางตําและขาดแคลน
่ เปนศูนยกลางการศึกษาทุกระดับ
ในเรือ่ งของสถาบันการศึกษา รวมทัง้ มีคณุ ภาพสูง อุปกรณการเรียน
อุปกรณการเรียนการสอน การสอนสมบูรณ
4. เศรษฐกิจ เปนสังคมเกษตรกรรม และมี เปนศูนยรวมการคา พาณิชยกรรม
ผลผลิตทางการเกษตรตํ่า อุตสาหกรรม และบริการตางๆ
5. การเมืองการปกครอง แบงเปนองคการบริหารสวนจังหวัด เปนศูนยรวมของอํานาจการปกครอง
เขตสุขาภิบาล และเทศบาล
6. ศาสนา, ขนบธรรมเนียมประเพณี มีความเครงครัด และเชือ่ ถือ มีความเชื่อถือในศาสนา และเครงครัด
ในระเบียบประเพณี และศาสนาสูง ในขนบธรรมเนียมดั้งเดิมไมมากนัก
เพราะรับวัฒนธรรมตะวันตกไดรวดเร็ว
7. ความสัมพันธทางสังคม มีความสัมพันธแบบปฐมภูมิ มีความสัมพันธแบบทุตยิ ภูมิ
มีความผูกพันกันแบบเครือญาติ ติดตอสัมพันธกนั

ปญหาสังคมไทย
ปญหาสังคมในชนบทและเมืองมีความแตกตางกัน ดังนี้
ตารางเปรียบเทียบปญหาในสังคมชนบทและสังคมเมือง
ปญหาสังคมชนบท ปญหาสังคมเมือง
1. ปญหาความยากจนและรายไดตา่ํ 1. ปญหาการจราจร
2. ปญหาสุขภาพอนามัยไมแข็งแรง ปญหาทุพโภชนาการ 2. ปญหาชุมชนแออัดอันนําไปสูป ญ
 หาดานอืน่ ตามมา
3. ปญหาการดอยการศึกษา 3. ปญหาสิง่ แวดลอมเปนพิษ
4. ปญหาดานการคมนาคมขนสง 4. ปญหาสิง่ เสพติด
5. ปญหาการเพิม่ จํานวนประชากรในอัตราสูง ฯลฯ 5. ปญหาการวางงาน
6. ปญหาการฉอราษฎรบงั หลวงในระบบราชการ ฯลฯ

13 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ในปจจุบนั สังคมไทยมีปญ
 หาโดยทัว่ ไป ไดแก
- ปญหาประชากร
- ปญหาสิง่ แวดลอม
- ปญหาสิง่ เสพติด
- ปญหาอาชญากรรม
- ปญหาความยากจน
- ปญหาโรคเอดส
- ปญหาโสเภณี
- ปญหาความมัน่ คงของชาติ
- ปญหาการฉอราษฎรบงั หลวง
- ปญหาการวางงาน
- ปญหาขาราชการและระบบการบริหารงาน

ลักษณะเดนของสังคมไทย ลักษณะครอบครัวไทย
1. เปนระบบชนชั้น ถือเกียรติ ฐานะทางสังคม และการศึกษา 1. สวนใหญเปนครอบครัวเดีย่ ว มีครอบครัวขยาย
เปนเครือ่ งวัด บางในสังคมชนบท
2. เปนสังคมชนบท ครอบครัวขนาดใหญ รักทีอ่ ยูไ มชอบ 2. มีความผูกพันทางสายเลือดคอนขางแนนแฟน
โยกยายความเปนอยูง า ยๆ 3. ชายเปนใหญกวาหญิง
3. เปนสังคมเกษตรกรรมถึง 70% 4. ชอบนับญาติ ทัง้ ทางสายบิดา-มารดา
4. เปนสังคมเปด (ขอดี) และเปนสังคมหลวมหรือออน (ขอเสีย) 5. เคารพเชือ่ ฟงตามลําดับอาวุโส
5. คานิยมทัว่ ไป เคารพอาวุโส ยกยองเงิน อํานาจ ใจบุญสุนทาน (สวนใหญเปนอิทธิพลทีร่ บั มาจากจีน)

การเปรียบเทียบสังคมไทย - สังคมตะวันตก
สังคมไทย สังคมตะวันตก
- ความสัมพันธแบบปฐมภูมิ - ความสัมพันธแบบทุตยิ ภูมิ
- เนนคานิยมดูดี - เนนคานิยมอยูดี
- ยึดตัวบุคคลมากกวา หลักการ (ความถูกใจ - ยึดหลักการ, กฎหมายมากกวาตัวบุคคล (ความถูกตองมากกวา
มากกวาความถูกตอง) ความถูกใจ)
- สถาบันครอบครัวอบอุน ใกลชิด - สถาบันครอบครัวโดดเดีย่ วเงียบเหงา
- อาศัยธรรมชาติมากกวา - อาศัยเทคโนโลยีมากกวา
- ปญหาสังคม เครียด และรุนแรงนอยกวา - ปญหาสังคม เครียด ซับซอน และรุนแรงมากกวา

14 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

คานิยมใหมๆ ของสังคมไทยทีไ่ ดจากทรรศนะของนักวิชาการไทยและชาวตางประเทศ คือ


- การนิยมบุคคลมากกวาหลักการ จึงมักละเมิดกฎเกณฑ
- การเล็งผลเชิงปฏิบตั ิ ไมยดึ มัน่ ในสิง่ ทีไ่ มเห็นผลหรือไมสอดคลองกับผลประโยชน ทําใหไมยดึ หลักการ
มักยึดผลประโยชนตน และตัวบุคคลเปนสําคัญ รักพวกพองคํานึงถึงความสัมพันธกนั เปนสวนตัว (ภาครุน สีสถาบัน)
ทําใหลดความสําคัญของหลักการลง
- มีความเปนปจเจกชนนิยมสูง แตรกั อิสระ ไมชอบใครบังคับ ชอบความสะดวกสบาย และขาดระเบียบวินยั
ไมชอบระเบียบแบบแผน กฎเกณฑตา งๆ
- นิยมคนใจบุญ ใจกวาง นิยมทําบุญสรางกุศล สังคมไทยไมพยาบาทนาน ทัง้ ใหอภัยงายและลืมงายไมวา
ความดีหรือความเลว
- นิยมแกปญ  หาเฉพาะหนา วางแผนระยะยาวไมเปน ขาดความคิดสรางสรรคแบบเปนระบบ และการเปนผูน ํา
- การไมชอบขัดใจผูอื่น เกรงใจคน ไมไดแยง ผลทําใหสงั คมไทยไมชอบพูดจาความจริง ไมยอมรับความจริง
รับความจริงไมได
- เชื่อถือในโชคลางเครื่องรางของขลัง และสิง่ เหนือธรรมชาติ แมพระพุทธรูปก็ยดึ ถือในดานขลังและศักดิส์ ทิ ธิ์
มากกวาเนือ้ หาสาระของคําสอน
สังคมไทยสมัยสุโขทัย
- สังคมมีขนาดเล็ก แคบ การเคลือ่ นไหวทางสังคมมีนอ ย การพัฒนาทางสังคมชา สังคมอยูก บั ที่
- บานเมืองสงบ คนมีอิสระเสรี ไมมศี กึ สงครามใหญ จึงไมจาเป
ํ นตองใชกําลังคน
- พึง่ กอสรางชาติรว มกัน ผูนําและสมาชิกในสังคมจึงมีความรูผ กู พันกันแนนแฟน
- สังคมพึง่ ตนเองเปนสวนใหญ การติดตอสัมพันธกบั สังคมอืน่ ยังมีนอ ย
สังคมไทยสมัยอยุธยา
- สังคมเริม่ ขยายตัวกวางขึน้ ติดตอสัมพันธกบั สังคมอืน่ มากขึน้ เชน ชาติตะวันตก โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ
มากกวาทางการเมือง
- การคาขายเจริญรุง เรือง เพราะมีทต่ี ง้ั ทีเ่ หมาะสม
- ทําศึกสงครามมาก เทคโนโลยีมีนอยมาก กําลังคนจึงเปนเรือ่ งสําคัญทีส่ ดุ ของสังคม การควบคุมกําลังคน
จึงเปนเรือ่ งใหญ ทัง้ ในการศึก และทางเศรษฐกิจเพือ่ เปนแรงงานเกษตร
- เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมเปนครัง้ แรก ทําใหเกิดลัทธิเทวสิทธิ์ ระบบศักดินา ระบบจตุสดมภ
สังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร
- การเคลือ่ นไหวทางสังคมเกิดขึน้ อยางมากมาย เพราะอิทธิพลของการลาอาณานิคมของชาติตะวันตก ทําให
ไทยเราตองปรับตัวใหทนั สมัย ยืดหยุน รับสถานการณ เพือ่ แลกเปลีย่ นกับการรักษาเอกราช
- สังคมพัฒนาอยางรวดเร็วเพราะอิทธิพลการรับเทคโนโลยี และความเจริญจากตะวันตกในทุกดาน
- ศึกสงครามนอยลง เปลีย่ นเปนการเสียดินแดนและสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

15 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การเปลีย่ นแปลงและแนวโนมของสังคมไทย
ํ ญในปจจุบนั คือ
แนวโนมของสังคมไทยในอนาคตทีส่ าคั
1. สงเสริมใหเปนประเทศเกษตรอุตสาหกรรมใหม (NAIC)
2. ลดชองวางระหวางสังคมชนบทกับสังคมเมืองใหเหลือนอยลง ดวยการยกระดับความเปนอยูข องชาวชนบท
ใหดขี น้ึ ตามแผนพัฒนาฯ ซึง่ เริม่ อยางจริงจังตัง้ แตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 เปนตนไป
3. ชะลออัตราการเพิม่ จํานวนประชากร
4. พัฒนาประชากรใหมคี วามรูค วามสามารถเพิม่ ขึน้
5. พัฒนาประชากรใหมวี นิ ยั มากขึน้
เมือ่ พิจารณารายละเอียดแลว แนวโนมทางสังคมไทยในอนาคตจะมีลกั ษณะดังนี้
1. ดานสังคม
- สถาบันครอบครัวเปลีย่ นแปลงไปในทางหญิง-ชาย เสมอภาคมากขึ้น ความเขมงวดในการเลีย้ งดูบตุ รนอยลง
ความใกลชิดนอยลง ครอบครัวไทยมีขนาดเล็กลงและเปนครอบครัวเดีย่ วมากขึน้ เกิดปญหาครอบครัวมากขึน้
- คนรุน ใหมยอมรับและปฏิบตั ติ วั ดําเนินชีวติ ตามแบบตะวันตกไทย ยึดถือขนบธรรมเนียมไทยนอยลง สังคมไทย
เปลีย่ นสภาพเปนสังคมเมืองมากขึน้ ทุกที ใชวฒ ั นธรรมตะวันตกเปนแบบแผนมากขึน้
- การคมนาคมขนสงและการสือ่ สารพัฒนาขึน้ อยางรวดเร็ว เปนไปอยางกวางขวาง ทันสมัย เกิดการเปลีย่ นแปลง
ในอัตราเร็วและสูงขึน้
- การใหความสําคัญตอความสุขทางวัตถุนยิ มหรือบริโภคนิยมมีมากกวาทางจิตใจ
- สตรีไทยมีสทิ ธิมากขึน้ ทํางานหารายไดชว ยครอบครัวมากขึน้ ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัวเปลีย่ นเปน
ประชาธิปไตยมากขึน้
- การศึกษาเปนการศึกษาเพือ่ อาชีพมากขึน้ การศึกษาเพือ่ มวลชนมีความเสมอภาคมากขึน้ ทัง้ ในระบบปดและ
ระบบเปด ทัง้ ในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน การศึกษาของประชาชนสูงขึ้น
- สังคมมีคา นิยมทางวิทยาศาสตรเพิม่ ขึน้ เชือ่ ในหลักเหตุผลเชิงวิทยาศาสตรมากขึน้ ความใกลชิดศาสนาโดย
ทัว่ ไปลดลง
- ปญหาสังคมเพิม่ มากขึน้ และรุนแรงขึน้ เชน ทีอ่ ยูอ าศัย โรคเอดส โสเภณี อาชญากรรม สิง่ แวดลอม
2. ดานการเมือง
- ประชาชนมีสวมรวมในการปกครองระบอบประชาธิปไตยมากขึ้นในกิจกรรมทางการเมืองทั้งในระดับทองถิ่น
และระดับชาติ ประชาชนมีความรูส กึ วาชาติบา นเมืองเปนของทุกคน มีความเขาใจประชาธิปไตยมากขึ้น
- การปกครองแบบเผด็จการลดนอยลง การปฏิวตั ริ ฐั ประหารทําไดยากขึน้ เพราะประชาชนตื่นตัวมากขึ้น
ความอคติตอ ประเทศทีม่ รี ะบบการเมืองการปกครองตางกันลดลง
- ความสัมพันธระหวางเจาหนาทีร่ ฐั -ประชาชน เปนไปในทางบริการประชาชนมากขึ้น ความรูส กึ เปนเจานายลดลง
- มีการปรับปรุงคุณภาพของระบบราชการและเจาหนาทีร่ ฐั ใหมีประสิทธิภาพมากขึน้ เพือ่ สนองตอบประชาชนมากขึน้
3. ดานเศรษฐกิจ
- อุตสาหกรรมยังมีความสําคัญอยูม าก การคาระหวางประเทศทวีความสําคัญมากขึน้ ตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
- การผลิตเปนไปเพือ่ การสงออกมากขึน้ ทุกที การแบงปนทางเศรษฐกิจเพิม่ มากขึน้
- รัฐกระจายแหลงเศรษฐกิจไปยังภูมภิ าคมากขึน้ ทัง้ อุตสาหกรรม บริการ โดยเฉพาะภาคตะวันออกและภาคใต
เปนเขตเศรษฐกิจใหม
- อาชีพมีหลากหลายมากขึน้ เพราะการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและบริการ แตอาชีพทีผ่ ลิตจากทรัพยากรโดยตรง
ลดลง เชน ปาไม ประมง เหมืองแร

16 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ศาสนาที่สําคัญ
สรุปสาระสําคัญ
1. ศาสนาเปนเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจของมนุษย เปนกลไกลสําคัญในการควบคุมตนเอง หรือการอยูร ว มกัน
อยางเปนสุขในสังคม
2. มูลเหตุทส่ี าคั
ํ ญของศาสนา คือ ความกลัว รองลงไป คือ ความไมรู
3. ปจจุบนั ศาสนาทีม่ ผี นู บั ถือแพรหลายอยูใ นโลก ไดแก ศาสนาพราหมณ พุทธ คริสต และอิสลาม
4. ศาสนาพราหมณ เปนศาสนาทีเ่ กาแกทย่ี งั คงมีผนู บั ถือเปนจํานวนมากในปจจุบนั โดยไดวิวัฒนาการมาเปน
ศาสนาฮินดู
5. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เปนศาสนาประเภทพหุเทวนิยม เปนศาสนาทีไ่ มมศี าสดา มีคมั ภีรพ ระเวทเปนหลัก
คําสอนโดยมีจดุ มุง หมายสูงสุด คือ โมกษะ
6. ศาสนาพุทธเกิดในชมพูทวีป เปนศาสนาประเภทอเทวนิยม ศาสดาของศาสนาพุทธคือ พระสัมมาสัมพุทธเจา
เปนผูท ต่ี รัสรูธ รรมดวยพระองคเอง
7. พุทธศาสนาเปนศาสนาทีม่ อี งคประกอบครบถวนมีจดุ มุง หมายสูงสุด คือ นิพพาน และความเจริญอันสูงสุดที่
พระพุทธเจาทรงคนพบ คือ อริยสัจ 4
8. พุทธศาสนา มีจดุ มุง หมายสูงสุด คือ การทําลายกิเลสโดยสิน้ เชิง หรือการเขาสูภ าวะนิพพาน สวนศาสนา
ประเภทเทวนิยม มีจดุ มุง หมายสูงสุดคือ การไดไปอยูร ว มกับพระผูเ ปนเจาบนสวรรค
9. ศาสนาทุกศาสนาตางก็เสนอวิธกี ารทีจ่ ะทําใหมนุษยพน จากความทุกข และพบกับความสุขในรูปการทีต่ า งกัน
ในสวนทีเ่ ปนรายละเอียด และระดับความเครงครัดในการปฏิบตั ิ
10. โดยสวนรวมแลวศาสนาทุกศาสนาไดพยายามชีแ้ นะแนวทางใหบคุ คลเปนคนดี มีคุณธรรม และความสงบสุข
ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก บั ศรัทธา และปญญาของบุคคลในการเลือกแนวทางปฏิบตั ใิ หบรรลุเปาหมายของศาสนา
11. ศาสนาทัง้ ฝายเทวนิยมและอเทวนิยม มีหลักคําสอนทีส่ อดคลองกันหลายเรือ่ งไดแก
- เรือ่ งนรกและสวรรค
- หามพูดเท็จ
- ทําดีละเวนชั่ว
- มีความรักความเมตตา
- ความศักดิส์ ทิ ธิ์
- โลกหนา

17 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ศาสนาพราหมณ ศาสนาฮินดู
กําเนิด กอนพุทธกาลประมาณ 1,000 ป เปนศาสนาของ ราวตนพุทธกาล เปนศาสนาของชาวผิวดําพื้นเมือง
ชาวผิวขาว (อารยัน) (ดราวิเดียน)
ความเชื่อหลัก เนนการบูชาธรรมชาติใหเปนเทวะ (พัฒนา เนนการบูชาวิญญาณ (อาตมัน) + การเวียนวายตายเกิด
จากพหุเทวนิยม → เอกเทวนิยม) (การสังสารวัฏ)
คัมภีร พระเวท (ไตรเวท) คัมภีรภ ควัทคีตา (พัฒนามาจากคัมภีรอ ปุ นิษทั )
- ฤคเวท - เพิม่ อาถรรพเวท
- ยชุรเวท
- สามเวท
จุดหมายสูงสุด พระพรหม ปรมาตมันหรือมหาพรหม
สัญลักษณ ตรีมรู ติ (1 = 3 ในคัมภีรป รุ าณะ) ลัทธิอวตาร (นารายณ 10 ปาง)
- พระพรหม - รามาวตาร ปางที่ 7
- พระวิษณุ (นารายณ) - กฤษณาวตาร ปางที่ 8
- พระศิวะ - พุทธาวตาร ปางที่ 9
หลักคําสอน หลักอาศรม 4 เพือ่ บรรลุโมกษธรรม
- หลักอาศรม 4 1. พรหมจารี
- หลักวรรณะ 4 (ขั้นตอนการดํารงชีวติ ) 2. คฤหัสถ
- พระมนูธรรมศาสตร 3. วานปรัสถ
4. สันยาสี
- เชือ่ ในการสังสารวัฏของอาตมัน
พิธกี รรม - การบูชาเทวะในแมนาคงคา้ํ ในเทวสถาน พิธศี ราทธ
- พิธสี งั สการ (ประจําบาน) พิธสี งั สการ (ลดบทบาทลงเหลือเฉพาะทีส่ ําคัญ)
นิกาย - นิกายพรหม เพิม่ นิกายศักติ
- นิกายไวษณพ
- นิกายไศวะ
ขอมูลเพิม่ เติม - มหากาพยเรือ่ งทีใ่ หญทส่ี ดุ ของอินเดีย คือ มหากาพยมหาภารตะ
- มหากาพยเรือ่ งทีร่ จู กั แพรหลายทีส่ ดุ ของอินเดีย คือ มหากาพยรามายณะ
พระพุทธศาสนา
กําเนิด ใกลเคียงกับศาสนาฮินดู กอนคริสตศกั ราช 543 ป เปนศาสนาประเภท อเทวนิยม
ความเชื่อสําคัญ เชื่อในเรื่องกรรม วิบาก กฎแหงกรรม เชือ่ ในเหตุผลและกฎแหงความเปลีย่ นแปลงของสรรพสิง่
(หลักไตรลักษณ) เชือ่ วาตนเปนทีพ่ งึ่ แหงตน ไมเชือ่ ในอํานาจศักดิส์ ทิ ธิข์ องสิง่ ทีม่ องไมเห็น ทําอยางไร
ตองไดอยางนัน้ แนนอน (ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว) ละ เลิก ปลด ปลง ปลอย วางความชัว่ และกิเลส
ตัณหาใหลดนอยลงเรือ่ ยๆ
เนน การดํารงชีวติ อยูด ว ยความเมตตากรุณา และความเสียสละเปนสําคัญตามลําดับ

18 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

คัมภีร พระไตรปฎก มีการสังคยานาเปลีย่ นแปลงแกไขได


- พระวินยั ปฎก (ศีล 4 หมวด คือ ศีล 5, 8, 10, 227)
- พระสุตนั ตปฎก (ชาดก หรือ พระสูตร)
- พระอภิธรรมปฎก (หลักคําสอนบาลีลว นๆ)
สัญลักษณ พระรัตนตรัย + รูปเคารพพระพุทธเจา + ธรรมจักร
การประกาศศาสนา 1. การมองโลกและชีวติ ในสายตาของศาสนา
2. เหตุการณชว งตรัสรู และการคนพบอริยสัจ 4
3. การเสวยวิมตุ สิ ขุ และการพิจารณามนุษย 4 ชนิด
4. อริยสัจ 4 - ไตรสิกขา - มรรค 8
หลักคําสอนสําคัญ - อริยสัจ 4 + ขันธ 5 + ไตรลักษณ + กาลามสูตร
- โอวาทปาติโมกข (หัวใจของพระพุทธศาสนา) เปนบทสรุปประมวลหลักธรรมทีเ่ ปนแกนแทของ
ศาสนา ทานพุทธทาสสรุปวิเคราะหไว ดังนี้
1. อุดมการณ คือ ขันติ การไมเบียดเบียน และนิพพาน
2. หลักการ คือ ไมทําบาปทัง้ ปวง ทํากุศลใหสมบูรณ ชําระจิตใจใหสะอาดบริสทุ ธิ์ (ทําดี เวนชั่ว
ทําใจใหผอ งแผว)
3. วิธเี ผยแพร คือ ไมขมขู ไมยกตน ไมเห็นแกกนิ สํารวม นัง่ นอนในทีส่ งัด
จุดหมายสูงสุด นิพพาน (การดับทุกขโดยสิ้นเชิง) อนัตตา หรือสุญตา (ความวางเปลา)
พิธกี รรม วันสําคัญ คือ วันเพ็ญเดือน 3-6-8 การทอดกฐิน การเขาพรรษา ออกพรรษา และการได
อานิสงส พิธปี วารณา พิธแี สดงอาบัติ

นิกายเถรวาทหรือหินยาน นิกายมหายานหรืออาจริยวาท
1. มุง นิพพานเปนปรมัตถ ดวยการทําดี ลดละกิเลส 1. มุง เปนพระพุทธเจา (ภาวะโพธิสตั ว) ดวยการปฏิบตั ติ าม
ตัณหาใหนอ ยลงเรือ่ ยๆ ดวยการปฏิบตั ติ ามคําสอน บารมี 10 ประการทีพ่ ระพุทธเจาเคยปฏิบตั แิ ลว เนนเมตตา-
อยางเครงครัด บารมีสําคัญ
2. ปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบสูงสุด ไดแก พระอรหันตสาวก 2. ภาวะโพธิสตั วเกิดขึน้ ไดทง้ั ชายและหญิง
เทานั้น
3. เคารพในพระเจาองคเดียว เชื่อวามี 2 กาย คือ 3. เชือ่ ในหลักตรีกาย
- นิรมานกาย - เพิม่ สัมโภคกาย (กายทิพย) และเคารพในพระโพธิสตั ว
- ธรรมกาย หลายองค
4. ใชภาษาบาลีจาริกพระไตรปฎก ไมมกี ารแตงพระสูตร 4. ใชภาษาสันสกฤตจาริกพระไตรปฎก (และฉบับภาษาจีน)
เพิม่ เติม มีการแตงพระสูตรเพิม่ เติมได
5. นักบวชถือศีล 227 ขอ และใชชวี ติ ตามแบบอยาง 5. นักบวชถือศีล 250 ขอ และมีการลดหยอนขอปฏิบตั ไิ ด
พระพุทธเจาในสมัยพุทธกาลโดยไมเปลีย่ นแปลง ตามกาลเทศะและกาลเวลา
แกไข

19 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

อริยสัจ 4

ทุกข สมุทยั นิโรธ มรรค

คําสอนเรื่อง คําสอนเรื่อง คําสอนเรื่องชีวิต คําสอนเรื่องชีวิต


ชีวิตคืออะไร ชีวิตเปนอยางไร ควรเปนอยางไร ควรเปนอยูอยางไร

ขันธ 5 อายตนะ 6 ไตรลักษณ โลกธรรม 8


- รูป - ตา - รูป - อนิจจตา - ลาภ
- เวทนา - หู - เสียง - ทุกขตา - ยศ
- สัญญา - จมูก - กลิน่ - อนัตตตา - สรรเสริญ วิมุตติ ธรรมขันธ นิพพาน
- สังขาร - ลิ้น - รส - สุข
- วิญญาณ - กาย - สัมผัส - เสื่อมลาภ มรรค 8 หรือไตรสิกขา มัชฌิมาปฏิปทา
- ใจ - เรื่องในใจ - เสื่อมยศ
- นินทา
- ทุกข

ละตัณหา ปฏิจจสมุปบาท : กรรม อุปทาน 4 : ความยึดมั่น


สิ่งทั้งปวงดําเนินอยางไร ถือมั่น 4 อยาง

กามตัณหา เมือ่ สิง่ นีม้ ี สิง่ นีจ้ งึ มี ละอกุศลกรรม ปฏิบตั กิ ศุ ลกรรม กาม
ภวตัณหา เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี ความคิดเห็นของตน
วิภวตัณหา เมื่อสิ่งนี้ไมมี สิ่งนี้ก็ไมมี ศีลพรต

20 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม
เอกลักษณ ศาสนาแหงความรัก (เมตตากรุณา เสียสละ ศาสนาแหงความศรัทธาในพระเจาองคเดียว (ยินยอม
ใหอภัย เอื้อเฟอ ชวยเหลือผูอ น่ื เปนสําคัญ) ยอมตน นอบนอม สันติ)
กําเนิด คานาอัน (อิสราเอล หรือปาเลสไตน) ดินแดน เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดอิ าระเบีย ณ วิหารหินดํา หรือ
อันศักดิส์ ทิ ธิ์ แผนดินทีพ่ ระเจาทรงสัญญา เมือ่ ค.ศ. 1 อัลกะบะห หรือบานของพระเจา เมื่อ ค.ศ. 622 ฮิจเราะห
(พ.ศ. 543) ศักราชที่ 1 (แปลวา อพยพหลบหนี ตรงกับ พ.ศ. 1165)
ศาสดา พระเยซู มูฮาหมั
ํ ด
- จีซสั แหงนาซาเร็ธ - พระนบี
- พระเมสสิอาห - รอซูล
- ศาสดาพยากรณ
- พระผูไ ถบาป
คัมภีร ไบเบิล มี 2 ตอน อัลกุรอาน (ธรรมนูญชีวิต) และอัลฮะดิส
- พระคัมภีรเกา (ของศาสนายูดายทัง้ หมด) - หลักศรัทธา 6 ประการ
- พระคัมภีรใ หม (เฉพาะ 4 ตอนแรก เรียกวา - หลักปฏิบตั ิ 5 ประการ (พิธกี รรม)
พระวรสาร และพระกิตติคณ ุ )
จุดมุง หมายสูงสุด การไดอยูร ว มในดินแดนของพระเจา การไดอยูร ว มในดินแดนเดียวกับพระอัลเลาะหหรือการมีสนั ติ
หรือการมีชีวิตนิรันดร
หลักคําสอนสําคัญ
1. ความรัก 2 แบบ 1. หลักศรัทธาในพระอัลเลาะห
2. หลักตรีเอกานุภาพ 2. การปฏิญาณตน
3. อาณาจักรของพระเจา (คริสตจกั ร) 3. มุสลิมทัง้ โลกลวนเปนพีน่ อ งกัน
พิธกี รรม เรียกวา "ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ 7 ประการ" หลักปฏิบตั ิ 5 ประการ เรียกวา อิบาดะห
นิกาย สาเหตุของการแตกแยกเปนนิกายสําคัญของทัง้ สาเหตุของการแตกแยกเปนนิกายสําคัญของทัง้ 3 นิกายและ
3 นิกาย และหลักความเชือ่ ของแตละนิกาย หลักความเชือ่ ของแตละนิกายรวมทัง้ ขอหามพิเศษของศาสนา
- นิกายโรมันคาทอลิก ค.ศ. 400 อิสลาม
- นิกายกรีกออรโธดอกซ ราว ค.ศ. 500 - นิกายชิอะห
- นิกายโปรเตสแตนต ค.ศ. 1517 - นิกายซุนนี
- นิกายวาฮะบี

21 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สรุปความสอดคลองของศาสนาทั้งสี่
แตละศาสนาในโลกมีลกั ษณะรวมกันหลายประการ ในดานเปาหมายสูงสุดและวิถที างดําเนินชีวติ บุคคลทีน่ บั ถือ
ศาสนาใดก็ตาม พึงควรยึดถือทําความดีตามหลักการของศาสนานัน้ ดังสรุปยอๆ ในสาระสําคัญดังนี้
ลักษณะความ ศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม
สอดคลอง
สาเหตุทเ่ี กิด กลัวภัยธรรมชาติ กลัวทุกข คือ การเกิด กลัวทีจ่ ะไมรอด เมสซิอา กลัวความทุกขตอ ง
จึงบวงสรวงใหเทพเจา แก เจ็บ ตาย ตองเรียน คือ พระผูช ว ยใหรอดตอง ปฏิบตั เิ พือ่ กลับไปสูส นั ติ
ชวย รูสัจธรรมดวยปญญาให กลับไปอยูกับพระเจาดวย ของพระอัลเลาะห
หายกลัว การทําความดี
จุดหมาย เปนทีพ่ ง่ึ ทางใจ เปนทีพ่ ง่ึ ทางใจ เปนทีพ่ ง่ึ ทางใจ เปนทีพ่ ง่ึ ทางใจ
เปาหมายอัน การไดอยูเปนอันหนึ่ง การบรรลุถึงการดับทุกข ชีวติ นิรนั ดรในอาณาจักร สูส นั ติ กลับไปอยูก บั
สูงสุด อันเดียวกับพระพรหม ไดแก นิพพาน พระเจา พระอัลเลาะห
(ปรมัตสัจจะ) หรือปรมาตมัน
ปญหารวมของ สิง่ ทีไ่ มตอ งการ คือ ความทุกข ความสุข ความทุกข ความสุขที่แท ความทุกข ความสุขที่
มนุษยชาติ ความทุกข สิง่ ทีต่ อ งการ จริง แทจริง
คือ ความสุข
หลักการทํา พระธรรมศาสตร เบญจศีล เบญจธรรม บัญญัติ 10 ประการ หลักปฏิบตั ิ 5 ประการ
ความดี 10 ประการ กุศลกรรมบถ 10 และ
โอวาทปาติโมกข
หลักความรัก การใหเปนตามฐานะ พรหมวิหาร 4 ความรักที่ไมทํารายผูอ น่ื การบริจาคทาน (ซะกาต)
ความเมตตา หลักอาศรม 4 (ขอ 3 สังคหวัตถุ 4 ใหอภัยผูผ ดิ พลาด บําเพ็ญประโยชนแก
และความเสีย และ 4) เพือ่ นมนุษย
สละ
ความอดทน - ความอดกลั้น - ขันติ อดทน การอดทนของพระเยซู การถือศีลอดในฤดู
ความอดทน - ทมะ อดกลัน้ ในเรือ่ งการถูกตรึงไม รอมฎอน
- ทมะ ความขมใจ กางเขน
- อักโกธะ ไมโกรธ
หลักการ - หลักอาศรม 4 - ทิฏฐธัมมิกตั ถ- ความยากลําบากนัน้ ทําให ทานนบี กลาววา ผูใ ดมี
พัฒนาตนเอง - หลักปุรษุ ารถะ ประโยชน 4 บังเกิดมีความอดทน ทําให ความพยายามผูน น้ั จะ
หรือประโยชน 4 - อิทธิบาท 4 บังเกิดอุปนิสยั ดี อุปนิสยั ดี ไดผลสําเร็จ
ทําใหเกิดความหวัง
ความเปนศาส- ปฏิบัติตามพระคัมภีร ยึดธรรมใชหลักปฏิบตั ิ ปฏิ บั ติ ตามพระคัมภีรเขา หลักปฏิบตั ิ 5 และ
นิกชนที่ดีงาม เพือ่ ใหบรรลุโมกษะ บูชา พิธศี ลี ศักดิส์ ทิ ธิ์ หลักศรัทธา 6

22 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

บทสรุปจุดหมายของศาสนา
จุดหมายรวมกัน
ศาสนาตางๆ ทีม่ อี ยูใ นโลกแทบทุกศาสนา ลวนมีจดุ มุง หมายทีเ่ หมือนกันอยูป ระการหนึง่ คือ สอนใหคนละชัว่
ประพฤติดี สวนวิธกี ารสอนนัน้ อาจจะแตกตางกันอยางตรงกันขาม หรือคลายคลึงกัน เชน ศาสนาพุทธใชวิธีชี้ใหคนเรา
เห็นเหตุ-ผล วาสิง่ ทัง้ หลายเกิดจากเหตุ ถาจะดับก็ขน้ึ อยูท เ่ี หตุ เหตุดงั กลาวนีไ้ มใชพระเจา แตเปนปจจัยธรรมชาติ
สําหรับศาสนาประเภทเทวนิยม กลาวคือ ฮินดู ยิว คริสต อิสลาม ใชวธิ กี ารแบบบุคลาธิษฐาน คือ ใหธรรมชาติ
แสดงอํานาจออกมาในนามของพระเจา กลาวคือ พระเจาเปนเหตุใหเกิดสิง่ ตางๆ และความเปนไปของสิง่ เหลานัน้ ก็บรรลุ
ถึงความดีสงู สุดได แตศาสนาประเภทอเทวนิยม เชน ศาสนาพุทธ กลับสอนใหโตแยงวิเคราะหหาเหตุผลของคําสอนกอน
จึงจะเชือ่ แลวปฏิบตั ติ าม
จุดมุง หมายสูงสุด
ศาสนาประเภทเทวนิยม เชน ฮินดู ยิว คริสต อิสลาม มีจดุ มุง หมายสูงสุดคือ เมือ่ คนเราตายไปแลว วิญญาณขึน้
สวรรค เกิดเปนเทวดาหรือเปนอันหนึง่ อันเดียวกับพระเจาตลอดไป ไมกลับมาเกิดในโลกมนุษยอกี เพราะมีแตความทุกข
ฉะนัน้ ศาสนิกชนของศาสนาประเภทเทวนิยมจึงพยายามทําความดีสงู สุด เพือ่ ใหไดบรรลุจดุ หมายสูงสุด คือ ไปเสวย
สวรรคในอาณาจักรแหงพระเจาตลอดไปชัว่ นิรนั ดร ศาสนาฮินดูเรียกภาวะทีจ่ ติ หลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดไปรวม
อยูก บั ปรมาตมันวา โมกษะ มุกติ นิรวาณ ไกรวัลย
สําหรับศาสนาประเภทอเทวนิยม เชน ศาสนพุทธ เปนตน จุดมุง หมายสูงสุด คือ นิพพาน หรือนิรวาน เปนสภาพจิต
ทีว่ า งเปลาจากกิเลส คือ โลภ โกรธ หลง เมือ่ บุคคลทีม่ สี ภาพจิตดังกลาวนีต้ าย วิญญาณหรือจิตของเขา ซึง่ มีสว น
ประกอบ 4 อยาง คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็หมดสภาพ ไมไปเกิดทีไ่ หนอีกเลย ผูถ งึ นิพพานจึงหมดสิน้ ทุกข
อันเกิดจาก เกิด แก เจ็บ ตาย โดยสิ้นเชิง สวรรคชน้ั สูงสุดของศาสนาพุทธ คือ ชัน้ พรหมนัน้ มีคา เทียบเทากับอาณาจักร
พระเจาในศาสนาฝายเทวนิยม สําหรับศาสนาพราหมณ วิญญาณของผูท ําความดีสงู สุดจะไดขน้ึ สวรรคชน้ั สูงสุด คือ
ไปรวมอยูก บั ปรมาตมันหรือมหาพรหม และอาจจะกลับมาเกิดเปนมนุษย สัตวไดอกี หลังจากไปบรรลัยกัลปซง่ึ ทําให
ทุกสิง่ ทุกอยางรวมทัง้ เทวะทุกประเภทสูญสิน้ สภาพ ยกเวนมหาพรหม วิญญาณก็จะออกจากปรมาตมัน ลงมาเกิดเปน
อาตมันใหมอกี เปนการครบรอบวงจรวัฏสงสาร จึงสรุปไดวา การบรรลุภาวะสูงสุดในศาสนาพราหมณกไ็ มเหมือนกับ
นิพพานในพุทธศาสนา เพราะนิพพานเปนสภาพทีส่ ญ ู สภาพเพราะสิน้ ปจจัยปรุงแตงแลว

ความคิดเรือ่ งพระเจา
ศาสนาฝายเทวนิยม
ศาสนาพราหมณ-ฮินดู แตเดิมเปนเอกเทวนิยมนับถือพระพรหมเพียงองคเดียวเปนผูใ หกําเนิดทุกสิง่ ทุกอยาง
มีอํานาจทุกสิง่ ทุกอยาง ตอมาศาสนาพราหมณกลายเปนพหุเทวนิยม นับถือเทพเจามากมาย พอถึงสมัยหลังพุทธกาล
ศาสนาพราหมณกลายเปนศาสนาฮินดู และมีลทั ธิตรีมรู ติเกิดขึน้ โดยพราหมณไดยกเอาพระนารายณกบั พระอิศวรให
เปนใหญเทากับพระพรหม โดยใหมีอํานาจหนาทีต่ า งๆ กัน คือ พระพรหมเปนผูส ราง พระนารายณเปนผูส งวนรักษาและ

23 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

พระอิศวรเปนผูท ําลาย นอกจากพระเจาทีย่ ง่ิ ใหญทง้ั สามนีแ้ ลว ชาวฮินดูยงั นับถือศักติ คือ ชายาของพระเจาดวย
โดยเฉพาะศักติของพระศิวะ ไดแก เจาแมกาลีทรุ คา เปนตน ศักติเปนฤทธิเดชของเทวะผูเ ปนสวามี แผไปถึงพระชายาดวย
เมือ่ เคารพนับถือสามีกย็ อ มนับถือภรรยาไปดวย
ศาสนายิว คริสต อิสลาม เปนเอกเทวนิยม มีพระเจาผูย ง่ิ ใหญมอี านาจศั
ํ กดานุภาพทุกสิง่ ทุกอยางเพียงองคเดียว
เทานัน้ และยังมีเทพบริวารซึง่ มีหนาทีป่ ฏิบตั ติ ามโองการของพระเจาโดยหลักการแลว ศาสนาทัง้ สามมีพระเจาและ
เทพบริวารชุดเดียวกัน สวนชือ่ อาจจะแตกตางกันบาง เหมือนกันบาง แตพฤติการณ เวลาและสถานทีเ่ ปนอันเดียวกัน
เชน ในเรือ่ งพระเจาศาสนายิวกับคริสต เปนพระเจาองคเดียวกัน คือ พระยะโฮวา แตศาสนาอิสลามมีชอ่ื ตางออกไป
คือ พระอัลเลาะห แตมเี ทพบริวารชือ่ ซํากั้ นหรือคลายกันกับของศาสนายิวและคริสต เชน เทพยิบรออิล เปนองคเดียวกับ
เทพกราเบียล ในศาสนายิวและคริสต จากหลักฐานในคัมภีรอ ลั กุรอานหลายแหง แสดงวา พระอัลเลาะหกบั พระยะโฮวา
เปนพระเจาองคเดียวกันนัน่ เอง
ศาสนาอเทวนิยม
ศาสนาฝายอเทวนิยม เชน ศาสนาพุทธ เชน ไมถอื วามีพระเจา แตยอมรับวามีเทวดา ในฐานะเปนสัตวชนิดหนึง่
แตสงู กวาสัตวมนุษย ยังมีกเิ ลสเชนเดียวกับมนุษยแตเบาบางกวา ผูท ส่ี งู กวาเทวดา คือ พระพุทธเจา และพระอรหันต
ทัง้ หลายผูส น้ิ กิเลสแลว พระเจาของศาสนาอเทวนิยม คือตัวเหตุปจ จัย เหตุปจ จัยนัน้ คือธรรมชาติ ซึง่ เปนตนกําเนิดของ
สรรพสิง่ ในสากลจักรวาล และสรรพสิง่ จะเปนไปอยางไร จะสิน้ สุดลงอยางไรก็แลวแตเหตุปจ จัยทีส่ งั เคราะหกนั เขาเปน
สรรพสิง่ นัน่ เอง พระเจาไมสามารถจะบันดาลอะไรได
ศีลหา
ศีลหาเปนพืน้ ฐานเบือ้ งตนของความประพฤติของมนุษยเปนหลักหรือกฎของการอยูร ว มกันของมนุษยทจ่ี าเป
ํ นอยางยิง่
จะขาดเสียมิได ถามนุษยขาดหลักศีลพืน้ ฐานนีแ้ ลวสังคมก็จะวุน วายหาความสงบสุขไมได เพราะมีแตการเบียดเบียน
รังแกกัน โลภเอาสมบัตขิ องคนอืน่ ไมเคารพในสิทธิใ์ นคูค รองของกันและกัน ขาดความสัตย มีแตการโกหกหลอกลวง
มีแตการเสพของมึนเมา ทําใหขาดความยัง้ คิดและความรูส กึ เยีย่ งมนุษยสามารถประพฤติรนุ แรงตางๆ นานา โดยไมรตู วั
ฉะนัน้ หลักศีลหาหรือกฎพืน้ ฐานของสังคม จึงมีอยูใ นหลายๆ ศาสนา เชน ศาสนาพุทธกับเชน มีหลักศีลหาเกือบจะ
เหมือนกันแทบทุกขอ สวนหลักศีลของศาสนายิวและคริสต ก็มหี ลักการใหญคลายๆ กับศีลหาของศาสนาพุทธกับเชน
ขอยกมาแสดงดังตอไปนี้
ยิว-คริสต พุทธ เชน
อยาฆา เวนจากการฆาสัตว เวนจากการเบียดเบียน
อยาลวงประเพณี เวนจากการลักทรัพย เวนจากการพูดเท็จ
อยาลักทรัพย เวนจากการประพฤติผดิ ในกาม เวนจากการลักทรัพย
อยาเปนพยานเท็จ เวนจากการพูดเท็จ เวนจากการเสพกาม
อยาโลภเอาของเขา เวนจากการดืม่ สุรา เวนจากความอยากได

24 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ความสัมพันธของศาสนายิว คริสตและอิสลาม
ศาสนาทัง้ สามมีความสัมพันธกนั หลายประการ จนทําใหสามารถสรุปไดวา เปนศาสนาเดียวกันแตตา งสมัยกันเทานัน้
คือ ศาสนายิวเกิดขึ้นประมาณ 1200 ป กอนคริสตศกั ราช เมื่อสมัยโมเสส ศาสนาคริสตเกิดขึ้นเมื่อ 4 ป กอนคริสต-
ศักราช ในสมัยพระเยซูและศาสนาอิสลามเกิดหลังคริสตศกั ราช ถึง 570 ป ในสมัยพระมูฮมั มัด ซึง่ เปนสมัยทีศ่ าสนายิว
และคริสต เผยแพรในดินแดนอาหรับแลว จะขอยกตัวอยางแหงความสัมพันธบางประการระหวางศาสนาทัง้ 3 พอสังเขป
ดังนี้
1. ศาสนาอิสลาม ยอมรับผูแ ทนของพระเจา (นบี) ซึง่ มีมาแลว 5 คน
- อาดัม มนุษยคนแรกทีพ่ ระเจาสรางขึน้ ตามคัมภีรเ ยนิซสิ ของยิว
- โนฮา ผูร อดชีวติ จากการทีพ่ ระเจาบันดาลใหนาท ้ํ วมโลกครัง้ แรก
- อับราฮัม บรรพบุรษุ ของยิวและมุสลิม
- โมเสส ผูป ระกาศบัญญัติ 10 ประการ
- เยซู ผูป ระกาศศาสนาคริสต พระมูฮมั มัดศาสดาผูป ระกาศศาสนาอิสลามโดยยอมรับเรือ่ งราวของพระนบี
ดังกลาวมาแลวนี้ ศาสนายิวและคริสต วาเปนบรรพบุรษุ ของตนและเปนศาสดาพยากรณของพระเจาองค
เดียวกัน ในคัมภีรอัล-กุรอาน มีใจความเกีย่ วของกับเรือ่ งราวของยิวและคริสตอยูห ลายตอน
2. ศาสนายิว คริสต อิสลาม เปนพัฒนาการตอเนือ่ งของแนวความคิดเกีย่ วกับการนับถือพระเจาองคเดียว เริ่มตน
ดวยศาสนายิวเปนเอกเทวนิยม นับถือพระยะโฮวาองคเดียวอยางเครงครัด เพือ่ ความเปนปกแผนของชาติยวิ ทีแ่ ตกแยก
จนไมอาจจะรวมกันเปนประเทศชาติเพือ่ ปกปองอธิปไตยของตนได ทําใหตอ งตกไปเปนทาสของชาติอน่ื หลังจากทีโ่ มเสส
ประกาศใหชาวยิวนับถือพระยะโฮวาเจาแตเพียงองคเดียว ก็ปรากฏวา ทําใหชาวยิวมีความสามัคคีอันดีขึ้น จนสามารถ
ตัง้ ตนเปนเอกราชและเจริญรุง เรืองขึน้ อีกครัง้ หนึง่ ในแผนดินปาเลสไตน จนกระทัง่ ตกไปเปนประเทศราชของโรมัน ใน
สมัยกอนทีพ่ ระเยซูจะอุบตั ิ
แนวความคิดเรือ่ งพระเจาองคเดียวนี้ ไดรบั การยําเตื ้ อนอีดครัง้ หนึง่ เมือ่ พระเยซูประกาศคําสอน เมือ่ เวลาลวงไป
1200 ป ซึง่ ไมคอ ยมีอะไรใหมมากนัก หลักใหญของคําสอนของพระเยซู ยังคลายๆ หลักเดิมของศาสนายิว พระเยซูได
ปฏิรปู ปรับปรุงใหเหมาะสมและรัดกุมยิง่ ขึน้ เชน บัญญัตเิ ดิมสอนวา "อยาฆาคน" พระเยซูไดดดั แปลงใหมละเอียดกวา
เดิมวา ไมควรโกรธเคืองหรือใชคําหยาบคาย ควรดีกนั เสียกอน แลวจึงไปถวายเครือ่ งบูชาพระเจา คําสอนของพระเยซู
บางขอก็เปนการกลับคําของพระเจาอยางหนามือเปนหลังมือ เชน ในคัมภีรเ กาใหลงโทษผูก ระทําผิดแบบแกแคน ถาทําให
เขาตาบอดก็ตอ งถูกลงโทษใหตาบอดดวย ทําใหเขาฟนหักก็ตอ งถูกลงโทษใหฟน หักดวย แตพระเยซูตอ ตานบัญญัตนิ ้ี
ทรงบัญญัตใิ หมความวา อยาทํารายโตตอบผูท าร ํ ายเรา เขาตบแกมขวาใหหนั แกมซายใหตบอีก เขาแยงของเราไปก็จงให
ของนั้นแกเขาเสีย
หลังจากทีศ่ าสนาคริสตเกิดขึน้ แลว กาลเวลาลวงไปไหนอีก 570 ป พระมูฮมั มัดก็ไดประกาศโองการของพระเจา
พระองคเดียวกันอีกครัง้ หนึง่ เพือ่ จะเตือนชาวอาหรับทีก่ าลั ํ งหลงใหลในพระเจาหลายองคทม่ี หาวิหารกาบะฮฺ ถึงกับคาด
โทษเอาทีเดียววา ผูน บั ถือเทพเจามากมายนัน้ จะถึงซึง่ ความวิบตั ิ แตกไ็ มไดทง้ิ บัญญัตเิ กาๆ ของศาสนายิวและคริสตเลย
คัมภีรอัล-กุรอานของศาสนาใหม คือ ศาสนาอิสลาม ก็เปนการสรุปเนือ้ ความจากคัมภีรเ กาของศาสนาทัง้ สองนัน่ เองและ
มีคาสอนใหม
ํ ๆ เพิม่ ขึน้ บางอีกสวนใหม ซึง่ ถือวาเปนพระคัมภีรท ส่ี มบูรณทส่ี ดุ กวาคัมภีรอ น่ื ๆ ทีเ่ คยประทานแกผอู นื่ มากอน

25 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ความสัมพันธของศาสนาพราหมณ พุทธและเชน
1. ศาสนาพราหมณและฮินดู เปนศาสนาประเภทพหุเทวนิยม มีพธิ กี รรมหยุมหยิมมากมาย เพือ่ เปนวิถที างเขาถึง
พระเจาหรือสวรรค พราหมณไดสรางพระเจาใหมอี านาจสู ํ งสุด มนุษยจงึ จําใจตองยอมตามทีพ่ ระเจาปรารถนาทุกอยาง
ทําใหสงั คมเดือดรอน เพราะถูกบังคับใหจาต ํ องทําพิธบี วงสรวงสังเวยดวยทรัพยสนิ และชีวติ ชาวฮินดูในระยะหลังๆ
จึงไมอาจจะทนตอความกดดันดังกลาวได จงมีบางพวกมีความคิดตอตานพระเจา
2. ศาสนาพุทธและเชน ปฏิเสธอํานาจของพระเจาวาไมไดเปนผูส ราง ไมไดเปนผูค วบคุมรักษา และไมไดเปน
ผูท าลาย
ํ ผูท มี่ อี านาจดั
ํ งกลาวนี้ คือตัวเราเอง ผูท ากรรมและผลของกรรมนั
ํ น่ แหละจะเปนตัวผูส ราง ผูค วบคุมและผูทาลาย

โดยแทจริง กรรมชัว่ ทีค่ นเราทําลงไปแลว ผูทาต ํ องไดรบั ผลตอบสนอง ไมสามารถลางบาปได โดยการทําพิธกี รรมตางๆ
ดังนั้นพิธีกรรมในศาสนาฮินดูจึงเปนโมฆะ
3. ศาสนาเชนยอมรับความเปนอมฤตภาพของวิญญาณ คือ คนตายแลว วิญญาณของผูท าดี ํ สงู สุดจะไดขน้ึ สวรรค
ไปอยูก บั พระเจาจนชัว่ นิรนั ดรเชนเดียวกับศาสนาฮินดู แตศาสนาพุทธเห็นวา ความคิดเชนนั้นผิด วิญญาณเปนอนิจจัง
มันจะดํารงอยูเ ปนนิรนั ดรไดอยางไร ในเมือ่ เหตุปจ จัยตางๆ ทีร่ วมตัวกันเปนวิญญาณไมสงั เคราะหเขาดวยกัน วิญญาณ
ก็จะสูญสภาพทันที (สุญตา)
4. ศาสนาพุทธกับเชน มีลกั ษณะเหมือนกันอยูป ระเด็นหนึง่ คือ ใหมเี มตตาตอมนุษย สัตว ไมใหเบียดเบียนรังแกกัน
ฉะนัน้ การฆาสัตวบชู ายัญ จึงผิดหลักการของทัง้ สองศาสนานี้ แตกตางจากศาสนาพราหมณและยิวทีห่ า มไมใหฆา ยกเวน
ฆาเพื่อบูชายัญ
5. ศาสนาพุทธไมเห็นดวยกับการทีน่ กั บวชทรมานตัวเองเกินไป จนบางทีนา สยดสยองและการเปลือยกายของนักบวช
ทําใหเปนทีน่ า รังเกียจของผูพ บเห็น มนุษยเปนสัตวสงั คมเมือ่ ยังอยูใ นสังคม มนุษยกค็ วรปฏิบตั ติ ามขนบธรรมเนียมประเพณี
ของมนุษย
6. ศาสนาพราหมณและฮินดู นับวามีอทิ ธิพลตอศาสนาพุทธและเชนมาก คําสอนบางอยางปรากฏวาเหมือนกัน
หรือคลายกัน เชน ศาสนาเชน นําเอาความคิดเรือ่ งปรมาตมันและอาตมันมาใช แตเปลีย่ นชือ่ วา ชีวะ คําสอนเรือ่ งกรรม
ในศาสนาเชนและพุทธก็คลายๆ กับกรรมในศาสนาฮินดู คือ คนเราจะไดดหี รือชัว่ ขึน้ อยูก บั กรรมของตน
7. ขนบธรรมเนียมตลอดจนพิธกี รรมตางๆ ของศาสนาฮินดู ไดถกู นํามาใชในหมูช าวพุทธมากมาย ลัทธิดนั ตระ
ของชาวฮินดูนบั วามีอทิ ธิพลตอชาวพุทธมาก ทําใหศาสนาทัง้ สองปนกันจนแยกไมออก เชน พิธกี รรมทางศาสนาพุทธ
เรือ่ งไสยศาสตรสําหรับชาวไทยไดรบั เอาวัฒนธรรมของฮินดูมาใชหลายทาง เชน ภาษาไทย ปจจุบนั มีภาษาบาลีสนั สกฤต
ปนอยูม ากทีส่ ดุ

26 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

รัฐและการจัดระเบียบการปกครองภายในรัฐ
รัฐและการปกครอง
รัฐ (State) หมายถึง ชุมชนทางการเมืองอันประกอบดวยดินแดนทีม่ อี าณาเขตแนนอน มีประชากรจํานวนหนึง่
อาศัยอยูแ ละมีรฐั บาลของตนเองเปนผูใ ชอานาจอธิ
ํ ปไตยหรืออํานาจปกครองเหนือดินแดน และประชากรภายในดินแดน
อยางเปนอิสระไมขน้ึ กับใคร
รัฐ ตางกับคําวา "ชาติ" อยางไร
ชาติ (Nation) เนนเกีย่ วกับวัฒนธรรมประเพณี เชือ้ ชาติ ภาษา ศาสนา และประวัตศิ าสตร สวนรัฐจะเนนเกีย่ วกับ
เรือ่ งการเมืองการปกครอง ตัวอยางเชน
- ประเทศไทยเปนรัฐรัฐหนึง่ เปนอันหนึง่ อันเดียวกัน แบงแยกมิได ขางตนนีค้ อื ขอความทีป่ รากฏในรัฐธรรมนูญ
- ชนชาติไทย เปนชนชาติทม่ี วี ฒ ั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามสืบตอจากบรรพบุรษุ ศาสนาพุทธ
เปนศาสนาประจําชาติ สรุปคือ เรียกประเทศวา รัฐ ในความหมายทางการเมือง เรียกประเทศวา ชาติ
ในความหมายทางสังคมวัฒนธรรม
องคประกอบของรัฐ
ชุมชนทางการเมืองทีม่ สี ภาพเปนรัฐ ตองมีองคประกอบ 4 ประการ
1. มีดนิ แดนทีม่ อี าณาเขตแนนอน พืน้ ทีห่ รือดินแดนนีจ้ ะมีขนาดเล็กหรือใหญกไ็ ด ตัวอยางเชน รัฐวาติกนั
มีพน้ื ทีเ่ พียง 0.44 ตารางกิโลเมตร สวนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีนมีพน้ื ทีก่ วาลานตารางกิโลเมตร เปนตน
2. มีประชากรอาศัยอยูจ านวนหนึ
ํ ง่ จะมากหรือนอยก็ได เชน วาติกนั มีจานวนประชากร
ํ 800 กวาคน จีนมีจานวน ํ
ประชากร 1,000 ลานกวาคน
3. มีอานาจอธิ
ํ ปไตย ซึง่ หมายถึง สูงสุดในการปกครองเปนของตนเอง ไมขน้ึ กับรัฐหนึง่ รัฐใด
4. มีรฐั บาล ซึง่ หมายถึงองคการและคณะบุคคลซึง่ ใชอานาจในการปกครอง
ํ เปนอิสระไมขนึ้ แกรฐั บาลของรัฐอืน่ ใด
ในบรรดาองคประกอบทัง้ 4 อยาง อํานาจอธิปไตยจัดวาเปนองคประกอบทีส่ าคั ํ ญทีส่ ดุ ความเปนรัฐจะสิน้ สุด
ลงทันทีเมือ่ รัฐตกไปอยูใ ตการปกครองของรัฐอืน่ เพราะแพสงครามหรือการเขาไปรวมตัว
อนึง่ คําวา "รัฐ" กับคําวา "ประเทศ" ก็ไมเหมือนกัน ประเทศเปนการเรียกรัฐทีเ่ ปนรัฐอยางสมบูรณดงั กลาว
ขางตนหรืออาจจะเรียกดินแดนทีย่ งั ไมเปนเอกราชวาประเทศก็ได ตัวอยางเชน กอนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เราเรียก
ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ทัง้ ๆ ทีข่ ณะนัน้ ทัง้ 2 ประเทศตกอยูภ ายใตการปกครองของประเทศฝรัง่ เศส
สรุป เรียกรัฐทุกรัฐอีกชือ่ หนึง่ วา ประเทศ แตคําวา ประเทศ ทุกประเทศไมจําเปนตองมีสภาพเปนรัฐ
รูปแบบของรัฐ
แตละรัฐทีม่ อี งคประกอบอยางเดียวกันอาจจะมีรปู แบบของรัฐ (Form of State) แตกตางกันได 2 รูปแบบ ดังนี้
1. เอกรัฐหรือรัฐเดีย่ ว (Unitary State)
2. สหพันธรัฐหรือรัฐรวม (Federal State)

27 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

1. รัฐเดีย่ ว หมายถึง รัฐทีม่ รี ฐั บาลเพียงรัฐบาลเดียว ใชอานาจปกครองดิ


ํ นแดนทัง้ หมดโดยรัฐบาลนัน้ อาจกระจาย
อํานาจใหทอ งถิน่ ใชบริหารกิจการของทองถิน่ ไดตามทีร่ ฐั บาลเห็นสมควร ตัวอยางเชน ประเทศไทย สิงคโปร ญีป่ นุ
ฟลปิ ปนสและอังกฤษ เปนตน
2. รัฐรวม หมายถึง รัฐทีม่ รี ฐั บาล 2 ระดับ คือ รัฐบาลกลาง อยูท เ่ี มืองหลวง ซึง่ มีอานาจในกิ
ํ จการสําคัญที่
เกีย่ วของกับประโยชนสว นรวมของประชาชน เชน เรือ่ งการเงิน การคลัง การตางประเทศ การปองกันประเทศ สวนรัฐบาล
มลรัฐ หรือ รัฐบาลทองถิน่ มีหนาทีเ่ พือ่ มลรัฐนัน้ ๆ โดยเฉพาะ เชน จัดเรือ่ งการศึกษา สาธารณสุขรักษาความสงบเรียบรอย
ภายในรัฐของตนตัวอยาง เชน สหภาพพมา ประเทศสหรัฐอเมริกา มาเลเซีย แคนาดา ออสเตรเลีย และสวิตเซอรแลนด
เปนตน กฎหมายตางๆ ทีอ่ อกมาจากแตละรัฐจะตองไมขดั แยงกับทางรัฐบาลกลาง
ประเภทของรัฐ
รัฐในโลกนีม้ จี ํานวนมากมายกายกอง มีขนาดเล็กใหญไมเทากัน บางรัฐมีเมืองอยูเ พียงเมืองเดียว มีประชากร
เพียงประชาชาติเดียวอาศัยอยู บางรัฐมีขนาดใหญ มีอํานาจปกครองเหนือหลายประชาชาติ ดังนัน้ เราจึงอาจจะแบง
ประเภทของรัฐตามขนาดและจํานวนประชากรออกไดเปน 3 ประเภทดวยกัน คือ
1. รัฐนคร (City-State) เปนรัฐเล็กๆ มีอาณาเขตจํากัดอยูเ พียงเมืองเดียวหรือนครเดียว ในอดีตมีมากใน
ประเทศอินเดียและประเทศกรีซ ปจจุบนั ไดแก รัฐวาติกนั และสาธารณรัฐสิงคโปร
2. รัฐประชาชาติ (Nation State) หมายถึง รัฐขนาดใหญ มีเมืองหรือนครหลายแหง มีอํานาจเหนือประชากร
ที่เปนชนชาติเดียวกัน รัฐประเภทนีเ้ กิดจาก
ก. การรวมตัวของรัฐนครหลายๆ รัฐ เชน ประเทศไทยในอดีตมีเมืองสุโขทัย อยุธยาเชียงใหม เปนเสมือน
รัฐนคร
ข. การแยกตัวเปนอิสระจากการเปนประเทศเมืองขึน้ เชน สหภาพพมา ซึง่ แยกมาจากอังกฤษ
ค. ประเทศทัว่ ๆ ไปทีเ่ ปนประเทศเอกราช และไมไดเปนประเทศทีม่ อี าณานิคม เชน ประเทศไทย ญีป่ นุ ฯลฯ
3. รัฐจักรวรรดิ (Imperial State) หมายถึง รัฐทีม่ อี านาจปกครองเหนื
ํ อประชาชาติตา งๆ หลายประชาชาติ กลาวคือ
เปนประเทศทีม่ เี มืองขึน้ แลวใชอานาจของตนเข
ํ าไปครอบงําดานการปกครอง ตัวอยางของรัฐประเภทนี้ เชน ประเทศ
อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน เนเธอรแลนด โปรตุเกส เปนตน ประเทศดังกลาวนีล้ ว นมีเมืองขึน้ อยูใ นทวีปเอเซียและแอฟริกา
ตลอดจนหมูเ กาะตางๆ ทางทะเลใต
หนาทีข่ องรัฐทีม่ ตี อ ประชาชน หนาทีข่ องประชาชนทีพ่ งึ มีตอ รัฐ
1. ใหความมัน่ คงปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ 1. มีความรับผิดชอบในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของรัฐ
2. ใหความมัน่ คงของประเทศโดยการรักษาเอกราช 2. ปฏิบตั ติ นใหถกู ตองตามกฎทีก่ าหนดไว

3. ใหความเปนธรรม ความเสมอภาคแกประชาชนทุกคน 3. มีสว นรวมในการรักษาเอกราชของรัฐ
4. ใหประชาชนไดมสี ทิ ธิเสรีภาพ 4. ชวยพิทกั ษผลประโยชนของสวนรวมเปนการรักษา
5. ใหสวัสดิการทีเ่ หมาะสม สาธารณะสมบัติ
6. สรางสัมพันธไมตรีกบั ตางประเทศ 5. ใหการบํารุงรัฐดวยการเสียภาษีอากร
7. จัดหารายไดเพือ่ บํารุงและพัฒนาประเทศ 6. มีสว นชวยพัฒนาประเทศ
8. จัดการดานธุรกิจบางประการเพือ่ ขจัดปญหาการผูกขาด
หนาทีข่ องรัฐในลักษณะขางตนนีเ้ ปนอํานาจทีร่ ฐั ไดมอบใหแกบคุ คลทีใ่ ชอานาจบริ
ํ หาร คือ คณะรัฐบาลเปนผูด าเนิ
ํ น-
งานโดยมีงานรับชวงในรูปแบบตางๆ

28 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การจัดระเบียบการปกครองภายในรัฐ
ระเบียบแบบแผนทางการปกครอง ทีร่ ะบุอานาจหน
ํ าทีข่ องสถาบันการปกครองตางๆ ไวอยางชัดเจน คือ "รัฐธรรมนูญ"
สถาบันปกครองทีส่ ําคัญโดยทัว่ ๆ ไป ไดแก
1. ประมุข มี 2 รูปแบบ คือ แบบมีพระมหากษัตริยเ ปนประมุข และแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข โดยทัง้ สอง
แบบนีอ้ ยูภ ายใตอํานาจรัฐธรรมนูญ
2. รั ฐสภา มีอานาจหน
ํ าทีใ่ นการออกกฎหมายและควบคุมการบริหารราชการแผนดินของคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล
3. คณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาล มีอํานาจหนาทีใ่ นการบริหารราชการแผนดิน และบังคับใชกฎหมายตางๆ
4. ศาล มีอํานาจหนาทีใ่ นการตัดสินคดีตา งๆ ใหเปนไปตามกฎหมาย
ประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตยมาตัง้ พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบนั โดยมีพระมหากษัตริยเ ปนประมุข
อยูภ ายใตรฐั ธรรมนูญ อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย
รูปแบบของรัฐ ตามรัฐธรรมนูญประเทศไทยเปนรัฐเดีย่ ว ใครจะมาแบงแยกไมได
รูปแบบการปกครอง ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซึง่ ประกอบดวยรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
และศาล
อํานาจและหนาทีข่ องรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล พอสรุปไดดงั นี้
รัฐสภา (อํานาจนิตบิ ญ
ั ญัติ) คณะรัฐมนตรี (อํานาจบริหาร) ศาล (อํานาจตุลาการ)
1. กําหนดกฎหมาย 1. นํากฎหมายไปใชปกครองประเทศ พิจารณาคดีความตางๆ ตาม
2. อนุมตั งิ บประมาณแผนดิน 2. นํางบประมาณแผนดินไปบริหาร กฎหมายทีร่ ฐั สภาไดกําหนดไว
3. พิจารณาการแตงตัง้ คณะรัฐมนตรี แผนดินตามอํานาจหนาทีท่ ร่ี บั อยางเครงครัด
4. ตัง้ กระทูถ ามคณะรัฐมนตรี ผิดชอบ
เมื่ อ ฝ า ยบริ ห ารไม ป ฏิ บั ติ ต าม
กฎหมาย
5. เปดประชุมเพือ่ ลงมติไมไววางใจ
คณะรัฐมนตรีได

รูปแบบของระบบการเมืองการปกครอง
ระบบการเมืองการปกครองทีส่ ําคัญในแตละรัฐจะมีลกั ษณะแตกตางกันไป ระบบทีส่ ําคัญมีอยู 2 ระบบ คือ
ระบบประชาธิปไตยกับระบบเผด็จการ การทีร่ ฐั ใดรัฐหนึง่ จะใชระบบการเมืองการปกครองแบบใด มักจะเปนผลจาก
ประสบการณทางประวัตศิ าสตร สภาพแวดลอมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความคิด หรืออุดมการณ
ของชนชั้นผูนาและประชาชนในประเทศนั
ํ น้ ๆ นอกจากระบบการเมืองการปกครองยังมีสว นสัมพันธกบั ระบบเศรษฐกิจ
ซึง่ มี 2 ระบบ คือ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

29 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

หลักการพิจารณารูปแบบการปกครอง ใหพจิ ารณาจากอํานาจสูงสุด คือ อํานาจอธิปไตยวาตกไปอยูก บั ผูใ ด ฝายใด


ดังแยกได ดังนี้
1. ปกครองโดยบุคคลคนเดียว กลาวคือ บุคคลผูเปนผูใชอํานาจสูงสุด มีรปู แบบการปกครอง 2 แบบ ไดแก
1.1 สมบูรณาญาสิทธิราชย (Absolute Monarchy) พระมหากษัตริยท รงเปนผูม อี านาจเด็
ํ ดขาดในการปกครอง
และสืบทอดตําแหนงโดยการสืบสันตติวงศ
1.2 เผด็จการ (Dictatorship) ผูป กครองมีอานาจเด็
ํ ดขาด มาโดยการปฏิวตั ยิ ดึ อํานาจหรือไดมาจากการ
เลือกตัง้ จากประชาชนเพิม่ อํานาจตนภายหลัง
2. การปกครองโดยชนกลุม นอย แบงเปน
2.1 แบบอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) หรือพวกชนชัน้ สูง
2.2 คณาธิปไตย (Oligarchy) เพือ่ กลุม ผลประโยชนพวกตน
2.3 คอมมิวนิสต (Communism) โดยกลุม พรรคคอมมิวนิสต
3. การปกครองโดยคนกลุม มาก คือ การปกครองในรูปแบบประชาธิปไตย ประชาชนเปนผูใชอํานาจสูงสุด
โดยการเลือกตัวแทนไปบริหารประเทศ หากไมพอใจเรียกอํานาจคืนได การปกครองประเภทนีก้ ระทําเพื่อผลประโยชน
ของคนสวนใหญ
หลักการสําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบตางๆ
แบบรัฐสภา แบบประธานาธิบดี แบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี
1. รัฐบาลถูกจัดตัง้ จากสภาผูแ ทนราษฎร 1. ทัง้ ฝายนิตบิ ญั ญัติ และฝายบริหาร 1. มีลกั ษณะผสมผสานระหวางระบบ
หัวหนาพรรคการเมืองที่มีเสียงขาง ตางไดรบั เลือกโดยตรงจากประชาชน รัฐสภาและระบบประธานาธิบดี
มากเด็ดขาดในสภาดํารงตําแหนง 2. ประธานาธิบดีมีอํานาจในการแตงตัง้ 2. รัฐบาลประกอบดวยประธานาธิบดี
นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีรวมคณะในการบริหาร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นเพื่อ
2. คณะรัฐมนตรีจะเขาดํารงตําแหนงได ประเทศไดโดยอิสระ ใชอานาจบริ
ํ หารรวมกับประธานาธิบดี
ตอเมือ่ ไดรบั ความไววางใจจากรัฐสภา 3. รัฐสภาไมมีอํานาจเหนือฝายบริหาร โดยนายกรัฐมนตรีไดรับแตงตัง้ จาก
หากรัฐสภาไมใหความไววางใจ ทีส่ ําคัญ คือ รัฐสภาไมมีอํานาจ ประธานาธิบดี
คณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาลตองลาออก ในการลงมติไมไววางใจรัฐบาลและ 3. รัฐสภามีอํานาจควบคุมการบริหาร
3. รัฐสภามีอํานาจหนาที่ในการควบคุม ในขณะเดียวกันรัฐบาลไมมสี ทิ ธิใน ของคณะรัฐมนตรีได ถารัฐสภาลง
การบริหารราชการแผนดินของฝาย การยุบสภาผูแ ทนราษฎร ทัง้ อํานาจ มติไมไววางใจ นายกรัฐมนตรีและ
บริหาร นิตบิ ญั ญัตแิ ละอํานาจบริหาร รัฐมนตรีตอ งลาออก สวนประธานา-
4. ฝายบริหารมีอํานาจในการควบคุม ตางแยกจากกันโดยเด็ดขาด ธิบดียงั คงดํารงอยูใ นตําแหนงไดจน
ฝายนิตบิ ญั ญัตหิ รือรัฐสภาดวยการ ครบวาระ
ยุบสภา ผูแ ทนราษฎรไดทง้ั อํานาจ
นิตบิ ญั ญัตแิ ละอํานาจบริหารตาง
เปนอิสระและควบคุมซึ่งกันและกัน

30 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

เปรียบเทียบลักษณะรูปแบบการปกครองระหวางระบอบประชาธิปไตยและเผด็จการ

ประชาธิปไตย เผด็จการ
1. ในวิถชี วี ติ วิธีดาเนิ
ํ นชีวติ หรือวัฒนธรรมทีย่ ดึ หลัก 1. ในวิถชี วี ติ คือ คนเราแตกตางกันโดยธรรมชาติ คนที่
ความเสมอภาค เสรีภาพ และภราดรภาพของบุคคล มีความสามารถมากกวายอมมีสทิ ธิและโอกาสมากกวา
เปนหลักในการดําเนินชีวิต ใชเหตุในการแกปญ  หา ผูด อ ยกวาตองเชือ่ ฟงและปฏิบตั ติ ามผูท เ่ี หนือกวา
รับฟงความคิดเห็นของผูอ น่ื เสมอ ยอมรับเสียงขางมาก นิยมใชอํานาจในการตัดสินปญหาความขัดแยง ถือวา
ใชการประนีประนอม มีนํ้าใจ ประชาธิปไตย คือ บูชา ประโยชนของรัฐสําคัญกวาสิง่ อืน่ ใด และเชื่อวาโดย
เสรีภาพ เสมอภาคและเห็นคุณคาศักดิศ์ รีแหงความ ธรรมชาติแลวมนุษยไมมเี หตุผล ไมสามารถปกครอง
เปนมนุษยเสมอกัน ตนเองไดตอ งอาศัยผูน าํ
2. ในเชิงอุดมการณทางการเมือง หมายถึง ระบบความคิด 2. ในเชิงอุดมการณและการเมือง หมายถึง แนวความคิด
และการเมืองทีถ่ อื วาบุคคลมีความเสมอภาค มีเสรีภาพ และการเมืองทีใ่ หความสําคัญสูงสุดแกรฐั และผูน าที ํ ่
มนุษย มีความสามารถ มีสติปญ  ญาและเหตุผล เปนตัวแทนรัฐ รัฐจะเปนผูถ า ยทอดความดี ความเจริญ
ความสุข ความปลอดภัยแกราษฎร
3. ในเชิงรูปแบบการปกครอง หมายถึง ระบบการ 3. ในเชิงรูปแบบการปกครอง หมายถึง การปกครองแบบ
ปกครองทีถ่ อื วา รวมอํานาจไวทผ่ี นู าํ ใชอานาจในการปกครองเด็
ํ ดขาด
- ประชาชนมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ จํากัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน จํากัดการมีสว นรวม
โดยประชาชนมอบอํานาจแกผแู ทน (ส.ส.) ไปใช ทางการเมืองของประชาชน
อํานาจอธิปไตยแทนตนเอง ลักษณะทั่วไปของลัทธิเผด็จการ
- ประชาชนตองมีสว นรวมในการปกครองทัง้ ทางตรง เผด็จการมีหลายแบบ แตมลี กั ษณะรวม ทีส่ าคั ํ ญดังนี้
และทางออม คือ - มนุษยไมเทาเทียมกันโดยธรรมชาติ ผูด อ ยกวาตอง
ทางตรง เปน ส.ส. เปนสมาชิกพรรคการเมือง เชือ่ ฟงและปฏิบตั ติ ามผูเ หนือกวา
ทางออม ตรวจสอบรัฐบาลไดและวิพากวิจารณเสนอแนะ - ผลประโยชนของรัฐโดยสวนรวมสําคัญกวาผล
ติชมรัฐบาล เชน องคกรกลางและโพลตางๆ ประโยชนของประชาชน
- รัฐเปนสิง่ สูงสุด รัฐถายทอดความดี ความเจริญ
ความปลอดภัยใหแกประชาชน
- มนุษยโดยธรรมชาติแลวไมมีเหตุผล ไมสามารถ
ปกครองตนเองได ตองใหผนู าที ํ ม่ คี ณ
ุ สมบัตพิ เิ ศษ
ปกครอง
4. คนมีความเทาเทียมกัน (ทางการเมือง) โดยอํานาจ 4. บุคคลไมเทาเทียมกันทัง้ ทางสังคมและทางการเมือง
ของกฎหมาย ถือกฎหมายเปนมาตราฐานในการ ประชาชนเปนเพียงกลไกของรัฐ และพรอมทีจ่ ะปฏิบตั ิ
ดําเนินการปกครอง แตไมเทาเทียมกัน (ทางสังคม) ตามคําสัง่ ของรัฐโดยไมมเี งือ่ นไข
คือ ฐานะ อาชีพ ตําแหนง

31 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ประชาธิปไตย เผด็จการ
5. มีพรรคการเมืองหลายพรรค 5. พรรคการเมืองมีพรรคเดียว
ขอดี คุณคาของความเปนมนุษยสมบูรณ ไดปกครอง ขอดี รวดเร็วทันใจมีประสิทธิภาพในการตัดสินใจและ
ตนเอง ใชสทิ ธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค การทํางานทันสถานการณ
ขอเสีย ลาชาหลายขัน้ ตอน ไมทนั กับสถานการณใน ขอเสีย คนขาดความกระตือรือรนขาดชีวิตจิตใจมีชีวิต
บางครัง้ อยูไ ปวันๆ
- ไมมคี ณ
ุ คาของการเปนมนุษยเลยเพราะไมไดใช
สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค
สิง่ ทีเ่ หมือนกันทัง้ ระบอบประชาธิปไตย - ระบอบเผด็จการ คือ
1. มีชนชั้นและการคอรัปชั่นทั้ง 2 ระบบ
2. มีพรรคการเมือง รัฐธรรมนูญ และการเลือกตัง้ ทัง้ 2 ระบบ
(เปนองคกรทางการเมืองทัว่ ไป แตของประชาธิปไตยกําหนดไวชดั เจนแนนอนกวา)
ประชาชนกับระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยประชาชนเปนบุคคลสําคัญ เพราะมีสว นรวมกําหนดนโยบายการบริหาร
ประเทศและการบริหารประเทศดังแผนภูมติ อ ไปนี้
แสดงความตองการ เสนอ
ประชาชน ผูแทนราษฎร รัฐบาล

ผลประโยชน
กําหนดนโยบาย

ดําเนินการปฏิบัติ ขาราชการประจํา สงไปให


กระทรวง ทบวง กรม

แผนภูมคิ วามสัมพันธระหวางประชาชนกับรัฐบาลเผด็จการ

กําหนด
รัฐบาล นโยบาย สงไป หนวยงานรัฐ บังคับ ประชาชน

ปฏิบตั ติ ามคําสัง่ เพือ่ ผลประโยชนของรัฐบาล

32 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แผนภูมกิ ารตรากฎหมายในการปกครองระบอบประชาธิปไตย

เลือก ผูแทนราษฎร รวมกัน สงให


ประชาชน สภาผูแทนพิจารณากฎหมาย คณะรัฐบาล

รัฐ
คณะรัฐบาลใชกฎหมาย

แผนภูมกิ ารตรากฎหมายในระบบเผด็จการทีม่ ตี อ ประชาชน

รัฐบาลตองการใชกฎหมาย สง สภารางกฎหมาย บังคับ ประชาชน

ทําตามกฎหมายทีร่ ฐั ตองการ

ตารางเปรียบเทียบขอดี ขอเสียของระบอบประชาธิปไตยและระบอบเผด็จการ
ขอดี ขอเสีย
ระบอบประชาธิปไตย 1. เปดโอกาสใหประชาชนสวนขางมากดําเนิน 1. มีความลาชาในการตัดสินใจ ทําการตางๆ
การปกครองประเทศ ตองมีการปรึกษาหารือและผานขัน้ ตอนมาก
2. เปดโอกาสใหประชาชนทุกคนใชสทิ ธิเสรี- 2. ตองเสียคาใชจา ยในการดําเนินการปกครอง
ภาพไดอยางเสมอภาคกัน มาก
3. ถือกฎหมายเปนมาตรฐานในการดําเนิน 3. อาจนําไปสูค วามสับสนวุน วายได ถาไมรจู กั
การปกครอง ใชสทิ ธิเสรีภาพใหอยูภ ายในกรอบกฎหมาย
4. ชวยระงับความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับ
ประชาชน และระหวางประชาชนดวย
กันเอง โดยสันติวธิ ี
ระบอบเผด็จการ 1. รัฐบาลสามารถตัดสินใจทําการอยางใด 1. เปนการปกครองโดยบุคคลคนเดียว หรือ
อยางหนึง่ ไดรวดเร็วกวาระบอบประชา- กลุม เดียวเพือ่ ประโยชนสว นตนและพวกพอง
ธิปไตย 2. มีการใชอํานาจเผด็จการกดขีแ่ ละลิดรอน
2. แกปญ หาบางอยางไดมปี ระสิทธิผลกวา สิทธิเสรีภาพ
ระบอบประชาธิปไตย 3. ทําใหคนดีมคี วามสามารถทีไ่ มใชพวกพอง
ไมมีโอกาสดํารงตําแหนงสําคัญ
4. อาจนําประเทศชาติไปสูค วามพินาศได

33 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แผนภูมแิ สดงโครงสรางของระบอบการเมืองการปกครอง
ระบอบการเมืองการปกครอง

ประชาธิปไตย เผด็จการ

ประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิปไตยทางออม เผด็จการอํานาจนิยม เผด็จการเบ็ดเสร็จนิยม

แบบรัฐสภา แบบทหาร แบบนาซี


แบบประธานาธิบดี แบบพลเรือน แบบฟาสซิสต
แบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา แบบคอมมิวนิสต

หลักเศรษฐกิจกับระบอบการปกครอง
ทุนนิยม

- ดั้งเดิม
ทุนนิยมเผด็จการ ทุนนิยมประชาธิปไตย - รัฐสวัสดิการ
เผด็จการ ประชาธิปไตย

เผด็จการสังคมนิยม สังคมนิยมประชาธิปไตย (สังคมนิยมเสรี)


(ระบบคอมมิวนิสต)
สังคมนิยม

1. ระบบทุนนิยมสวัสดิการ ทุนนิยมสมัยใหม ทุนนิยมประชาธิปไตย


การเมือง →  ประชาธิปไตยโดยแท
เศรษฐกิจ →  บุคคลมีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ มีกรรมสิทธิใ์ นทรัพยสนิ ใชกลไกตลาด กลไกราคา แตรฐั
เขาแทรกแซงเพือ่ ใหเกิดความเปนธรรมในระบบเศรษฐกิจ เชน การจัดตัง้ รัฐวิสาหกิจ การกําหนดคาแรงงานขัน้ ตํา่ การให
จัดตัง้ สหภาพแรงงาน การประกันราคาพืชผล กิจกรรมบางอยางทีก่ ระทบคนสวนใหญรฐั อาจเอามาทําเอง เชน การขนสง
มวลชน ทาเรือ ไฟฟา ประปา รัฐจัดสวัสดิการตางๆ ในการรักษาพยาบาล การศึกษา และอนุญาตใหเอกชนมีสทิ ธิทํา
ควบคูไ ปกับรัฐไดดว ย

34 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

- ใหเสรีภาพแกบคุ คลในการรวมกลุม อยางกวางขวางและกลุม ทางเศรษฐกิจสังคมเหลานีจ้ ะพัฒนาไปสูพ รรคการเมือง


และกลุม ผลประโยชน
- รัฐมีหนาทีใ่ นการสนองตอบตอความตองการของกลุม ตางๆ ในสังคม และคอยปกปองคุม ครอง ไมใหเกิด
การละเมิดสิทธิระหวางกันดวย
- เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญีป่ นุ ออสเตรเลีย
2. ระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย
การเมือง →  ประชาธิปไตย
เศรษฐกิจ →  สังคมนิยมโดยพืน้ ฐานยังใชหลักกลไกราคาในการกําหนดการผลิต แตรฐั แทรกแซงมาก
ในเรือ่ งการแบงปนผลประโยชนทางเศรษฐกิจ โดยวิธกี ารเก็บภาษีอากร โดยยึดหลักวาผูม รี ายไดมากตองเสียภาษีสงู
รวมทัง้ ระบบประกันรายไดและสวัสดิการ
- วางแผนดําเนินการทางเศรษฐกิจมาก แตไมเครงครัดเทาสังคมนิยมคอมมิวนิสต
- รัฐโอนกิจการสําคัญๆ มาดําเนินการเอง ในระดับทีม่ ากกวาระบบที่ 1
- ใชระบบสหกรณอยางมีประสิทธิภาพทัง้ ดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ
- กรณีวา งงาน รัฐจะจายเงินเดือนขัน้ ตํ่าทีป่ ระกันไวไมใหเดือดรอน
- รัฐใหสวัสดิการสําคัญแกประชาชนโดยไมคิดมูลคา โดยใชจา ยเงินจากทีร่ ฐั เก็บมาในรูปภาษีทค่ี อ นขางสูง ทําให
รายไดบคุ คลไมตา งกันมาก
- รัฐสนับสนุนใหมพี รรคการเมืองทีเ่ ปนตัวแทนของกรรมกรและเมือ่ ไดเปนรัฐบาลก็จะออกกฎเกณฑทอ่ี ยูใ นอํานาจ
ในการดําเนินการตางๆ ตามจุดมุง หมายได
- เชน นอรเวย สวีเดน อังกฤษ ในชวงทีพ่ รรคแรงงานไดเปนรัฐบาล
3. ระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสตหรือเผด็จการสังคมนิยม
การเมือง →  พรรคคอมมิวนิสตเพียงพรรคเดียว ประชาชนมีเสรีภาพเทาทีร่ ฐั กําหนดให
เศรษฐกิจ →  รัฐเขาถือกรรมสิทธิใ์ นปจจัยการผลิตทุกอยาง ยกเวน แรงงาน
- เอกชนมีกรรมสิทธิใ์ นทรัพยสนิ บางอยางทีเ่ ปนทรัพยสว นตัว เชน วิทยุ เสือ้ ผา รถจักรยานนอกนัน้ เปนของสังคม
สวนรวม
- รัฐเขาดําเนินการทางเศรษฐกิจเกือบทัง้ หมด ภายใตแผนเศรษฐกิจทีร่ ฐั กําหนดไวอยางเขมงวด รัฐหรือสังคมจะ
เปนผูใ หความมัน่ คงแกชวี ติ รายไดและสวัสดิการตามทีร่ ฐั หรือสังคมเห็นสมควร สนับสนุนใหใชชวี ติ รวมกันใน
คอมมูนทีร่ ฐั กําหนดไว
- ไมใชกลไกราคา หากการผลิตกับความตองการไมสมดุลก็ไมปลอยใหราคาเปลีย่ นแปลง แตใชวธิ ปี น สวน
(เขาแถวรอซือ้ สินคา) เปนการบังคับใหออมโดยอัตโนมัติ
- หลักการสําคัญไดรบั อิทธิพลจากแนวความคิดของมารกซและเลนิน ความเชื่อของกลุมนี้คือ ระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยม เปนระบบทีเ่ ลวรายจําเปนตองกําจัด
- ภาระในการกําจัดสังคมทุนนิยมนัน้ เปนของชนชัน้ กรรมาชีพหรือกรรมกร ภายใตการนําของพรรคคอมมิวนิสต
- เชน อดีตสหภาพโซเวียต กอนลมสลายใน พ.ศ. 2534 จีน คิวบา

35 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

4. ระบบเผด็จการทุนนิยม
การเมือง →  ระบอบเผด็จการ
เศรษฐกิจ →  ใชระบบทุนนิยม
- มักเปนประเทศกําลังพัฒนาหรือประเทศเกิดใหมหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยผูน ําตองการผลักดันใหประเทศ
ตนมีความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ จึงพยายามพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมตามแบบอยางประเทศตะวันตก
โดยการสรางแรงจูงใจตางๆ เพือ่ ใหนกั ลงทุนตางชาติเขามาลงทุนมากขึน้ เชน การลดหยอนภาษีอากร การจัด
นิคมอุตสาหกรรมและสาธารณูปโภคใหครบครัน
- มักมีปญ  หาทางดานการเมือง การปกครอง อันเนือ่ งมาจากการแกงแยงอํานาจในระหวางผูน ําดวยกัน การรัฐ-
ประหารโคนลมอํานาจเกิดขึ้นบอยครั้ง และมักมีหวั หนารัฐบาลเปนผูบ ญ
ั ชาการเหลาทหาร
- ผูนําจะพยายามออกกฎหมายจํากัดเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน โดยอางเหตุผลวาเพือ่ สรางบรรยากาศ
การลงทุนจากตางชาติ สวนภาคเอกชนก็ยงั มีเสรีภาพในทางเศรษฐกิจพอสมควรตราบใดทีไ่ มกระทบกระเทือน
ตอเสถียรภาพทางการเมืองของผูน ํา
- เชน ไทยในยุคจอมมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เกาหลีใตสมัยประธานาธิบดีปก จุงฮี อารเจนตินาในยุคจอมพลเปรอง
รูปแบบการปกครองของไทย
คนไทยในปจจุบันมีความรูแ ละความตืน่ ตัวในเรือ่ งการเมืองการปกครองมากขึน้ อยางทีไ่ มเคยปรากฏมากอน ดังจะ
เห็นไดวา รายการวิทยุ รายการโทรทัศน นิตยสารสิง่ พิมพตา งๆ ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นตอ
เรือ่ งการบริหารบานเมืองเปนจํานวนมาก
นับเปนขอดีประการหนึง่ ของความเปนประชาธิปไตย ที่ประชาชนไดเขามามีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้น
คงปฏิเสธไมไดวาความตื่นตัวดังกลาวเปนผลมาจากความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยีดานการสื่อสารที่ทาให ํ ประชาชน
สามารถรับรูข อ มูลขาวสารไดอยางกวางขวางและเทาเทียมกัน
มีสง่ิ หนึง่ ซึง่ เปนความรูพ น้ื ฐานสําหรับประชาชนและเยาวชนไทยทีค่ วรทราบ คือ รูปแบบการปกครองไทยทีอ่ าจ
ตองมาทบทวนกัน เพราะยังมีคนอีกเปนจํานวนมากเกิดความสับสนและเขาใจผิดวาประเทศไทยมี 76 จังหวัด
แมกระทัง่ หนังสือแบบเรียนของนักเรียนในระดับประถมศึกษาก็ยงั อธิบายไวไมถกู ตองเชนกัน จึงเปนภาระของ
กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง ซึง่ ทํางานเกีย่ วของกับเรือ่ งดังกลาว ตองอธิบายถึงรูปแบบการปกครองไทย
เพือ่ สรางความเขาใจทีถ่ กู ตองดังนี้
การจัดระเบียบการปกครองของไทย ยึดหลักสากลทีใ่ ชในประเทศตางๆ ทั่วโลก 3 หลักดวยกัน คือ
1. หลักการรวมอํานาจ (Centralization)
2. หลักการแบงอํานาจ (Deconcentration)
3. หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization)

36 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

มาใชและไดตราเปนพระราชบัญญัตจิ ดั ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ฉบับลาสุดทีม่ กี ารแกไขปรับปรุง คือ


ฉบับป พ.ศ. 2534 แบงการปกครองเปน 3 สวน คือ
1. การบริหารราชการสวนกลาง ใชหลักการรวมอํานาจ ไดแก กระทรวง ทบวง กรม ตางๆ เปนเรือ่ งของการ
กําหนดนโยบาย การวางแผน และการกํากับดูแลราชการสวนภูมภิ าคและทองถิน่
2. การบริหารราชการสวนภูมิภาค ใชหลักการแบงอํานาจ ไดแก จังหวัด และอําเภอ เปนตัวแทนของราชการ
สวนกลางทีส่ ง ไปปฏิบตั หิ นาที่ เพือ่ แกไขปญหาและสนองตอบความตองการของประชาชนในภูมภิ าค (สวนกิง่ อําเภอ
ตําบล และหมูบ า น ไดกําหนดไวในพระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครองทองที่ 2457 ซึง่ เปนสวนยอยของสวนภูมภิ าค หรือ
จะเรียกวา การปกครองทองทีก่ ไ็ ด)
3. การบริหารราชการสวนทองถิน่ ใชหลักการกระจายอํานาจ เปนการจัดใหประชาชนไดปกครองตนเอง โดยเฉพาะ
บริการดานสาธารณะในเรือ่ งตางๆ เชน ดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม
เปนตน มี 6 รูปแบบ ไดแก
- เทศบาล
- องคการบริหารสวนจังหวัด (อ.บ.จ.)
- กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา (รูปพิเศษ 2 แบบ)
- สุขาภิบาล
- องคการบริหารสวนตําบล (อ.บ.ต.)
ซึง่ ในอนาคตก็คงตองปรับปรุงใหเหลือรูปแบบนอยลง โดยมีเปาหมายทีร่ ปู แบบเทศบาล ซึง่ สอดคลองกับระบบ
รัฐสภาของประเทศ จะเห็นไดวา ถาพิจารณาจากการบริหารราชการสวนภูมภิ าค คือ จังหวัดและอําเภอ ตามกฎหมาย
ประเทศไทยเรามี 75 จังหวัด (ขอมูลประชาสัมพันธของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ 31 ธันวาคม 2538
มี 75 จังหวัด 749 อําเภอ 81 กิง่ อําเภอ 7,255 ตําบล 66,079 หมูบ า น) สวนกรุงเทพมหานคร (กทม.) นั้น คือ รูปแบบ
หนึง่ ของการบริหารราชการสวนทองถิน่ จึงไมนบั เปนจังหวัดทีเ่ ปนราชการสวนภูมภิ าค

37 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ประวัตกิ ารปกครองของประเทศไทย และการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองไทย


ราชธานี
เมืองศรีสัชนาลัย
สมัยสุโขทัย + พอปกครองลูก หัวเมืองชั้นใน เมืองสองแคว
( พ.ศ. 1792 - 1981) (เมืองลูกหลวง)
หัวเมืองชั้นนอก เมืองสระหลวง
(เมืองพระยามหานคร)
หัวเมืองประเทศราช เมืองซากังราว
หัวเมืองชั้นใน
พระเจาอูทอง พระบรมไตรโลกนาถ เมืองพระยามหานคร
หัวเมืองประเทศราช
สมัยอยุธยา + สมมติเทพ กรมเวียง (ความสงบ)
-
เทวราชา (พ.ศ. 1893 2310) การปกครองสวนกลาง กรมวัง (ตัดสินคดี,ราชสํานัก)
กรมคลัง (การคลัง,การเงิน)
กรมนา (ที่นา)
พระบรมไตรโลกนาถ
เมืองชั้นเอก
พระเจาเอกทัศน การปกครองสวนภูมิภาค เมืองชั้นโท
เมืองชั้นตรี

การปกครองหัวเมืองประเทศราช

สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 4 สมมติเทพ (เชนเดียวกับกรุงศรีอยุธยา) + ทศพิธราชธรรม


(พ.ศ. 2325 - 2475)
รัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 6 สมบูรณาญาสิทธิราชย สวนกลาง (12 กระทรวง)
+ ทศพิธราชธรรม สวนภูมิภาค (ระบบเทศาภิบาล)
รัชกาลที่ 7 - ปจจุบัน ประชาธิปไตย โดยยึดหลัก เอกภาพ เสมอภาค ปลอดภัย
เสรีภาพ เศรษฐกิจ การศึกษา
(หลัก 6 ประการของคณะราษฎร)

38 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

โครงสรางการปกครองระบบเมืองลูกหลวงในสมัยสุโขทัย

ศรีสชั นาลัย

นครชุม สุโขทัย สองแคว

สระพลวง

เมืองราชธานี
เมืองลูกหลวงสีท่ ศิ (หัวเมืองชัน้ ใน)
เมืองพระยามหานคร (หัวเมืองชั้นนอก)
เมืองประเทศราช
โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (สวนกลาง)
พระมหากษัตริย

สมุหพระกลาโหม สมุหนายก

กรมชาง กรมมา กรมชางสิบหมู กรมอาสา นครบาล ธรรมมาธิการณ โกษาธิบดี เกษตรธิการ


(เวียง) (วัง) (คลัง) (นา)

39 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การปกครองอาณาจักรแบบรวมศูนยอํานาจในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั (สวนภูมภิ าค)

หัวเมืองชัน้ นอก เมืองประเทศราช

โท
หัวเมืองชัน้ ใน ตรี

เขตราชธานี เขตราชธานี

หัวเมืองชัน้ นอก

การปฏิรปู การปกครอง พ.ศ. 2435


สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั หลัง พ.ศ. 2435 (สวนกลาง)

พระมหากษัตริย องคมนตรีสภา
รัฐมนตรีสภา

กลาโหม มหาดไทย นครบาล วัง การตางประเทศ เกษตรพาณิชยการ

ธรรมการ พระคลัง ยุทธนาธิการ ยุติธรรม โยธาธิการ มุรธาธร

40 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

โครงสรางความสัมพันธของการปกครองสวนภูมภิ าคในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั
เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย

สมุหเทศาภิบาล มณฑล

ขาหลวง เมือง

นายอําเภอ อําเภอ

กํานัน ตําบล

ผูใหญบาน หมูบาน

41 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แสดงโครงสรางของกรุงเทพมหานคร
ประชาชน (เลือกตัง้ )

ผูว า ราชการกรุงเทพมหานคร สภากรุงเทพมหานคร


(ฝายบริหาร) (ฝายนิตบิ ญ
ั ญัต)ิ
รองผูว า ราชการกรุงเทพมหานคร
ปลัดกรุงเทพมหานคร

สํานักตางๆ สํานักงานเขต สภาเขต

เมืองพัทยา เปนระบบการปกครองทองถิน่ รูปแบบพิเศษ ซึง่ มีปลัดเมืองพัทยา ซึง่ เปนนักบริหารมืออาชีพทีร่ บั จาง


เขามาจัดดําเนินการและมีสภาเมืองพัทยาเปนฝายนิตบิ ญ
ั ญัติ โดยเลือกตัง้ คนหนึง่ ใหเปนนายกเมืองพัทยา
แตไมมอี านาจบริ
ํ หาร ทําหนาทีเ่ ปนเพียงตัวแทนในพิธกี ารตางๆ และเปนประธานทีป่ ระชุมสภาพัทยา
เหลานัน้

แสดงโครงสรางของเมืองพัทยา
เมืองพัทยา

ปลัดเมืองพัทยา วาจางโดยสัญญา สภาเมืองพัทยา

รองปลัดเมืองพัทยา สมาชิกจากการเลือกตั้ง 9 คน สมาชิกจากการแตงตั้ง 8 คน

กอง กอง กอง

42 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

กฎหมาย
กฎหมาย คือ กฎเกณฑหรือขอบังคับของรัฐทีใ่ ชควบคุมความประพฤติของบุคคลในสังคม
ลักษณะของกฎหมาย
1. กฎหมายตองเปนขอบังคับ คําสัง่ หรือขอหามไมใหกระทํา
2. กฎหมายตองเปนขอบังคับความประพฤติของสมาชิกในสังคมทุกคน
3. กฎหมายตองมีสภาพบังคับ มีบทลงโทษ
4. กฎหมายตองมาจากรัฐาธิปต ย
ประเภทของกฎหมาย
1. ใชองคกรจัดทํากฎหมายเปนเกณฑ แบงไดดงั นี้ (โดยเรียงตามลําดับความสําคัญ)
- กฎหมายทีจ่ ดั ทําโดยองคกรพิเศษ คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญ
- กฎหมายทีอ่ อกโดยองคกรฝายนิตบิ ญั ญัติ คือ พระราชบัญญัติ
- กฎหมายทีอ่ อกโดยองคกรฝายบริหาร คือ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ
และคําสัง่ ตางๆ
- กฎหมายทีอ่ อกโดยองคกรสวนทองถิน่ คือ ขอบัญญัติ เทศบัญญัติ และขอบังคับของสุขาภิบาล
2. ใชลกั ษณะความสัมพันธระหวางคูก รณีเปนเกณฑ ในการแบง
- กฎหมายเอกชน ระหวางเอกชน-เอกชน เชน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
- กฎหมายมหาชน ระหวางเอกชน-รัฐ เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา
- กฎหมายระหวางประเทศ ระหวางรัฐ-รัฐ หรือเอกชนของรัฐหนึง่ กับอีกรัฐหนึง่ แบงออกเปน แผนกคดีเมือง
และแผนกคดีบคุ คล
3. ใชบทบาทหรือหนาทีข่ องกฎหมายเปนเครือ่ งแบง
- กฎหมายสารบัญญัติ เชน ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
- กฎหมายวิธสี บัญญัติ เชน ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา หมายถึง วิธกี ารฟองตามคดีอาญา

43 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ความหมายและความสําคัญของ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญคืออะไร?
รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดของประเทศซึง่ กําหนดการจัดการของประเทศและรับรองสิทธิและเสรีภาพบาง
ประการของประชากรของประเทศ
ทําไม? จึงเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ
ทีว่ า "รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ" เพราะเปนแมบทของการบัญญัตกิ ฎหมาย เมือ่ บทบัญญัตขิ อง
กฎหมายใดขัดแยงกับบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญ กฎหมายนัน้ ยอมไมมผี ลบังคับใชอยางแนนอน หรือเปนโมฆะนัน่ เอง
งานราชการแผนดินของรัฐบาลจะตองเปนไปตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญเทานัน้
สําหรับบทบัญญัตทิ ส่ี าคั
ํ ญของรัฐธรรมนูญ โดยทัว่ ไปนัน้ จะบัญญัตริ ากฐานสําคัญในการปกครองประเทศไว 3 ทาง
คือ
1. บัญญัตถิ งึ การพิจารณาออกกฎหมายทีเ่ รียกวา อํานาจนิตบิ ญ ั ญัติ
2. บัญญัตถิ งึ การพิจารณาออกกฎหมายใชอานาจปกครองประเทศที
ํ เ่ รียกวา อํานาจบริหาร
3. บัญญัตถิ งึ การใชอานาจพิ
ํ จารณาพิพากษาคดีทเ่ี รียกวา อํานาจตุลาการ
นอกจากนีแ้ ลวยังกําหนดรูปของรัฐวา จะเปนรัฐอันหนึง่ อันเดียวกันหรือเปนสหรัฐ และกําหนดฐานะประมุขของรัฐวา
ประมุขของรัฐจะมีพระมหากษัตริย มหาจักรพรรดิหรือประธานาธิบดี รวมไปถึงบทบัญญัตเิ กีย่ วกับสิทธิและหนาทีข่ อง
พลเมือง
วัตถุประสงคของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
1. กําหนดรูปของรัฐ
2. กําหนดลักษณะและหนาทีข่ องสถาบันการเมืองของรัฐ เชน ลักษณะและหนาทีข่ องประมุขของรัฐ ลักษณะ
และหนาทีข่ องสภานิตบิ ญ
ั ญัตขิ องคณะรัฐมนตรีของศาล
3. กําหนดความสัมพันธระหวางสถาบันการเมืองของรัฐ
4. การใหประชาชนมีสว นรวมในการปกครองประเทศ
5. การคุม ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
รัฐธรรมนูญ แบงออกเปนประเภทใหญๆ คือ
1. แบงแยกตามลักษณะของรัฐธรรมนูญ ซึง่ ไดแก
ก. รัฐธรรมนูญลายลักษณอกั ษร
ข. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี
2. แบงแยกตามวิธแี กไขเพิม่ เติมรัฐธรรมนูญ ไดแก
ก. รัฐธรรมนูญแกไขเพิม่ เติมงาย
ข. รัฐธรรมนูญแกไขเพิม่ เติมยาก

44 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ประชาชนกับรัฐธรรมนูญ
การจัดทํารัฐธรรมนูญโดยวิธใี หราษฎรมาลงคะแนนเสียงแสดงประชามติมปี ระโยชน คือ
1. เพือ่ ชีใ้ หเห็นวา ประชาชนเปนเจาของอํานาจอธิปไตยอยางแทจริง หรือเพือ่ ใหมกี ารจัดทํารัฐธรรมนูญทีส่ อดคลอง
กับรูปการปกครองของประเทศประชาธิปไตย
2. เพือ่ ใหประชาชนมีสว นชวยจัดทํารัฐธรรมนูญ ทําใหรฐั ธรรมนูญนัน้ มีคา เพิม่ มากขึน้ เพราะไดรบั ความเห็นชอบจาก
ประชาชนสวนใหญ
กรอบเบือ้ งตนของรางรัฐธรรมนูญ
สภารางรัฐธรรมนูญไดแบงกลุม ปญหาทีร่ า งรัฐธรรมนูญใหมจะตองหยิบมาแกไขปรับปรุงเปน 3 กลุม ดวยกัน คือ
1. การขยายความคุม ครองในสิทธิเสรีภาพพืน้ ฐานใหกวางขวางและเปนจริงกวาเดิม รวมทัง้ การทบทวนแกไข
กําหนดภารกิจและการจัดราชการของรัฐใหชดั เจนเทาทันตอปญหาของบานเมือง
2. การปรับปรุงกลไกตรวจสอบการใชอํานาจรัฐใหมีประสิทธิภาพทัง้ ในสวนของการจัดการกับผูท จุ ริตประพฤติ
มิชอบและในสวนทีเ่ ปนหลักประกันสิทธิเสรีภาพของราษฎร
3. การทบทวนการปกครองโดยระบบผูแ ทนทัง้ ระบบ ทัง้ ระบบพรรคการเมือง การเลือกตัง้ และระบบรัฐบาล
เพื่อเอื้ออํานวยหรือสงเสริมใหไดมาซึง่ การปกครองทีร่ บั ผิดชอบ สุจริตและมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้
ประชาชนไดอะไรจากรัฐธรรมนูญใหม
1. สิทธิในความเปนผูเปนคน 4. การปฏิรปู ระบบผูแ ทน
2. การปฏิรปู ราชการ 5. การขจัดความทุจริตในบานเมือง
3. การปฏิรปู "ศาล" และระบบตรวจสอบ
ประเภทของกฎหมายแบงตามลักษณะสภาพบังคับ
กฎหมายทุกประเภททีบ่ ญ ั ญัติ หรือตราขึน้ มาใชบงั คับยอมตองมีวตั ถุประสงคทจ่ี ะใหการใชบงั คับไดจริงจังหรือ
ทีเ่ รียกวา ความศักดิส์ ทิ ธิข์ องกฎหมาย จึงอาจแยกตามสภาพบังคับเปน 2 ลักษณะ คือ กฎหมายอาญาและกฎหมายแพง
1. กฎหมายอาญา เปนกฎหมายวาดวยความผิดและตองมีโทษตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ วในกฎหมายอาญา ความผิดใน
ทางอาญา คือ การกระทําความผิดทีก่ ระทบกระเทือนความสงบเรียบรอยของสวนรวมหรือของมหาชน จึงอาจกลาวไดวา
กฎหมายอาญาเปนสาขาหนึง่ ของกฎหมายมหาชน
ความผิดและโทษในทางอาญานัน้ จะตองถือเปนหลักสําคัญวา บุคคลจะรับโทษอาญาก็ตอ เมือ่ ไดกระทําการอัน
กฎหมายซึง่ ใชในขณะกระทํานัน้ บัญญัตวิ า เปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษทีจ่ ะลงแกผกู ระทําความผิดตองเปน
โทษทีบ่ ญ ั ญัตไิ วในกฎหมาย
ความผิดในทางอาญาก็กําหนดไวตามประมวลกฎหมายอาญาและความผิดตามกฎหมายอืน่ ๆ ทีก่ ําหนดความผิด
และมีโทษในทางอาญา คือ ประหารชีวติ จําคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพยสนิ
2. กฎหมายแพง ลักษณะของความรับผิดในทางการแพงนัน้ แตกตางกับความผิดในทางอาญา กลาวคือ ความ
รับผิดในทางแพงหรือการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย จะไมมโี ทษในทางอาญา เพราะคดีใน
ทางแพงเปนเรือ่ งเกีย่ วกับสิทธิและหนาทีข่ องบุคคลเทานัน้ ความผิดในทางแพง จะมีโทษเพียงใหบคุ คลนัน้ ไดรบั ความ
เสียหายในทางแพงเทานัน้ เชน เสียสิทธิ ชดใชคาเสียหาย หรือจายคาสินไหมทดแทน

45 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ตัวอยาง ชายหญิงเปนสามีภรรยากันแตไมไดจดทะเบียนสมรส กฎหมายจะไมรบั รูว า เปนสามีภรรยากันทัง้ สองฝาย


จะไมเกิดสิทธิและหนาทีอ่ นั พึงจะไดรบั ตามกฎหมายแตอยางใดเลย เชน เมือ่ ฝายใดฝายหนึง่ ตายลงอีกฝายหนึง่ ก็ไมมสี ทิ ธิ
รับมรดกของอีกฝายหนึง่
กฎหมายอาญากับความผิดอาญา
กฎหมายอาญา หมายถึง กฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญา ผูก ระทําความผิดตามทีบ่ ญ ั ญัตใิ นประมวลกฎหมาย
อาญาจะถูกลงโทษอาญา
โทษอาญา โทษสําหรับลงแกผกู ระทําความผิดอาญา มีดงั นี้
1. ประหารชีวติ 2. จําคุก 3. กักขัง 4. ปรับ 5. ริบทรัพยสนิ
ความผิดทางอาญา มี 2 ชนิด ไดแก
1. ความผิดตอสวนตัว ซึง่ ยอมความกันได เชน ความผิดฐานหมิ่นประมาท
2. ความผิดตอแผนดิน ซึง่ ยอมความไมได เชน ความผิดฐานลักทรัพย
หมายเหตุ ความผิดอาญา ยังหมายถึงความผิดทีม่ โี ทษอาญา โดยอาจเปนความผิดตามกฎหมายอืน่ นอกเหนือจาก
ความผิดตามกฎหมายอาญา เชน ความผิดตามกฎหมายเลือกตัง้ ความผิดเกีย่ วกับภาษีอากรและสรรพ-
สามิต ซึง่ มีโทษอาญา คือ จําคุกหรือปรับหรือทัง้ จําทัง้ ปรับ
รัฐสภา
รัฐธรรมนูญกําหนดใหประเทศไทยปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา คือ ใหมรี ฐั สภาเปนหลักใน
การปกครอง ซึง่ นอกจากทําหนาทีพ่ จิ ารณาบัญญัตกิ ฎหมาย และเปนตัวแทนแสดงเจตนารมณแทนประชาชนแลวยังเปน
สถาบันทีท่ ําหนาทีค่ ดั เลือกนายกรัฐมนตรี และควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล
องคประกอบของรัฐสภา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัตใิ หรฐั สภาประกอบดวย
สภาผูแ ทนราษฎรและวุฒสิ ภา
สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร (สส.) และสมาชิกวุฒสิ ภา (สว.) ตางไดรบั เลือกตัง้ จากประชาชน เพือ่ ทําหนาทีป่ กครอง
ประเทศแทนประชาชน โดยมีสิทธิ หนาทีแ่ ละวิธปี ฏิบตั ทิ เ่ี หมือนกันและทีต่ า งกัน ดังนี้
1. จํานวนสมาชิกและอายุของสภา
สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร (สส.) สมาชิกวุฒสิ ภา (สว.)
1. จํานวนสมาชิกทัง้ หมด 500 คน ประกอบดวยสมาชิก 1. จํานวนสมาชิก 200 คน มาจากการเลือกตัง้ ทัง้ หมด
ซึง่ มาจากการเลือกตัง้ แบบบัญชีรายชือ่ 100 คน
กับสมาชิกซึง่ มาจากการเลือกตัง้ แบบแบงเขต 400 คน
2. ประธานสภาผูแ ทนราษฎร เปนประธานรัฐสภา 2. ประธานวุฒสิ ภา เปนรองประธานวุฒสิ ภา
3. มีอายุคราวละ 4 ป นับจากวันเลือกตัง้ 3. มีอายุคราวละ 6 ป นับจากวันเลือกตัง้
4. เลือกครบอายุแลวตองมีการเลือกตัง้ ใหมภายใน 45 วัน 4. เมือ่ ครบอายุแลวตองมีการเลือกตัง้ ใหมภายใน 30 วัน
สส. ทัง้ หมดพนจากหนาทีใ่ นทันทีทส่ี ภาหมดอายุ สว. ทีห่ มดอายุแลวยังคงทําหนาทีต่ อ ไปจนกวา
ชุดใหมจะเขารับหนาที่

46 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร (สส.) สมาชิกวุฒสิ ภา (สว.)


5. พระมหากษัตริยท รงมีพระราชอํานาจทีจ่ ะยุบสภา 5. ไมมกี ารยุบวุฒสิ ภา
ผูแ ทนราษฎร ตามทีน่ ายกรัฐมนตรี ถวายคําแนะนํา
6. เมือ่ มีการยุบสภาหรือตําแหนงวางลงกอนสิน้ อายุสภา 6. เมือ่ ตําแหนงวางลงกอนสิน้ อายุสภาตองมีการเลือกตัง้
ตองมีการเลือกตัง้ แทนภายใน 60 วัน (เวนแตอายุสภา แทนภายใน 45 วัน (เวนแตอายุสภาจะเหลืออยูไ มถงึ
จะเหลืออยูไ มถงึ 180 วัน) 180 วัน)
ระบบรัฐสภา
เสนอราง เสนอถอดถอน
กฎหมาย ประชาชน
เลือกตัง้

กกต. สภาผูแทน วุฒิสภา ปปช.

เลือก (ถอด) นายก ออกกฎหมาย แตงตั้งและ


ถอดถอน
บุคคลตําแหนง
สําคัญ
นายกเลือก (ถอด) รมต.

กํากับ
บริหารราชการแผนดิน กํากับ

กฎหมายเลือกตัง้
การเลือกตัง้ หมายถึง การทีป่ ระชาชนเลือกบุคคลไปทําหนาทีบ่ ริหารบานเมืองในระดับตางๆ ตามทีก่ ฎหมายบัญญัตไิ ว
เชน เลือกไปทําหนาทีบ่ ริหารประเทศ ในฐานะเปนสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒสิ ภา เลือกไปทําหนาทีบ่ ริหารจังหวัด
ในฐานะเปนสมาชิกสภาจังหวัด เลือกไปทําหนาทีบ่ ริหารเมืองในเขตเทศบาล ในฐานะเปนเปนสมาชิกสภาเทศบาล เลือกไปทํา
หนาทีบ่ ริหารตําบล ในฐานะสมาชิกสภาตําบล เปนตน
ผูท าหน
ํ าทีจ่ ดั ใหมกี ารเลือกตัง้ ดําเนินการและควบคุมการเลือกตัง้ ทุกประเภท เรียกวา คณะกรรมการการเลือกตัง้
(กกต.)

47 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.)
องคประกอบ คณะกรรมการการเลือกตัง้ ประกอบดวย ประธานกรรมการ 1 คน กับกรรมการอืน่ อีก 4 คน
ซึง่ พระมหากษัตริยท รงแตงตัง้ ตามคํากราบบังคมทูลฯ แนะนําของวุฒิสภา จากผูซ ง่ึ มีความเปนกลางทางการเมืองและ
มีความซือ่ สัตยสจุ ริตเปนทีป่ ระจักษตามกระบวนการสรรหาซึง่ กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ (ประธานวุฒสิ ภาเปนผูล งนามรับ
สนองพระบรมราชโองการแตงตัง้ )
คุณสมบัติ คณะกรรมการการเลือกตัง้ ตองมีคณ ุ สมบัตแิ ละไมมลี กั ษณะตองหามตอไปนี้
1. มีสญั ชาติไทยโดยการเกิด
2. อายุไมตากว
่ํ า 40 ปบริบรู ณ
3. สําเร็จการศึกษาไมต่ากวํ าปริญญาตรีหรือเทียบเทา
4. ไมเปนบุคคลตองหามมิใหใชสทิ ธิเลือกตัง้ หรือสมัครรับเลือกตัง้ เปนสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร
5. ไมเปนสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร สมาชิกวุฒสิ ภา ขาราชการการเมือง สมาชิกสภาทองถิน่ หรือผูบ ริหารทองถิน่
6. ไมเปนหรือเคยเปนสมาชิกผูดํารงตําแหนงอืน่ ของพรรคการเมืองในระยะ 5 ป กอนดํารงตําแหนง
7. ไมเปนผูต รวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการ
ศาลปกครอง กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติหรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน
8. ไมอยูใ นระหวางตองหามมิใหดารงตํ
ํ าแหนงทางการเมือง เนือ่ งจากจงใจไมยน่ื บัญชีแสดงรายการทรัพยสนิ
และหนีส้ นิ และเอกสารประกอบหรือยืน่ เท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงทีค่ วรแจงใหทราบ
9. พนกําหนด 5 ป หลังจากเคยถูกวุฒสิ ภามีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนง
การกระทําอันตองหาม กรรมการการเลือกตัง้ ตอง
1. ไมเปนขาราชการซึง่ มีตาแหน
ํ งหรือเงินเดือนประจํา หรือพนักงาน หรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือขาราชการสวนทองถิน่
2. ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุน สวน บริษทั หรือองคการทีด่ าเนิ
ํ นธุรกิจโดยมุง หาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน
หรือเปนลูกจางของบุคคลใด
3. ไมประกอบวิชาชีพอิสระอืน่ ใด
วาระการดํารงตําแหนง
กกต. มีวาระการดํารงตําแหนง 7 ป และดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว
คุณสมบัติของผูมีสิทธิเลือกตั้ง
1. สัญชาติไทย (ผูแ ปลงสัญชาติ ตองไดสญ ั ชาติไทยมาแลวไมนอ ยกวา 5 ป)
2. อายุไมตากว ่ํ า 18 ปบริบรู ณ ในวันที่ 1 มกราคมของปทม่ี กี ารเลือกตัง้
3. มีชอ่ื อยูใ นทะเบียนบานในเขตเลือกตัง้ มาแลวไมนอ ยกวา 90 วัน นับถึงวันเลือกตัง้
4. ไมมลี กั ษณะตองหามอยางใดอยางหนึง่ ตอไปนีใ้ นวันเลือกตัง้
- วิกลจริตหรือจิตฟน เฟอนไมสมประกอบ
- เปนภิกษุ สามเณร นักพรตหรือนักบวช
- ตองคุมขังอยูโ ดยหมายของศาลหรือโดยคําสัง่ ทีช่ อบดวยกฎหมาย
- อยูใ นระหวางถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตัง้

48 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แผนภูมกิ ระบวนการพิจารณารางพระราชบัญญัติ
คําวา "ยุติ" หมายความวาใหนายกรัฐมนตรีดาเนิ
ํ นการเพือ่ ประกาศใชกฎหมายได
เสนอรางพระราชบัญญัติ
ตองเริ่มตนเสนอใหม
สภาผูแทนราษฎรพิจารณา
ตกไป
เห็นชอบ ไมเห็นชอบ
ตองเสร็จภายใน 60 วัน แตถาเปนราง พรบ. เกี่ยวกับการเงิน ตองภายใน 30 วัน
วุฒิสภาพิจารณา และอาจมีมติเลื่อนออกไปเปนกรณีพิเศษไดอีก 30 วัน

เห็นชอบ แกไข ไมเห็นชอบ


ยุติ หรือพิจารณาไมแลวเสร็จ
ภายในกําหนด
สภาผูแทนราษฎร ยับยั้ง สงคืนไปสภาผูแทนราษฎร

เห็นชอบ ไมเห็นชอบ
ยุติ
ทั้งสองสภาตั้งคณะกรรมาธิการรวมขึ้นคณะหนึ่งจากสภาละ
เทาๆ กันตามจํานวนที่สภาผูแทนราษฎรกําหนด เพื่อทําหนาที่
พิจารณาแลวเสนอรางที่ทําขึ้นไปยังสภาทั้งสอง

สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา

ไมเห็นชอบ เห็นชอบ ไมเห็นชอบ

ยับยั้ง ยุติ ยับยั้ง

หลังจาก 180 วัน สภาผูแทนราษฎรสามารถนํามาพิจารณาใหม (พรบ. การ


เงินไมตองรอ ทําไดทันที) เมื่อมีมติเสียงขางมากอยางไรถือเปนที่สุดตามนั้น

ยุติ

49 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

พระราชกําหนดใชบังคับไดตอไป
ถาสภาผูแ ทนราษฎรและวุฒสิ ภาอนุมตั หิ รือถาวุฒสิ ภาไมอนุมตั ิ แตสภาผูแ ทนยืนยันการอนุมตั ดิ ว ยคะแนนเสียง
มากกวากึง่ หนึง่ ของจํานวนสมาชิกทัง้ หมดเทาทีม่ อี ยูข องสภาผูแ ทนราษฎร ใหพระราชกําหนดนัน้ มีผลใชบงั คับตอไปอยาง
ถาวรเชนเดียวกับพระราชบัญญัติ
แผนภูมกิ ระบวนการออกและการใชพระราชกําหนด
คณะรัฐมนตรี

พระราชกําหนด ใชบังคับเปนกฎหมายไดทันที
แตตองเสนอใหรัฐสภาอนุมัติโดยไมชักชา

สภาผูแทนราษฎร

อนุมัติ ไมอนุมัติ

วุฒิสภา ตกไป
ใชตอไปไมได
อนุมัติ ไมอนุมัติ แตไมกระเทือนกิจการ
ที่ไดเปนไปแลว

สภาผูแทนราษฎร

ยืนยัน ไมยืนยัน
(คะแนนเสียงเกินครึง่ ) (คะแนนเสียงไมเกินครึง่ )

ใชบังคับ
ไดตอไปเหมือน
พระราชบัญญัติทั่วไป

50 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ศาล
ศาลมีอํานาจพิพากษาอรรถคดีตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย
ศาลทุกศาลตัง้ ขึน้ โดยพระราชบัญญัติ แตจะออกพระราชบัญญัตเิ พือ่ พิจารณาพิพากษาคดี หรือขอหาอยางใด
อยางหนึง่ โดยเฉพาะแทนศาลซึง่ มีอํานาจพิจารณาอยูแ ลวไมได
ผูทําหนาทีพ่ จิ ารณามีคาสัํ ง่ หรือตัดสินคดี เรียกวา ผูพ พิ ากษาหรือตุลาการ
ศาลไทยในปจจุบนั มี 4 ประเภท ไดแก
1. ศาลรัฐธรรมนูญ
2. ศาลยุตธิ รรม
3 ศาลปกครอง
4. ศาลทหาร
1. ศาลรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน กับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอืน่ อีก 14 คน
ใหดํารงตําแหนงมีวาระ 9 ป ซึง่ พระมหากษัตริยท รงแตงตัง้ ตามคําแนะนําของวุฒิสภา
มีอานาจหน
ํ าที่สําคัญ คือ
1. ควบคุมมิใหกฎหมายตางๆ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ เพือ่ รักษาความเปนกฎหมายสูงสุด
2. วินจิ ฉัยชีข้ าดปญหาเกีย่ วกับอํานาจหนาทีร่ ะหวางองคกรตางๆ ตามรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยถือเปนเด็ดขาด
3. วินจิ ฉัยวา ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองจงใจไมยน่ื บัญชีแสดงรายการทรัพยสนิ และหนีส้ นิ และเอกสาร
ประกอบหรือจงใจยืน่ เท็จหรือปกปดขอเท็จจริงทีค่ วรแจงใหทราบ (เมือ่ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหงชาติเสนอใหวนิ จิ ฉัย)
4. วินจิ ฉัยวา สมาชิกภาพของ สส. หรือ สว. สิน้ สุดลง (เมื่อประธานสภานั้นๆ สงคํารองที่ สส. หรือ สว.
เขาชื่อกันรองวา ผูน น้ั ขาดสมาชิกภาพตามทีร่ ฐั ธรรมนูญบัญญัติ)
2. ศาลยุตธิ รรม คือ ศาลซึง่ เปนทีร่ จู กั กันทัว่ ไปมาแตดง้ั เดิม มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทง้ั ปวง เวนแตคดีท่ี
กฎหมายบัญญัตวิ า เปนคดีทอ่ี ยูใ นอํานาจของศาลอืน่ เชน ศาลปกครอง ศาลทหาร เปนตน
ชัน้ ของศาลยุตธิ รรม ศาลยุตธิ รรม มี 3 ชั้น ไดแก
1. ศาลชั้นตน คือ ศาลทีม่ อี านาจพิ ํ จารณาพิพากษาคดีในชัน้ ตน เชน ศาลแขวง ศาลจังหวัด ศาลอาญา
ศาลแพง กระจายอยูต ามภูมภิ าคตางๆ
2. ศาลอุทธรณ คือ ศาลสูงถัดจากศาลชัน้ ตน ซึง่ มีอานาจพิ ํ จารณาพิพากษาบรรดาคดีทอ่ี ทุ ธรณ คําพิพากษาของ
ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณตง้ั อยูใ นกรุงเทพมหานคร แตมขี อบเขตรับผิดชอบทัว่ ราชอาณาจักร โดยแบงเปนศาลอุทธรณ
และศาลอุทธรณภาค 1-3
3. ศาลฎีกา คือ ศาลสูงสุด ซึง่ มีอานาจพิ ํ จารณาพิพากษาบรรดาคดีทอ่ี ทุ ธรณคาพิํ พากษาของศาลอุทธรณมศี าลเดียว
ในกรุงเทพมหานคร คําพิพากษาของศาลฎีกา ถือวาสิน้ สุดจะฟองรองตอไปอีกไมได เวนแตกรณีทผ่ี ทู ต่ี อ งคําพิพากษาให
ไดรบั โทษทางอาญา จะทูลเกลาฯ ถวายเรือ่ งตอพระมหากษัตริยไ ด เรียกวา ทูลเกลาฯ ถวายฎีกา
3. ศาลปกครอง มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทเ่ี ปนขอพิพาทระหวางทางราชการกับเอกชน หรือระหวางทาง
ราชการดวยกันเอง ซึง่ เปนขอพิพาทเนือ่ งมาจากการกระทําหรือละเวนการกระทํา ซึง่ ตองปฏิบตั ติ ามกฎหมายหรือซึง่ ตอง
รับผิดชอบในการปฏิบตั หิ นาทีต่ ามกฎหมายบัญญัติ

51 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

คําวา "ทางราชการ" หมายถึง หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิน่ หรือเจาหนาที่


ของรัฐทีอ่ ยูใ นบังคับบัญชา หรืออยูใ นกํากับดูแลของรัฐบาล
1. ชัน้ ของศาลปกครอง
ศาลปกครองมี 2 ชัน้ ไดแก ศาลปกครองกับศาลปกครองสูงสุด หรืออาจจะมีศาลปกครองชัน้ อุทธรณอกี ดวยก็ได
2. คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบดวยบุคคลตอไปนี้
1. ประธานศาลปกครองสูงสุด เปนประธาน
2. กรรมการผูท รงคุณวุฒิ 9 คน ซึง่ เปนตุลาการในศาลปกครอง และไดรบั เลือกจากตุลาการในศาลปกครอง
ดวยกันเอง
3. กรรมการผูท รงคุณวุฒิ ซึง่ ไดรบั เลือกจากวุฒสิ ภา 2 คน และจากคณะรัฐมนตรี 1 คน
4. ศาลทหาร
ศาลทหารมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทางทหารและคดีอน่ื ตามกฎหมายนัน้ การแตงตัง้ และการให
ตุลาการศาลทหารพนจากตําแหนงใหเปนไปตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ

52 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบทีถ่ กู ตอง
1. ขอใดไมใชองคประกอบของสังคม
1) บุคคลใดบุคคลหนึง่ 2) บริเวณเขตแดนทีแ่ นนอน
3) มีความสัมพันธระหวางบุคคล 4) มีวฒ ั นธรรมอยางเดียวกัน
2. เครือ่ งมือในการควบคุมสังคมทีด่ ที ส่ี ดุ คืออะไร
1) บรรทัดฐาน 2) กฎหมาย 3) วิถชี าวบาน 4) กฎศีลธรรม
3. แนวการประพฤติหรือการติดตอระหวางกันและการทําหนาทีส่ นองความตองการและความจําเปนของสังคมทีแ่ บงไว
เปนหมวดหมูต ามประเภทของความตองการทีจ่ ําเปนในสังคม คือขอใด
1) การปกครอง 2) สถาบันสังคม 3) บรรทัดฐาน 4) โครงสรางสังคม
4. กลุม ปฐมภูมมิ คี วามสําคัญตอสังคมอยางไร
1) สรางความเปนระเบียบใหกบั คนหมูม าก 2) เปนกลุม สังคมทีจ่ าเป
ํ นตอสังคมเมือง
3) เปนกลุม สังคมกลุม แรกทีส่ มาชิกสังคมมีสว นรวม 4) สรางความมัน่ คงปลอดภัยใหแกสมาชิกสังคม
5. อะไรเปนองคประกอบสําคัญใน "กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม"
1) บรรทัดฐาน สถาบัน การควบคุม 2) บรรทัดฐาน บทบาท กลุม สังคม
3) บรรทัดฐาน สถาบัน สถานภาพ 4) บรรทัดฐาน สถานภาพ บทบาท
6. ขอใดไมใชภาพพจนของสังคมไทยในปจจุบนั นี้
1) รสนิยมสูง 2) ชอบคนควาทดลอง 3) การศึกษาคอนขางตํ่า 4) ไมนยิ มอพยพเคลือ่ นยาย
7. นักวิชาการตะวันตกมองสังคมไทยวาเปนสังคมทีม่ วี ฒ ั นธรรมออน หมายความวาอยางไร
1) เปนวัฒนธรรมผสม 2) เปนวัฒนธรรมทีข่ ดั แยงกัน
3) เปนวัฒนธรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงเร็ว 4) เปนวัฒนธรรมทีไ่ มเครงครัดและผสมผสาน
8. ขอใดไมจดั เปนความตองการขัน้ พืน้ ฐานในการดํารงชีวติ ของมนุษย
1) ปจจัยสี่ 2) ความมัน่ คงปลอดภัย
3) ความสัมฤทธิผ์ ลในพฤติกรรม 4) ความรํารวย ่ มัง่ คัง่
9. ผลทีเ่ กิดจากการทีม่ นุษยอยูร วมกันในสังคมทีเ่ ห็นไดชดั ทีส่ ดุ คือขอใด
1) วัฒนธรรม 2) บรรทัดฐาน 3) กฎศีลธรรม 4) ระเบียบประเพณี
10. การทีน่ กั เรียนตัง้ ใจศึกษาเลาเรียนเพือ่ ใหประสบความสําเร็จนั้น นักเรียนทําไปเพือ่ แรงผลักดันของความตองการ
พืน้ ฐานในขอใด
1) ความตองการทางชีวภาพ 2) ความตองการทางจิตใจ
3) ความตองการทางสังคม 4) ความตองการทางวัฒนธรรม

53 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

11. ในปจจุบนั สมาชิกในครอบครัวของชุมชนชนบทไทยมีความตองการขอใดนอยกวาสมาชิกในครอบครัวชุมชนเมือง


1) ความตองการปจจัยสี่ 2) ความตองการเทคโนโลยี
3) ความตองการดานจิตใจ 4) ความตองการเครือ่ งอํานวยความสะดวก
12. ปญหาสังคมไทยมีแนวโนมซับซอนและรุนแรงมากขึน้ เพราะสาเหตุใดมากทีส่ ดุ
1) การคลายตัวในการนับถือศาสนา 2) การนิยมวัตถุมากขึน้
3) การมีวถิ ชี วี ติ แบบชาวตะวันตกเพิม่ ขึน้ 4) ชองวางระหวางรายไดเพิม่ มากขึน้
13. "ปลูกเรือนตามใจผูอ ยู ผูกอูตามใจผูนอน" เปนคํากลาวทีแ่ สดงใหเห็นถึงคานิยมของสังคมไทยขอใด
1) มีจติ ใจเอือ้ เฟอ เผือ่ แผ 2) มีสัมมาคารวะ
3) รักความเปนอิสระ 4) รักความสนุกสนาน
14. คานิยมทีแ่ ตกตางกันในสังคมไทยในทุกวันนี้ มีสาเหตุสําคัญมาจากอะไร
1) พูดภาษาตางกัน 2) นับถือศาสนาตางกัน
3) มีระบบการเมืองตางกัน 4) มีรปู แบบทางเศรษฐกิจตางกัน
15. การกําหนดระเบียบตางๆ เพือ่ ใหสมาชิกกลุม เกษตรกรถือปฏิบตั ริ ว มกัน จัดเปนการสรางบรรทัดฐานในรูปของ
1) กฎหมาย 2) ขอบังคับ 3) จารีตประเพณี 4) วิถชี าวบาน
16. ขอใดแสดงถึงเอกลักษณของสังคมไทยไดดที ส่ี ดุ
1) ในนํามี
้ ปลา ในนามีขาว 2) เมืองไทยนีด้ ี ผูคนมีนํ้าใจตอกัน
3) เย็นศิระเพราะพระบริบาล 4) ผูไ หวยอ มไดรบั การไหวตอบ
17. สังคมมีความสําคัญอยางไร
1) สังคมชวยใหมนุษยดารงชี ํ วติ อยูไ ดยาวนาน
2) สังคมทําใหมนุษยแตกตางจากสัตวอน่ื เพราะสามารถทําหนาทีอ่ บรมสมาชิกใหมได
3) สังคมทําหนาทีผ่ ลิตสมาชิกใหม พรอมกับถายทอดระเบียบแบบแผนการดํารงชีวติ รวมกัน
4) สังคมชวยใหมนุษยมเี อกลักษณทางวัฒนธรรมตางๆ กัน
18. ในคริสตศตวรรษที่ 21 สังคมไทยมีแนวโนมจะเปนเชนไร
1) จํานวนประชากรทีเ่ ปนผูส งู อายุจะนอยลง
2) คานิยมของผูท อ่ี ยูใ นเขตชนบทกับเขตเมืองจะแตกตางกันนอยลง
3) การยายถิน่ จากเขตเมืองสูช นบทจะมีมากขึน้ เนือ่ งจากปญหาของเมืองมีมากเกินไป
4) ครอบครัวขยายจะมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ทัง้ ในเขตชนบทและเขตเมือง
19. ขอใดคือลักษณะทัว่ ไปของสังคมไทยปจจุบนั นี้
1) ใชทรัพยสมบัติ สถานภาพ เกียรติ อํานาจ และความดีเปนเกณฑในการแบงชนชัน้
2) มีโครงสรางสังคมทีเ่ ครงครัดตายตัว
3) เปนพหุสงั คมทีป่ ระกอบดวยประชาชนหลายเผาพันธุ
4) เปนสังคมทีป่ ระชาชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมกึง่ อุตสาหกรรม

54 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

20. โครงสรางของสังคมหมายถึงอะไร
1) ความสัมพันธระหวางบุคคลจํานวนหนึง่ ทีย่ ดึ ถือแบบแผนในการปฏิบตั ริ ว มกัน
2) เปาหมายหรือวัตถุประสงคของการปฏิบตั ริ ว มกัน
3) กลุม คนทีป่ ฏิบตั ติ ามหนาทีข่ องตน
4) ลักษณะของสังคมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูเ สมอ
21. "ตัง้ แตเกิด เด็กไทยคุน เคยกับการรับประทานขาวเปนอาหารหลัก แตบางคนอาจเปลีย่ นแปลงไปรับประทานขนมปง
แทนในภายหลัง ก็ไมมใี ครตําหนิวา เปนเรือ่ งรายแรง" พฤติกรรมดังกลาวนีส้ อดคลองกับอะไร
1) คานิยม 2) วิถปี ระชา 3) กฎหมาย 4) ศีลธรรมจรรยา
22. ประเทศไทยมีพลเมืองมากพอสมควร การควบคุมพฤติกรรมของสมาชิกของสังคมนัน้ บรรทัดฐานใดจําเปนทีส่ ดุ
1) กฎหมาย 2) คานิยม 3) วิถชี าวบาน 4) กฎศีลธรรม
23. "สมศรียงิ สามีของเธอสิน้ ชีวติ เพราะอารมณชั่ววูบ เนือ่ งมาจากถูกทํารายรางกายเปนประจํา" สมศรีกระทําผิด
บรรทัดฐานขอใด
1) กฎหมายและคานิยม 2) วิถปี ระชาและคานิยม
3) กฎศีลธรรมและกฎหมาย 4) กฎศีลธรรมและวิถปี ระชา
24. มนุษยมลี กั ษณะเหมือนกับสัตวอยูห ลายดาน ยกเวนลักษณะใด
1) ความสามารถในการปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม
2) มีลกั ษณะคลายกับผูใ หกําเนิดหรือบรรพบุรษุ
3) มีความสามารถในการสืบพันธุเ พือ่ สรางสมาชิกใหม
4) มีระบบประสาททีส่ ลับซับซอนและความคิดอานทีซ่ บั ซอน
25. ประเพณีลงแขกของไทย สรางสรรคประโยชนของวัฒนธรรมในลักษณะใด
1) สรางความสัมพันธกนั ในหมูส มาชิก 2) ชวยใหสมาชิกรูจ กั ปรับตัวใหเขากับสิง่ แวดลอม
3) สรางความเปนอันหนึง่ อันเดียวกันแกสมาชิก 4) ชวยใหเกิดความเปนระเบียบขึน้ ในสังคม
26. เพราะเหตุใดจึงตองมีการจัดระเบียบทางสังคม
1) เพือ่ ความเจริญกาวหนาของสังคม 2) เพือ่ พัฒนาสังคมใหมน่ั คงขึน้
3) เพือ่ ปองกันการเคลือ่ นไหวเปลีย่ นแปลง 4) เพือ่ เปนแนวทางในการปฏิบตั อิ ยางเครงครัด
27. บาน วัด โรงเรียน มักมีบทบาทคาบเกีย่ วกันทัง้ ทางตรงและทางออมอยางไร
1) ใหการเรียนรูท างสังคม 2) สรางระเบียบกฎเกณฑใหแกสงั คม
3) กําหนดสถานภาพทางสังคมและชนชัน้ ทางสังคม 4) วินจิ ฉัยขอขัดแยงระหวางสมาชิกในสังคม
28. คานิยมเรือ่ งใดเกีย่ วของกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยตรง
1) การประหยัดพลังงาน 2) การพัฒนาเทคโนโลยี
3) ความเสือ่ มโทรมของสิง่ แวดลอม 4) การอพยพของชาวชนบท
29. สมาชิกในสังคมไดจดั ตัง้ "สถาบันสังคม" ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคใด
1) เพือ่ แบงแยกหนาทีข่ องสมาชิกในสังคมใหชดั เจน 2) เพือ่ ตอบสนองความตองการในดานตางๆ
3) เพือ่ กําหนดบทบาทของสมาชิกในสังคม 4) เพือ่ ควบคุมสมาชิกใหอยูใ นกฎเกณฑทถ่ี กู ตอง

55 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

30. นิกายใดทีด่ ําเนินตามพระพุทธวจนะทีว่ า "ดูกรอานนท โดยลวงแหงเรา สงฆจานงอยู ํ  จะถอนสิกขาบทเล็กนอย


เสียบางก็ได"
1) นิกายเถรวาท 2) นิกายหินยาน 3) นิกายสามะ 4) นิกายอาจริยวาท
31. "ผูใ ดขาดเมตตาแกเพือ่ นมนุษย ผูน น้ั จะไมไดรบั ความเมตตาจากอัลเลาะห" คํากลาวนีต้ รงกับหลักธรรมใดใน
พระพุทธศาสนา
1) อริยสัจ 4 2) ไตรลักษณ 3) อิทธิบาท 4 4) พรหมวิหาร 4
32. ขอใดเหมาะสมทีส่ ดุ ในการอยูร ว มกันระหวางผูน บั ถือศาสนาตางกัน
1) ไมวพิ ากษวจิ ารณศาสนาอืน่ ใหความสนใจเฉพาะศาสนาของตน
2) ไมลบหลูค วามคิดหลักในศาสนาอืน่ โดยยังเชือ่ มัน่ ในศาสนาของตน
3) หลีกเลีย่ งการพูดคุยเรือ่ งศาสนากับเพือ่ นตางศาสนา
4) ไมถอื วาศาสนาเปนเรือ่ งสําคัญในการดํารงชีวติ
33. ตามหลักศาสนาพราหมณ-ฮินดู อะไรเปนเปาหมายสูงสุดของชีวติ
1) อาตมัน 2) ปรมาตมัน 3) โมกษะ 4) สันยาสี
34. คําสอนเรื่อง "อาณาจักรของพระเจา" ในศาสนาคริสตสามารถเขาถึงไดดว ยวิธใี ด
1) ดวยการมีศรัทธาอยางมัน่ คง 2) ดวยการมีจติ ใจเปนหนึง่ เดียวกัน
3) ดวยการแสดงความรัก 4) ดวยการแสดงความกตัญู
35. นิกายโปรเตสแตนตตา งจากนิกายคาทอลิกมากทีส่ ดุ ในขอใด
1) ไมเชื่อเรื่องนรกสวรรค 2) ไมเชือ่ เรือ่ งบาปกําเนิด
3) ยอมรับเฉพาะพระคริสตธรรมใหม 4) ไมขน้ึ ตอนครวาติกนั
36. บอเกิดแหงสัจธรรม อันนํามนุษยไปสูค วามหลุดพนจากบาป และนําไปหาพระเจาหมายถึงสิง่ ใด
1) ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ 2) พระคริสตธรรมคัมภีร
3) พระตรีเอกภาพ 4) ศีลลางบาป
37. ขอใดคือขอบังคับในหลักปฏิบตั ขิ องพวกมุสลิม
1) การละหมาด 2) การถือศีลอด 3) การประกอบพิธฮี จั ญ 4) การบริจาคซะกาต
38. ทางปฏิบตั เิ พือ่ ยกระดับชีวติ ใหสงู ขึน้ จนกระทัง่ หลุดพนจากสังสารวัฏ มี 4 ขั้นตอน ขัน้ ตอนใดถือเปนขัน้ ตอนทีจ่ ะ
เปลือ้ งวิญญาณจากโลกไปรวมกับปรมาตมัน
1) พรหมจารี 2) สันยาสี 3) วานปรัสถ 4) คฤหัสถ
39. ชีวิตคือขันธ 5 ประกอบดวย รูปและนาม ขอทีก่ ลาวถึง ความสุข ความทุกข ความพอใจ สมใจ เสียใจ ประกอบ
ในขันธ 5 ขอใด
1) เวทนา 2) สัญญา 3) สังขาร 4) วิญญาณ
40. ขอใดคือแกนแทของศาสนา
1) การใหคาสอนที
ํ เ่ ปนแนวทางการดําเนินชีวิต
2) การใหคาอธิ ํ บายความเปนจริงสูงสุดของชีวติ และโลก
3) การใหคาอธิ ํ บายและคําสอนเกีย่ วกับความดีความชัว่
4) การใหคาสอนเพื ํ อ่ เปนทีพ่ ง่ึ ทางใจใหพน จากความกลัว

56 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

41. ขอใดถูกตองตามคําสอนในคริสตศาสนา
1) ผูท ก่ี ระทํผา ดิ โดยเจตนาจะไดรบั การลงโทษจากพระเจาเสมอ
2) มนุษยจะพนบาปทีม่ มี าแตกําเนิดก็ตอ เมือ่ ยอมรับการสละพระชนมชพี ของพระเยซู
3) มนุษยไมสามารถเปลีย่ นแปลงตนเองเพราะพระเจากําหนดไวแลวใหเราเปนคนเชนไร
4) มนุษยตอ งเวียนวายตายเกิด จนกวาจะทําความดีพอเพียงทีจ่ ะไดรบั เขาอยูใ นดินแดนของพระเจา
42. ขอใดไมใชสง่ิ ทีม่ สุ ลิมตองศรัทธา
1) พันธะสัญญาใหมของศาสนาคริสต
2) วันพิพากษาวิญญาณทัง้ หลายของมนุษยตามกรรมดีกรรมชัว่ ทีไ่ ดกระทําไวขณะมีชีวิต
3) กฎธรรมชาติและกฎศีลธรรมทีพ่ ระเจาลิขติ ไวใหแกโลกและมนุษย
4) หลักตรีเอกานุภาพ
43. ขอใดกลาวถึงหลักธรรมทีส่ ําคัญและจุดหมายปลายทางของศาสนาพุทธ ฮินดู คริสต และอิสลามไมถกู ตอง
1) อริยสัจ 4 - นิพพาน
2) หลักปุรษุ ารถะและอาศรม 4 - ไวษณพ
3) บัญญัติ 10 ประการและหลักความรัก - อาณาจักรพระเจา
4) หลักศรัทธาและหลักปฏิบตั ิ - พระอัลเลาะห
44. หลักธรรมทีส่ อดคลองกันเดนชัดทีส่ ดุ ของศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม พราหมณ ฮินดู ไดแกขอ ใด
1) ความเอื้อเฟอ 2) ความสันโดษ 3) ความรัก 4) ความกตัญูรคู ณ

45. เพราะเหตุใดสังคมมนุษยจงึ ตองมี "รัฐ"
1) เพือ่ ตอบสนองความตองการพืน้ ฐานของมนุษย
2) เพือ่ สะดวกในการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติไว
3) เพือ่ รักษาสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
4) เพือ่ ความเจริญกาวหนาและความมัน่ คงของประเทศชาติ
46. องคกรใดทําหนาทีข่ องรัฐไดอยางครบถวน
1) พระมหากษัตริย 2) รัฐบาล 3) ประธานาธิบดี 4) คณะรัฐมนตรี
47. ขอใดคือลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบผสม
1) เอกชนมีเสรีภาพในการผลิต 2) รัฐโอนกิจการสําคัญๆ มาดําเนินการเอง
3) รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิต 4) รัฐสนับสนุนใหกรรมกรรวมตัวกันเปนสหภาพกรรมกร
48. เหตุผลขอใดทําใหเกิดรัฐ
1) มนุษยตอ งอยูร วมกันเปนสังคม 2) มนุษยตอ งการขจัดความอยุตธิ รรม
3) มนุษยตอ งรูจ กั เสียสละและมีกฎเกณฑ 4) มนุษยตอ งการอยูร อด
49. หัวใจสําคัญของประชาธิปไตยอยูท ป่ี ระเด็นใด
1) ประชาชนมีอํานาจตัดสินใจ 2) มีรฐั ธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด
3) รัฐสภาเปนผูอ อกกฎหมาย 4) รัฐบาลบริหารประเทศเพือ่ ประโยชนของประชาชน

57 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

50. ขอใดเปนรูปแบบการปกครองสวนภูมภิ าค
1) หัวเมืองชัน้ นอกในสมัยกรุงสุโขทัย 2) กรมเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยา
3) เมืองดุสติ ธานีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร 4) เมืองพัทยาในสมัยปจจุบนั
51. การปกครองแบบใดทีป่ ระเทศไทยไมเคยมีใชมากอน
1) คณาธิปไตย 2) อภิชนาธิปไตย
3) ประชาธิปไตยทางตรง 4) เผด็จการโดยรัฐสภา
52. การที่ประชาชนในกรุงเทพมหานครไปใชสิทธิเลือกตัง้ นอยกวาประชาชนในตางจังหวัดสะทอนใหเห็นถึงความแตก-
ตางระหวางประชาชน 2 กลุม นี้ ในประเด็นใด
1) หนาทีข่ องพลเมือง 2) สิทธิและเสรีภาพของประชาชน
3) ความเสมอภาคทางการเมือง 4) การมีสว นรวมทางการเมือง
53. ความในขอใดอธิบายสถานภาพของนครวาติกนั ไดถกู ตอง
1) มีองคประกอบความเปนรัฐครบถวน จึงมีฐานะเปนประเทศเชนเดียวกับประเทศทัว่ ไป
2) เปนรัฐประเภทนครรัฐ แตไมเปนประเทศเพราะมีขนาดเล็กมาก
3) ไมเปนรัฐ แมวา จะเปนอิสระ แตดนิ แดนอยูใ นอาณาเขตของอิตาลี
4) ไมถอื วาเปนรัฐในทางการเมือง แตเปนนครทีส่ าคั
ํ ญทางศาสนา
54. ระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีมคี วามแตกตางกันในเรือ่ งใด
1) ทีม่ าของสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร 2) ทีม่ าของสมาชิกวุฒสิ ภา
3) ทีม่ าของฝายบริหาร 4) ทีม่ าของฝายตุลาการ
55. ขอใดแสดงถึงโครงสรางอํานาจทีแ่ ทจริงของระบอบคอมมิวนิสต
1) อํานาจทางการเมืองเปนของมวลชน
2) ชนชั้นที่มีอํานาจทางการเมืองคือชนชั้นกรรมาชีพ
3) อํานาจสูงสุดอยูท พ่ี รรคคอมมิวนิสต
4) การสืบทอดอํานาจทางการเมืองอยูใ นกลุม ผูน าทีํ ม่ คี วามสามารถ
56. การปกครองแบบประชาธิปไตยยอมดีกวาการปกครองโดยคนๆ เดียวหรือกลุม คน เพราะเหตุใด
1) รัฐบาลมีเสถียรภาพ 2) บริหารบานเมืองไดอยางมีประสิทธิภาพ
3) เปนทีย่ อมรับของคนสวนใหญ 4) สามารถพัฒนาประเทศไดอยางรวดเร็ว
57. ขอความใดไมถกู ตอง
1) ระบบสังคมนิยมเชือ่ วามนุษยทกุ คนตางมีศกั ดิศ์ รีเทาเทียมกัน
2) ระบบสังคมนิยมสนับสนุนการทํางานรวมกันของกลุม ประชาชน
3) ระบบทุนนิยมชวยเพิม่ รายไดของประเทศใหสงู ขึน้
4) ระบบทุนนิยมชวยลดปญหาการกระจายรายไดทไ่ี มเปนธรรม
58. "ความเสมอภาค" ในระบอบประชาธิปไตยนัน้ หมายถึงอะไร
1) ทุกคนตองอยูภ ายใตบทบังคับของกฎหมายเทาเทียมกัน
2) ทุกคนตองมีแนวทางในการดําเนินชีวติ ทีเ่ ทาเทียมกัน
3) ทุกคนตองมีการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจทีเ่ ทาเทียมกัน
4) ทุกคนตองมีสทิ ธิทจ่ี ะกระทําการตางๆ ไดเทาเทียมกัน

58 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

59. "รัฐเปนเจาของปจจัยในการผลิตทัง้ หมด เปนผูกําหนดการแจกจายการผลิต ราคาสินคา ทุกคนตองทํางานตามที่


รัฐบาลกําหนด จํากัดเสรีภาพผูบริโภค" ทีก่ ลาวนีค้ อื ระบบเศรษฐกิจแบบใด
1) ทุนนิยมบังคับ 2) สังคมนิยมเสรี
3) สังคมนิยมบังคับ 4) สังคมนิยมของกลุม โลกที่ 3
60. สาระสําคัญทีส่ ดุ ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยคือขอใด
1) การมีรฐั ธรรมนูญ
2) การมีการเลือกตัง้ ผูแ ทนตามวาระ
3) การเปดโอกาสใหจดั ตัง้ พรรคการเมือง
4) การเปดโอกาสใหประชาชนมีสว นรวมในการปกครองตนเอง
61. คํากลาวขอใดตอไปนีไ้ มถกู ตอง
1) ระบบเผด็จการมีขอดี คือรัฐบาลสามารถตัดสินใจไดอยางรวดเร็วและแกปญ  หาไดอยางมีประสิทธิภาพ
2) ระบบทุนนิยมแบบเสรีเปนระบบเศรษฐกิจทีใ่ ชกนั ในประเทศทีม่ กี ารปกครองแบบประชาธิปไตย
3) ประเทศไทยเปนรัฐเดียวทีม่ กี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
4) การกระจายอํานาจโดยการเลือกตัง้ ผูว า ราชการจังหวัดขัดกับรูปแบบการปกครองของประเทศไทย
62. หนาทีห่ ลักของรัฐสภาคือขอใด
1) ดําเนินการเลือกตัง้ 2) ควบคุมรัฐบาล
3) รางรัฐธรรมนูญ 4) กําหนดแนวนโยบายในการปกครอง
63. ขอใดไมจดั วาเปนการปกครองโดยคนสวนนอย (Government of Few)
1) คอมมิวนิสต 2) คณาธิปไตย
3) อภิชนาธิปไตย 4) สมบูรณาญาสิทธิราชย
64. "ใหมกี ารถวงดุลอํานาจกันระหวางประธานาธิบดี รัฐสภา และศาล" ลักษณะดังกลาวนีห้ มายถึงการปกครองแบบใด
1) แบบคณาธิปไตย 2) แบบประชาธิปไตยรัฐสภา
3) แบบประธานาธิบดี 4) แบบกึง่ รัฐสภากึง่ ประธานาธิบดี
65. "คนเราเกิดมาไมเทาเทียมกัน" เปนพืน้ ฐานทีส่ ําคัญของความเชือ่ ทางการเมืองในเรือ่ งใด
1) การยอมรับความเหลือ่ มลําในสั ้ งคม 2) การรักษาความยุตธิ รรมในสังคม
3) การรักษาความสงบเรียบรอยในรัฐ 4) การยอมรับความมีอํานาจสูงสุดของรัฐ
66. หลักการทีส่ ําคัญของทุนนิยมในกระแสโลกาภิวตั น คืออะไร
1) การกระจายรายไดทเ่ี ปนธรรม 2) การสงเสริมการลงทุนดานอุตสาหกรรม
3) การแขงขันกันโดยเสรี 4) การสงเสริมการคาระหวางประเทศ
67. ลักษณะใดคือการปกครองแบบรัฐสภา
1) มีการแบงแยกอํานาจอธิปไตยเปนอิสระจากกัน
2) คณะรัฐมนตรีซง่ึ เปนฝายบริหารมาจากผูท รงคุณวุฒิ
3) ประธานาธิบดีมอี ํานาจเหนือฝายนิตบิ ญั ญัติ
4) มีการเชื่อมโยงอํานาจระหวางฝายนิตบิ ญั ญัตกิ บั ฝายบริหาร

59 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

68. ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ ปนประมุขนัน้ คณะรัฐมนตรีตอ งรับผิดชอบตอองคการใด


เพราะเหตุใด
1) นายกรัฐมนตรี เพราะเปนประมุขฝายบริหาร
2) พระมหากษัตริย เพราะเปนประมุขของประเทศ
3) รัฐสภา เพราะเปนตัวแทนของปวงชน
4) องคมนตรี เพราะไดรบั มอบหมายหนาทีจ่ ากพระมหากษัตริย
69. ปจจัยสําคัญทีน่ ําไปสูก ารปฏิรปู การปกครองในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั คือขอใด
1) การขาดกําลังคนในการบริหารราชการแผนดิน
2) สภาพเศรษฐกิจและสังคมทีต่ กตํ่า
3) การแพรกระจายแนวความคิดแบบประชาธิปไตย
4) การขยายอิทธิพลของมหาอํานาจตะวันตก
70. ขอใดถือเปนการปกครองในสมัยสุโขทัย
1) คณาธิปไตย เทวราชา 2) ปตาธิปไตย ธรรมราชา
3) ปตาธิปไตย ประชาธิปไตย 4) สมบูรณาญาสิทธิราชย พอปกครองลูก
71. ถาจะแสดงหลักการกับการปฏิบตั ใิ นการปกครองระบอบประชาธิปไตย คูใ ดถูกตองทีส่ ดุ
1) ความเสมอภาคคูกับการไมมีชนชั้น 2) การคัดคานรัฐบาลคูก บั การประทวง
3) การปกครองตนเองคูก บั การกระจายอํานาจ 4) เสรีภาพคูก บั การเดินขบวน
72. ขอใดมีลกั ษณะของ "ระบบสังคมนิยมประชาธิปไตย"
1) รัฐเปนเจาของกิจการใหญแตปลอยใหเอกชนควบคุมกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก
2) รัฐวางแผนใหประชาชนมีรายไดเทาเทียมกันดวยการปลอยใหมกี ารแขงขันกันอยางเสมอภาค
3) รัฐใหผใู ชแรงงานมีเสรีภาพในการซือ้ สินคา ในการเลือกงานและไมมกี ารบังคับแรงงาน
4) รัฐอนุญาตใหประชาชนทํางานตามความรู ความสามารถ เพือ่ ความเจริญและกาวหนาของสังคม
73. กลุม ผลประโยชนชวยสงเสริมการแสดงออกทางการเมืองได ยกเวนกิจกรรมในขอใด
1) ทําใหประชาชนไดมสี ว นรวมทางการเมือง
2) ทําใหเกิดบรรยากาศของการตืน่ ตัวทางการเมือง
3) ทําใหเกิดเอกภาพในการเรียกรองสิทธิทางการเมือง
4) ทําใหเกิดการผลักดันรัฐบาลใหถอื ความยุตธิ รรมเปนทีต่ ง้ั
74. "ระบอบการเมืองการปกครองทีม่ กี ระบวนการ" หมายความวาอยางไร
1) มีขั้นตอนในการใชอํานาจ
2) มีการยอมรับวาขอตกลงนัน้ ถูกตอง
3) มีการใชอํานาจเพือ่ ใหเปนไปในแนวทางทีก่ าหนด

4) มีหนาทีแ่ ละรับผิดชอบในการใชอํานาจตางๆ

60 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

75. เพราะเหตุใดจึงกลาววาเมืองพัทยามีรปู แบบการปกครองสวนทองถิน่ ทีเ่ รียกวา "แบบผูจ ดั การ" (City-manager plan)


1) จางนักบริหารมืออาชีพเขามาบริหารกิจการ
2) มีรปู แบบการปกครองทีเ่ ลียนแบบการบริหารในบริษทั
3) มีการบริหารการทองเทีย่ วอยางอิสระไมขน้ึ ตอสวนกลาง
4) มีการจัดรูปแบบการปกครองทีม่ คี วามคลองตัวกวาจังหวัดอืน่
76. การทีป่ ระชาชนในประเทศตางๆ มีสทิ ธิเสรีภาพในระดับทีแ่ ตกตางกันนัน้ เปนเพราะเหตุใด
1) อุดมการณทางการเมืองของแตละประเทศแตกตางกัน
2) ระบบการปกครองของแตละประเทศแตกตางกัน
3) ระบบกฎหมายของแตละประเทศแตกตางกัน
4) การใชอานาจในการปกครองของแต
ํ ละประเทศแตกตางกัน
77. คํกา ลาวขอใด ถูกตองทีส่ ดุ เมือ่ กลาวถึงรัฐธรรมนูญ
1) รัฐธรรมนูญเปนเครือ่ งชีว้ า ประเทศนัน้ มีประชาธิปไตยตองมีรฐั ธรรมนูญ
2) ทุกประเทศทีม่ กี ารปกครองแบบประชาธิปไตยตองมีรฐั ธรรมนูญ
3) การทีค่ ณะปฏิวตั ทิ ําการลมลางรัฐธรรมนูญได แสดงวารัฐธรรมนูญไมใชกฎหมายสูงสุด
4) ประเทศใดมีรฐั ธรรมนูญประเทศนัน้ ยอมมีการเลือกตัง้ เสมอ
78. จุดเริม่ ตนทางการเมือง ทีน่ ํามาซึง่ การเปลีย่ นแปลงการปกครองของไทยในป พ.ศ. 2475 คือขอใด
1) เศรษฐกิจตกตํา่ 2) ประชาชนยากจน
3) ถูกครอบงําทางดานความคิด 4) ไมพอใจระบอบปกครองเดิม
79. การไปศึกษาตอตางประเทศของสามัญชนรุน ใหมกอ ใหเกิดผลตอการปกครองของไทยอยางไร
1) เกิดความตืน่ ตัวทางการเมือง 2) นําลัทธิคอมมิวนิสตมาเผยแพร
3) นําอารยธรรมตะวันตกมาเผยแพร 4) รัฐบาลใหความสําคัญกับการศึกษา
80. ความเปนอยูท แ่ี ตกตางของสามัญชนกับเชือ้ พระวงศเปนมูลเหตุของการเปลีย่ นแปลงการปกครองเพือ่ ไปสูส ภาพใด
1) การมีเสรีภาพ 2) การมีอสิ ระเสรี
3) การมีคา นิยมทีถ่ กู ตอง 4) การมีความเสมอภาค
81. รูปแบบการปกครองในดานใดทีช่ ใ้ี หเห็นความแตกตางของการปกครองในสมัยอยุธยา วามีความแตกตางจากสมัย
สุโขทัยมากทีส่ ดุ
1) ประมุขของรัฐและการขึน้ ครองราชย 2) ความเปนสมบูรณาญาสิทธิราชอยางแทจริง
3) เริม่ มีการจัดการปกครองหัวเมืองประเทศราช 4) การยกเลิกทศพิธราชธรรม
82. การเปลีย่ นแปลงการปกครองเปนแบบประชาธิปไตยของไทยเกิดจากสาเหตุใดมากทีส่ ดุ
1) ความไมเปนธรรมในสังคม 2) การใชอภิสทิ ธิข์ องราชวงศ
3) สามัญชนมีการศึกษาสูงขึน้ 4) เศรษฐกิจตกตําประชาชนยากจน

83. ระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีแตกตางกันในหลักการสําคัญประการใด
1) ทีม่ าของศาล 2) ทีม่ าของกฎหมาย 3) ทีม่ าของฝายบริหาร 4) ทีม่ าของฝายนิตบิ ญั ญัติ
84. สถาบันทีเ่ กีย่ วของกับการปกครองและการเมืองประชาธิปไตยคือขอใด
1) กลุม ผลประโยชน พรรคการเมือง และสือ่ มวลชน 2) ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย
3) ประชาชน ขาราชการ และทหาร 4) ครอบครัว โรงเรียน และวัด

61 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

85. การเคลือ่ นไหวเพือ่ ผลักดันใหรฐั บาลดําเนินการตามนโยบายทีแ่ ถลงไวหรือเพือ่ ใหแกปญ


 หาเฉพาะหนากลุม ผลประโยชน
ใดมีอํานาจมาก
1) กลุม ผูใ ชแรงงาน 2) กลุม ขาราชการทหาร 3) กลุม นักวิชาการ 4) กลุม สือ่ มวลชน
86. ในวิถที างการเมืองและการปกครอง การเลือกตัง้ มีความสําคัญอยางไร
1) ทําใหกระแสเงินตราและเศรษฐกิจดีขน้ึ
2) ทําใหเกิดการหมุนเวียนเปลีย่ นอํานาจในการปกครอง
3) ทําใหคนดีเขาไปเปนตัวแทนของประชาชนในสภา
4) ทําใหเกิดการพัฒนาทางดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
87. ขอใดแสดงการเรียงลําดับชัน้ ของกฎหมายไดถกู ตองทีส่ ดุ
1) พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎทบวง ประกาศกระทรวง
2) รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ประมวลกฎหมาย
3) รัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด ประมวลกฎหมาย ประกาศกระทรวง
4) พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด ประกาศทบวง ประมวลกฎหมาย
88. บุคคลใดมีอานาจทํ
ํ านิตกิ รรมแทนผูเ ยาว
1) ผูอนุบาล 2) ผูพ ทิ กั ษ
3) ผูแทนโดยชอบธรรม 4) ผูร บั มอบอํานาจจากผูเ ยาว
89. สัญญาเชาซือ้ คือสัญญาแบบใด
1) เปนสัญญาเชาอสังหาริมทรัพย
2) เปนสัญญาเชาทรัพยทผ่ี เู ชาจะไดสทิ ธิในทรัพยสนิ ตามสัญญา
3) เปนสัญญาซือ้ ขายผอนสง
4) เปนสัญญาซือ้ ขายทรัพยสนิ ลวงหนา
90. พนักงานในขัอใดเกีย่ วของกับกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา
1) พนักงานบังคับคดี 2) พนักงานพิทกั ษทรัพย
3) พนักงานคุมประพฤติ 4) พนักงานริบทรัพย
91. พัฒนาการทางการเมืองการปกครองในขอใดทีป่ ระเทศไทยจําเปนตองเรงดําเนินการ
1) การลดจํานวนของพรรคการเมือง 2) การสรางเสถียรภาพของรัฐบาล
3) การมีรฐั ธรรมนูญทีเ่ ปนประชาธิปไตย 4) การมีสว นรวมทางการเมืองของประชาชน
92. บุคคลในขอใดตองหามมิใหใชสทิ ธิเลือกตัง้ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
1) คนหูหนวกและตาบอด 2) คนชราซึง่ ชวยตัวเองไมได
3) นักพรต นักบวช 4) คณะกรรมการการเลือกตัง้
93. บุตรลักทรัพยของบิดา กฎหมายใหถอื วาเปนความผิดอาญาประเภทใด
1) ความผิดอาญาแผนดิน 2) ความผิดที่ยอมความได
3) ความผิดลหุโทษ 4) ความผิดทีก่ ฎหมายยกเวนโทษให

62 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

94. กลุม กฎหมายในขอใดจัดอยูใ นประเภทกฎหมายมหาชน


1) กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง กฎหมายวาดวยครอบครัว ประมวลกฎหมายอาญา
2) รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายทีด่ นิ กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง
3) รัฐธรรมนูญ กฎหมายวาดวยมรดก กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา
4) กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายทีด่ นิ
95. ขอใดไมเปนความผิดอาญา
1) เก็บทรัพยสนิ ทีผ่ อู น่ื ทําหายเปนของตน 2) ทําใหเกิดเพลิงไหมโดยประมาท
3) ซือ้ สินคาแลวไมยอมจายเงิน 4) หลีกเลีย่ งไมไปเกณฑทหาร
96. องคกรใดอํานาจวินจิ ฉัยขอพิพาทอันเนือ่ งมาจากการกระทําหรือละเวนการกระทําของหนวยราชการตามรัฐธรรมนูญ
1) ผูต รวจการแผนดินของรัฐสภา 2) ศาลปกครอง
3) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 4) ศาลรัฐธรรมนูญ
97. ขอความขางลางนีข้ อ ความใดทีก่ ลาวถึงกฎหมายไมถกู ตอง
1) กฎหมายตองมีสภาพบังคับและบทลงโทษ
2) กฎหมายคือสิง่ ทีศ่ าลใชในการตัดสินคดี
3) กฎหมายเปนขอบังคับของประเทศซึง่ ทุกประเทศไดมาจากพลเมือง
4) กฎหมายเปนขอบังคับความประพฤติพลเมือง

เฉลย
1. 2) 2. 1) 3. 2) 4. 3) 5. 1) 6. 2) 7. 4) 8. 4) 9. 1) 10. 3)
11. 2) 12. 1) 13. 3) 14. 3) 15. 2) 16. 1) 17. 3) 18. 2) 19. 4) 20. 1)
21. 1) 22. 1) 23. 3) 24. 4) 25. 1) 26. 1) 27. 1) 28. 2) 29. 2) 30. 4)
31. 4) 32. 2) 33. 2) 34. 3) 35. 4) 36. 2) 37. 1) 38. 2) 39. 1) 40. 1)
41. 1) 42. 4) 43. 2) 44. 1) 45. 4) 46. 2) 47. 1) 48. 3) 49. 1) 50. 1)
51. 3) 52. 4) 53. 2) 54. 3) 55. 3) 56. 2) 57. 4) 58. 1) 59. 3) 60. 4)
61. 4) 62. 2) 63. 4) 64. 3) 65. 2) 66. 3) 67. 4) 68. 3) 69. 3) 70. 2)
71. 3) 72. 1) 73. 4) 74. 1) 75. 1) 76. 2) 77. 2) 78. 4) 79. 1) 80. 4)
81. 2) 82. 3) 83. 3) 84. 1) 85. 4) 86. 2) 87. 1) 88. 3) 89. 2) 90. 3)
91. 4) 92. 3) 93. 2) 94. 2) 95. 3) 96. 2) 97. 3)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

63 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ภูมิศาสตรกายภาพ
ภูมศิ าสตรกายภาพ เปนวิชาทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับลักษณะแวดลอมทางกายภาพหรือทางธรรมชาติ และกระบวนการ
เปลีย่ นแปลงโดยธรรมชาติทป่ี รากฏอยูบ นพืน้ โลก
ภูมศิ าสตรกายภาพ มีองคประกอบ 4 ดาน ดังนี้
1. ธรณีภาค - สวนทีเ่ ปนของแข็งทีป่ ระกอบเปนเปลือกโลก (หิน ดิน แรธาตุ)
2. อุทกภาค - สวนทีเ่ ปนพืน้ นํ้า (แมน้าํ คลอง หนอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร)
3. บรรยากาศภาค - สวนทีเ่ ปนอากาศหุม หอโลก (อุตนุ ยิ มวิทยา)
4. ชีวภาค - สวนทีเ่ ปนสิง่ มีชวี ติ (พืช สัตว มนุษย)

ประเทศไทย
ทําเลทีต
่ ง้ั ขนาด และพรมแดน
ประเทศไทยตัง้ อยูใ นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในสวนทีเ่ ปนภาคพืน้ ทวีป โดยมีทต่ี ง้ั สัมพันธและสมบูรณ ดังนี้
ก. เหนือสุด - อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
- ละติจดู 20° 27′ เหนือ
- ติดตอกับลาวและพมา
ข. ใตสดุ - อําเภอเบตง จังหวัดยะลา
- ละติจดู 5° 37′ เหนือ
- ติดตอกับมาเลเซีย
ค. ตะวันออกสุด - อําเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
- ลองจิจดู 105° 37′ ตะวันออก
- ติดตอกับลาว กัมพูชาและอาวไทย

64 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ง. ตะวันตกสุด - อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮอ งสอน


- ลองจิจดู 97° 21′ ตะวันออก
- ติดตอกับพมาและทะเลอันดามัน
และมีพน้ื ทีร่ วมประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร (ขนาดใหญรองจากอินโดนีเซียและพมาในกลุม อาเซียน)
การแบงภูมภิ าคในประเทศไทย
การแบงภาคหรือภูมภิ าคนัน้ เปนการแบงพืน้ แผนดินในโลกทีม่ ลี กั ษณะคลายคลึงกันเขาไวดว ยกัน เพื่อประโยชน
อยางใดอยางหนึง่ ในประเทศไทยทีม่ กี ารแบงภูมภิ าคแพรหลายนัน้ มี 3 อยาง ดังนี้
1. การแบงภาคของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย แบงพืน้ ทีป่ ระเทศเพือ่ การปกครอง แบงได 4 ภาค
คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต
2. การแบงภาคของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา กระทรวงคมนาคม แบงพืน้ ทีป่ ระเทศเพือ่ การรายงานอากาศและ
การพยากรณอากาศ แบงได 5 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต
(ฝง ตะวันออกและฝง ตะวันตก)
3. การแบงภาคทางภูมศิ าสตร โดยสมาคมภูมศิ าสตรแหงประเทศไทย แบงพืน้ ทีป่ ระเทศโดยใชหลักเกณฑทาง
ภูมศิ าสตร 3 ประการ ดังนี้
ก. ลักษณะทางกายภาพ เชน ภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ และโครงสรางทางธรณีวทิ ยา
ข. ลักษณะทางวัฒนธรรม เชน ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ภาษา ลักษณะประชากร
ค. เอกสารทางวิชาการภูมศิ าสตรและทางราชการอืน่ ๆ เชน ขอบเขต จังหวัด เขตปฏิรปู ทีด่ นิ
แบงประเทศได 6 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต
โดยใชชอ่ื ทิศและทีต่ ง้ั ของภูมภิ าคนัน้ ๆ เปนชื่อภูมิภาค
ในการแบงภาคทางภูมศิ าสตรกอ ใหเกิดประโยชน ดังนี้
ก. ทําใหทราบขอเท็จจริงในหมูภ าคนัน้ ๆ มากยิง่ ขึน้
ข. ทําใหทราบสภาวะแวดลอมของภูมภิ าคตางๆ วามีความคลายคลึงกันหรือแตกตางกัน ตามขอเท็จจริง
ของแตละภาค
ค. ทําใหเกิดประโยชนในการใชขอ มูลไดอยางถูกตองและเหมาะสม
หมูห นิ และโครงสรางทางธรณีวท
ิ ยาของไทย
ประเทศไทยนัน้ มีหนิ ทีป่ ระกอบขึน้ มาเปนเปลือกโลก 3 ชนิด
ก. หินอัคนี - เกิดจากการแข็งตัวของหินละลายเหลวใตเปลือกโลก
ข. หินชั้น - เกิดจากการทับถมของหิน ดิน แร และอินทรียวัตถุ
ค. หินแปร - เกิดจากหินอัคนีหรือหินชัน้ ทีแ่ ปรสภาพไปเปนหินชนิดใหม
แตการแบงประเทศไทยมักจะเปนหมูๆ ตามลักษณะรวมๆ อายุของหินนัน้ ๆ โดยสํารวจพบทีใ่ ดเปนแหงแรก
จะใชชื่อสถานที่นั้นเปนชื่อหมูหิน ถาไปสํารวจพบทีใ่ ดทีม่ ลี กั ษณะเหมือนกันก็จะใชชอ่ื เดิมนัน้ ประเทศไทยมีหมูห นิ 7 หมู
(เรียงจากใหมสดุ ไปเกาสุด) คือ กระบี่ โคราช ลําปาง ราชบุรี ตะนาวศรี ทุง สง และตะรุเตา

65 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ตารางหมูหินในประเทศไทย (แบงตามธรณีกาล)
มหายุค ยุค อายุ/ลานป หมูหิน ลักษณะเดน สิง่ มีชวี ติ
ซีโนโซอิก (ที่ราบ) ควอเตอรนารี 2-3 - ดินตะกอนทับถมกันยังไมแข็งตัว มนุษย
เทอรเซียรี 70 กระบี่ หินแข็งกึง่ รวน หินดินดานมีถา นหิน/ สัตวเลีย้ งลูก
นํ้ามันแทรกในชั้นหิน ดวยนํ้านม
ครีเตเซียส 135 โคราช หินทราย หินกรวดมน หินดินดานมี
มีโสโซอิก หินเกลือแทรก สัตวเลือ้ ยคลาน
(ทีร่ าบสูง) ยูแรสสิก 180 ลําปาง หินทราย หินกรวดมน หินดินดาน (ไดโนเสาร)
ไทรแอสสิก 225 มีหนิ ภูเขาไฟแทรก ปาสน เฟน
เปอรเมียน 270 ราชบุรี หินปูนสีเทาออนสลับหินชนิดอืน่ สัตวครึง่ บก/นํ้า
คารบอนิเฟอรัส 350 ตะนาวศรี หินทราย หินดินดาน มีหนิ แปรแทรก สัตวนา/พื
้ํ ชนํา้
พาเลโอโซอิก ดีโวเนียน 400 เชน หินชนวน
(ภูเขา) ไซลูเรียน 440 ทุง สง หินปูนสีเทาเขม เนือ้ หินแนนอยูก นั สัตวไมมกี ระดูก
ออรโดวิเซียน 500 เปนชัน้ หนาๆ
แคมเบรียน 600 ตะรุเตา หินทรายสีแดง หินดินดานสีแดง สัตวชั้นตํา่
พรีแคมเบรียน 3,000 - ไมมชี น้ั หินในไทย มีแตเศษหิน ไมมีสิ่งมีชีวิต
แทรกอยูใ นชัน้ หินตางๆ

โครงสรางทางธรณีในประเทศไทย
ประเทศไทยมีโครงสรางทางธรณีวทิ ยา 3 ประเภท ดังนี้
ก. ทีร่ าบ - เปนโครงสรางใหมสดุ ในมหายุคซีโนโซอิก จะพบหมูห นิ กระบี่ และตะกอนยุคควอเตอรนารี
ข. ทีร่ าบสูง - เปนโครงสรางทีม่ อี ยูไ มใหมและไมเกาในมหายุคมีโสโซอิก จะพบหมูห นิ ลําปางและโคราช
ค. เทือกเขา - เปนโครงสรางทีเ่ กาแกทส่ี ดุ จะพบหมูห นิ ราชบุรี ตะนาวศรี ทุง สง และตะรุเตา
การผันแปรของเปลือกโลก
เปลือกโลกมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาแบงได 2 ลักษณะ
ก. กระบวนการเทคโทนิค เปลีย่ นแปลงเปลือกโลกอยางรวดเร็วโดยอาศัยพลังงานภายในโลก การเปลีย่ นแปลงนี้
อยูใ นรูปของแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ทําใหเกิดภูมปิ ระเทศดังนี้
- รอยคดโคง (Fold) เชน เทือกเขาในภาคเหนือ ตะวันตกและใต
- รอยโกงงอ (Warp) เชน เนินเขาตางๆ ในประเทศไทย
- รอยแยกแยะ (Joint) เชน ภูหนิ รองกลา จังหวัดพิษณุโลก
- รอยเลือ่ น (Fault) เชน การยกตัวและทรุดตัวของภูมปิ ระเทศตางๆ ประเทศไทย

66 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แผนทีภ่ มู ปิ ระเทศของประเทศไทยแสดงทิวเขาโดยใชเสนแรเงาสีดาํ

67 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ข. กระบวนการจัดระดับ เปลีย่ นแปลงโลกอยางชาๆ โดยอาศัยพลังงานจากดวงอาทิตยและแรงดึงดูดของโลก


ตัวการทีท่ าให
ํ เปลือกโลกเปลีย่ นแปลง มีดงั นี้
- ฝน กอใหเกิด นํ้าตก แผนดินถลม แมน้าํ ลําธาร รองนํ้า หนาดินสึกกรอน
- แมนา้ํ กอใหเกิด นํ้าตก แกงนํ้าโจน ทีร่ าบ โตรกเขา ทะเลสาบรูปแอก กุมภลักษณ
- นํ้าใตดนิ กอใหเกิด นํ้าพุ นําพุ
้ รอ น กีเซอร ถํ้าใตดนิ หินงอกหินยอย ไมกลายเปนหิน
- ธารนําแข็
้ ง กอใหเกิด ทีร่ าบ ทะเลสาบ ฟยอรด
- ลม กอใหเกิด แองทะเลทราย สันทราย ทีร่ าบสูงเลอส โอเอซิส หนาดินสึกกรอน
- คลืน่ ทะเล กอใหเกิด ชายหาด ถํ้าทะเล ถํ้าลอด หนาผาทะเล สันทราย ลากูน
- แรงดึงดูด กอใหเกิด แผนดินถลม การทรุดตัวของอาคาร
ภูมิประเทศที่เกิดจากการยกตัวและทรุดตัวของเปลือกโลก (รอยเลื่อน)
ภูมปิ ระเทศทีเ่ กิดจากการยกตัวของเปลือกโลก
- เทือกเขาในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ทีร่ าบสูงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ชายฝง ทะเลดานอาวไทย
ภูมปิ ระเทศทีเ่ กิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก
- แหลงนําธรรมชาติ
้ ตา งๆ เชน กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหาน
- ทีร่ าบภาคกลาง และฉนวนไทย (ปราจีนบุรี - สระแกว)
- ชายฝงทะเลดานอันดามัน
ลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากการผันแปรของเปลือกโลกในประเทศไทย
1. ที่ราบ (Plain)
ก. ทีร่ าบชายฝง ทะเล คือ ทีร่ าบทีอ่ ยูช ดิ กับชายฝง ทะเล เกิดจากการยกตัวของเปลือกโลกหรือการทับถม
ของตะกอน เชน ทีร่ าบรอบอาวไทยและทีร่ าบชายฝง อันดามัน
ข. ทีร่ าบเชิงเขารูปพัด คือ ทีร่ าบทีอ่ ยูบ ริเวณเชิงเขา เกิดจากตะกอนทีแ่ มน้ําพัดพามาจากภูเขาทับถมกัน
เชน บริเวณทีร่ าบในภาคเหนือ
ค. ทีร่ าบลุม แมน้าํ คือ ทีร่ าบทีเ่ กิดจากการทับถมของตะกอนบริเวณ 2 ฟากฝง แมนาและการกั
้ํ ดเซาะ
- ทีร่ าบนําท้ วมถึง เชน ลุม แมนาเจ้ํ าพระยาตัง้ แตนครสวรรคถงึ อาวไทย
- ทีร่ าบดินดอนสามเหลีย่ มปากแมน้ํา เชน ทีร่ าบภาคกลางตอนลาง ลุม แมนาเจ ้ํ าพระยา ตัง้ แตชยั นาท
ถึงอาวไทย
- ทีร่ าบขัน้ บันได เชน ทีร่ าบภาคกลางตอนบน และทีร่ าบลุม แมนาป ้ํ าสัก
- ทีร่ าบลูกฟูก เชน ทีร่ าบภาคกลางตอนบน
2. ทีร่ าบสูง (Plateau)
ในประเทศไทยมีทเ่ี ดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียกวา ทีร่ าบสูงโคราช เกิดจากการยกตัวของเปลือกโลก
ใตทะเลทีเ่ ชือ่ เชนนีเ้ พราะดินเค็ม ฟอสซิลและโครงสรางของหินเหมือนเปลือกโลกใตอา วไทย ทีร่ าบสูงนีเ้ ปนทีร่ าบสูง รูปโตะ
หรือทีร่ าบสูงทวีป

68 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

3. ภูเขา (Mountain)
ก. เทือกเขาที่เกิดจากรอยคดโคง เชน เทือกเขาในภาคเหนือ ตะวันตกและใต (สวนใหญเปนภูเขาหินปูน)
ข. ภูเขายอดตัดหรือภูเขาบลอก เชน ภูกระดึง ภูหลวง ภูเรือ ภูขเี้ ถา ในจังหวัดเลย (สวนใหญเปนภูเขาหินทราย)
ค. ภูเขารูปโดม เชน ภูเขาโดดๆ ในภาคกลางตอนบน และดอยเตา (สวนใหญเปนภูเขาหินแกรนิต)
ง. ภูเขาไฟ เชน ภูพนมรุง ภูองั คาร ภูกระโดง (บุรรี มั ย) มอนจําปาแดด มอนหินฟู (ลําปาง)
4. ทะเลสาบ (Lake)
ก. ทะเลสาบชายฝง ทะเล (Lagoon) เชน อาวคุง กระเบน จังหวัดจันทบุรี ทะเลสาบสงขลา จังหวัดสงขลา
ข. ทะเลสาบปากปลองภูเขาไฟ (Creter Lake) เชน ทะเลสาบบนภูกระโดง จังหวัดบุรรี มั ย
ค. ทะเลสาบทีเ่ กิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก เชน กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหาน
ง. ทะเลสาบทีม่ นุษยสรางขึน้ (Reservoir) เชน อางเก็บนํ้า ทะเลสาบเหนือเขือ่ น
จ. ทะเลสาบเกิดจากการเปลีย่ นทางเดินของแมน้ํา (Ox Bow Lake) เชน กุดตางๆ ในภาคอีสาน
5. ชายฝง ทะเล (Shore Line)
ก. ชายฝง ทะเลโผลหรือชายฝง ทะเลยกตัว (Emerged Coast Line) เชน ชายฝง ดานอาวไทย
ข. ชายฝง ทะเลจม หรือชายฝง ทะเลทรุดตัว (Submerged Coast Line) เชน ชายฝงดานอันดามัน
ค. ชายฝง ทะเลเปนกลาง เกิดจากการทับถมของตะกอน เชน แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช
6. เกาะ (Island)
ก. เกาะริมทวีป อยูใ กลแผนดินใหญ เกิดจากการผันแปรของเปลือกโลก เชน เกาะตางๆ ในไทย
ข. เกาะกลางมหาสมุทร อยูไ กลแผนดินใหญ เกิดจากการทับถมของปะการังหรือภูเขาไฟใตทะเล เกาะประเภทนี้
ไมมใี นไทย
ภูมิประเทศในภูมิภาคตางๆ ของไทย
ภาคเหนือ * เทือกเขาสูง (หลวงพระบาง ผีปนนํา้ ถนนธงชัย แดนลาว)
- แองทีร่ าบระหวางภูเขา
ภาคกลาง * ทีร่ าบ (ทีร่ าบลุม แมน้าํ ทีร่ าบดินดอนสามเหลีย่ มปากแมน้ํา)
- ทีส่ งู บริเวณขอบตะวันออกและตะวันตกของภาค
ภาคตะวันตก * เทือกเขาสูง (ถนนธงชัย ตะนาวศรี)
- ทีร่ าบลุม แมน้าํ (แควนอย แควใหญ แมกลอง เพชรบุรี)
- ทีร่ าบชายฝง ทะเล (ดานอาวไทย)
ภาคตะวันออก * เทือกเขาสูง (จันทบุรี บรรทัด)
- ทีร่ าบลุม แมน้าํ (บางปะกง)
- ทีร่ าบชายฝง ทะเล (ดานอาวไทย)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ * ทีร่ าบสูง (ทีร่ าบสูงโคราช)
- เทือกเขาสูง (เพชรบูรณ ดงพญาเย็น สันกําแพง พนมดงรัก ภูพาน)
ภาคใต * คาบสมุทร
- ทีร่ าบชายฝง ทะเล (ดานอาวไทย และอันดามัน)
- เทือกเขาสูง (ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สันกาลาคีรี)
- เกาะ
หมายเหตุ * ลักษณะภูมปิ ระเทศทีเ่ ดนสําคัญของภูมิภาค

69 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แผนทีแ่ สดงการแบงเขตการปกครองเปนจังหวัดและการแบงเขตภาคภูมศิ าสตรของประเทศไทย

70 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ลมฟาอากาศ (Weather)
ลมฟาอากาศ (Weather) คือ สภาพของอากาศทีป่ รากฏในบริเวณใดบริเวณหนึง่ และเวลาใดเวลาหนึง่ ลักษณะเชนนี้
จะมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา
ภูมอิ ากาศ (Climate) คือ สภาพของอากาศทีป่ รากฏในบริเวณใดบริเวณหนึง่ เปนประจําๆ ลักษณะเชนนี้ก็คือ
ลักษณะของลมฟาอากาศทีป่ รากฏบอยๆ นั่นเอง จะไมมกี ารเปลีย่ นแปลง
องคประกอบของลมฟาอากาศและภูมอิ ากาศ
ก. อุณหภูมิ คือ ความรอน-เย็นของอากาศ ซึง่ ไดรบั มาจากดวงอาทิตย และการคลายความรอนของโลก
โดยมีปจ จัยควบคุม ดังนี้
- แนวละติจดู เชน ละติจดู ตํา่ (0°-23.5°) อุณหภูมสิ งู (เขตรอน)
ละติจดู กลาง (23.5°-66.5°) อุณหภูมปิ านกลาง (เขตอบอุน)
ละติจดู สูง (66.5°-90°) อุณหภูมติ ่าํ (เขตหนาว)
- พืน้ ดิน, พืน้ นํ้า เชน พืน้ ดินจะรับความรอนและคลายความรอนเร็วกวาพืน้ นํา้
พืน้ นํ้าจะรับความรอนและคลายความรอนชากวาพืน้ ดิน
- กลางวัน-กลางคืน เชน กลางวันอุณหภูมสิ งู กลางคืนอุณหภูมติ า่ํ
ข. ความกดอากาศ คือ นํ้าหนักของอากาศทีต่ กลงสูพ น้ื ผิวโลก แบงได 2 ชนิด คือ
- ความกดอากาศสูง H จะมีอณ ุ หภูมติ าและท
่ํ องฟาโปรง
- ความกดอากาศตํา่ L จะมีอณ ุ หภูมสิ งู และทองฟามีเมฆมาก
ค. ความชื้น คือ ปริมาณไอนําที
้ ม่ อี ยูใ นอากาศ ถาอากาศมีไอนํ้ามาก เรียกวา อากาศชื้น ถามีไอนําน้ อย เรียกวา
อากาศแหง ในทางอุตนุ ยิ มวิทยามักจะคํานวณหาปริมาณไอนําในอากาศ ้ และจะบอกคาความชืน้ ทีเ่ รียกวา
ความชืน้ สัมพัทธ (ความชื้นสัมพัทธ คือ รอยละของอัตราสวนระหวางไอนําที ้ ม่ อี ยูจ ริงในอากาศตอไอนําที
้ ่
อากาศขณะนัน้ รับไดเต็มที่) ถาคาความชืน้ สัมพัทธใกล 100 มากเทาไร โอกาสทีจ่ ะมีฝนตกก็จะมากเทานัน้
ภูมอิ ากาศในประเทศไทย
ตามระบบเคิปเปน ประเทศไทยมีลกั ษณะภูมอิ ากาศแบบปาฝนเมืองรอน (Tropical Rain Climate) โดยมี
อุณหภูมขิ องอากาศเฉลีย่ ไมตากว
่ํ า 18 องศาเซลเซียส แตเนือ่ งจากในภูมภิ าคตางๆ ของไทยมีปริมาณของฝนทีต่ กแตกตางกัน
ทําใหแบงเขตภูมอิ ากาศออกเปนเขตยอยๆ ได 2 เขต ดังนี้
ก. มรสุมเมืองรอน (Am.) อุณหภูมอิ ากาศสูงตลอดป ความชุม ชืน้ จากฝนสลับกับความแหงแลงในรอบป
เนือ่ งจากอิทธิพลของลมมรสุม ทําใหพชื พรรณธรรมชาติเปนปาไมผลัดใบเมืองรอน อากาศประเภทนีพ้ บบริเวณภาคใต
และบางจังหวัดของภาคตะวันออก (จันทบุร,ี ตราด)
ข. ทุง หญาเมืองรอน (สะวันนา) (Aw.) อุณหภูมอิ ากาศสูงตลอดป อากาศคอนขางแหงแลง เพราะปริมาณ
ฝนตกนอย ภูมอิ ากาศประเภทนีพ้ บในภูมภิ าคตางๆ ของประเทศไทยเปนสวนใหญ พืชพรรณธรรมชาติเปนปาโปรง หรือ
ทุง หญาสลับปาไม

71 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

อิทธิพลตางๆ ที่ทาให
ํ ภูมิอากาศในประเทศไทยมีความแตกตางกัน
1. ทําเลทีต่ ง้ั เนือ่ งจากประเทศไทยตัง้ อยูใ นเขตรอนของโลกระหวางละติจดู ที่ 5° N ถึง 20° N ทําใหอณ ุ หภูมิ
เฉลีย่ ของประเทศไทยสูง (27°-28° C) ในภูมภิ าคตางๆ จะมีทําเลทีต่ ง้ั อยูใ กลและไกลทะเลตางกัน ทําใหปริมาณของฝน
(ความชุมชื้น) แตกตางกัน นอกจากนีบ้ างภูมภิ าคมีภมู ปิ ระเทศเปนเทือกเขาสูงมีผลทําใหอณ ุ หภูมขิ องอากาศลดตํ่าลงบาง
เชน ภาคเหนือบนภูเขาจะมีอณ ุ หภูมติ าหรื
่ํ อภาคตะวันออกเฉียงเหนือพืน้ ทีส่ ว นใหญเปนทีร่ าบสูงจึงมีโอกาสรับแสงแดดสูง
อัตราการระเหยของนํ้าสูงกวาภูมภิ าคอืน่ ๆ เปนตน

72 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

2. ลมประจํา ลมและทิศทางของลมประจําป ลมประจําฤดู ลมประจําถิน่ และพายุมผี ลโดยตรงตอปริมาณ


นํ้าฝนในประเทศไทย
ก. ลมประจําป เนือ่ งจากประเทศไทยตัง้ อยูใ นเขตรอนจึงไดรบั อิทธิพลของลมสินคาตะวันออกเฉียงเหนือ
(ซีกโลกเหนือ)
ข. ลมประจําฤดูหรือลมมรสุม เปนลมทีม่ อี ทิ ธิพลตอภูมอิ ากาศในประเทศไทยมากทีส่ ดุ เพราะอยูใ นเขตที่
ลมมรสุมพัดผาน โดยแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
- มรสุมฤดูรอ น (มรสุมตะวันตกเฉียงใต) พัดระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ในทิศทางจาก
ตะวันตกเฉียงใตไปทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ลมมรสุมนี้จะพัดพาความชุมชื้น (ฝน) จากทะเลเขาไปสูภ มู ภิ าคตางๆ ทําให
ภูมภิ าคตางๆ มีฝนชุก แตในบริเวณทะเลอันดามันจะมีคลืน่ ลมแรงไมเหมาะแกการทองเทีย่ ว
- มรสุมฤดูหนาว (มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ) พัดระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน ในทิศทาง
จากตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต ลมนีจ้ ะพัดพาความหนาวเย็นและแหงแลงปกคลุมภูมภิ าคตางๆ ยกเวน
ภาคใตฝง ตะวันออกจะมีฝนตกชุก เพราะลมพัดผานทะเลดานอาวไทย นําความชุมชื้น (ฝน)
ค. ลมประจําถิ่น ประเทศไทยมีลมประจําถิน่ พัดอยู 2 ลม ดังนี้
- ลมขาวเบา (ลมวาว) เปนลมทีพ่ ดั ในชวงมรสุมฤดูรอ นจะเปลีย่ นไปเปนลมมรสุมฤดูหนาวระหวาง
เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ลมนีจ้ ะพัดจากทางตอนบนของประเทศลงมาทางตอนลาง เปนลมรอน ทําใหขา วกลา
ในนาสุกเร็วกอนกําหนด เรียกวา ขาวเบา
- ลมตะเภา เปนลมทีพ่ ดั ในชวงมรสุมฤดูหนาวจะเปลีย่ นไปเปนลมมรสุมฤดูรอ นระหวางเดือนกุมภาพันธ
ถึงเดือนเมษายน ลมนีจ้ ะพัดจากบริเวณอาวไทยขึน้ ไปสูบ ริเวณทีร่ าบภาคกลางทําใหอากาศมีความชืน้ เพิม่ ขึน้ ในสมัยโบราณ
ใชลมนีพ้ ดั พาเรือสําเภาทีบ่ รรทุกสินคาเขามาสูก รุงศรีอยุธยา จึงเรียกกันวา ลมตะเภา (ในสมัยโบราณเรียกเรือสําเภาวา
เรือตะเภา)
ง. พายุ เปนการเคลือ่ นทีข่ องลมทีม่ คี วามเร็วสูง ประเทศไทยมีพายุทเี่ กิดขึน้ เปนประจําอยู 2 ประเภท ไดแก
พายุฟา คะนองหรือพายุฤดูรอ น เปนพายุทเ่ี กิดขึน้ ในชวงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พายุนจ้ี ะเกิดขึน้ ใน
พืน้ ทีแ่ คบๆ ลมกระโชกแรง ในขณะทีเ่ กิดอาจจะมีฟา แลบ ฟารอง ฟาผา และมีลกู เห็บตกกอนทีจ่ ะมีฝนตก ทําความเสีย
หายแกทรัพยสนิ เปนอันมาก
พายุหมุน เปนพายุทเ่ี กิดขึน้ เนือ่ งจากความกดอากาศสูง และความกดอากาศตํ่ามีความแตกตางกันมาก
เปนพายุทเ่ี กิดขึน้ ในชวงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม พายุหมุนนีจ้ ะมีความรุนแรงของลมตางกัน ตัง้ แตพายุดเี ปรสชัน่
(ความเร็วไมเกิน 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง) พายุโซนรอน (ความเร็วระหวาง 60-120 กิโลเมตร/ชั่วโมง) และพายุไตฝนุ
(ความเร็วเกิน 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง) สําหรับพายุหมุนนีจ้ ะเปนตัวเพิม่ ปริมาณนําฝนในแต
้ ละปของประเทศไทย
3. แนวเทือกเขา สําหรับแนวภูเขานัน้ จะมีผลตอปริมาณความชุม ชืน้ ของอากาศทีล่ มพัดพามา โดยเฉพาะ
แนวเทือกเขาทีก่ น้ั ทิศทางลมประจําตางๆ ดานที่รับลมจะมีปริมาณความชุมชื้น (ฝนตก) สูง สวนดานหลังของเทือกเขาจะ
มีปริมาณความชื้นตํ่า เปนเขตเงาฝน ในเรือ่ งนีใ้ หกลับไปพิจารณาวาระหวางแนวเทือกเขาตางๆ ในประเทศไทยกับทิศทาง
การเคลือ่ นทีข่ องลมประจําฤดู (ลมมรสุม) ประกอบ ทําใหเขาใจมากขึ้น
4. ความชืน้ และปริมาณนํ้าฝนในชวงฤดูฝน ในชวงฤดูฝนนัน้ เปนชวงทีล่ มมรสุมฤดูรอ นและพายุหมุนพัดผาน
ทําใหมปี ริมาณฝนและความชืน้ สูง แตถา ใหชว งมรสุมฤดูหนาวนัน้ อากาศคอนขางแหงแลง ยกเวนพืน้ ทีช่ ายฝง ทะเลของ
ภาคใตฝง ตะวันออกจะมีฝนตกและความชืน้ สูง ฝนทีต่ กในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ

73 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ฝนภูเขา จะตกในชวงฤดูฝน บริเวณเทือกเขาตางๆ โดยเฉพาะจังหวัดระยองและตราดจะมีฝนชนิดนีต้ กได


ปริมาณนําฝนมากตามลํ
้ าดับ
ฝนปะทะมวลอากาศหรือฝนปะทะมรสุม เกิดจากลมมรสุมพัดพาความชืน้ จากทะเลเขามาสูแ ผนดิน ทําใหฝนตก
แผกระจายเปนบริเวณกวาง ฝนชนิดนีป้ ระเทศไทยไดรบั เปนสวนใหญ
ฝนพาความรอน เกิดจากการระเหยของความชืน้ บนพืน้ ผิวโลก แลวสะสมตัวในบรรยากาศ จะมีฝนตก
ในชวงบายและคํ่า เนือ่ งจากในอากาศมีปริมาณไอนํ้าสะสมมาก ฝนชนิดนีจ้ ะพบในภาคใตของไทย
ทรัพยากรดิน (Soil) ในประเทศไทย
ดินในประเทศไทยจะแตกตางกันไป เพราะลักษณะภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ วัตถุตน กําเนิดดิน สิง่ มีชวี ติ ในดิน
และอายุเวลา ดินสวนใหญในประเทศไทยมีคณ ุ ภาพตําเพราะอยู
่ ในเขตรอนชื้น การสลายตัวของอินทรียวัตถุรวดเร็ว
เราแบงดินออกเปน 5 กลุม คือ
ก. ดินตะกอนลุม นํ้า - มีความอุดมสมบูรณสงู
ข. ดินตะพักลํานํ้า - มีความอุดมปานกลาง
ค. ดินภูเขา - เดิมมีความสมบูรณสงู เพราะเปนพืน้ ทีป่ า
ง. ดินชายฝงทะเล - มีความสมบูรณสงู (ดินทราย, โคลนตม)
จ. ดินเปนกรด-ดาง - ความสมบูรณมากบางนอยบางปะปนกัน
การใชทรัพยากรดินในประเทศไทยมักจะใชผดิ วิธี เชน ปลูกพืชซําซากหรื ้ อใชทด่ี นิ ผิดประเภท เชน ดินดีเหมาะ
ในการเพาะปลูก แตนําไปใชสรางโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน
การอนุรกั ษดนิ
ก. ปองกันการกัดเซาะพังทลายของดิน ดวยการปลูกพืชคลุมดิน เชน หญาแฝก
ข. รักษาความสมบูรณของดิน ดวยการปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชสลับแถวในพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามชันนอย
ปลูกพืชตามระดับความสูงของพืน้ ทีใ่ นพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามชันมากและการปลูกพืชแบบขัน้ บันไดในพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามชันปานกลาง
ค. รักษาพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามสมบูรณไวเพือ่ การเพาะปลูก
ทรัพยากรนําในประเทศไทย

ประเทศไทยมีปริมาณนําค ้ อนขางมาก เพราะอยูในเขตรอนชื้น แตปญ
 หาเกีย่ วกับทรัพยากรนํ้าในประเทศมี 2
ประการ คือ ปริมาณนํ้าในฤดูกาลตางมีไมเทากัน และคุณภาพของนํ้านับวันจะเสือ่ มลงทุกวัน ปญหาเหลานีส้ ามารถแกได
ดังนี้
ก. รักษาพืน้ ทีป่ า ไมทเ่ี ปนแหลงตนนําลํ
้ าธาร
ข. สรางเขือ่ นและอางเก็บนํ้า เพือ่ กักเก็บนําไว
้ ใชในฤดูแลง
ค. ไมควรทิง้ สิง่ ปฏิกลู และนําเสี
้ ยลงในแหลงนํา้
ทรัพยากรปาไมในประเทศไทย
ปาไมเปนทรัพยากรธรรมชาติทม่ี คี า ทัง้ ประเภทปาไมตน นํ้าลําธาร (ปาบริสทุ ธิ)์ และปาผลผลิต ในปจจุบนั ปาไม
ในประเทศไทยลดลงเปนจํานวนมาก เนือ่ งจากการลักลอบตัดไม การทําไรเลือ่ นลอย การขยายพืน้ ทีท่ ําการเกษตรกรรม
และการขยายพืน้ ทีอ่ ยูอ าศัยปาไมในประเทศไทยแบงได 2 ประเภทใหญๆ ดังนี้

74 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ก. ปาไมผลัดใบเมืองรอน
- ปาเบญจพรรณ ไมมคี า ไดแก ไมสกั ไมประดู ไมแดง ไมมะคา ไมไผ เปนปาไมทม่ี มี ากทีส่ ดุ ในไทย
- ปาแดง ไมมคี า ไดแก ไมเต็ง ไมรงั ไมพลวง ไมเหียง ไมพยอม
- ไมชายหาด ไมมีคา ไดแก ไมกระทิง สนทะเล
ข. ปาไมไมผลัดใบเมืองรอน
- ปาดงดิบ/ปาดิบชื้น ไมมีคา ไดแก ไมยาง ไมพะยุง ไมตะเคียน หวาย
- ปาดิบเขา ไมมีคา ไดแก ไมกอ ไมยม ไมยาง ไมจาป
ํ ปา
- ปาสนเขา ไมมีคา ไดแก สนสองใบ สนสามใบ
- ปาเลนนํ้าเค็ม ไมมีคา ไดแก ไมโกงกาง ไมแสม
- ปาพรุ ไมมคี า ไดแก อินทนิลนํ้า ไมลําพู
สถิตปิ ริมาณพืน้ ทีป่ า ไม ป พ.ศ. 2541
ภาคเหนือ 38.4%
ภาคตะวันออก 20.4%
ภาคใต 17.2%
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12.4%
ภาคตะวันตก 49.7%
ภาคกลาง 14.8%
การอนุรกั ษปา ไม
ก. ประกาศเขตปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติและเขตคุม ครองพันธุส ตั วปา
ข. ปลูกปาเพิม่ ตามโครงการประชาอาสา จัดทําสวนปา หมูบ า นปาไมและโครงการปารักษนา้ํ
ค. ออกพระราชบัญญัตปิ ด ปา (ไมอนุญาตในการใหสมั ปทานทําอุตสาหกรรมปาไม)
ง. การปลูกปาเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสสําคัญๆ ของพระราชวงศ
ทรัพยากรแรธาตุในประเทศไทย
ก. แรโลหะ
เหล็ก - ลพบุรี นครสวรรค กาญจนบุรี ชลบุรี
ทองแดง - เลย ขอนแกน
บ็อกไซด - สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช
ดีบกุ , แทนทาลัม - ระนอง พังงา ภูเก็ต
ทังสเตน (วุลแฟรม) - เชียงราย นครศรีธรรมราช
ทองคํา - ประจวบคีรขี นั ธ ปราจีนบุรี นราธิวาส
สังกะสี - ตาก
ตะกัว่ - กาญจนบุรี
แมงกานีส - ชลบุรี นราธิวาส ยะลา เลย

75 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ข. แรอโลหะ
ฟลูออไรด - ลําพูน ลําปาง ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี สุราษฎรธานี
ยิปซัม - พิจติ ร สุราษฎรธานี นครสวรรค ลําปาง
เกลือหิน - มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี นครราชสีมา ชัยภูมิ ยโสธร
เกลือทะเล - สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ดินมารล (ดินสอพอง) - ลพบุรี
ดินเกาลิน (ดินขาว) - ลําปาง
หินออน - สระบุรี สุโขทัย นครนายก กําแพงเพชร
ทรายแกว - ระยอง
โพแตซ - ชัยภูมิ นครราชสีมา อุดรธานี หนองคาย สกลนคร
ค. แรเชือ้ เพลิง-กัมมันตภาพรังสี
ถานหิน - ลําพูน ลําปาง กระบี่
นํ้ามัน - เชียงใหม ขอนแกน กําแพงเพชร อาวไทย
หินนํามั
้ น - ตาก ลําพูน
กาซธรรมชาติ - ขอนแกน อาวไทย
ยูเรเนียม - ขอนแกน (ทอเรียม-พังงา ระนอง ภูเก็ต)
ง. รัตนชาติ
พลอย - จันทบุรี ตราด กาญจนบุรี
ทรัพยากรอากาศ
อากาศทีบ่ ริสทุ ธิเ์ ปนสิง่ ทีม่ คี วามสําคัญตอการเจริญเติบโตของสิง่ มีชวี ติ แตในปจจุบนั อากาศไมมคี วามบริสทุ ธิ์
เพิ่มมากขึ้น เนือ่ งจากมลพิษในอากาศสูงมาก เนือ่ งจากการกระทําของมนุษยและตามธรรมชาติ (ภูเขาไฟระเบิด ไฟปา
ละอองเกสรดอกไม ฝุน ละอองจากอินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุ) สําหรับการกระทําของมนุษยนน้ั ถาชวยกันอากาศก็จะ
มีมลพิษนอย เชน หมัน่ ตรวจเช็คสภาพเครือ่ งจักรเครือ่ งยนตอยูเ สมอ ลดการเผาปาและขยะ ลดการใชสาร CFC และ
สารตะกัว่ ควบคุมการใชสารเคมีและกัมมันตภาพรังสีอยางมีประสิทธิภาพแลวอากาศในโลกก็จะมีความบริสทุ ธิม์ ากยิง่ ขึน้
ทรัพยากรสัตวปา
สัตวปา เปนสิง่ ทีช่ ว ยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ในขณะเดียวกันสัตวปา ยังทําหนาทีเ่ ปนสีสนั ใหกบั ปาไม แตใน
ปจจุบนั ปาไมมพี น้ื ทีล่ ดนอยลง ปริมาณของสัตวปา ก็มผี ลลดลงตามไปดวย นอกจากนีต้ วั การสําคัญทีท่ ําใหสตั วปา ลด
ปริมาณลงอยางมากก็คอื มนุษย เพราะนําสัตวปา มาเปนอาหาร เปนเครือ่ งประกอบยา และมีการลาเพือ่ เปนเกมกีฬา
เปนตน ดังนัน้ การอนุรกั ษใหสตั วปา มีปริมาณเพิม่ ขึน้ และคงอยูก บั โลกตลอดไป รัฐบาลไดกําหนดมาตรการสําคัญไวดงั นี้
1. ออกพระราชบัญญัตกิ ําหนดประเภทของสัตวบางชนิดเปนสัตวปา สงวนหามเลีย้ งและมีไวในครอบครอง
2. ออกพระราชบัญญัตกิ ําหนดประเภทของสัตวปา บางชนิดเปนสัตวปา คุม ครองประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2
โดยพิจารณาจากการลาเพือ่ เปนอาหารหรือเกมกีฬาหรือไม เปนตน
3. กําหนดพืน้ ทีป่ า เปนเขตคุม ครองและรักษาพันธุส ตั วปา เพือ่ ใชเปนทีอ่ ยูอ าศัยของสัตวปา เปนตน

76 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

จํานวนประชากร
ปจจุบนั ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 62 ลานคน (พ.ศ. 2542) ประชากรสวนใหญมเี ชือ้ ชาติไทย นับถือ
ศาสนาพุทธ รองลงไปก็คอื อิสลามและคริสต ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณ 60% อาศัยอยูใ นเขตทีร่ าบลุม แมน้ํา
ทีร่ าบชายฝง ทะเล ปจจุบนั ยังมีอตั ราการเพิม่ ของประชากรสูงอยู ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7
(พ.ศ. 2535-2539) จะลดลงเหลือ 1.2%
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรเกิน 1 ลานคนมี 19 จังหวัด (พ.ศ. 2542)
ภาคเหนือ เชียงใหม เชียงราย
ภาคกลาง กรุงเทพมหานคร นครสวรรค เพชรบูรณ
ภาคใต นครศรีธรรมราช สงขลา สุราษฎรธานี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา บุรรี มั ย สุรนิ ทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี รอยเอ็ด ขอนแกน
ชัยภูมิ อุดรธานี สกลนคร
ภาคตะวันออก ชลบุรี
- ความหนาแนนของประชากรเฉลีย่ 120 คนตอตารางกิโลเมตร เรียงความหนาแนนตามรายภาคไดดงั นี้
ก. ภาคกลาง (206) ง. ภาคตะวันออก (113)
ข. ภาคใต (114) จ. ภาคตะวันตก (56)
ค. ภาคอีสาน (126) ฉ. ภาคเหนือ (67)
- จํานวนประชากรแตละภาค เรียงจากมากไปหานอยไดดงั นีค้ อื ภาคอีสาน (21.3 ลาน) ภาคกลาง (18.9 ลาน)
ภาคใต (8.1 ลาน) ภาคเหนือ (6.3 ลาน) ภาคตะวันออก (3.91 ลาน) และภาคตะวันตก (3.0 ลาน)
ปญหาประชากรไทย
ประเทศไทยประสบปญหาทางดานประชากร สืบเนือ่ งจากการทีอ่ ตั ราการเพิม่ ของประชากรอยูใ นระดับสูง ดังนัน้
การแกไขปญหาตางๆ เกีย่ วกับประชากรจะตองลดอัตราการเพิม่ ของประชากรลง ซึง่ เริม่ ตัง้ แตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติฉบับที่ 3 เปนตนมาถึงปจจุบนั
ปญหาตางๆ พอสรุปไดดงั นี้
ก. ปญหาเศรษฐกิจ - ประชาชนสวนใหญเปนเกษตรกร ขาดทีท่ ํากิน ผลผลิตตํา่ ราคาผลผลิตตํา่
ฝนแลง นําท
้ วม
ข. ปญหาสุขภาพอนามัย - อาหารไมถกู สุขลักษณะ อาหารไมถกู หลักโภชนาการ โรคขาดอาหาร โรคทางเดิน-
อาหาร
ค. ปญหาทางดานสังคม - การวางงาน อาชญากรรม ยาเสพติด โสเภณี
ง. ปญหาการศึกษา - ปญหาการไมรหู นังสือ ปญหาการขาดความรูใ นอาชีพ ปญหาการขาดการศึกษา
จริยธรรม
จ. ปญหาเกีย่ วกับการอพยพยายถิน่ ของคนในชนบทสูเ มือง
- ปญหาการวางงาน ปญหาไมมที ท่ี ากิ
ํ น ปญหาภัยแลง ปญหาโจรผูรายชุกชุมในชนบท ทําใหผคู นอพยพ
ยายถิน่ ออกไป
- ความสะดวกในดานสาธารณูปโภค สาธารณสุข การศึกษา และมีงานทํามากของเมือง ทําใหผคู นอพยพ
ยายถิ่นเขามา

77 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แนวทางแกไขปญหา
ก. ลดอัตราการเพิม่ ของประชากร เพือ่ ใหเหมาะสมกับระดับการพัฒนา
ข. รัฐบาลพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชากร โดยจัดสาธารณูปโภคทัง้ ในเมืองและชนบทใหทว่ั ถึง
ค. รัฐบาลปรับปรุงการกระจายรายได โดยสงเสริมการลงทุนในภูมภิ าค
ทะเลไทย
ประเทศไทยมีอาณาเขตติดตอทะเลถึง 2 ทะเล คือ
ก. ทะเลจีนใต คือ ทะเลบริเวณอาวไทย ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของมหาสมุทรแปซิฟก ทะเลดานนี้เปนเขตนํ้าตืน้
จัดเปนเขตไหลทวีป เรียกวา "ไหลทวีปซุนดา" มีความลึกบริเวณทีล่ กึ สุดประมาณ 80 เมตร ทะเลเขตนี้ใช
เดินเรือขุดกาซธรรมชาติ นํ้ามันปโตรเลียม ประมง และทองเทีย่ ว
ข. ทะเลอันดามัน เปนทะเลดานตะวันตกของภาคใต ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของมหาสมุทรอินเดียเปนเขตนํ้าลึก
นอกจากใชเดินเรือแลวยังใชในการประมง ขุดแร (ดีบกุ ) และทองเทีย่ ว
นานนํ้าในทะเล
นานนํ้าในทะเล ตามกฎหมายทางทะเลระหวางประเทศ แบงไดดงั นี้
ก. นานนํ้าอาณาเขต คือ ทองทะเลทีห่ า งจากฝง ไมเกิน 12 ไมลทะเล เปนอาณาเขตของประเทศหนึง่
ข. เขตเศรษฐกิจจําเพาะ (นานนํ้าเศรษฐกิจ) คือ ทองทะเลทีอ่ ยูถ ดั ออกไปจากนานนํ้า อาณาเขตซึง่ เปนทองทะเล
ทีป่ ระเทศบนฝง ประกาศสงวนใชซง่ึ ทรัพยากรธรรมชาติ เชน สัตวนา้ํ และแรธาตุ มักจะประกาศกัน 200
ไมลทะเล
ค. เขตไหลทวีป เปนเขตนํ้าตืน้ ซึง่ ประเทศทีอ่ ยูบ นฝง จะประกาศสงวนไวซง่ึ ทรัพยากรธรรมชาติ
ง. นานนํ้าสากล เปนนานนํ้าลึกทีอ่ ยูไ กลจากฝง ไมมปี ระเทศใดเปนเจาของ
ประเทศไทยประกาศเขตไหลทวีปในอาวไทย ปรากฏวาเหลือ่ มทับอยูก บั ประเทศกัมพูชา และเวียดนาม
ปจจุบนั ไดเจรจากันเฉพาะกับเวียดนามและตกลงเปนทีเ่ รียบรอยแลว

78 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ภาคเหนือ
1. ภาคเหนือ หรือถิน่ ไทยงาม ประกอบดวยจังหวัดตางๆ 9 จังหวัด คือ แมฮอ งสอน เชียงใหม เชียงราย ลําพูน
ลําปาง แพร นาน อุตรดิตถ และพะเยา
2. ภาคเหนือของไทยมีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพือ่ นบาน 2 ประเทศ คือ ทางดานตะวันออกติดตอกับลาว
ทางดานตะวันตกติดตอกับพมา โดยมีจงั หวัดอุตรดิตถ นาน พะเยา และเชียงราย เปนจังหวัดชายแดนดานลาว จังหวัด
แมฮอ งสอน เชียงใหม และเชียงราย เปนจังหวัดชายแดนดานพมา สวนจังหวัดลําพูน ลําปาง และแพร ไมไดเปนจังหวัด
ชายแดน

3. พรมแดนธรรมชาติระหวางประเทศไทยกับลาวในเขตภาคเหนือ คือ เทือกเขาหลวงพระบาง (จังหวัด


อุตรดิตถ นาน พะเยา) และแมนาโขง
้ํ (จังหวัดเชียงราย) พรมแดนธรรมชาติระหวางประเทศไทยกับพมาในเขตภาคเหนือ
คือ แมนาสาละวิ
ํ้ นกับแมนาเมย
ํ้ (จังหวัดแมฮอ งสอน) แมนาสายกั
ํ้ บแมนารวก
้ํ (จังหวัดเชียงราย) และเทือกเขาชายแดนลาว
(จังหวัดแมฮอ งสอน เชียงใหม เชียงราย)
4. ภาคเหนือมีลกั ษณะภูมปิ ระเทศสวนใหญเปนภูเขาและทีส่ งู ซึง่ เทือกเขาตางๆ มีลกั ษณะทอดเปนแนวยาว
จากเหนือลงมาใต ประกอบดวยเทือกเขาทีส่ ําคัญ 4 เทือกเขา คือ เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาผีปนนํ้า
และเทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขาเหลานีเ้ ปนเทือกเขาทีเ่ กิดจากรอยคดโคงหรือรอยโกงของเปลือกโลก (Fold Mountain)
เทือกเขาทีม่ ยี อดสูงสุดในประเทศไทย คือ ยอดดอยอินทนนท (2,565 เมตร) ซึง่ อยูบ นเทือกเขาถนนธงชัย ในเขตอําเภอ
จอมทอง จังหวัดเชียงใหม

79 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

5. เทือกเขาในเขตภาคเหนือ เปนแหลงตนนําลํ ้ าธารทีส่ าคั ํ ญของภาคเหนือ และภาคกลาง เปนแหลงทรัพยากรปาไม


สัตวปา และแรธาตุทสี่ าคั ํ ญ แลวเทือกเขาบางเทือกยังเปนแนวพรมแดนระหวางประเทศอีกดวย เชน เทือกเขา หลวงพระบาง
กับเทือกเขาแดนลาว โดยเฉพาะเทือกเขาหลวงพระบางในเขตจังหวัดเชียงราย พะเยา นาน และอุตรดิตถ มีความสําคัญ
ทางยุทธศาสตรมาก
6. ยอดดอยอินทนนทกบั ดอยสุเทพ อยูบนเทือกเขาถนนธงชัย จังหวัดเชียงใหม มีโครงสรางเปนหินแกรนิต
สวนยอดดอยผาหมบกบนเทือกเขาแดนลาว กับยอดหลวงเชียงดาวบนเทือกเขาถนนธงชัย จังหวัดเชียงใหมมโี ครงสราง
เปนหินปูน เทือกเขาผีปนนํ้าเปนเทือกเขาอยูบ ริเวณตอนกลางของภาคเหนือ มีโครงสรางเปนหินชุดลําปางและโคราช
ดอยขุนตาลเปนเทือกเขาหินแกรนิตของเทือกเขาผีปน นํ้า ซึง่ มีอโุ มงครถไฟขุนตาลเชือ่ มระหวางจังหวัดลําปางกับลําพูน
อุโมงคนจ้ี ดั เปนอุโมงครถไฟทีย่ าวทีส่ ดุ ในไทย
7. แองนําที ้ ่ราบระหวางภูเขาหรือที่ราบระหวางภูเขา เปนลักษณะภูมปิ ระเทศทีส่ ําคัญอีกอยางหนึง่ ในภาคเหนือ
เกิดจากรอยเลือ่ นในยุคเทอรเชียรรี เปนบริเวณทีแ่ มนาพั ํ้ ดเอาตะกอนมาทับถมกันในบริเวณแองทีร่ าบนีจ้ ะมีแมนาไหลผ ํ้ าน
เปนเขตทีม่ คี วามอุดมสมบูรณมาก จึงเปนทีต่ ง้ั ของชุมชนและตัวเมืองสําคัญๆ ทัง้ ในอดีตและปจจุบนั เชน แองแมปง
แองลําปาง แองแมแจม แองแมตน๋ั แองพะเยา แองแพร แองนาน เปนตน
8. แมน้าในเขตภาคเหนื
ํ อทีไ่ หลลงสูแ มน้ําโขง ไดแก แมน้าสาย ํ แมน้ารวก
ํ แมน้าฝาง
ํ แมน้าอิํ ง แมน้าเหล
ํ านี้
ไหลไปลงสูแ มน้าโขงํ ในจังหวัดเชียงราย แมน้าสายที ํ ย่ าวทีส่ ดุ และมีความสําคัญตอการเกษตรกรรมในเขตจังหวัดพะเยา
กับเชียงราย คือ แมน้าอิ ํ ง ซึง่ เกิดจากกวานพะเยา สวนแมนาสายกั ้ํ บแมน้ารวกนั
ํ น้ เปนพรมแดนระหวางประเทศไทยกับ
พมา บริเวณทีแ่ มน้ํารวกไหลไปบรรจบกับแมนาโขง ้ํ เรียกวา "สบรวก" หรือรูจ กั กันในนามของ "สามเหลีย่ มทองคํา"
ซึง่ เปนบริเวณประชิด 3 ประเทศ คือ พมา ลาว และไทย (อําเภอเชียงแสน)
9. แมนาในเขตภาคเหนื
้ํ อทีไ่ หลลงสูแ มน้ําเจาพระยา ในเขตภาคกลาง ไดแก แมนาป ้ํ ง วัง ยม นาน โดยที่
แมน้าป
ํ งกับแมน้าวัํ งไหลมารวมกันที่ อําเภอบานตาก จังหวัดตาก เปนแมนาป ้ํ ง และแมนายมกั ้ํ บแมนาน ้ํ านไหลรวมกันที่
อําเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค เปนแมนาน ้ํ าน ซึง่ แมนาป ้ํ ง (ปง-วัง) ทีไ่ หลรวมกับแมนาน ้ํ าน (นาน-ยม) ทีต่ าบล ํ
ปากนําโพ ้ อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค เกิดเปนแมน้ําเจาพระยา แมน้าป ํ ง วัง ยม และนาน ในกลุม นีแ้ มน้ํานานเปน
แมน้าสายที
ํ ย่ าวทีส่ ดุ (740 กิโลเมตร)
10. แมนาในเขตภาคเหนื
้ํ อทีไ่ หลลงสูแ มนาสาละวิ
้ํ น คือ แมนาเมยํ้ แมนายวมและแม
ํ้ น้ําบาย โดยเฉพาะแมนาเมย ํ้
นัน้ เปนพรมแดนระหวางประเทศไทยกับพมา และไหลจากจังหวัดตากขึน้ ไปทางเหนือลงสูแ มนาสาละวิ ้ํ นทีจ่ งั หวัดแมฮอ งสอน
11. กวานพะเยา เปนแหลงนําจื ้ ดธรรมชาติทใ่ี หญทส่ี ดุ ในเขตภาคเหนือ เกิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก
อยูใ นเขตจังหวัดพะเยา นอกจากจะเปนแหลงนํ้าจืดธรรมชาติแลว ยังเปนแหลงทรัพยากรสัตวนาที ้ํ ส่ ําคัญของภาคดวย
12. ภาคเหนือเปนภูมภิ าคทีอ่ ยูใ นแนวละติจดู สูงสุดของประเทศ อยูห า งไกลทะเล และพืน้ ทีเ่ ปนทีส่ งู จึงทําใหเปน
พิสยั อุณหภูมิ คือฤดูรอนอากาศรอนจัด ฤดูหนาวอากาศหนาวจัด โดยจังหวัดเชียงรายเคยมีอณ ุ หภูมติ ่ําสุดของภาค คือ
1.5°-2°C และจังหวัดอุตรดิตถเคยมีอณ ุ หภูมสิ งู สุดของภาค คือ 44.5°C ภาคเหนือมี 3 ฤดู คือ ฤดูรอ น ฤดูฝน ฤดูหนาว
ในชวงฤดูฝนจะมีฝนตกชุกบริเวณภูเขา (ฝนภูเขา) เนือ่ งจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และพายุดเี ปรสชัน
โดยมีจงั หวัดเชียงรายเปนจังหวัดทีม่ ฝี นตกมากทีส่ ดุ และจังหวัดลําปางมีฝนตกนอยทีส่ ดุ
13. ดินในเขตภาคเหนือแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
ก. ดินภูเขา เปนดินทีม่ คี ณ ุ ภาพตํ่า เพราะถูกกัดเซาะและชะลางจากลมและฝน
ข. ดินดานตะพักลํานํ้า (ดินเชิงเขา) เปนดินทีม่ คี ณ ุ ภาพดีปานกลาง เหมาะแกการปลูกพืชไร
ค. ดินตะกอนลุม นํ้า เปนดินทีม่ คี ณ ุ ภาพดีทส่ี ดุ เหมาะแกการทํานาและทําสวนผลไม

80 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

14. ภาคเหนือมีพน้ื ทีป่ า ไมมากกวาภาคอืน่ ๆ ทัง้ หมดของประเทศไทย ปาไมทอ่ี ยูม ดี งั นี้


1. ปาไมผลัดใบ
ก. ปาเบญจพรรณ เปนปาทีพ่ บมากทีส่ ดุ ในภาคเหนือ ไมทม่ี คี า คือ ไมสกั ไมแดง ไมประดู ไมตะแบก
ไมมะคาโมง
ข. ปาแดง/ปาแพะ/ปาโคก เปนปาในเขตแหงแลง และดินมีคณ ุ ภาพตํ่า ไมทม่ี คี า คือ ไมเต็ง ไมรงั
ไมพลวง ไมเหียง
2. ปาไมไมผลัดใบ
ก. ปาดิบเขา เปนปาในเขตภูเขาสูง ตนไมขน้ึ หนาแนน ไมทม่ี คี า คือ ไมยาง หวายและกลวยไม
ข. ปาสนเขา เปนปาในเขตภูเขาสูง ไมทม่ี คี า คือ สนสองใบ สนสามใบ ไมโอก
ํ ญในเขตภาคเหนือ มีดงั นี้
15. แรธาตุทส่ี าคั
- ทังสเตน ดอยหมอก อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
- ฟลูออไรด จังหวัดลําพูน จังหวัดเชียงใหม จังหวัดแมฮอ งสอน
- ยิปซัม จังหวัดลําปาง จังหวัดอุตรดิตถ
- ดินขาว (เกาลิน) จังหวัดลําปาง
- ถานหิน อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน และอําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง
- นํ้ามัน อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม
16. ประชากรในเขตภาคเหนือแบงออกเปน 2 กลุม คือ คนเมือง คือ คนไทยในเขตพืน้ ราบสวนใหญ เปนชาว
ไทยลานนา (ไทยยวน/โยนก) หรือไทยเหนือ และชาวไทยภูเขา คือ ชนกลุมนอยอาศัยอยูบนภูเขาสูง โดยมีเผากะเหรี่ยง
มีประชากรมากทีส่ ดุ รองลงมา คือ เผาเยา เผามง เผามูเซอ เผาอีกอ และเผาลีซอ
17. ลักษณะประชากรในเขตภาคเหนือ (พ.ศ. 2542)
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ของภาคและเกินลานคน คือ เชียงใหมและเชียงราย
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรนอยทีส่ ดุ และเบาบางทีส่ ดุ ของภาค คือ แมฮอ งสอน (18 คน/ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรหนาแนนทีส่ ดุ คือ เชียงราย (109 คน/ตารางกิโลเมตร)
- จังหวัดทีม่ กี ารอพยพเขาไปตัง้ ถิน่ ฐานเพิม่ ขึน้ มาก คือ เชียงรายและเชียงใหม
- ประชากรในเขตภาคเหนือทีไ่ มรหู นังสืออยูใ นเกณฑสงู กวาทุกภาค
- ประชาชนมีรายไดตาเป ํ่ นที่ 2 รองจากภาคอีสาน
- อัตราการเกิดตํากว ่ าทุกภาค แตอตั ราการตายสูง
18. ปญหาทางกายภาพของภาคเหนือมีดังนี้
ก. ปญหาแนวพรมแดนทีต่ ดิ ตอกับประเทศเพือ่ นบาน เชน แนวพรมแดนทีเ่ ปนปาเขาทุรกันดาร และ
การเปลีย่ นแปลงทางเดินของแมนา้ํ
ข. ปญหาภูมปิ ระเทศเปนภูเขาและปาไม เชน เปนแหลงซองสุมกําลังของผูก อ การราย และการลักลอบ
ขนสินคาผิดกฎหมาย
ค. ปญหาการทําลายทรัพยากรปาไมและแรธาตุ เชน การลักลอบตัดไมทําลายปา การลักลอบขุดแร
การทําไรเลือ่ นลอยและการพังทลายของดิน

81 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

19. ปญหาทางดานประชากรของภาคเหนือ มีดงั นี้


ก. ปญหาความยากจนเนือ่ งจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และไมมที ด่ี นิ เปนของตนเอง
ข. ปญหาประชากรขาดการศึกษา โดยเฉพาะสตรี จึงถูกลอลวงมา
ค. ปญหาเกีย่ วกับสุขภาพอนามัย ประชาชนสวนใหญเปนไขมาลาเรีย โรคคอหอยพอก โรคโลหิตจาง
20. การประกอบอาชีพทีส่ ําคัญของประชากรในเขตภาคเหนือ
ก. เกษตรกรรม
- ปลูกขาว ขาวโพด ถัว่ เหลือง หอม กระเทียม ผักตางๆ พืชเมืองหนาว ดอกไม ลําไย ลิน้ จี่ ยาสูบ
เลีย้ งหมู โค
ข. เหมืองแร
- ฟลูออไรด ดีบกุ วุลแฟรม ถานหิน
ค. อุตสาหกรรมขนาดยอม
- เครื่องเขิน เครือ่ งเงิน ไมแกะสลัก รมกระดาษ ทอผาฝาย ทอผาไหม เซรามิก ของทีร่ ะลึก โรงบมใบยา
โรงงานผลิตอาหารสําเร็จรูป การทองเทีย่ ว โรงแรม การขนสง

ภาคกลาง
1. ภาคกลาง เปนดินแดนแหงทีร่ าบลุม แมน้าํ ทีร่ าบดินดอนสามเหลีย่ มปากแมน้ําทีม่ เี นือ้ ทีก่ วางขวางทีส่ ดุ ของ
ประเทศเปนดินแดนทีเ่ กือบจะลอมรอบดวยทิวเขาและทีส่ งู มีดนิ ตะกอนทีอ่ ดุ มสมบูรณเหมาะในการเพาะปลูกและตัง้ ถิน่ ฐาน
จึงกลายเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจการเมือง รวมทัง้ เปนแหลงประชากรหนาแนนทีส่ ดุ ของประเทศ
2. ภาคกลางมีอาณาเขตติดตอกับภาคตางๆ ของประเทศเกือบทุกภาค ยกเวนภาคใตประกอบดวยจังหวัดตางๆ
22 จังหวัด โดยแบงออกเปน 2 สวน ดังนี้
ก. ภาคกลางตอนบน
- สุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร พิจติ ร เพชรบูรณ อุทยั ธานี นครสวรรค
ข. ภาคกลางตอนลาง
- ชัยนาท สิงหบรุ ี ลพบุรี อางทอง สระบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ นครนายก
นครปฐม สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
3. พิษณุโลก เปนจังหวัดเดียวในภาคกลางทีเ่ ปนจังหวัดชายแดน โดยมีอาณาเขตติดตอกับประเทศลาว
สวนจังหวัดทีม่ อี าณาเขตติดตอกับชายฝง ทะเลมีอยู 4 จังหวัด คือ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
โดยเฉพาะสมุทรสงครามเปนจังหวัดทีม่ พี น้ื ทีน่ อ ยทีส่ ดุ ของประเทศ

82 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

4. ภาคกลาง แบงลักษณะภูมปิ ระเทศเปน 3 เขต ดังนี้


ก. เขตทีร่ าบภาคกลางตอนบน
- พืน้ ทีต่ ง้ั แตจงั หวัดนครสวรรคขน้ึ ไปบริเวณนีม้ ที ร่ี าบลุม แมนา้ํ ทีร่ าบลูกฟูก (Rolling Plain) ทีร่ าบ
ขั้นบันได (Terrace Plain) และทีร่ าบนําท ้ วมถึง (Flood Plain) ในเขตลุม แมน้ําปง วัง ยม นาน
นอกจากนี้ยังมีภูเขาโดด ซึง่ เปนเกาะในทะเลแตเดิมในอดีต
ข. เขตทีร่ าบภาคกลางตอนลาง
- พืน้ ทีใ่ นเขตทุง ราบเจาพระยา หรือทีร่ าบดินดอนสามเหลีย่ มบริเวณนี้ เปนทีร่ าบลุม แมน้าเกิ ํ ดจาก
ตะกอนทีแ่ มน้าพั ํ ดพามาทับถมกัน แมนาเจ ้ํ าพระยาเริม่ ไหลชาลงการตกตะกอนมีมาก ทําใหแมนา้ํ
เปลีย่ นทิศทางเดินกลายเปนแมน้ําแยกสาขากระจายดังนี้ คือ ในการทับถมของตะกอนบริเวณนีห้ นา
ประมาณ 120 เมตร มีนํ้าทวมถึงในฤดูน้าหลาก ํ
ค. เขตทีร่ าบบริเวณขอบ
- ขอบของทีร่ าบทางตะวันออกและตะวันตกของทุง ราบเจาพระยา บริเวณขอบทางตะวันออก (ลพบุรี
สระบุร)ี เปนทีร่ าบสลับเนินเตีย้ ๆ เกิดจากการสึกกรอนของหินปูน หินชนวน และหินดินดาน
บางแหงมีหนิ อัคนีแทรก เชน หินบะซอลตและแอนดีไซด บริเวณขอบทางตะวันตก (อุทยั ธานี ชัยนาท
สุพรรณบุรี นครปฐม) เกิดจากการทับถมของเศษหินทีแ่ มนากั ้ํ ดเซาะมาทับถมกัน (ดินรวนปนทราย)
5. ความสําคัญของภูเขาและทีส่ งู มีตอ การระบายนํ้าในเขตทางภาคกลางเปนอยางมาก ดังนี้
ก. ทางดานตะวันออก มีเทือกเขาเพชรบูรณ ดงพญาเย็นและเทือกเขาสันกําแพง เทือกเขาเหลานีข้ วางกัน้
ทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหภาคกลางเปนเขตรับลมมีฝนตกชุก โดยเฉพาะจังหวัดเพชรบูรณ
และนครนายก
ข. ทางดานตะวันตก มีเทือกเขาตะนาวศรี ซึง่ ขวางกัน้ ทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหภาคกลาง
ตอนบนดานตะวันตกในเขตจังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชรและนครสวรรคเปนเขตทีม่ ฝี นตกนอย
เพราะเปนเขตเงาฝน

83 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

6. ภาคกลางเปนทีร่ าบลุม แมน้ําสวนใหญ มีแมน้ําสายสําคัญๆ ไหลผานหลายสาย คือ แมนาเจ ้ํ าพระยา


แมน้าท
ํ าจีน แมน้าลพบุ ํ รี แมนาป ้ํ าสัก แมน้าน ํ อย แมน้าสะแกกรั
ํ ง แมน้านครนายก
ํ นอกจากนีใ้ นเขตภาคกลางตอนบน
ก็มแี มนาป ้ํ ง วัง ยม นาน ไหลผานดวย
- แมนาเจ้ํ าพระยา เปนแมนาที ้ํ ส่ าคั
ํ ญทีส่ ดุ ของทีร่ าบภาคกลาง เกิดจากการไหลรวมของแมนาป ้ํ ง (ปง - วัง)
กับแมน้าน ํ าน (ยม - นาน) ทีอ่ ําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค แลวไหลผานจังหวัดอุทยั ธานี ชัยนาท สิงหบรุ ี อางทอง
อยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ ไหลลงสูอ า วไทย ทีอ่ ําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ บริเวณ 2 ฟากฝง แมนาเป ้ํ นที่
ราบลุม นํ้าทวมถึงและดินดอนสามเหลีย่ ม ดินอุดมสมบูรณเหมาะในการเพาะปลูกและตัง้ ถิน่ ฐาน
- แมนาท ้ํ าจีน หรือแมนามะขามเฒ ้ํ า (ชัยนาท) หรือแมนาสุ ้ํ พรรณบุรี (สุพรรณบุร)ี หรือแมน้านครชั ํ ยศรี
(นครปฐม) แมน้าสายนี ํ แ้ ยกจากแมน้าเจ ํ าพระยา ทีอ่ ําเภอทาซุง จังหวัดอุทยั ธานีกบั อําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท แลวไหล
ผานจังหวัดชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม และไหลลงสูอ า วไทยทีอ่ ําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ในเขตแมนาสายนี ํ้ ม้ ี
การเกษตรกรรมทัง้ การทํานาและทําสวนผลไม
- แมนาน ้ํ อย เปนแมนาสายสั ้ํ น้ ๆ ไหลแยกจากแมนาเจ ้ํ าพระยา ทีอ่ ําเภอเมือง จังหวัดชัยนาท แลวไหลผาน
จังหวัดชัยนาท สิงหบรุ ี อางทอง อยุธยา ในทีส่ ดุ ก็ไหลรวมกับแมน้าเจ ํ าพระยาอีกทีอ่ าเภอบางไทร
ํ จังหวัดอยุธยา
้ํ รี เปนแมนาสายสั
- แมนาลพบุ ้ํ น้ ๆ ไหลแยกจากแมนาเจ ้ํ าพระยาทีอ่ าเภอเมื
ํ อง จังหวัดสิงหบรุ ี ไหลผาน
จังหวัดลพบุรี ไหลรวมกับแมนาป ้ํ าสัก ทีอ่ าเภอเมื ํ อง จังหวัดอยุธยา แมน้าสายนีํ ใ้ ชประโยชนในการเกษตร การคมนาคม
และยังเปนแหลงปลานํ้าจืด
- แมน้าป ํ าสัก ไหลอยูบ ริเวณของทางดานตะวันออกของภาคกลางเกิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ ไหลผาน
จังหวัดเพชรบูรณ ลพบุรี สระบุรี แลวไหลรวมกับแมน้าเจ ํ าพระยาทีอ่ ําเภอเมือง จังหวัดอยุธยา แมน้าสายนี ํ ้เปนประโยชน
ในการคมนาคมไมสะดวก แตใชในการเกษตรไดดี เพราะทีร่ าบบริเวณ 2 ฟากฝง แมนาเป ้ํ นทีร่ าบขัน้ บันได
7. ภาคกลางตอนบน มีลกั ษณะและอากาศคลายกับภาคเหนือ คือ ทุง หญาเมืองรอน (Aw.) เพราะอยูห า งไกล
ทะเลและมีพสิ ยั อุณหภูมสิ งู นอกจากนีเ้ ทือกเขาตะนาวศรียงั กําบังทิศทางของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหมฝี นตกนอย
ภาคกลางตอนลาง มีลกั ษณะอากาศประเภท ทุง หญาเมืองรอน (Aw.) ในเขตนี้มีฝนตกชุก เพราะอยูใ กล
ทะเลไดรบั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และมีพสิ ยั อุณหภูมติ ่าํ
8. ภาคกลางมีฤดูกาล 3 ฤดู คือ ฤดูรอ น (กลางกุมภาพันธ-กลางตุลาคม) ฤดูหนาว (กลางตุลาคม-กลาง
กุมภาพันธ) ในชวงฤดูฝนจะมีฝนตกชุก เพราะไดรบั อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต (มรสุมฤดูรอ น) และพายุ
หมุนดีเปรสชัน จังหวัดทีม่ ฝี นตกชุก นอกจากจังหวัดชายทะเลของภาคกลางแลว ยังมีจงั หวัดนครนายกกับเพชรบูรณ
ซึง่ อยูบ ริเวณเชิงเขาดานทีร่ บั ลม สวนบริเวณทีฝ่ นตกนอย คือ จังหวัดนครสวรรค กําแพงเพชรและสุโขทัย ซึง่ อยูใ น
เขตเงาฝนของเทือกเขาตะนาวศรี จังหวัดทีเ่ คยมีอณ ํ ดของภาค คือ เพชรบูรณ (พ.ศ. 2503 อุณหภูมิ 2°C)
ุ หภูมติ ่าสุ
จังหวัดทีเ่ คยมีอณ ุ หภูมสิ งู สุดของภาค คือ นครสวรรค (พ.ศ. 2485 อุณหภูมิ 43°C)
9. ทรัพยากรนํ้าในเขตภาคกลางมีความอุดมสมบูรณมาก เพราะมีแมน้ําลําคลองหลายสาย นอกจากนีย้ งั มีบงึ
ขนาดใหญทเ่ี ปนแหลงนําธรรมชาติ ้ ทส่ี าคัํ ญ คือ บึงสีไฟ จังหวัดพิจติ ร และบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค นอกจากนี้
ยังมีเขื่อนกั้นนํ้าทีส่ าคั
ํ ญ เชน เขื่อนเจาพระยา จังหวัดชัยนาท เขื่อนกระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี ซึง่ เปนเขือ่ นชลประทาน
ทีส่ ําคัญตอการเกษตรกรรมในเขตทีร่ าบภาคกลางตอนลางอยางมาก

84 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

10. ในปจจุบนั ปาไมในเขตทีร่ าบภาคกลางมีไมมากนัก เพราะพืน้ ทีส่ ว นใหญใชเปนแหลงเกษตรกรรม และเปน


ทีอ่ ยูอ าศัย เพราะภาคกลางนีม้ ปี ระชากรอาศัยอยูห นาแนน ปาไมทส่ี ําคัญของภาคกลางมี 2 ประเภท ดังนี้
ก. ปาเบญจพรรณ
- เปนปาไมผลัดใบ พบมากทางตอนบนของภาค คือ จังหวัดอุทยั ธานี กําแพงเพชร และเพชรบูรณ
มีมากทีส่ ดุ ของภาค ไมมีคา คือ ไมสกั
ข. ปาชายเลน
- เปนปาไมทอ่ี ยูบ ริเวณชายทะเล คือ จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ไมทม่ี คี า
คือ ไมโกงกาง ไมแสม และตะบูน ไมเหลานีเ้ หมาะใชทาเชื
ํ ้อเพลิง
11. แรธาตุทพ่ี บมากในเขตทีร่ าบภาคกลางสวนใหญเปนแรอโลหะ เชน ดินเหนียวเหมาะสําหรับใชทําอิฐและ
เครื่องปนดินเผา นอกจากนีย้ งั มีแรสําคัญ ดังนี้
นํ้ามัน กําแพงเพชร
หินออน สุโขทัย สระบุรี กําแพงเพชร
ดินมารล (ดินสอพอง) สุโขทัย ลพบุรี นครสวรรค
ไพโรฟลไนต นครนายก สระบุรี
เหล็ก นครสวรรค ลพบุรี
เกลือทะเล สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ยิปซัม พิจติ ร นครสวรรค
12. ในเขตทีร่ าบภาคกลางตอนบนดินในเขตนีเ้ ปนดินตะกอน ทีม่ กี ารสึกกรอนมาเปนเวลานาน จึงมีคณ ุ ภาพตํ่า
แตเปนดินรวนมีการระบายนํ้าดีจงึ เหมาะแกการปลูกพืชไร ถาอยูใ นเขตลุม แมน้ําจะใชทํานาไดดพี อสมควร ในเขตทีร่ าบ
ภาคกลางตอนลางดินดี เปนดินตะกอนนํ้าพามาทับถม (Alluvial Soils) มักเปนดินเหนียวการระบายนําไม ้ ดี เหมาะแก
การทํานา
13. ดินในเขตทีร่ าบภาคกลางตอนลางแบงออกเปน 5 ประเภท ดังนี้
ก. ดินเหนียวดํากรุงเทพฯ ดินตะกอนละเอียดทับถมบริเวณทีร่ าบดินดอนสามเหลีย่ มปากแมนาเจ ้ํ าพระยา
มีแรธาตุในดินมาก เหมาะแกการทํานา ถาปลูกผลไมจะตองยกรองใหสงู
ข. ดินเหนียวองครักษ ดินเปรีย้ ว มีความเปนกรดสูง อยูใ นเขตจังหวัดนครนายก อยุธยา และปทุมธานี
ฝง ตะวันออกของแมนาเจ ้ํ าพระยา ดินนีไ้ มเหมาะแกการทํานา ควรปลูกพืชทีต่ อ งการดินเปนกรด เชน
สม มะนาว ถาจะแกความเปนกรดตองใชปนู ขาวใสลงไป
ค. ดินเหนียวลพบุรี ดินมีความเปนดางสูง เพราะมีหนิ ปูนมาก อยูใ นเขตจังหวัดลพบุรแี ละสระบุรี ดินนี้
ควรใชปลูกพืชทีต่ อ งการดินเปนดางสูง เชน ขาวโพด ถาจะแกความเปนดาง จะตองใสเกลือลงในดิน
ง. ดินเหนียวทาจีน ดินเค็มเกิดจากการทับถมของตะกอนทีท่ ะเลพัดพามา ดินชนิดนีไ้ มเหมาะในการเพาะปลูก
เหมาะทีจ่ ะทํานาเกลือ เลีย้ งปลานํากร
้ อยและเลีย้ งกุง พบในจังหวัดชายทะเลของภาคกลาง
จ. ดินรวนกําแพงแสน ดินรวนปนทราย มีการระบายนําดี ้ เหมาะแกการปลูกพืชไร พบมากบริเวณแถบ
ทางตะวันตกของภาค ในเขตจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรแี ละชัยนาท

85 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

14. ภาคกลางมีประชากรประมาณ 18 ลานคน เปนภาคที่มีประชากรมากเปนอันดับ 2 รองจากภาคอีสาน


ความหนาแนนของประชากรจะมีมากในเขตตอนลางของภาคและลดนอยลงในเขตตอนบนของภาค จังหวัดทีม่ ปี ระชากร
มากทีส่ ดุ และหนาแนนทีส่ ดุ ของภาคและของประเทศ คือ กรุงเทพมหานคร เพราะเปนศูนยกลางในดานตางๆ ของ
ประเทศ สวนจังหวัดทีม่ ปี ระชากรรองจากกรุงเทพฯ ในเขตภาคกลาง คือ นครสวรรค ภาคกลางมีอตั ราการเพิม่ ของ
ประชากรสูง เพราะมีการอพยพยายถิน่ เขามาตัง้ ถิน่ ฐานมาก การตัง้ ถิน่ ฐาน สวนใหญจะอยูบ ริเวณลุม แมนาลํ ้ํ าคลอง และ
แนวถนนตางๆ
15. ประชาชนสวนใหญของไทย ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณ 80% ตองประสบกับปญหาตางๆ เชน
ฝนแลง นํ้าทวม ดินไมสมบูรณ ดินเปรีย้ ว ดินเค็ม ดินเปนดาง กอใหเกิดผลผลิตตกตํ่า ประชาชนมีหนี้สินมาก ไมมที ด่ี นิ
เปนของตนเอง ถูกเอาเปรียบจากพอคาคนกลางเสมอๆ มีบตุ รจํานวนมาก อยูห า งไกลเสนทางคมนาคมขนสง ไมมงี านทํา
จึงทิง้ ชนบทอพยพเขามาอยูใ นเมืองเพือ่ ประกอบอาชีพ
16. การเพิม่ ขึน้ ของจํานวนประชากรอยางรวดเร็วนั้น จะพบมากตามชุมชนเมืองใหญๆ ซึง่ กอใหเกิดปญหา
ดานสังคม เพราะประชาชนสวนมากฐานะความเปนอยูต า่ํ ยากจน ไรทอ่ี ยูอ าศัย ไมมงี านทํา เด็กที่เกิดขึ้นมาไมไดรับ
การศึกษา สุขภาพอนามัยไมดี ทําใหเปนภาระพึง่ พาแกสงั คม ลักษณะเชนนีเ้ ปนอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ
17. ปญหาตางๆ ทีพ่ บในกรุงเทพมหานคร เนือ่ งจากเปนเมืองหลวง ศูนยกลางในดานตางๆ และเปนเมืองใหญ
ทีส่ ดุ ของประเทศจึงมีปญ  หาประชากรหนาแนน ปญหาทีอ่ ยูอ าศัย ปญหาอาชญากรรม ปญหาการจราจรติดขัด ปญหา
มลภาวะเปนพิษปญหาคนวางงาน ปญหายาเสพติด ปญหาแหลงอบายมุข ปญหาการขาดแคลนอาหาร ปญหาการศึกษา
และสาธารณสุข ปญหานําท ้ วม เปนตน
18. กรุงเทพมหานคร ประสบกับปญหานําท ้ วมเสมอๆ เพราะกรุงเทพฯ ตัง้ อยูใ นพืน้ ทีต่ า่ํ ซึง่ สูงจากระดับนําทะเล

ปานกลางประมาณ 1.5-2 เมตร มีการกอสรางอาคารขนาดใหญมาก เสนทางระบายนําตื ้ ้นเขิน และมีสง่ิ กีดขวาง
มีการขุดเจาะนํ้าบาดาลมาก ทําใหพน้ื ทีก่ รุงเทพฯ ทรุดอยางรวดเร็ว ดังนัน้ จึงมีการกําหนดแนวทางแกไขไวทส่ี ําคัญ คือ
ก. ควบคุมการขุดเจาะพื้นดิน และการดูดทรายจากแมนา้ํ
ข. ควบคุมการกอสรางอาคารในบริเวณพืน้ ทีล่ มุ
ค. ควบคุมการขุดบอนําบาดาล

ง. ขุดลอกคูคลองตางๆ เพือ่ ใหการระบายนํ้าสะดวกขึ้น
จ. ชะลอการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร
19. ในเขตทีร่ าบภาคกลางตอนลางมีแมนาที ้ํ ไ่ หลลงสูอ า วไทยหลายสาย และในเขตนี้ยังเปนเขตชุมชนที่ประชากร
อยูห นาแนน จึงมีการขุดคลองเชือ่ มแมน้ําสายตางๆ เพือ่ ใหการคมนาคมขนสงและการเกษตรกรรม คลองทีข่ ดุ มีดงั นี้
ก. คลองรังสิต เชือ่ มแมน้ํานครนายกกับแมนาเจ ้ํ าพระยา
ข. คลองบางบัวทอง เชือ่ มแมน้ําเจาพระยากับแมนาท้ํ าจีน
ค. คลองพระโขนง เชื่อมแมนํ้าเจาพระยากับแมนาบางปะกง
้ํ
ง. คลองสําโรง เชื่อมแมนาเจํ้ าพระยากับแมนาบางปะกง
้ํ
จ. คลองภาษีเจริญ เชือ่ มแมน้ําเจาพระยากับแมนาท้ํ าจีน
ฉ. คลองดําเนินสะดวก เชื่อมแมนํ้าทาจีนกับแมน้าแม ํ กลอง
ช. คลองพระยาบรรลือ เชือ่ มแมน้าเจ ํ าพระยากับแมนาสุ ้ํ พรรณบุรี (ทาจีน)
ซ. คลองแสนแสบ เชือ่ มแมน้ําบางปะกงกับคลองผดุงกรุงเกษม

86 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ภาคตะวันตก
1. ภาคตะวันตกเปนภูมภิ าคแหงทิวเขาและหุบเขา เปนดินแดนทีเ่ ต็มไปดวยพืชพรรณและสัตวปา เปนเขตเงาฝน
แตมปี ริมาณนํ้าในแมน้ามาก
ํ กระแสนําไหลแรงพอที
้ จ่ ะนํามาใชผลิตกระแสไฟฟาไดอยางมหาศาล ภูมภิ าคนีป้ ระกอบดวย
จังหวัดตางๆ 5 จังหวัด คือ จังหวัดตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ ทุกจังหวัดในภูมภิ าคนีเ้ ปน
จังหวัดชายแดนติดตอกับประเทศพมา โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรขี นั ธกบั เพชรบุรี มีอาณาเขตติดตอกับทะเลดานอาวไทย

ํ ญของภาคตะวันตกมี 2 เทือก คือ


2. เทือกเขาทีส่ าคั
- เทือกเขาถนนธงชัย (จังหวัดตาก - กาญจนบุรี)
- เทือกเขาตะนาวศรี (จังหวัดกาญจนบุรี - ราชบุรี - เพชรบุรี - ประจวบคีรขี นั ธ)
เทือกเขาทั้ง 2 นีใ้ ชเปนแนวพรมแดนระหวางประเทศไทยกับพมา โดยเทือกเขาทั้ง 2 จะมีแนวแบงอยูท ่ี
ดานเจดียส ามองค ในเขตจังหวัดกาญจนบุรี

87 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

3. เทือกเขาถนนธงชัยและตะนาวศรี เกิดจากรอยคดโคงหรือรอยโกงงอของเปลือกโลก (Fold Mountains)


ทอดเปนแนวยาวตอเนือ่ งมาจากภาคเหนือลงไปสูภ าคใต บางสวนของเทือกเขาทีเ่ รียงซอนกันมีรอยเลือ่ นของภูเขากลาย
เปนชองเขาหรือดานที่สาคั ํ ญ ใชเปนเสนทางคมนาคมติดตอระหวางประเทศไทยกับพมา ตัง้ แตสมัยโบราณจนกระทัง่
ปจจุบนั นี้ ดานทีส่ ําคัญมีดงั นี้
- ดานแมละเมา (ดานแมสอด) อยูท อ่ี าเภอแม ํ สอด จังหวัดตาก
- ดานพระเจดียส ามองค อยูท อ่ี าเภอสั ํ งขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
- ดานบองตี้ อยูท อ่ี ําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
- ดานสิงขร (ดานสันพราว) อยูท อ่ี าเภอเมื ํ อง จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ
4. แนวเทือกเขาถนนธงชัยและตะนาวศรี ทอดขวางกัน้ ทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต (มรสุมฤดูรอนพัดมา
จากทะเลอันดามัน) ทําใหภาคตะวันตกของไทยเปนเขตเงาฝน แนวเทือกเขาจะแบงนําไหลไปทางตะวั ้ นตกสูเ ขตพมา และ
ไหลไปทางตะวันออกลงสูเ ขตไทย นํ้าจะไหลจากสันเขาลงสูแ มน้าสายใหญ ํ บริเวณหุบเขาเปนแนวยาว มีลกั ษณะเหมือน
กางปลา การระบายของนําแบบนี ้ ้ เรียกวา แบบกางปลา หรือเทรลลิส (Trellis Pattern) ซึง่ แมนาแควใหญ ้ํ และแควนอย
ก็มลี กั ษณะเชนนี้
5. ภาคตะวันตกมีแมน้าหลายสายเกิ ํ ดจากเทือกเขาตะนาวศรีและถนนธงชัย แมนาทุ ้ํ กสายจะไหลลงสูท ะเล
อาวไทยทัง้ สิน้ เชน แมนาแควใหญ ้ํ แมน้าแควน
ํ อย แมน้าแม ํ กลอง แมนาภาชี ้ํ แมน้าบางกลอย
ํ แมน้าเพชรบุ
ํ รี
แมนาปราณบุ
้ํ รี สวนแมนาเมยจะไหลขึ
้ํ น้ ไปรวมกับแมนาสาละวิ ้ํ น ทีจ่ งั หวัดแมฮอ งสอน
- แมนาแควใหญ้ํ (แมน้าศรี
ํ สวัสดิ์) เกิดจากเทือกเขาถนนธงชัยทีอ่ าเภออุ ํ งผาง จังหวัดตาก ลงไปทางใต
ผานอําเภอศรีสวัสดิแ์ ละอําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี แมนาสายนี ํ้ ย้ าวทีส่ ดุ ในภาคตะวันตก (380 กิโลเมตร)
แมนาไหลเชี
้ํ ย่ ว ใชประโยชนในการผลิตกระแสไฟฟาไดดี
- แมนาแควน ้ํ อย (แมน้าไทรโยค)ํ เกิดจากเทือกเขาตะนาวศรี ในเขตจังหวัดกาญจนบุรี ไหลผานอําเภอ
สังขละบุรี อําเภอไทรโยค และอําเภอกาญจนบุรี แมน้าสายนี ํ ม้ ปี ริมาณนํ้ามากกวาแมน้าแควใหญ

แตสน้ั กวาและนําไหลไม ้ เชีย่ ว
- แมนาแม ้ํ กลอง เกิดจากการไหลรวมกันของแมนาแควใหญ ้ํ และแควนอย ทีต่ าบลปากแพรก ํ อําเภอเมือง
กาญจนบุรี แลวไหลผานอําเภอทามวง อําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ไหลเขาจังหวัดราชบุรี เรียกวา
แมนาราชบุ
้ํ รี และออกทะเลทีอ่ า วไทย ทีจ่ งั หวัดสมุทรสงคราม ลุม แมนาแม ้ํ กลอง เปนทีร่ าบดินตะกอนที่
อุดมสมบูรณ มีประชาชนหนาแนนและมีโรงงานนํ้าตาลมาก
- แมน้าเพชรบุ ํ รี เกิดจากเทือกเขาตะนาวศรี ทีอ่ ําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี ไหลลงอาวไทย ทีอ่ ําเภอ
บานแหลม จังหวัดเพชรบุรี แมนาสายนี ํ้ เ้ ปนแมนาที
ํ้ ส่ าคั
ํ ญทีส่ ดุ ของจังหวัดเพชรบุรี ทัง้ ในดานเกษตรกรรม
คมนาคม และผลิตพลังงานไฟฟา
6. ลักษณะชายฝง ทะเลของภาคตะวันตก (เพชรบุรี - ประจวบคีรขี ันธ) แบงไดดงั นี้
ก. บริเวณปากแมน้ําแมกลองถึงปากแมน้าเพชรบุ ํ รี เปนโคลนตม ใชทานาเกลื ํ อ เลีย้ งกุง เลีย้ งหอยแครง
และหอยแมลงภู
ข. บริเวณปากแมน้ําเพชรบุรลี งไปทางใต เปนหาดทรายทีส่ วยงาม เชน หาดเจาสําราญ หาดชะอํา (จังหวัด
เพชรบุรี) และหาดหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ) ใชเปนสถานทีท่ อ งเทีย่ ว ใตเขาตะเกียบในเขตจังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธลงไปจะมีเกาะตามชายฝง เชน เกาะทราย เกาะขี้นก เกาะนมสาว โดยเฉพาะบริเวณ
อําเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรขี นั ธมอี า วสําคัญ 2 อาว คือ อาวประจวบคีรขี นั ธ และอาวมะนาว
ซึง่ มีทวิ ทัศนสวยงาม

88 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

7. ภาคตะวันตกมีลกั ษณะภูมอิ ากาศประเภททุง หญาเมืองรอน (Aw.) พืน้ ทีข่ องภาคอยูใ นเขตเงาฝน เพราะ
เทือกเขาถนนธงชัยและตะนาวศรีกําบังทิศทางของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตท่ีพัดเอาความชื้นจากทะเลอันดามันเขามา
นอกจากนีจ้ งั หวัดราชบุรี กาญจนบุรี และตาก อยูไ กลทะเล มีพน้ื ทีส่ ว นใหญเปนภูเขาและหุบเขา จึงทําใหพสิ ยั อุณหภูมิสูง
สวนจังหวัดเพชรบุรแี ละประจวบคีรขี นั ธ มีพสิ ยั อุณหภูมติ า่ํ เพราะอยูต ดิ กับทะเล ภาคตะวันตกมี 3 ฤดู คือ ฤดูรอ น
ฤดูฝน และฤดูหนาว ฝนทีต่ กสวนใหญของภาคไดจากอิทธิพลของพายุหมุนดีเปรสชัน จังหวัดทีม่ ฝี นนอยทีส่ ดุ ใน
ประเทศไทย คือ ตาก อุณหภูมขิ องอากาศสูงสุดทีเ่ คยวัดไดในภาค ทีอ่ าเภอทองผาภู ํ มิ จังหวัดกาญจนบุรี (40°C)
อุณหภูมขิ องอากาศตํ่าสุดทีเ่ คยวัดไดในภาคทีอ่ ําเภออุมผาง จังหวัดตาก (4°C)
8. ทรัพยากรดินทีพ่ บในเขตภาคตะวันตกแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
ก. ดินในเขตทีร่ าบ เปนดินตะกอนนํ้าพา (Alluvial Soils) มีความอุดมสมบูรณสงู พบมากทีจ่ งั หวัด
กาญจนบุรี ราชบุรแี ละเพชรบุรี เหมาะแกการเพาะปลูกขาว พืชสวนและพืชไร
ข. ดินในเขตเชิงเขา (ลานตะพักลํานํ้า) เปนดินรวนปนทรายมีคณ ุ ภาพปานกลาง เหมาะแกการปลูกพืชไร
เชน ออย สับปะรด หนอไมฝรั่ง ปานศรนารายณ ฝาย ละหุง ขาวโพด
ค. ดินในเขตภูเขา เปนดินทีม่ คี ณ ุ ภาพตํา่ เพราะถูกกัดเซาะ สึกกรอน เนือ่ งจากมีการถากถางปาทําไรเลือ่ นลอย
9. ภาคตะวันตกมีการสรางเขือ่ นขนาดใหญ เปนประโยชนในดานการเกษตรกรรม พลังงานไฟฟาและการทองเทีย่ ว
ตลอดจนชวยแกปญ  หาการเกิดนํ้าทวมฉับพลันทีเ่ คยเกิดขึน้ อยูเ สมอๆ ในอดีตเขือ่ นทีส่ ําคัญในภาคตะวันตกมีดงั นี้
เขือ่ นอเนกประสงค
- เขื่อนภูมิพล กัน้ แมนาป ้ํ ง จังหวัดตาก
- เขื่อนศรีนครินทร กัน้ แมนาแควใหญ ้ํ จังหวัดกาญจนบุรี
- เขื่อนเขาแหลม กัน้ แมนาแควน ้ํ อย จังหวัดกาญจนบุรี
- เขือ่ นแกงกระจาน กัน้ แมนาเพชรบุ ้ํ รี จังหวัดเพชรบุรี
- เขื่อนเพชร กัน้ แมนาเพชรบุ
้ํ รี จังหวัดเพชรบุรี
เขือ่ นชลประทาน
- เขือ่ นวชิราลงกรณ กัน้ แมนาแม ้ํ กลอง จังหวัดกาญจนบุรี
- เขือ่ นปราณบุรี กัน้ แมนาปราณบุ ้ํ รี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ (เขื่อนศรีนครินทร เปนเขือ่ นทีใ่ หญทส่ี ดุ ใน
ประเทศไทย)
10. ภาคตะวันตกมีปา ไมหนาแนนรองจากภาคเหนือ จังหวัดทีม่ ปี า ไมมากทีส่ ดุ ของภาค คือ กาญจนบุรี (ปาไผ)
จังหวัดทีม่ ปี า ไมหนาแนนทีส่ ดุ ของภาค คือ ตาก (ปาเบญจพรรณ) จังหวัดทีม่ ปี า ไมนอ ยทีส่ ดุ และเบาบางทีส่ ดุ คือ ราชบุรี
ปาไมเขตภาคตะวันตกแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ปาเบญจพรรณ พบมากบริเวณเทือกเขาถนนธงชัย และปาดิบแลง
ปาดิบเขาพบมากบริเวณเทือกเขาตะนาวศรี
11. ภาคตะวันตกมีแรธาตุอดุ มสมบูรณ ดังนี้
ดีบกุ - กาญจนบุรี ประจวบคีรขี นั ธ ราชบุรี ตาก เพชรบุรี
วุลแฟรม - อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี อําเภอสองยาง จังหวัดตาก
ตะกัว่ - อําเภอศรีสวัสดิ์ อําเภอสังขละบุรี อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
สังกะสี - อําเภอแมสอด จังหวัดตาก
เหล็ก - อําเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

89 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ฟลูออไรด - อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี อําเภอทายาง จังหวัด


เพชรบุรี
รัตนชาติ - อําเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี
หินนํ้ามัน - อําเภอแมสอด จังหวัดตาก
ฟอสเฟต - จังหวัดราชบุรี (ถํ้าตางๆ)
ทองคํา - อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ
12. ภาคตะวันตกมีการปลูกออยทํานําตาลทรายมากที
้ ่สุด โดยเฉพาะกาญจนบุรี มีโรงงานนําตาลทรายตั ้ ง้ อยู
ริมฝง แมน้ําแมกลอง โรงงานเหลานีท้ าให ํ น้าในแม
ํ น้าเน
ํ าเสีย นอกจากการปลูกออยแลวภูมภิ าคนีม้ กี ารปลูกสับปะรดมาก
ในเขตเพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ เพือ่ ผลิตสับปะรดกระปอง
13. ลักษณะประชากรของภาคตะวันตก (พ.ศ. 2542)
- เปนภูมภิ าคทีม่ ปี ระชากรนอยทีส่ ดุ ของประเทศ (3 ลานคน)
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ และหนาแนนทีส่ ดุ คือ ราชบุรี (158 คน/ตารางกิโลเมตร) เพราะภูมปิ ระเทศ
เปนทีร่ าบลุม แมน้าํ และตัง้ อยูใ กลกรุงเทพมหานคร
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรนอยทีส่ ดุ และเบาบางทีส่ ดุ คือ ตาก (29 คน/ตารางกิโลเมตร) เพราะพืน้ ทีส่ ว นใหญ
เปนภูเขาและปาไม ทัง้ ยังตัง้ อยูไ กลกรุงเทพมหานคร
- ประชากรสวนใหญตง้ั ถิน่ ฐานอยูใ นเขตทีร่ าบลุม แมน้ําและทีร่ าบชายฝง ทะเล ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
โดยทัว่ ไปประมงบริเวณชายทะเล ปาไมและขุดแรบริเวณภูเขา
14. ปญหาทางกายภาพทีพ่ บมากของภาคตะวันตก มีดงั นี้
ก. การบุกรุกทําลายปาและสัตวน้ํา ปญหาทีค่ วรแกไขโดยการกําหนดมาตรการควบคุมการตัดไมทําลายปา
และการลาสัตว ลงโทษผูก ระทําผิด และกําหนดเขตสงวนปาไมและสัตวปา
ข. การลักลอบขุดแร ปญหานีต้ อ งกําหนดมาตรการควบคุมอยางเขมงวด และกําหนดบทลงโทษผูก ระทําผิด
ใหเด็ดขาดขึ้น
ค. การขาดแคลนนํ้า ปญหานีแ้ กไดโดยการสรางอางเก็บนํ้า สรางเขื่อนกั้นนํ้าเพือ่ ใหมนี าใช ้ํ เพียงพอตลอดป
15. ปญหาทางดานประชากรของภาคตะวันตก มีดงั นี้
ก. การบริการทางดานสังคม ทัง้ ทางดานการศึกษา สาธารณสุข และสาธารณูปโภค มีนอ ยและจัดไดไมทวั่ ถึง
ข. การสงเสริมการทองเทีย่ วยังไมดพี อ ทัง้ ๆ ทีม่ สี ถานทีท่ อ งเทีย่ วตามธรรมชาติมาก และบางแหงสถานที่
ทองเทีย่ วเสือ่ มโทรมมากขาดการดูแลเอาใจใส
ค. ปญหานําเสี้ ยในแมน้ําแมกลอง เนือ่ งจากบริเวณ 2 ฟากฝง แมนามี ้ํ โรงงานตัง้ อยูม าก และเปนทีต่ ง้ั ของ
ชุมชนใหญๆ หลายชุมชน
ง. ปญหาชนกลุม นอยบริเวณชายแดน มีผลตอความมัน่ คงของประเทศมาก
จ. ปญหากลุม อิทธิพลตางๆ ในแตละทองถิน่ กลุม อิทธิพลตางๆ เหลานีม้ กั จะประกอบอาชีพผิดกฎหมาย
และมีเรือ่ งขัดแยงระหวางกลุม อยูเ สมอๆ

90 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ภาคตะวันออก
1. ภาคตะวันออก หรือภาคตะวันออกเฉียงใต เปนดินแดนแหงทีร่ าบลุม แมน้าํ (แมน้าบางปะกง) ํ ทีร่ าบชายฝง
ทะเลทีส่ วยงาม (อาวไทยฝง ตะวันออก) และภูเขา ภูมภิ าคนีอ้ ยูไ มไกลจากกรุงเทพมหานคร และเปนเขตทีม่ กี ารสงเสริม
ในการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจไดเปนอยางดี เพราะภูมิภาคนี้มีผลผลิตจากพืชไร พืชสวน ปาไม สัตวนามาก ้ํ มีการ
บริการทางดานการคา การทองเทีย่ ว และการคมนาคมขนสงเปนอยางดี ตลอดจนมีการนํากาซธรรมชาติจากอาวไทยมา
ขึ้นฝงในภูมิภาคนี้ดวย
2. ภาคตะวันออก ประกอบดวยจังหวัดตางๆ 7 จังหวัด คือ ปราจีนบุรี สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง
จันทบุรแี ละตราด จังหวัดทีเ่ ปนจังหวัดชายแดนในภูมภิ าคนี้ คือ สระแกว จันทบุรี และตราด ซึง่ ติดตอกับประเทศกัมพูชา
นอกจากนีเ้ กือบทุกจังหวัดจะติดตอกับทะเล (อาวไทย) ยกเวน สระแกว ปราจีนบุรี โดยทีต่ ราดมีชายฝง ทะเลยาวทีส่ ดุ
(165 กิโลเมตร) และฉะเชิงเทรามีชายฝง ทะเลสัน้ ทีส่ ดุ (12 กิโลเมตร) ของภาค
3. อาณาเขตของภาคตะวันออก มีดงั นี้
ดานตะวันออก - ติดกับประเทศกัมพูชา โดยมี สระแกว จันทบุรี ตราด เปนจังหวัดชายแดนมีเทือกเขา
บรรทัด เปนพรมแดนธรรมชาติ
ดานตะวันตก - ติดตอกับภาคกลางตอนลาง และกนอาวไทย โดยทีป่ ราจีนบุรตี ดิ ตอกับนครนายก
และฉะเชิงเทราติดกับสมุทรปราการ
ดานใต - ติดตอกับอาวไทย
ดานเหนือ - ติดตอกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเทือกเขาสันกําแพง (นครราชสีมากับ
ปราจีนบุร)ี และเทือกเขาพนมดงรัก (บุรรี มั ยกบั สระแกว) เทือกเขาทั้ง 2 นี้ แบงกันที่
ชองตะโก (เชือ่ มระหวางบุรรี มั ยกบั สระแกว)
4. ภาคตะวันออกมีลกั ษณะภูมปิ ระเทศแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
ก. ทีร่ าบลุม แมน้าํ - อยูบ ริเวณ 2 ฟากฝง แมนาบางปะกง
้ํ หรือแมนาปราจี
้ํ นบุรี
ข. ทีร่ าบชายฝง ทะเล - ชายฝง ทะเลดานอาวไทย มี อาว เกาะ และหาดทราย
ค. เทือกเขา
- เทือกเขาจันทบุรี (ชลบุรี ระยอง จันทบุร)ี บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออก พอกเปนแนวตะวันตก
ตะวันออกมียอดสูงสุด คือ ยอดเขาสอยดาวใต (จังหวัดจันทบุร)ี
- เทือกเขาบรรทัด (จันทบุรี ตราด) เปนพรมแดนระหวางไทยกับกัมพูชา แนวเทือกเขาทัง้ 2 ตอเนื่อง
กันมีแนวแบงทีเ่ ขาตะแบงใหญ
5. ฉนวนไทย (Thai Corridor) คือ พืน้ ทีร่ าบระหวางเทือกเขาสันกําแพงกับเทือกเขาจันทบุรใี นเขตจังหวัด
ปราจีนบุรี สระแกว และฉะเชิงเทรา เกิดจากการผันแปรของเปลือกโลก โดยกระบวนการเทคโทนิค คือ การทรุดตัวของ
เปลือกโลกในบริเวณนีจ้ ะมีแมนาปราจี ้ํ นบุรี หรือแมนาบางปะกงไหลผ
้ํ าน
ฉนวนไทย เปนทีร่ าบตอเนือ่ งระหวางทีร่ าบภาคกลางของไทยกับทีร่ าบตอนกลางของประเทศเขมร มีผลตอ
การคมนาคมและความมัน่ คงของประเทศเปนอยางมาก
6. แมน้าในเขตภาคตะวั
ํ นออกแบงออกเปน 3 กลุม คือ
ก. แมน้าที
ํ เ่ กิดจากเทือกเขาสันกําแพง คือ แมน้าบางปะกง
ํ (แมน้าปราจี
ํ นบุรี)
ข. แมนาที
้ํ เ่ กิดจากเทือกเขาจันทบุรี คือ แมนาระยอง
้ํ แมน้าประแส
ํ แมนาจั
้ํ นทบุรี แมน้าพั
ํ งราด แมน้าเวฬุ

ค. แมนาที
้ํ เ่ กิดจากเทือกเขาบรรทัด คือ แมน้าตราด
ํ (แมน้าคลองใหญ
ํ )

91 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

- แมนาบางปะกง
้ํ หรือแมน้าปราจี
ํ นบุรี เปนแมนาสายที
้ํ ย่ าวทีส่ ดุ และสําคัญทีส่ ดุ ของภาคตะวันออก
เกิดจากแมนาพระปรงและแม
้ํ นาหนุ
้ํ มาน ไหลมาจากเทือกเขาสันกําแพงและรวมกันทีอ่ าเภอกบิ ํ นทรบรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี
ไหลผานจังหวัดปราจีนบุรี เรียกวา แมนาปราจี ํ้ นบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา เรียกวา แมนาบางปะกงหรื
ํ้ อแปดริว้ ไหลลงอาวไทย
ทีอ่ ําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
7. ภาคตะวันออกมีภมู ภิ าคแตกตางกัน 2 ลักษณะ คือ
ก. เหนือเทือกเขาจันทบุรี (ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว ปราจีนบุร)ี มีอากาศคอนขางแหงแลง เพราะเปนเขต
เงาฝนของเทือกเขาจันทบุรี เหมาะแกการปลูกพืชไร เชน ออย มันสําปะหลัง ขาวโพด เปนภูมิอากาศ
แบบทุง หญาเมืองรอน (Aw.)
ข. ใตเทือกเขาจันทบุรี (ระยอง จันทบุรี ตราด) มีอากาศคอนขางชื้น (ฝนชุก) เพราะอยูดานรับลมของภูเขา
อุณหภูมขิ องอากาศไมแตกตางมาก ภูมอิ ากาศแบบนีค้ ลายกับภาคใต คือ ฝนตกชุกเหมาะแกการปลูก
ผลไม เชน เงาะ ทุเรียน มังคุด และปลูกยางพารา เปนภูมอิ ากาศแบบมรสุมเมืองรอน (Am.)
8. ภาคตะวันออกมี 3 ฤดูกาลคลายกับภาคอืน่ ๆ ของไทย คือ
- ฤดูรอ น อากาศไมรอ นมากนัก เพราะอยูใ กลทะเล จึงเหมาะแกการตากอากาศ
- ฤดูฝน มีฝนตกชุก เนือ่ งจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต และพายุดเี ปรสชัน ภาคตะวันออก
มีฤดูฝนยาวถึง 6 เดือน
- ฤดูหนาว มีอณ ุ หภูมไิ มตามากนั
่ํ ก เพราะอยูใ กลทะเลและฤดูนส้ี น้ั เพียง 3 เดือน
จังหวัดทีม่ ฝี นตกมากทีส่ ดุ ของภาค คือ ตราด
จังหวัดทีม่ อี ณ
ุ หภูมสิ งู สุด และตําสุ
่ ดของภาค คือ ปราจีนบุรี เพราะอยูไ กลทะเล

92 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

9. ดินในเขตภาคตะวันออกสวนใหญเปนดินปนทราย มีการระบายนําดี ้ เหมาะแกการเพาะปลูก ถาบริเวณทีม่ ี


ฝนตกชุก (ระยอง จันทบุรี ตราด) จะเหมาะในการปลูกพืชสวน (สวนผลไม พริกไทย ยางพารา) ถาบริเวณทีม่ ฝี นตกนอย
(ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว ปราจีนบุร)ี จะเหมาะในการปลูกพืชไร (ออย สับปะรด มันสําปะหลัง ขาวโพด) สวนใน
บริเวณทีร่ าบลุม แมน้าบางปะกง
ํ เปนดินตะกอนนํ้าพา เหมาะแกการทํานา
10. กิจกรรมอุตสาหกรรมและการทองเทีย่ วจะตองใชน้าปริ ํ มาณมาก แตภาคตะวันออกประสบการขาดแคลนนํ้า
เพราะแมนาในภาคล
้ํ วนแตสายสัน้ ๆ ดินรวนปนทรายไมอมุ นํา้ และแหลงนําบาดาลมี ้ นอ ยจึงตองแกปญ
 หาดวยการสรางเขื่อน
และอางเก็บนํา้ เชน เชือ่ มหวยพระปรง จังหวัดปราจีนบุรี และอางเก็บนําบางพระ ้ จังหวัดชลบุรี
11. จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแกว เปนจังหวัดทีม่ พี น้ื ทีป่ า ไมมากทีส่ ดุ ของภาคตะวันออก สวนจังหวัดจันทบุรี
เปนจังหวัดทีม่ พี น้ื ทีป่ า ไมหนาแนนทีส่ ดุ ของภาค ซึง่ ปาไมในภาคตะวันออกแบงได 3 ประเภท คือ
ก. ปาเบญจพรรณ - พบมากในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี
ข. ปาดิบชืน้ และปาดิบเขา - พบมากบริเวณเทือกเขาจันทบุรี และเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดระยอง
จันทบุรี ตราด
ค. ปาเลนนํ้าเค็ม - พบมากบริเวณชายฝง ทะเล โดยเฉพาะบริเวณปากแมนาเวฬุ ํ้ (จันทบุรี ตราด)
มีปา ไมชนิดนีก้ วางขวางทีส่ ดุ ของภาค
12. แรธาตุทส่ี าคั ํ ญของภาคตะวันออก
เหล็ก - ชลบุรี ฉะเชิงเทรา
แมงกานีส - ชลบุรี
ทรายแกว - ระยอง
รัตนชาติ - เขาพลอยแหวน อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี และบานหนองบอน อําเภอบอไร จังหวัดตราด
13. อุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุส ตั วปา ของภาคตะวันออกทีส่ ําคัญ คือ
- อุทยานแหงชาติเขาสอยดาว เขาคิชกูฎ เขาสระบาป จังหวัดจันทบุรี
- อุทยานแหงชาติเขาชะเมา-เขาวง เกาะเสม็ด-แหลมหญา จังหวัดระยอง
- อุทยานแหงชาติปางสีดา เขาใหญ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแกว
- เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาเขียว จังหวัดชลบุรี
14. ลักษณะประชากรของภาคตะวันออก (ป พ.ศ. 2542)
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ และหนาแนนทีส่ ดุ ของภาค คือ ชลบุรี (241 คน/ตารางกิโลเมตร) เพราะ
อยูใ กลกรุงเทพมหานครและเปนศูนยกลางการพัฒนาของภาคตะวันออก ทําใหเศรษฐกิจเจริญมาก
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรนอยทีส่ ดุ คือ ตราด เพราะอยูไ กลกรุงเทพมหานคร เปนจังหวัดชายแดนและ
มีฝนตกชุกทีส่ ดุ ของภาค สวนจังหวัดทีม่ ปี ระชากรเบาบางทีส่ ดุ คือ สระแกว (75 คน/ตารางกิโลเมตร)
15. ภาคตะวันออกประสบกับปญหาทางกายภาพ ดังนี้
ก. ปญหาดินเสือ่ มคุณภาพ เนือ่ งจากการปลูกพืชชนิดเดียวกันเปนเวลานานๆ นอกจากนีล้ กั ษณะการเพาะปลูก
บางครัง้ ผิดวิธี ควรสงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชหมุนเวียน มีการบํารุงดิน และควรปลูกพืชเปนแนวเสน
ชั้นความสูง
ข. ปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปาและขุดแร ในกรณีนค้ี วรตรวจตราใหเขมงวดมากขึน้ และในขณะ
เดียวกันควรมีบทลงโทษผูก ระทําผิดใหเด็ดขาดยิ่งขึ้น
ค. ปญหาการขาดแคลนนํ้าสําหรับการบริโภค และเกษตรกรรม ในกรณีนค้ี วรสรางอางเก็บนํ้าใหมากขึน้
คนหาแหลงนํ้าบาดาลปองกันนํ้าเค็มไมใหไหลเขามาตามแมนาต ้ํ างๆ และปองกันรักษาไมใหนาเสี
้ํ ย

93 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

16. ภาคตะวันออกประสบกับปญหาประชากร ดังนี้


ก. ปญหาเกิดจากอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว เชน สภาพแวดลอมทัง้ ธรรมชาติและวัฒนธรรมเสีย ชุมชนแออัด
คาครองชีพสูง แหลงอบายมุข ยาเสพติด และอาชญากรรม
ข. ปญหาคนสัญชาติไทย - กัมพูชา เชน คนไทยเกาะกง
ค. ปญหาชายแดนไทย - กัมพูชา เชน การบุกรุกจากฝายเวียดนาม การอพยพลีภ้ ยั ของชาวอินโดจีน
การลักลอบขายสินคาผิดกฎหมาย (อาวุธสงคราม สินคาหนีภาษี และการคาตลาดมืดบริเวณชายแดน)
ง. ปญหานานนํ้า เชน ปญหาเศรษฐกิจจําเพาะในนานนําอ ้ าวไทย ซึง่ ไทย เขมร ญวน ตางประกาศนานนํา้
เขตเศรษฐกิจจําเพาะเหลือ่ มทับกัน
17. โครงการตางๆ ทีจ่ ะจัดตัง้ ในเขตภาคตะวันออก มีดงั นี้
ก. โครงการพัฒนาชายฝง ทะเลภาคตะวันออก (Eastern seabord) อยูใ นเขตจังหวัดระยอง และจังหวัดชลบุรี
ข. โครงการโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ทีอ่ า วไผ จังหวัดชลบุรี
ค. โครงการโรงงานโซดาแอช ทีแ่ หลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
ง. โครงการสรางทาเรือนํ้าลึก ทีแ่ หลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
จ. โครงการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรม ทีแ่ หลมฉบัง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และมาบตาพุดทีจ่ งั หวัดระยอง
ฉ. การกอตัง้ นิคมอุตสาหกรรมที่ อําเภอกบินทรบรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เปนดินแดนแหงทีร่ าบสูง ทุง หญาและความแหงแลง เพราะเปนเขต
เงาฝน พืน้ ทีส่ ว นใหญเปนดินทรายไมอมุ นํ้า แตภมู ภิ าคนีเ้ ปนแหลงวัฒนธรรมเกาแกทม่ี คี วามเจริญมาเปนเวลาชานาน
ในปจจุบนั ภูมภิ าคนีม้ คี วามสําคัญทางยุทธศาสตรการเมืองและเศรษฐกิจเปนอยางมาก
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประกอบดวยจังหวัดตางๆ 19 จังหวัด แบงเปน 2 ตอน ดังนี้
ก. อีสานตอนบน - กาฬสินธุ ขอนแกน นครพนม มุกดาหาร มหาสารคาม เลย สกลนคร อุดรธานี
หนองคาย หนองบัวลําภู
ข. อีสานตอนลาง - รอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรรี มั ย สุรนิ ทร ชัยภูมิ นครราชสีมา
อํานาจเจริญ
3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอาณาเขตทีต่ ง้ั ดังนี้
ทิศเหนือ - ติดตอกับประเทศลาว โดยมีแมนํ้าเหลืองและแมนาโขงกั
้ํ น้ เปนพรมแดนธรรมชาติ
ทิศใต - ติดตอกับประเทศกัมพูชา โดยมีเทือกเขาพนมดงรัก เปนพรมแดนธรรมชาติและติดตอกับ
ภาคตะวันออกโดยมีเทือกเขาสันกําแพงเปนแนวแบง
ทิศตะวันออก - ติดตอกับประเทศลาว โดยมีอําเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี เปนดินแดนทาง
ตะวันออกสุดของประเทศ
ทิศตะวันตก - ติดตอกับภาคกลาง โดยมีเทือกเขาเพชรบูรณและเทือกเขาดงพญาเย็นเปนแนวแบง
4. พืน้ ทีส่ ว นใหญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนทีร่ าบสูงหรือทีร่ าบสูงรูปโตะ ซึง่ สันนิษฐานวาอยูใ ตทะเล
มากอนแลวยกตัวขึน้ สูง โดยมีขอบสูงทางดานตะวันตก (เทือกเขาเพชรบูรณ ดงพญาเย็น) และดานใต (เทือกเขาสันกําแพง

94 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

-พนมดงรัก) นอกจากนีบ้ ริเวณตอนกลางของภาค ยังมีแนวเทือกเขาภูพานทอดเปนแนวตะวันตกเฉียงเหนือไปยังตะวันออก


เฉียงใต
5. เทือกเขาภูพาน ทอดเปนแนวตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหภมู ภิ าคนีม้ พี น้ื ทีแ่ บงออกเปน 2 ตอน
ซึง่ เรียกวา แอง คือ
ก. แองโคราช เปนแองใหญอยูใ ตเทือกเขาภูพาน มีแมน้ํามูล-ชี ไหลผาน เปนเขตทีม่ ปี ระชากรหนาแนนและ
เปนแหลงเขตแหงแลง
ข. แองสกลนคร เปนแองเล็กอยูเ หนือเทือกเขาภูพานมีแมน้ําสงครามไหลผาน เปนเขตที่มีความชุมชื้นและ
อุดมสมบูรณ

6. ภูเขายอดตัด ทีส่ ําคัญของภาคอีสาน คือ ภูกระดึง ภูเรือ ภูรวก และภูหลวง อยูใ นจังหวัดเลย ภูเขาไฟ
ทีส่ ําคัญของภาคอีสาน คือ ภูพนมรุง ภูกระโดง ภูองั คาร อยูใ นจังหวัดบุรรี มั ย
7. ทุง กุลารองไห อยูใ นบริเวณตอนกลางของลุม แมนามู
ํ้ ล ในเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ
สุรนิ ทร ในบริเวณนีม้ ปี ญ หาดินขาดความอุดมสมบูรณ ดินเค็ม ขาดแคลนนํ้าในตอนตนฤดู และนําท ้ วมในตอนปลายฤดู
เพาะปลูก ขาดเสนทางคมนาคม การครอบครองทีด่ นิ ยังไมดี ดังนัน้ จึงมีแนวนโยบายแกไขปญหา ดังนี้
ก. จัดระบบการถือครองทีด่ นิ (ปฏิรปู ทีด่ นิ )
ข. พัฒนาแหลงนํา้
ค. สรางเสนทางคมนาคมทีส่ งู จากระดับนํ้าทวม

95 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

8. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเทือกเขาทีส่ ําคัญ ดังนี้


ก. เทือกเขาเพชรบูรณ อยูท างตะวันตกของภาค เปนตนกําเนิดของแมนาป ํ้ าสัก ทอดเปนแนวผานจังหวัดเลย
ขอนแกนและเปนแนวแบงภาคอีสานกับภาคกลาง (เพชรบูรณ)
ข. เทือกเขาดงพญาเย็น (ดงพญาไฟ) อยูท างตะวันตกของภาค ทอดเปนแนวตอจากเทือกเขาเพชรบูรณ
ผานจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา และเปนแนวแบงภาคอีสานกับภาคกลาง (เพชรบูรณ ลพบุรี สระบุร)ี
ค. เทือกเขาสันกําแพง อยูท างดานใตของภาค อยูใ นเขตจังหวัดนครราชสีมา เทือกเขานีเ้ ปนแนวแบง
ภาคอีสานกับภาคตะวันออก (ปราจีนบุรี สระแกว)
ง. เทือกเขาพนมดงรัก อยูท างใตของภาค ทอดเปนแนวตอจากเทือกเขาสันกําแพง โดยมีชองตะโกเปน
แนวแบงผานจังหวัดบุรรี มั ย สุรนิ ทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี นอกจากนีย้ งั เปนพรมแดนธรรมชาติ
ระหวางไทยกับกัมพูชา
จ. เทือกเขาภูพาน อยูบ ริเวณตอนกลางของภาค ทอดเปนแนวผานจังหวัดอุดรธานี กาฬสินธุ สกลนคร
นครพนม
9. โครงสรางของหินทีพ่ บมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ หินโคราช หินลําปาง ซึง่ มีลกั ษณะเปนหินทราย
หินดินดาน หินปูน และหินกรวด หินโคราชนี้มีอายุระหวาง 70 - 200 ลานป
10. "ชองบก" บนทิวเขาพนมดงรัก ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี เปนจุดรวมของ 3 ประเทศ คือ ไทย ลาว และ
กัมพูชา คลายกับบริเวณ "สบรวก" ในเขตอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ซึง่ เปนจุดรวมของ 3 ประเทศ คือ ไทย ลาว พมา
ํ ่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีดงั นี้
11. แมน้าที
ก. แมนามู ้ํ ล ไหลอยูใ นแองโคราช เกิดจากเทือกเขาดงพญาเย็น สันกําแพง ไหลผาน จังหวัดนครราชสีมา
บุรรี มั ย สุรนิ ทร ศรีสะเกษ รอยเอ็ด ไหลลงแมนาโขงที ้ํ ่อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี สาขาทีไ่ หล
รวมกับแมนามู ้ํ ล คือ ลําพระเพลิง ลําตะคอง ลําปลายมาศ ลําโคมใหญ ลําโคมนอย
ข. แมนาชี ้ํ แมนาที ้ํ ย่ าวทีส่ ดุ ในภาคอีสาน ไหลอยูใ นแองโคราช เกิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ และดงพญาเย็น
ไหลผานจังหวัดชัยภูมิ ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด ยโสธร แลวไหลรวมกับแมน้ามู ํ ลทีอ่ ําเภอเมือง
จังหวัดอุบลราชธานี สาขาทีไ่ หลรวมกับแมนามู ้ํ ล คือ แมนาพรม
้ํ แมน้าพองลํ
ํ าปาว
ค. แมนาสงคราม
้ํ ไหลอยูใ นแองสกลนคร เกิดจากเทือกเขาภูพาน ไหลผานจังหวัดสกลนคร อุดรธานี
หนองคาย นครพนมและไหลลงแมนาโขงที ้ํ จ่ งั หวัดนครพนม
ง. แมนาโขง ้ํ เปนแมนาสายที
้ํ ย่ าวทีส่ ดุ ในเอเชีย เกิดจากทีร่ าบสูงทิเบตในจีน ไหลมาเปนพรมแดนระหวาง
ไทยกับลาว อยู 2 ตอน คือ ตอนบน ในเขตจังหวัดเชียงราย (95 กิโลเมตร) และตอนลาง ในเขตจังหวัด
เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อํานาจเจริญ อุบลราชธานี (865 กิโลเมตร) แมนาสายนี ้ํ ก้ วางและ
มีปริมาณนํามาก ้
แมน้าในภาคตะวั
ํ นออกเฉียงเหนือมีระบบการไหลจากดานตะวันตกไปดานตะวันออกลงสูแ มน้ําโขง เพราะพืน้ ที่
ของภาคสูงทางดานตะวันตกและดานใต แลวลาดเอียงไปทางตะวันออกของภาค
12. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีภมู อิ ากาศแบบทุง หญาเมืองรอน คือ มีอณ ุ หภูมขิ องอากาศสูงตลอดป อากาศแหง
นอกจากนีภ้ าคอีสานมีภมู ปิ ระเทศเปนทีร่ าบสูงอยูห า งไกลจากทะเล และยังเปนเขตเงาฝนของเทือกเขาบริเวณขอบของภาคทีก่ น้ั
อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต (มรสุมฤดูรอ น) ทําใหภมู ภิ าคนีม้ พี สิ ยั อุณหภูมสิ งู และอากาศแหงแลง

96 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

13. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฤดูคลายภาคอืน่ ๆ คือ ฤดูรอ น ฤดูฝน และฤดูหนาว


ฤดูรอ น - อากาศรอน แหงแลง จังหวัดอุดรธานี มีอณ ุ หภูมสิ งู สุดของภาค (43.9°C)
ฤดูฝน - มีฝนตกจากอิทธิพลพายุดเี ปรสชัน จังหวัดทีม่ ฝี นตกมากทีส่ ดุ ของภาค คือ นครพนม และ
ฝนตกนอยทีส่ ดุ คือ ชัยภูมิ เขตเงาฝนที่สาคั ํ ญของภาค คือ เลย ชัยภูมิ และขอนแกน
ฤดูหนาว - อากาศหนาวจัดและแหงแลง เพราะไดรบั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด
ทีม่ อี ณ
ุ หภูมติ าสุ่ํ ดของภาคนี้ คือ เลย (0.1°C)
14. ปาไมทพี่ บมากในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ปาแดง หรือปาโคก ซึง่ เปนปาไมผลัดใบ สวนปาเบญจพรรณ
จะพบมากบริเวณตอนบนของภาคและถาบนภูเขาสูงจะพบปาดิบเขา จังหวัดทีม่ พี น้ื ทีป่ า ไมมากทีส่ ดุ คือ เลย (ปาเบญจพรรณ)
และจังหวัดทีไ่ มมพี น้ื ปาในภาค คือ มหาสารคาม
15. แหลงนําธรรมชาติ
้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากแมนาสายต ํ้ างๆ แลว ยังมีบงึ นําจื
้ ดทีเ่ กิดจากการทรุดตัว
ของเปลือกโลกอีกหลายแหง เชน
- หนองหาน จังหวัดสกลนคร บึงนําจื ้ ดใหญทส่ี ดุ ของภาค
- หนองหานกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี
- บึงพลาญชัย จังหวัดรอยเอ็ด
- บึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน
- หนองบัว จังหวัดมหาสารคาม
- หนองแวง จังหวัดชัยภูมิ
16. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนภูมภิ าคทีป่ ระสบกับความแหงแลงมากทีส่ ดุ ของประเทศ จึงมีการสรางเขือ่ น
อางเก็บนํ้ามากกวาภูมิภาคอื่นๆ ทัง้ หมด โดยมีเขื่อนที่สําคัญ ดังนี้
เขือ่ นอเนกประสงค
- เขือ่ นอุบลรัตน กัน้ แมนาพอง้ํ จังหวัดขอนแกน
- เขื่อนสิรินธร กั้นลําโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
- เขื่อนจุฬาภรณ กั้นแมนํ้าพรม จังหวัดชัยภูมิ
- เขื่อนนํ้าพุง กัน้ แมนาพุ
้ํ จังหวัดสกลนคร
เขือ่ นชลประทาน
- เขื่อนลําปาว กัน้ ลําปาว จังหวัดกาฬสินธุ
- เขื่อนนํ้าอูน กัน้ หวยนํ้าอูน จังหวัดสกลนคร
- เขื่อนลําตะคอง กัน้ ลําตะคอง จังหวัดนครราชสีมา
- เขื่อนลําพระเพลิง กัน้ ลําพระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา
17. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีลกั ษณะเปนทีร่ าบสูง มีอณ ุ หภูมแิ ละการระเหยสูง ดินสวนใหญเปนดินทรายและ
หินลูกรัง นําฝนที
้ ต่ กลงมาแมจะมีปริมาณมากก็ซมึ ไปไดอยางรวดเร็ว เพราะดินไมอมุ นํา้ ไมกอ ใหเกิดความชุม ชืน้ เพียงพอ
จึงทําใหภมู ภิ าคนีเ้ ต็มไปดวยความแหงแลง
18. แรธาตุทพ่ี บมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เกลือหิน - จังหวัดอุดรธานี มหาสารคาม ชัยภูมิ อุบลราชธานี นครราชสีมา
โพแตซ - จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา อุดรธานี หนองคาย สกลนคร
เหล็ก-แมงกานีส-ทองแดง - อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
กาซธรรมชาติ - อําเภอนํ้าพอง จังหวัดขอนแกน
ยูเรเนียม - อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน

97 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

19. สถิตเิ กีย่ วกับประชากรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พ.ศ. 2542)


- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชากรมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย (21 ลานคน)
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรเกินลานคนมี 10 จังหวัด คือ นครราชสีมา อุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแกน บุรรี มั ย
ศรีสะเกษ รอยเอ็ด มหาสารคาม สุรนิ ทร สกลนคร สวนใหญจะเปนจังหวัดทีอ่ ยูบ ริเวณขอบดานใต
และตอนกลางของภาค
20. ประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมแบบยังชีพ มีผลผลิตตํา่
เพราะดินมีคณ ุ ภาพตําและอากาศแห
่ งแลง ดังนัน้ จึงมีรายไดคอ นขางตํา่ เมือ่ เปรียบเทียบกับภูมภิ าคอืน่ ๆ ถาจะตําที
่ ส่ ดุ
โดยมีจงั หวัดศรีสะเกษ มีรายไดตอ หัวตํ่าทีส่ ดุ ของภาคและประเทศ สวนจังหวัดเลยจะมีรายไดตอ หัวสูงทีส่ ดุ ของภาค
แมวา ประชาชนสวนใหญจะยากจนก็ตามแตประชาชนของภาคนีม้ จี ํานวนทีอ่ า นหนังสือไมออกนอยกวาภาคอืน่ ๆ ทัง้ หมด
21. ประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการอพยพยายถิน่ มากทีส่ ดุ เพราะสภาพการณทางธรรมชาติไมอานวย ํ
(ดินมีคณ ุ ภาพตํ่า) ถาเปนการอพยพภายในภูมภิ าคจะอพยพจากภาคอีสานตอนลางไปสูอ สี านตอนบน และถาอพยพออก
ไปสูภ มู ภิ าคอืน่ สวนใหญจะอพยพไปสูภ าคกลางตอนลางโดยเฉพาะกรุงเทพฯ จังหวัดทีม่ กี ารอพยพออกไปสูภ มู ภิ าคอืน่
มากทีส่ ดุ คือ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และสุรนิ ทร ประชากรในภูมภิ าคนีม้ ลี กั ษณะการตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ นบริเวณลุม แมนา้ํ
ตางๆ เชน มูล-ชี รอบอางเก็บนํ้าและตามแนวเสนทางถนนสําคัญๆ
22. ปญหาทางกายภาพทีพ่ บในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ก. ปญหาสภาพดินและนํ้า ดินสวนใหญเปนดินทรายไมอมุ นํ้า เกิดแหงแลงมากในฤดูแลง ถาเปนบริเวณที่
ลุม ดินตะกอน แมดนิ จะมีคณ ุ ภาพดี แตเกิดนํ้าทวมบอยๆ เพราะดินไมดดู ซับนํา้
ข. ปญหาดินเค็ม โครงสรางทางธรณีวทิ ยาของเปลือกโลกบริเวณนีม้ หี นิ เกลืออยูม าก ทําใหไมเหมาะใน
การเพาะปลูก โดยเฉพาะการทํานา
ค. ปญหาทิ้งชวง ภาคอีสานเปนทีร่ าบสูง ไมมอี าณาเขตติดตอทะเล และเปนเขตเงาฝน ทําใหฝนทีม่ ากับ
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใตมปี ริมาณไมมากในตอนตนฤดูฝนและหยุดหายไป จะมีฝนตกมากอีกครัง้
ตอนปลายฤดูฝน โดยไดรบั อิทธิพลของพายุหมุนดีเปรสชัน ทําใหการเพาะปลูกประสบกับความเสียหาย
23. ปญหาประชากรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีดงั นี้
ก. ความยากจนของประชาชน ภาคอีสานประชากรยากจนมากทีส่ ดุ ในประเทศ เนือ่ งจากสิง่ แวดลอมทางกายภาพ
ข. การอพยพยายถิน่ ของประชากร ซึง่ เปนปญหาทางกายภาพทีพ่ บในภาคอีสานเปนสาเหตุทท่ี ําใหประชาชน
ออกไปประกอบอาชีพในภูมภิ าคอืน่ ๆ
ค. ปญหาชายแดนระหวางไทยกับลาว และไทยกับกัมพูชา
- การปะทะกันบริเวณชายแดน เนือ่ งจากการบุกรุกและการกําหนดเขตแดนไมแนนอน
- การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย เชน ยาเสพติด อาวุธสงคราม และสินคาหนีภาษี
- การลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย จาก ลาว กัมพูชา และเวียดนาม
ง. ปญหาชาวญวนอพยพ ชาวญวนทีอ่ พยพมาเมือ่ ประมาณ 30 - 40 ปทแ่ี ลวมา มีอยูเ ปนจํานวนมาก
ซึง่ อยูบ ริเวณจังหวัดชายแดนในภาคอีสาน ชาวญวนเหลานีม้ ขี นบธรรมเนียมและวัฒนธรรมแตกตางจาก
คนไทยทัว่ ไปและมักจะอยูก นั เปนกลุม ใหญๆ

98 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

24. การแกปญ  หาการอพยพยายถิน่ ของประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีดงั นี้


ก. พัฒนาเทคนิคในการผลิตใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เชน ปลูกพืชไรดกี วาทํานา
ข. การสงเสริมการเกษตร โดยปรับปรุงใหเกษตรกรไดรบั การสงเสริมเปนจํานวนมากทีส่ ดุ
ค. พัฒนาแหลงนํ้าทัง้ ขนาดใหญและขนาดเล็ก
ง. พัฒนาเกษตรกรรมอยางอืน่ นอกจากทํานาและปลูกพืชไร เชน การเลีย้ งปลา การปลูกหมอน เลีย้ งไหม
และการเลีย้ งสัตวใหญ
จ. สงเสริมการประกอบอาชีพพิเศษ เชน จักสาน ทอผา และเครื่องปนดินเผา
25. โครงการพัฒนาทีด่ นิ หมูบ า นทุง ลุยลาย อําเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เปนโครงการในพระราชดําริ ตัง้ ขึน้
เมื่อ พ.ศ. 2519 เหมือนทีห่ บุ กระพง อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนภาคทีม่ กี ารจับปลานํ้าจืดไดมากทีส่ ดุ คือ ประมาณครึง่ หนึง่ ของทีจ่ บั ไดใน
ประเทศ
- โครงการอีสานเขียว (พ.ศ. 2531 - 2535) มุง พัฒนาแหลงนําและฟ ้ น สภาพความอุดมสมบูรณ เปน
โครงการในพระราชดําริทก่ี องทัพบกรับผิดชอบ

ภาคใต
1. ภาคใต คือ ดินแดนแหงคาบสมุทรและชายฝง ทะเลยาว อุดมสมบูรณดว ยทรัพยากรทีท่ ารายไดํ มหาศาลมา
สูป ระเทศและประชาชน เพราะอุดมสมบูรณดว ยแรดบี กุ ยางพารา ปาไม สัตวนา้ํ และชายฝง ทะเลสวยงาม นอกจากนี้
ภาคใตยงั มีภมู ปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ภาษา และวัฒนธรรมแตกตางไปจากภูมภิ าคอืน่ ๆ
2. ภาคใตประกอบดวยจังหวัดตางๆ 14 จังหวัด โดยแบงออกเปน 2 เขต ดังนี้
ก. ภาคใตฝง ตะวันออก คือ จังหวัดทีม่ อี าณาเขตติดตอกับอาวไทยของภาคใต คือ ชุมพร พัทลุง สุราษฎรธานี
นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี นราธิวาส และยะลา
ข. ภาคใตฝง ตะวันตก คือ จังหวัดทีม่ อี าณาเขตติดตอกับทะเลอันดามัน คือ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่
ตรัง และสตูล
3. ภาคใตเปนคาบสมุทรอยูท างตอนลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้
- ดานเหนือ ติดตอกับภาคตะวันตก (จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ) โดยมีจงั หวัดชุมพรอยูเ หนือสุด และติดตอ
กับประเทศพมา (จังหวัดระนอง ชุมพร) โดยมีแมนากระบุ
้ํ รี กับเทือกเขาตะนาวศรี เปนพรมแดนธรรมชาติ
- ดานใต ติดตอกับประเทศมาเลเซีย (จังหวัดนราธิวาส ยะลา สงขลา สตูล) โดยมีแมนํ้าโกลก และ
เทือกเขาสันกาลาคีรี เปนพรมแดนธรรมชาติ
- ดานตะวันออก ติดตอกับอาวไทย ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของทะเลจีนใต และมหาสมุทรแปซิฟก
- ดานตะวันตก ติดตอกับทะเลอันดามัน ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของมหาสมุทรอินเดีย

99 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

4. ลักษณะภูมปิ ระเทศในเขตภาคใตแบงได 3 ลักษณะ ดังนี้


ก. เทือกเขา ทอดเปนแนวตอนกลางของคาบสมุทรตอเนือ่ งกัน 3 เทือก คือ เทือกเขาภูเก็ต เทือกเขา
นครศรีธรรมราชและเทือกเขาสันกาลาคีรี
ข. ที่ราบ มีอยู 2 ลักษณะ คือ
1. ทีร่ าบชายฝง ทะเล สวนใหญอยูบ ริเวณชายฝง ตะวันออก เปนทีร่ าบทีม่ คี วามกวางมาก ถาเปนชายฝง
ตะวันตกเปนทีร่ าบแคบ
2. ทีร่ าบลุม แมน้าํ อยูบ ริเวณ 2 สายฝง แมน้าํ เชน ทีร่ าบสุราษฎรธานี ทีร่ าบปตตานี และทีร่ าบรอบ
ทะเลสาบสงขลา
ค. หมูเ กาะ ภาคใตมเี กาะมาก สวนใหญอยูบ ริเวณทะเลอันดามัน เชน เกาะภูเก็ต เกาะพีพี เกาะสุรนิ ทร
เกาะปนหยี เกาะตะรุเตา บริเวณอาวไทยมีเกาะทีส่ ําคัญ คือ เกาะสมุย เกาะพงัน และหมูเ กาะอางทอง
เกาะตางๆ เหลานีจ้ ดั เปนเกาะทวีปทัง้ สิน้
5. เทือกเขาในเขตภาคใตเกิดจากการโกงงอของเปลือกโลกหรือรอยคดโคง ซึง่ ทอดเปนแนวยาวตอเนือ่ งกัน
จากตอนบนของภาคลงไปทางตอนลาง มีอยู 3 เทือกเขา คือ
ก. เทือกเขาภูเก็ต ทอดเปนแนวผานจังหวัดชุมพร ระนอง พังงา สุราษฎรธานี กระบี่ และนครศรีธรรมราช
เทือกเขานีม้ ยี อดสูงสุด คือ ยอดพนมเบญจา (จังหวัดกระบี่ สุราษฎรธานี)
ข. เทือกเขานครศรีธรรมราช ทอดเปนแนวผานจังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา และ
สตูล เทือกเขานีม้ ยี อดสูงสุด คือ ยอดเขาหลวง (จังหวัดนครศรีธรรมราช) ซึง่ เปนยอดสูงสุดในภาคดวย
ค. เทือกเขาสันกาลาคีรี ทอดเปนแนวพรมแดนระหวางไทยกับมาเลเซีย ผานจังหวัดสตูล สงขลา ยะลา
และนราธิวาส เทือกเขานีย้ อดสูงสุด คือ ยอดฮูลตู ติ ปิ าซา (ยะลา)

100 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

6. แมน้าในเขตภาคใต
ํ มลี กั ษณะคลายกับแมนาในภาคตะวั ้ํ นออก คือ เปนแมนาสายสั
้ํ น้ เกิดจากเทือกเขาแลว
ไหลลงสูท ะเลแมน้าที ํ ส่ าคัํ ญมีดงั นี้
- แมนาที ้ํ ไ่ หลลงสูอ า วไทย (ดานตะวันออก)
ก. แมน้าตาป ํ เปนแมนาที ้ํ ย่ าวทีส่ ดุ ของภาคใต ไหลอยูใ นเขตจังหวัดสุราษฎรธานี
ข. แมน้าคี ํ รีรัฐ (แมนาพุ ้ํ มดวง) เปนสาขาของแมนาตาป ํ้ ไหลอยูใ นเขตสุราษฎรธานี
ค. แมน้าป ํ ตตานี ไหลผานจังหวัดยะลา และปตตานี
ง. แมนาโกลก ้ํ เปนพรมแดนระหวางไทยกับมาเลเซีย อยูใ นเขตจังหวัดนราธิวาส
- แมนาที ้ํ ไ่ หลลงทะเลอันดามัน (ดานตะวันตก)
ก. แมน้ากระบุ ํ รี (แมน้าปากจั
ํ น่ ) เปนพรมแดนระหวางไทยกับพมา อยูใ นเขตจังหวัดระนอง
ข. แมน้าตรั ํ ง (แมน้ากั ํ นตัง) ไหลอยูใ นเขตจังหวัดตรัง
7. ทีร่ าบชายฝง ทีม่ ขี นาดกวางใหญในภาคใตสว นใหญอยูท างดานตะวันออกของภาค มีอยู 3 แหง คือ
ก. ทีร่ าบสุราษฎร (ทุง สุราษฎร) อยูใ นเขตจังหวัดสุราษฎรธานี มีแมนาตาป ํ้ และคีรรี ฐั (แมนาพุํ้ มดวง) ไหลผาน
ข. ทีร่ าบทะเลสาบสงขลา อยูใ นเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา
ค. ทีร่ าบปตตานี อยูใ นเขตจังหวัดยะลา และปตตานี มีแมน้ําปตตานีไหลผาน
8. ภาคใตของไทยมีชายฝง ทะเลยาวไกลกวาภาคอืน่ ๆ ของประเทศ เพราะมีลกั ษณะเปนคาบสมุทรมีทะเล
ขนาน 2 ดาน ซึง่ ชายฝง ทะเลทัง้ 2 ดาน มีความแตกตางกันมาก ดังนี้
ก. ชายฝง ทะเลดานตะวันออก เปนชายฝง ทะเลดานอาวไทยหรือทะเลจีนใต ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของมหาสมุทร-
แปซิฟก บริเวณชายฝง ดานนีเ้ ปนชายฝง แบบยกตัว (Emerged Coast Line) มีทร่ี าบชายฝง กวาง
หาดทรายเปนเขตพืน้ นํ้าบริเวณชายฝง มีสนั ทราย และเกาะแกงมีนอ ย
ข. ชายฝง ทะเลดานตะวันตก เปนชายฝง ทะเลอันดามันซึง่ เปนสวนหนึง่ ของมหาสมุทรอินเดีย ชายฝงทะเล
แบบจมตัว (Submerged Coast Line) มีทร่ี าบชายฝง แคบๆ ชายฝง เวาแหวง เกาะแกงมีมาก เปนเขต
นํ้าลึก หากทรายมีนอ ยบริเวณแมน้ําขวากทะเล
9. อุทยานแหงชาติทางทะเลทีส่ ําคัญของไทยอยูใ นเขตภาคใต คือ
ก. เกาะตะรุเตา เปนอุทยานแหงชาติทางทะเลแหงแรกของไทย อยูใ นเขตจังหวัดสตูล เกาะตะรุเตาเปนเกาะ
ทีอ่ ยูใ กลกบั พรมแดนมาเลเซียมากทีส่ ดุ เดิมเกาะนีใ้ ชเปนทีก่ กั กันนักโทษในสมัยกอน
ข. หมูเ กาะอางทอง เปนอุทยานแหงชาติทางทะเลแหงที่ 2 ของไทย อยูใ นทางตอนใตของจังหวัดสุราษฎรธานี
10. อาวพังงา เปนอาวทีม่ ภี มู ปิ ระเทศสวยงามทีส่ ดุ ของประเทศไทย อยูใ นทางตอนใตของจังหวัดพังงา
ชองปากพระ เปนนานนํ้าแคบๆ ทีก่ น้ั ระหวางเกาะภูเก็ตกับแผนดินใหญ
สุสานหอยลานป เปนบริเวณทีม่ ซี ากดึกดําบรรพ (ฟอสซิล) ของหอยทับถมกันอยูท แ่ี หลมโพธิ์ จังหวัดกระบี่
กรมศิลปากรไดประกาศเปนโบราณวัตถุแหงชาติ
สะพานติณสูลานนท เปนสะพานทีย่ าวทีส่ ดุ ในประเทศ อยูใ นเขตจังหวัดสงขลา สะพานนี้เชื่อมแผนดิน
เพือ่ ขามทะเลสาบสงขลา
11. ภาคใตของไทยมีเขือ่ นใหญอยู 2 เขื่อน คือ
ก. เขื่อนบางลาง กัน้ แมนาป ้ํ ตตานี ในเขตจังหวัดยะลา เปนเขื่อนอเนกประสงค
ข. เขือ่ นรัชชประภา กัน้ แมนาพุ ้ํ มดวง จังหวัดสุราษฎรธานี เปนเขื่อนอเนกประสงค

101 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

้ ง ภูมปิ ระเทศแบบนีเ้ ปนทีร่ าบลุม มีนาจื


12. พรุหรือเขตทีร่ าบลุม นําขั ํ้ ดขังอยูต ลอดป พบมากในเขตจังหวัดนราธิวาส
และปตตานี พืน้ ทีเ่ หลานีพ้ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดมโี ครงการชลประทาน เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีพ่ รุใหใชประโยชนในการ
เพาะปลูกและเลีย้ งสัตว เชน โครงการพรุบาเจาะ อําเภอบาเจาะ และโครงการมูโนะ อําเภอสุไหงโกลกและอําเภอตากใบ
จังหวัดนราธิวาส
13. โดยทัว่ ไปภาคใตมลี กั ษณะภูมอิ ากาศแบบมรสุมเมืองรอน แตในบางพืน้ ที่ เชน จังหวัดชุมพร และนราธิวาส
มีฝนตก มากตลอดป จึงจัดเปนแบบรอนชืน้ แถบศูนยสตู ร
14. ภาคใตมี 2 ฤดู คือ ฤดูรอ นและฤดูฝน เพราะมีทะเลขนานทั้ง 2 ดาน ไดรบั อิทธิพลจากทะเลอยางเต็มที่
ทําใหอณ
ุ หภูมไิ มแตกตางกันมากนักในชวงฤดูกาลตางๆ (พิสยั อุณหภูมติ า)่ํ ภาคใตฝง ตะวันตกไดรบั อิทธิพลลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใตอยางเต็มที่ จึงมีฝนตกหนักในชวงฤดูรอ น และภาคใตฝง ตะวันออกไดรบั อิทธิพลจากมรสุมตะวันออก-
เฉียงเหนือ จึงมีฝนตกหนักในชวงเดือนธันวาคม-มีนาคม ภาคใตจะมีฝนตกปริมาณมากในชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
และพายุดเี ปรสชันพัดผานโดยเฉพาะชายฝง ตะวันออก
15. ปาไมในเขตภาคใต แบงออกได 3 ชนิด คือ
ก. ปาดิบชืน้ พบมากในภาคใต ไมทม่ี คี า คือ ไมยาง ไมตะเคียน หวาย และไมเคีย่ ม
้ ม สวนใหญจะพบในบริเวณชายฝง ทะเลอันดามัน ไมทมี่ คี า คือ โกงกาง แสม ลําพู และกะบูน
ข. ปาเลนนําเค็
ค. ปาพรุ พบในบริเวณพรุตา งๆ ในเขตจังหวัดปตตานี และนราธิวาส ไมทม่ี คี า คือ อินทนิลนํ้า และจิก
16. ภาคใตมแี รธาตุอดุ มสมบูรณ แรทส่ี ําคัญมี ดังนี้
ดีบกุ - จังหวัดพังงา ระนอง ภูเก็ต
ทังสเตน (วุลแฟรม) - เขาศูนย อําเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แทนทาลัม - จังหวัดพังงา ระนอง ภูเก็ต
ฟลูออไรด, ยิปซัม - จังหวัดสุราษฎรธานี
ลิกไนต - อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่
แมงกานีส - จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา
ทองคํา - จังหวัดนราธิวาส
พลวง, เหล็ก - จังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช
17. ลักษณะประชากรของภาคใต
- ประชากรในจังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส และสตูล สวนใหญนบั ถือศาสนาอิสลามและพูดภาษายาวี
(ภาษาถิน่ ของมลายู)
- ชาวเลหรือไทยใหม เปนพวกทีเ่ รรอ นอยูใ นทะเลอันดามัน อาศัยอยูต ามหมูเ กาะตางๆ ประกอบอาชีพ
ประมงในปจจุบนั รัฐบาลไดใหสญ ั ชาติไทยแกชาวเลแลว
- เงาะซาไก และเธมัง เปนชาวปาผิวดําผมหยิก อยูใ นปาลึกทางตอนลางของภาค
- ประชากรในจังหวัดพังงามีรายไดประชาชาติตอ หัวสูงทีส่ ดุ ของภาค เพราะมีแรดบี กุ มาก และมีทวิ ทัศน
ทีส่ วยงาม จึงเปนแหลงทองเทีย่ วดวย
- ประชากรในจังหวัดพัทลุงมีรายไดประชาชาติตอ หัวตําที ่ ส่ ดุ ของภาค เพราะประชากรสวนใหญมอี าชีพทํานา
- จังหวัดทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ คือ นครศรีธรรมราช สงขลา และสุราษฎรธานี

102 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

18. ปญหาทางกายภาพของภาคใต มีดงั นี้


ก. ปญหาพรมแดนนานนําและชายฝ
้ ง ทะเล ภาคใตมชี ายฝง ทะเลยาวและนานนําติ ้ ดตอกับประเทศเพือ่ นบาน
ถึง 2 ประเทศทําใหบางครัง้ มีการจูโ จมรุกรานไดงา ยจากตางประเทศ มีการลักลอบขนสินคาผิดกฎหมาย
และการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย
ข. ปญหาสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดจากสภาพอากาศ ภาคใตมฝี นตกหนักและพายุพดั แรง ทําใหเกิดอุทกภัยและ
วาตภัยบอยๆ
ค. ปญหาดินเค็ม ภาคใตอยูใ กลชดิ กับทะเล ปญหาดินเค็มพบทัว่ ไป ทําใหการเพาะปลูกไมไดผล
19. ปญหาของประชากรของภาคใต มีดงั นี้
ก. ปญหาการทําลายปา เพือ่ ตัดไม และเปดพืน้ ทีท่ าการเพาะปลู
ํ ก ทําใหปา ไมลดจํานวนลงเปนอันมาก
ข. ปญหาเกิดจากการทําเหมืองแร ทําใหดนิ เสือ่ มคุณภาพ ปาไมถกู ทําลาย นํ้าขุน ปริมาณสัตวน้าลดลง ํ
และทําลายทิวทัศนทางทะเล
ค. ปญหาเกิดจากการประมง เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงของนําด ้ านคุณภาพและการขยายเขตเศรษฐกิจจําเพาะ
ของประเทศเพือ่ นบาน ทําใหปริมาณสัตวนาที ้ํ จ่ บั ไดลดลง
ง. ปญหาสินคาหนีภาษี มีการลักลอบนําเขามามาก เพราะมีชายฝง ทะเลยาวไกลและประเทศเพือ่ นบาน
เก็บภาษีสนิ คาบางชนิดตํากว
่ าไทยมาก
จ. ปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย โดยเฉพาะจากพมาและเวียดนาม
ฉ. ปญหาเกีย่ วกับผูก อ การรายคอมมิวนิสต ขบวนการโจรกอการราย และขบวนการโจรแยกดินแดน
ทําใหความมัน่ คงของประเทศสัน่ คลอน

103 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แบบทดสอบ ส 503
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. กลุม จังหวัดใดตอไปนีไ้ มสามารถปลูกยางพาราและทําประมงทะเลได
1) ระยอง จันทบุรี ตราด 2) ระนอง พังงา ภูเก็ต
3) ยะลา ปตตานี นราธิวาส 4) ลพบุรี สระบุรี กําแพงเพชร
2. "โครงการสะพานเศรษฐกิจ" (Land Bridge) มีพน้ื ทีเ่ ปาหมายของโครงการอยูใ นเขตจังหวัดใด
1) ชุมพร - ระนอง 2) สุราษฎรธานี - พังงา
3) นครศรีธรรมราช - กระบี่ 4) สงขลา - ตรัง
3. การแบงภูมภิ าคของประเทศไทยดวยวิธกี ารตางๆ นัน้ เพือ่ นําขอมูลทีไ่ ดนน้ั ไปใชประโยชนในการศึกษา ขอใดตอไปนี้
กลาวถูกตองตามความเปนจริงมากทีส่ ดุ
1) การเรียกชือ่ ภูมภิ าคตางๆ นัน้ จะเรียกชือ่ ตามทิศทางทีต่ ง้ั ของภูมภิ าคนัน้ ๆ
2) การแบงภาคทางภูมศิ าสตรนน้ั อาศัยลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรมเปนหลักสําคัญ
3) การแบงภาคดวยวิธกี ารตางๆ พืน้ ทีแ่ ละขอบเขตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือไมเปลีย่ นแปลง
4) ทุกขอเปนไปตามความเปนจริงทัง้ หมด
4. ลมและพายุในขอใดตอไปนี้ไมสมั พันธกนั
1) ลมมรสุมฤดูรอ น-ทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตก
2) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ-ภาคใตฝง ตะวันออกฝนตกหนัก
3) ลมขาวเบาหรือลมวาว-ชาวกรุงเทพมหานครใชเลนวาวในเดือนเมษายน
4) พายุโซนรอนและดีเปรสชัน-ฝนตกหนักในเดือนสิงหาคมและกันยายน
5. ลักษณะลมฟาอากาศในประเทศไทยมีลกั ษณะตรงกับขอตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพสิ ยั อุณหภูมสิ งู
2) ความชืน้ สัมพัทธมคี า สูงสุดในชวงเดือนกันยายน
3) ฝนทีต่ กสวนใหญทร่ี ะยอง จันทบุรี และตราด เปนฝนภูเขา
4) ภูมอิ ากาศสวนใหญในประเทศไทยเปนแบบมรสุมเมืองรอน (Am.)
6. เทือกเขาสวนใหญในประเทศไทยเกิดจากรอยคดโคง แตเทือกเขาใดเกิดจากการยกตัวของเปลือกโลก
1) เทือกเขาภูเก็ต เทือกเขาสันกาลาคีรี 2) เทือกเขาภูพาน เทือกเขาพนมดงรัก
3) เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาถนนธงชัย 4) เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาหลวงพระบาง
7. ทรัพยากรดินในภูมภิ าคใดทีม่ อี ตั ราการพังทลายสูงเนือ่ งจากการเกษตรผิดวิธี
1) ภาคเหนือ 2) ภาคกลาง 3) ภาคใต 4) ภาคตะวันออก
8. ปญหาการทําลายทรัพยากร เชน การลักลอบขุดแร และการลักลอบตัดไมแทบจะไมพบเลยในภูมภิ าคใด
1) ภาคเหนือ - ภาคใต 2) ภาคตะวันตก - ภาคตะวันออก
3) ภาคกลาง - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4) ภาคตะวันตก - ภาคเหนือ

104 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

9. ในเขตทีร่ าบภาคกลางตอนลางมีการขุดคลองเชือ่ มแมน้ําตางๆ ใชไดทง้ั การคมนาคม และการชลประทาน คลองใด


ไมไดเชื่อมกับแมนาเจ ํ้ าพระยา
1) คลองพระโขนง 2) คลองสําโรง 3) คลองดําเนินสะดวก 4) คลองภาษีเจริญ
10. ภูมภิ าคใดควรสงเสริมใหมกี ารทองเทีย่ วมากขึน้ เพราะมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้ ตัง้ อยูใ กลกรุงเทพมหานคร มีโบราณสถาน
เขื่อน นํ้าตก ปาไม ถํ้า ภูเขา และชายทะเลทีส่ วยงาม
1) ภาคเหนือ 2) ภาคตะวันตก
3) ภาคตะวันออก 4) ภาคใต
11. แหลงนําจื
้ ดธรรมชาติทม่ี ขี นาดใหญทส่ี ดุ ของประเทศไทย
1) กวานพะเยา จังหวัดพะเยา 2) หนองหาน จังหวัดสกลนคร
3) บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค 4) หนองหานกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี
12. ภาคตะวันออกมีปญ  หาเรือ่ งนําจื
้ ดทีจ่ ะนํามาใชในกิจการอุตสาหกรรม และการทองเทีย่ วเพราะเหตุใด
1) แมน้าในภาคตะวั
ํ นออกมีความยาวไมมาก 2) บริเวณปากแมน้าที ํ ไ่ หลลงทะเลเขามาผสมกับนําจื ้ ด
3) แหลงนําบาดาลมี
้ นอ ยและคอนขางหายาก 4) ทุกเหตุผลทีก่ ลาวมาในขอ 1), 2), 3)
13. ปญหาใดตอไปนี้เปนสาเหตุที่ทําใหประชากรในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออพยพยายถิน่ ไปประกอบอาชีพในภูมภิ าค
อื่นๆ มากทีส่ ดุ
ก. ปญหาฝนทิง้ ชวงและขาดแคลนนํ้า
ข. ปญหาดินเค็มและขาดความอุดมสมบูรณ
ค. ปญหาการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย
ง. ปญหาผูก อ การรายคอมมิวนิสตคกุ คาม
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.
14. ประเทศไทยมีเทือกเขาอยูม ากมาย ซึง่ มีลกั ษณะโครงสรางทางธรณีวทิ ยา จัดเปนหินทีเ่ กาแกทส่ี ดุ ในประเทศ ดังนัน้
จึงมีลกั ษณะโครงสรางของหินอยูใ นหมูห นิ ชุดใด
1) ตะรุเตา ทุง สง ตะนาวศรี ราชบุรี 2) ตะรุเตา ทุง สง ลําปาง โคราช
3) ตะนาวศรี ลําปาง โคราช กระบี่ 4) ตะนาวศรี ราชบุรี ลําปาง โคราช
15. จากการศึกษาและวิเคราะหลกั ษณะทีต่ ง้ั รูปรางและพรมแดนไทยนัน้ ทานคิดวาขอความใดตอไปนี้ไมเปนไปตาม
ความจริง
1) ฉนวนไทย (Thai Corrisor) เปนเขตทีร่ าบตอเนือ่ งระหวางไทยกับเขมร จึงมีการลําพรมแดนกั ้ นไดงา ย
2) บริเวณพรมแดนไทยกับลาวในเขตภาคเหนือใชแนวเทือกเขาเปนพรมแดน มีปญ  หาเรือ่ งดินแดนคือหมูบ า น
3 หมูบ า นทีจ่ งั หวัดอุตรดิตถ
3) บริเวณชายฝง ทะเลของไทยเปนเขตนํ้าลึกเกิดจากการทรุดตัวของเปลือกโลก จึงเหมาะในการพัฒนาทางดาน
เศรษฐกิจ ประมง และสะดวกในการปองกันประเทศ
4) แนวพรมแดนไทยกับพมาใชสนั ปนนํ้าและรองนํ้าลึกจึงไมคอ ยมีปญ  หาเรือ่ งพรมแดน

105 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

16. เพราะเหตุใดเขตทีร่ าบภาคกลางจึงมีอายุของหินใหมกวาภูมภิ าคอืน่ ๆ ของประเทศ


1) การเคลือ่ นไหวของเปลือกโลกทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ ในระยะเวลาไมนานมานีท้ ําใหแผนดินยกตัวสูงขึน้
2) การทับถมของโคลนตะกอนทีแ่ มน้ําพามา และการงอกของพืน้ ทีบ่ ริเวณชายฝง ทะเล
3) เทือกเขาและทีร่ าบสูงทรุดตัวลง หินแข็งของเทือกเขาเดิมแตกพุพงั ทับถมกันเปนทีร่ าบและทีร่ าบลูกคลืน่
4) แผนดินใตทะเลยกตัวขึน้ ในยุคเทอรเชียรี ซึง่ มีลําดับอายุทางธรณีกาลใหมสดุ
17. ภูเขาโดยทัว่ ไปแลวของไทยจัดเปนภูเขาประเภทโกง (Fold Mountain) แตภเู ขาตัดหรือภูเขาบล็อก (Block
Mountain) อยูบางคือภูเขาในขอใด
1) ภูเขาพนมรุง ภูกระโดง มอนหินฟู 2) ภูกระดึง ภูหลวง ภูเรือ
3) ภูองั คาร ดอยเตา เขาศูนย 4) มอนจําปาแดด ภูทอก ดอยขุนตาล
18. จังหวัดใดในขอตอไปนีไ้ มจัดอยูในเขตเงาฝน
1) จังหวัดกาญจนบุรี - เลย 2) จังหวัดขอนแกน - ตาก
3) จังหวัดระนอง - ตราด 4) จังหวัดกําแพงเพชร - ชัยภูมิ
19. กรุงเทพมหานคร เปนเมืองใหญมปี ระชากรมากและหนาแนนทีส่ ดุ ในประเทศไทย ประสบกับปญหาตางๆ มากมาย
ยกเวน ปญหาในขอใด
1) ปญหาอาชญากรรม และการวางงาน 2) ปญหาการตัดไมทําลายปา และลักลอบขุดแร
3) ปญหาการจราจรติดขัด และแผนดินทรุด 4) ปญหาโสเภณี และยาเสพติด
20. ทรัพยากรธรรมชาติแรธาตุในประเทศไทยมีหลายชนิด แรธาตุในขอใดตอไปนีไ้ มสมั พันธกบั แหลงแร
1) ทังสเตน - เชียงราย, นครศรีธรรมราช 2) หินออน - สระบุร,ี สุโขทัย
3) รัตนชาติ - จันทบุร,ี เพชรบุรี 4) นํ้ามันปโตรเลียม - กําแพงเพชร, เชียงใหม
21. ขอใดเปนสาเหตุทท่ี ําใหเกิดปญหาทางธรรมชาติในภาคใต
1) ทีต่ ง้ั เปนคาบสมุทรมีทะเลขนาบ 2 ดาน ทําใหมพี ายุหมุนพัดเขามาบอยๆ
2) เปนภูมภิ าคทีไ่ มมพี น้ื ทีต่ ดิ ตอกับภาคกลาง ประชาชนจึงมีภาษาพูดตางออกไป
3) มีอาณาเขตติดตอกับมาเลเซีย ซึง่ นับถือศาสนาอิสลามทําใหประชาชนบริเวณตอนลางนับถือศาสนาอิสลามกันมาก
4) ประชากรมาเลเซียมีฐานะความเปนอยูด กี วาประชาชนในเขตชายแดนไทย
22. ทรัพยากรปาไมมอี ยูท ว่ั ทุกภูมภิ าคในประเทศไทย ภูมภิ าคใดทีม่ ปี า ไมไมสมั พันธกนั ในขอตอไปนี้
1) ภาคเหนือ - ปาเบญจพรรณ, ปาดิบเขา, ปาสนเขา
2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ปาแดง, ปาเบญจพรรณ, ปาดิบเขา
3) ภาคตะวันออก - ปาเลนนํ้าเค็ม, ปาดิบชืน้ , ปาสนเขา
4) ภาคใต - ปาเลนนํ้าเค็ม, ปาดิบชืน้ , ปาพรุ
23. เพราะเหตุใดรัฐบาลจึงมีโครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมขึน้ ในเขตภาคตะวันออก
1) เพราะมีโครงการสรางทาเรือนํ้าลึกเพือ่ สะดวกในการคมนาคมขนสงสินคาอุตสาหกรรม
2) เพราะมีการจัดตัง้ สถานีแยกกาซธรรมชาติ สามารถนํามาใชในอุตสาหกรรมได
3) เพราะเปนภูมภิ าคทีใ่ กลกรุงเทพมหานคร และมีประชากรมากพอทีจ่ ะทําอุตสาหกรรมได
4) เพราะเหตุผลทัง้ 3 ขอ เพราะมีปริมาณนํามากสามารถผลิ
้ ตพลังงานไดพอกับการพัฒนาอุตสาหกรรม

106 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

24. ถาภูมภิ าคบางภูมภิ าคของไทย เชน ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอาณาเขตติดตอกับทะเลดานเหนือ


แลวจะทําใหลกั ษณะของภูมภิ าคอากาศในภูมภิ าคเปนไปในลักษณะใดตอไปนี้
1) พิสยั ของอุณหภูมริ ะหวางฤดูรอ นกับฤดูหนาวจะสูงขึน้
2) พืชพรรณธรรมชาติจะเปนปาเบญจพรรณมากกวาปาดงดิบ
3) ลมมรสุมฤดูหนาวจะพัดเอาความชุม ชืน้ มาใหภมู ภิ าคทัง้ สอง
4) พายุโซนรอนจะไมอาจสงอิทธิพลเขามาในภูมภิ าคทัง้ สองไดเลย
25. เพราะเหตุใดเทือกเขาในเขตภาคเหนือจึงเหมาะสําหรับปลูกพืชเมืองหนาว
1) มีภูมิประเทศเหมือนเขตหนาว
2) มีอณ ุ หภูมขิ องอากาศเหมือนเขตหนาว
3) มีดนิ ประเภทเดียวกับดินในเขตหนาว
4) เกษตรกรนิยมบริโภคอาหารเหมือนเขตหนาว
26. ลักษณะลมฟาอากาศของประเทศไทย ตรงกับขอใดตอไปนี้
ก. ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพสิ ยั อุณภูมสิ งู เพราะอยูไ กลทะเล
ข. พายุดเี ปรสชันทีพ่ ดั ผานประเทศไทยเปนพายุหมุนในเขตรอน
ค. ฝนภูเขาเปนฝนที่มาจากลมมรสุม ฝนจะตกมาบริเวณภูเขาดานรับลม
ง. เดือนธันวาคมและเดือนมกราคม จะมีฝนตกมากในเขตจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด
1) ก., ข., และ ค. 2) ก., ค., และ ง. 3) ก., ข., และ ง. 4) ข., ค., และ ง.
27. ขอใดตอไปนี้กลาวผิดจากความเปนจริงเกีย่ วกับภูมอิ ากาศของประเทศไทย
1) ทีต่ ง้ั ของประเทศไทยอยูร ะหวางละติจดู ประมาณ 5° ถึง 20° เหนือ จึงมีอากาศรอน
2) ภูมภิ าคตางๆ ของประเทศไทยมี 3 ฤดู แตภาคใตมเี พียง 2 ฤดู คือฤดูรอนและฤดูฝน
3) ภูมอิ ากาศประเภทมรสุมเมืองรอน (Am.) เปนภูมอิ ากาศทีพ่ บมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย
4) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใตนาฝนมาตกในพื
ํ น้ ทีส่ ว นใหญในภูมภิ าคตางๆ ของประเทศไทย
28. ประชากรไทยมีลกั ษณะดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 มุง ลดอัตราการเพิม่ ประชากรเหลือรอยละ 1.3
2) เขตอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหมเปนชุมชนขนาดใหญจดั เปนเทศบาลแหงเดียวในประเทศไทย
3) ประชากรไทยสวนใหญอยูใ นชนบท ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเปนพุทธศาสนิกชน
4) จังหวัดทีม่ ปี ระชากรนอยทีส่ ดุ และเบาบางทีส่ ดุ ของประเทศ คือ แมฮอ งสอน
29. ในเขตทีร่ าบสูงของประเทศไทย ลักษณะโครงสรางทางธรณีวทิ ยาจะพบหมูห นิ ชนิดใดมากทีส่ ดุ
1) หมูห นิ กระบี่ - ตะรุเตา 2) หมูห นิ ลําปาง - โคราช
3) หมูห นิ ราชบุรี - ตะนาวศรี 4) หมูห นิ ทุง สง - ตะรุเตา
30. ลักษณะภูมปิ ระเทศในขอใดตอไปนีเ้ กิดจากการยกตัวของเปลือกโลก
1) เขตทีร่ าบภาคกลางของไทย 2) ชายฝง ทะเลอันดามันของภาคใต
3) เทือกเขาสูงในเขตภาคเหนือของไทย 4) ทีร่ าบสูงโคราชในประเทศไทย

107 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

31. ในเขตทีร่ าบภาคกลางมีการขุดคลองเชือ่ มแมน้ําสายตางๆ เพือ่ ใชในการคมนาคมขนสงและเกษตรกรรม คลองใด


เชื่อมแมนํ้าสายตางๆ ผิดจากความเปนจริง
1) คลองรังสิต เชื่อมแมนํ้านครนายกกับแมน้าเจ ํ าพระยา
2) คลองพระโขนง เชื่อมแมนํ้าเจาพระยากับแมนาท ้ํ าจีน
3) คลองดําเนินสะดวก เชื่อมแมนํ้าทาจีนกับแมน้าแม ํ กลอง
4) คลองสําโรง เชื่อมแมนํ้าบางปะกงกับแมนาเจ ้ํ าพระยา
32. เพราะเหตุใดเขตทุง ราบเจาพระยาจึงเปนเขตเกษตรกรรมทีส่ าคั ํ ญของประเทศไทย
1) เปนเขตทีร่ าบลุม แมน้ํา มีดนิ ตะกอนทับถม 2) มีความชุม ชืน้ มากทีส่ ดุ เพราะฝนตกชุกทัง้ ป
3) เปนเขตเดียวทีป่ ลูกขาวเจาของประเทศ 4) เปนเขตทีป่ ลูกพืชไดทง้ั เมืองรอนและเมืองหนาว
33. ปาไมเปนทรัพยากรธรรมชาติทส่ี าคั ํ ญ ปาไมในภาคตะวันตกมีลกั ษณะอยางไร
1) มีปา ดงดิบขึน้ มากทีส่ ดุ ในประเทศ 2) มีปา แดงกวางขวางทีส่ ดุ ในประเทศ
3) มีปา เลนนํ้าเค็มกวางขวางทีส่ ดุ ในประเทศ 4) มีจงั หวัดทีม่ ปี า ไผมากทีส่ ดุ ในประเทศ
34. ออบหลวง (เชียงใหม) แพะเมืองผี (แพร) ฮอมจอม (นาน) เปนภูมปิ ระเทศทีเ่ กิดจากการกระทําของตัวการใดตอไปนี้
1) ลม, คลื่นทะเล 2) แมน้า,ํ ฝน 3) นํ้าใตดนิ , ลม 4) คลื่นทะเล, แมน้าํ
35. ดานหรือชองเขาในขอใดตอไปนีท้ อ่ี ยูใ นเขตจังหวัดกาญจนบุรี ซึง่ ใชเปนเสนทางติดตอระหวางไทยกับพมาตัง้ แต
สมัยโบราณจนถึงปจจุบนั
1) ดานพระเจดีย 3 องค ดานสิงขร 2) ดานพระเจดีย 3 องค ดานบองตี้
3) ดานแมละเมา ดานสิงขร 4) ดานบองตี้ ดานแมละเมา
36. ภาคกลางของประเทศไทยมีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเปนทีร่ าบเกิดจากการทับถมของตะกอนทีแ่ มนาพั ้ํ ดมา มีลกั ษณะ
เปนเพียงดินตะกอนนัน้ เกิดขึน้ ในยุคใดทางธรณีกาล
1) คารบอนิเฟอรัส - ดีโวเนียม 2) ดาลีโอโซนิก - มีโซโซอิก
3) ควอเตอรนารี - เทอรเชียรี 4) แคมเบรียน - ฟรีแคมเบเรียน
37. การปองกันแกไขปญหาสภาวะแวดลอมเปนพิษทีเ่ หมาะสมและถูกตองคือขอใด
1) วางผังเมืองใหมใหเหมาะสมโดยสรางเขตอุตสาหกรรมขึน้ โดยเฉพาะ
2) ไมอนุญาตใหมกี ารตัง้ โรงงานผลิตสินคาประเภททีจ่ ะกอใหเกิดมลพิษ
3) กลับไปใชระบบผลิตแบบเกา ซึง่ อาศัยธรรมชาติเปนสําคัญ
4) ปลอยใหเหตุการณปรับตัวเองเพราะถาทีใ่ ดมีมลพิษมาก ประชาชนในเขตนั้นก็จะจัดการกับผูทามลพิ ํ ษใหเกิด
ขึ้นนั้น
38. การแบงพืน้ ทีข่ องประเทศออกเปนภูมภิ าคนัน้ ๆ มีความสําคัญตอการศึกษาวิชาภูมศิ าสตรเปนอยางมากเพราะกอให
เกิดประโยชนตา งๆ ตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) ทําใหทราบขอเท็จจริงตางๆ ของบริเวณนัน้ ๆ มากยิง่ ขึน้
2) ทําใหสามารถแบงประชากรออกเปนกลุม ๆ ตามเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม ซึง่ สะดวกในการแบงเขตการ
ปกครอง
3) ทําใหสามารถเปรียบเทียบความคลายคลึงและความแตกตางกันตามขอเท็จจริงของแตละภูมภิ าคได
4) ทําใหสามารถเอาขอมูลตางๆ ทีม่ อี ยูใ นภูมภิ าคมาใชใหเกิดประโยชนในดานตางๆ ได

108 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

39. ลักษณะภูมปิ ระเทศในขอใดตอไปนี้ เกิดจากการกระทําของแมนาลํ ้ํ าธาร


1) ทะเลสาบสงขลา จังหวัดสงขลา และนําตกเอราวั ้ ณ จังหวัดกาญจนบุรี
2) นํ้าพุรอ น จังหวัดระนอง และหินงอกหินยอยในถํ้า จังหวัดราชบุรี
3) แพะเมืองผี จังหวัดแพร และออบหลวง จังหวัดเชียงใหม
4) เขาตะปู จังหวัดพังงา และหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
40. หมูห นิ ราชบุรี ตะนาวศรี ทุง สง และตะรุเตา เปนหมูห นิ ทีอ่ ยูใ นมหายุคพาเลโอโซอิก ซึง่ มีอายุเกาแกมากทีส่ ดุ ใน
ประเทศไทย หมูห นิ เหลานีพ้ บมากในบริเวณภูมปิ ระเทศใดตอไปนี้
1) เทือกเขาตางๆ ดานตะวันตกของประเทศ 2) ทีร่ าบสูงโคราชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3) ทีร่ าบลุม แมนาเจ้ํ าพระยาในเขตภาคกลาง 4) ทีร่ าบชายฝง ทะเลทางดานอาวไทยของภาคใต
41. เทือกเขาและภูเขาในขอใดตอไปนีเ้ ปนภูเขาไฟทัง้ หมด
1) ภูกระดึง ภูหลวง ภูเรือ 2) ภูพาน ภูเขียว ภูผาเหล็ก
3) ภูองั คาร ภูพนมรุง ภูกระโดง 4) ดอยขุนตาล ดอยหลวงเชียงดาว ดอยเตา
42. สภาพภูมอิ ากาศและลมฟาอากาศในประเทศไทยมีลกั ษณะดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) ภูมอิ ากาศแบบมรสุมเมืองรอน (Am.) และทุง หญาเมืองรอน (Aw.) พบอยูใ นประเทศไทย
2) ภาคตะวันตกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอากาศแหงแลงเพราะเปนเขตเงาฝนของเทือกเขาตะนาวศรีและ
เทือกเขาเพชรบูรณ
3) ทัว่ ทุกภาคของประเทศไทยจะมีฤดูกาล 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดูรอ น และฤดูหนาว
4) พืน้ ทีบ่ ริเวณเขาสูงในเขตภาคเหนือมีอณ ุ หภูมติ ่ําเหมือนเขตอบอุน จึงปลูกพืชเมืองหนาวไดดี
43. ประเทศไทยไดรบั ปริมาณนําฝนมากที
้ ส่ ดุ จากฝนประเภทใด
1) ฝนภูเขา 2) ฝนปะทะมวลอากาศ 3) ฝนการพาความรอน 4) ฝนพายุหมุน
44. พายุใตฝนุ พายุโซนรอน และพายุดเี ปรสชัน เปนพายุหมุนเหมือนกัน แตเรียกชือ่ แตกตางกันเพราะเหตุใด
1) แหลงกําเนิดแตกตางกัน 2) ความเร็วแตกตางกัน
3) พืน้ ทีท่ พ่ี ดั ผานแตกตางกัน 4) ลักษณะการหมุนเวียนแตกตางกัน
45. ขอใดไมใชปญ  หาทางกายภาพของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1) ปญหาดินเค็ม 2) ปญหาฝนทิง้ ชวง
3) ปญหาสภาพดินและนํ้า 4) ปญหาการลักลอบขุดแรและทําลายปา
46. ภาคใตมลี กั ษณะทางภูมศิ าสตรตรงกับขอใดตอไปนีม้ ากทีส่ ดุ
ก. เทือกเขาทุกเทือกเกิดจากการโกงงอของเปลือกโลก (Fold Mountain) เหมือนกับเทือกเขาในภาคเหนือ
และภาคตะวันตก
ข. ภาคใตฝง ตะวันตกมีชายฝง ประเภทยกตัวแตภาคใตฝง ตะวันออกมีชายฝง ประเภททรุดตัว
ค. ปาไมในภาคใตเปนปาไมประเภทไมผลัดใบเมืองรอน เชน ปาดิบชืน้ ปาเลนนํ้าเค็ม และปาพรุ
ง. เปนภูมภิ าคทีม่ ฝี นตกชุกและมีพสิ ยั อุณหภูมติ ่ํา เปนเพราะทีต่ ง้ั ของภูมภิ าคอยูใ กลทะเล
1) ก., ข. และ ค. 2) ข., ค. และ ง. 3) ก., ค. และ ง. 4) ก., ข. และ ง.

109 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

47. ปญหาทางสังคมและการเมืองดังตอไปนี้ ปญหาอาชญากรรม ปญหาโจรผูรายชุกชุม ปญหาทีอ่ ยูอ าศัยและปญหาที่


พบอยูท กุ วันในกรุงเทพมหานครเนือ่ งจากสาเหตุใดมากทีส่ ดุ
1) การอพยพยายถิน่ เขามาของชาวชนบท 2) การขาดแคลนทรัพยากรทีจ่ ะใชบริโภค
3) ความเสือ่ มโทรมทางดานจิตใจและศีลธรรม 4) ความยากจนของประชาชนสวนใหญ
48. ลักษณะของประชากรในขอใดตอไปนีท้ ก่ี ลาวผิดจากความเปนจริงของประชากรไทย
1) ประชากรทีน่ อกเหนือจากเชือ้ ชาติไทยแลวมีเชือ้ ชาติอน่ื อีกเล็กนอย ทําใหประเทศไทยมีความเปนอันหนึง่ อัน
เดียวกันในดานเชื้อชาติอยูมาก
2) ประชากรสวนใหญนบั ถือศาสนาพุทธ นอกจากนีย้ งั มีนบั ถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสตลดนอยกันลงไป
ตามลําดับ
3) ประชากรทีอ่ ยูใ นวัยเด็กและวัยชรามีนอ ย สวนใหญอยูใ นวัยทํางาน ทําใหการพัฒนาเศรษฐกิจดําเนินไปไดผล
ตามเปาหมาย
4) ประชากรสวนใหญของประเทศพูดภาษาเดียวกันจึงไมมปี ญ  หากันในเรือ่ งการสือ่ ความหมายระหวางประชาชนใน
ภูมภิ าคตางๆ
49. ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใตเปนภูมภิ าคทีอ่ ดุ มดวยแรธาตุนานาชนิด แรใดทีพ่ บในภูมภิ าคเหลานี้
1) ถานหิน นํ้ามัน ฟลูออไรด 2) เกลือหิน เกลือโพแทช ยูเรเนียม
3) ดีบกุ แทนทาลัม วุลแฟรม 4) รัตนชาติ ทองคํา ตะกัว่
50. การประมงทะเลในเขตใดทีไ่ มประสบปญหาเกีย่ วกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะ
1) ชายฝง ทะเลของภาคตะวันออก 2) ชายฝง ทะเลของภาคตะวันตก
3) ชายฝง ทะเลของภาคใตฝง ตะวันออก 4) ชายฝง ทะเลของภาคใตฝง ตะวันตก
51. ลักษณะของดินในเขตทีร่ าบภาคกลางเปนดินตะกอนทีแ่ มน้ําพัดพามาทับถมกัน โดยเฉพาะในเขตทีร่ าบภาคกลาง
ตอนลางเปนดินตะกอนละเอียดหรือดินเหนียวซึง่ มีคณ ุ สมบัตแิ ตกตางกัน ดินชนิดใดทีไ่ มเหมาะในการเพาะปลูกเลย
1) ดินเหนียวดํากรุงเทพ 2) ดินเหนียวลพบุรี 3) ดินเหนียวองครักษ 4) ดินเหนียวทาจีน
52. ประเทศไทยมีโครงสรางทางธรณีวทิ ยาแบงออกได 3 ประเภทคือ ทีร่ าบ ทีร่ าบสูง และเทือกเขาในแตละประเภทมี
หมูห นิ แตกตางกัน หมูห นิ กระบีแ่ ละดินตะกอนทีย่ งั ไมแข็งตัวนัน้ สวนใหญพบในโครงสรางธรณีวทิ ยาประเภทใด
1) ทีร่ าบ 2) ทีร่ าบสูง 3) เทือกเขา 4) ถูกทุกขอ
53. ภูมภิ าคใดของประเทศไทยประกอบดวยภูมปิ ระเทศทีส่ าคั ํ ญคือ ทีร่ าบชายฝง ทะเล ทีร่ าบลุม แมน้าํ และเทือกเขาสูง
เหมาะในการพัฒนาอุตสาหกรรมเพราะมีเชือ้ เพลิง แรธาตุ พลังงาน และผลผลิตทางการเกษตรกรรมมาก
1) ภาคเหนือ - ภาคตะวันออก 2) ภาคตะวันออก - ภาคตะวันตก
3) ภาคใต - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4) ภาคกลาง - ภาคตะวันตก
54. ประเทศไทยมีลกั ษณะภูมอิ ากาศแบบปาฝนเมืองรอน เพราะอุณหภูมขิ องอากาศสูงตลอดป และมีปริมาณฝนทีต่ ก
คอนขางมากฝนทีต่ กในภูมภิ าคตางๆ นั้น สวนใหญมาจากอิทธิพลของลมใดตอไปนี้
ก. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ค. ลมขาวเบาและลมตะเภา
ข. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ง. พายุโซนรอนและดีเปรสชัน
1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.

110 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

55. โครงการตางๆ ในขอตอไปนี้ โครงการใดผิดจากความเปนจริง


1) โครงการพัฒนาชายฝง ทะเลภาคตะวันออก มุง สรางนิคมอุตสาหกรรมและทาเรือนํ้าลึกในเขตจังหวัดชลบุรแี ละ
ระยอง เปนสําคัญ
2) โครงการฮารับปนบารูของกองทัพบก มุง พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต คือ จังหวัดยะลา นราธิวาส ปตตานี
สงขลา และสตูล เปนสําคัญ
3) โครงการแกงเสือเตน เปนโครงการพัฒนาลุม แมนายมในจั้ํ งหวัดแพร ของกรมชลประทาน กระทรวงเกษตร
และสหกรณ เพือ่ ปองกันการบุกรุกทําลายปา
4) โครงการหมูบ า นทุง ลุยลาย (ชัยภูม)ิ โครงการเขาหินซอน (ฉะเชิงเทรา) และโครงการหมูบ า นหุบกระพง (เพชรบุรี)
เปนโครงการในพระราชดําริ มุง พัฒนาทีด่ นิ เปนสําคัญ
56. ในเขตภาคกลางตอนลางมีดนิ ตะกอนทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ตกตางกัน ดินชนิดใดมีโอชะในดินมาก เหมาะในการทํานา
และปลูกผลไมมากทีส่ ดุ
1) ดินเหนียวองครักษ 2) ดินเหนียวดํากรุงเทพ 3) ดินเหนียวลพบุรี 4) ดินเหนียวทาจีน
57. ปญหาประชากรและปญหาทางกายภาพใดทีไ่ มพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ก. ปญหาดินเค็มและฝนทิง้ ชวง
ข. ปญหาการอพยพยายถิน่ ของประชากร
ค. ปญหาการลักลอบขุดแรและทําลายปา
ง. ปญหาประชากรหนาแนนและมลภาวะเปนพิษ
จ. ปญหาการลักลอบขุดแรและทําลายปา
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ง. และ จ.
58. ประเทศไทยไดประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะเมือ่ ป พ.ศ. 2524 พบวาบริเวณอาวไทยมีลกั ษณะเปนเขตไหลทวีปมี
ประเทศตางๆ มีชายฝง เกีย่ วของอยู 3 ประเทศ ซึง่ เกิดปญหาระหวางประเทศในดานพืน้ ทีก่ รรมสิทธิท์ างทะเลซอน
กันประเทศทีม่ ปี ญ หากับเรานัน้ คือประเทศใด
1) กัมพูชา - เวียดนาม 2) กัมพูชา - มาเลเซีย
3) กัมพูชา - อินโดนีเซีย 4) กัมพูชา - บรูไน
59. ความยากจนของประชากรในภาคเหนือเกิดจากสาเหตุตา งๆ ยกเวนขอใด
1) การทําลายปาทําใหเกิดนํ้าทวมพืชผลเสียหาย
2) การเพิม่ ของประชากรทําใหทท่ี ํากินไมเพียงพอ
3) ทีด่ นิ ทํากินมีนอย ทําใหขนาดของที่ดินถือครองโดยเฉลี่ยมีขนาดเล็ก
4) ขาดระบบชลประทานขนาดเล็กในทองถิน่ จึงปลูกพืชไดครัง้ เดียว
60. บริเวณใดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีม่ ปี ระชากรของแตละจังหวัดเกินหนึง่ ลานคน
1) จังหวัดตามทิวเขาสันกําแพง และพนมดงรัก 2) จังหวัดตามทิวเขาดงพญาเย็น และเพชรบูรณ
3) จังหวัดตามแนวลําแมน้าโขง ํ 4) จังหวัดตามแนวลําแมน้ําชี
61. ปญหาดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกิดขึน้ ไดอยางไร
1) การสะสมเกลือจากทีต่ า งๆ ตามผิวดิน 2) การสะสมเกลือทีไ่ หลซึมมาจากชัน้ หิน
3) การทีน่ ้าละลายเกลื
ํ อไหลไปตามลําธาร 4) การทีน่ านํ
้ํ าเอาเกลือจากใตดินขึ้นมาที่ผิวดิน

111 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

62. การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมทีด่ แี ละมีประสิทธิภาพ ควรจะดําเนินการตามขอใด


1) เพิม่ จํานวนเจาหนาทีแ่ ละงบประมาณอยางเพียงพอ
2) ประชาชนในทองถิน่ เห็นความสําคัญและมีสว นรวม
3) เนนมาตรการทางกฎหมายใหรดั กุม มีบทลงโทษหนัก
4) จัดตัง้ มูลนิธเิ พือ่ การอนุรกั ษทรัพยากรและสิง่ แวดลอม
63. การขยายโรงงานอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะชวยแกปญ  หาดานใดไดตรงทีส่ ดุ
1) การยายถิน่ ไปหางานทําทีอ่ น่ื 2) ความเหลือ่ มลํ้าในดานรายได
3) ความยากจนแรนแคนของประชากร 4) การวางงานของประชากรทัง้ ในและนอกฤดูกาล
64. ขอใดเปนปจจัยสําคัญทําใหทรัพยากรดินสมบูรณ
1) กาลเวลาทําใหกลุม ดินมีอายุตา งกัน
2) สิง่ มีชวี ติ ในดินทําใหดนิ เกิดการเปลีย่ นแปลง
3) ลักษณะภูมปิ ระเทศทีเ่ ปนพืน้ ทีล่ าดเขาและทีเ่ ปนทีร่ าบ
4) ลักษณะอากาศสองแบบ คือ รอนชื้น และอบอุน
65. เหตุใดทิวเขาภูเก็ตและทิวเขานครศรีธรรมราชจึงมีแรดบี กุ และวุลแฟรมมาก
1) เพราะมีหนิ ปูนอยูม าก 2) เพราะมีหนิ แกรนิตแทรกอยูม าก
3) เพราะมีหนิ บะซอลตกระจายอยูท ว่ั ไป 4) เพราะมีหนิ แรตกตะกอนทับถมอยูม าก

เฉลย
1. 4) 2. 3) 3. 4) 4. 3) 5. 4) 6. 2) 7. 1) 8. 3) 9. 3) 10. 2)
11. 3) 12. 4) 13. 1) 14. 1) 15. 3) 16. 2) 17. 2) 18. 3) 19. 2) 20. 3)
21. 1) 22. 3) 23. 4) 24. 3) 25. 2) 26. 1) 27. 4) 28. 4) 29. 2) 30. 4)
31. 2) 32. 1) 33. 4) 34. 2) 35. 2) 36. 3) 37. 2) 38. 2) 39. 3) 40. 1)
41. 3) 42. 3) 43. 2) 44. 2) 45. 4) 46. 3) 47. 1) 48. 4) 49. 3) 50. 1)
51. 4) 52. 1) 53. 2) 54. 4) 55. 3) 56. 2) 57. 3) 58. 1) 59. 2) 60. 1)
61. 4) 62. 2) 63. 1) 64. 2) 65. 2)

112 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ลักษณะและความสําคัญของวิชา
เศรษฐศาสตรกับวิชาภูมิศาสตรเศรษฐกิจ
1. เศรษฐศาสตร เปนศาสตรแขนงหนึง่ ทีม่ งุ แกปญ  หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของมนุษย (จะผลิตอะไร (What)
ผลิตอยางไร (How) และผลิตเพือ่ ใคร (For whome))
เศรษฐศาสตร เปนการจัดสรรทรัพยากรทีม่ อี ยูอ ยางจํากัด เพือ่ สนองความตองการของมนุษยทไ่ี มมจี ดุ จํากัด
ไดอยางมีประสิทธิภาพ
เศรษฐศาสตร เปนการศึกษาพฤติกรรมของมนุษยเกีย่ วกับการเลือกปจจัยการผลิตทีม่ อี ยูอ ยางจํากัด เพื่อใช
ผลิตผลผลิตทีใ่ หการตอบสนองความพึงพอใจไดมากทีส่ ดุ
2. เศรษฐศาสตร แบงออกเปน 2 สาขา คือ
ก. เศรษฐศาสตรจลุ ภาค (Microeconomics) เปนการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจทีเ่ ปนหนวยยอยในระดับ
บุคคลหรือหนวยธุรกิจหนวยใดหนวยหนึง่ เชน รายไดหรือรายจายของบุคคลใดบุคคลหนึง่ หรือผูผ ลิต
รายใดรายหนึง่ เปนตน
ข. เศรษฐศาสตรมหภาค (Macroeconomics) เปนการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจทีเ่ ปนสวนรวม หรือ
ระดับประเทศ เชน รายไดประชาชาติ การเกิดปญหาเงินฝด เงินเฟอ เปนตน
3. ไมวา ยุคใดสมัยใดความตองการของมนุษยไมมจี ดุ จํากัด แตทรัพยากรทีจ่ ะสนองความตองการนัน้ กลับมีจากั ํ ด
ทําใหเกิดปญหาทางเศรษฐศาสตรขน้ึ การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรจงึ มีความสําคัญดังนี้
ก. ทําใหผทู ศ่ี กึ ษาเขาใจถึงเหตุการณและปญหาตางๆ ทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจําวัน และสามารถ
แกปญ หาเหลานัน้ ไดอยางถูกตอง
ข. ทําใหผศู กึ ษานําเอาไปใชเปนพืน้ ฐานในการประกอบอาชีพตางๆ ได
ค. ทําใหผูศึกษาเขาใจการดําเนินงานทางเศรษฐกิจของรัฐบาล ทัง้ ยังประพฤติปฏิบตั ติ นใหสอดคลองกับ
การดําเนินงานของรัฐบาลได
4. ภูมศิ าสตรเศรษฐกิจ เปนวิชาทีศ่ กึ ษาความสัมพันธระหวางกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษยกบั สภาพแวดลอม
ทางธรรมชาติ
5. วิชาภูมศิ าสตรเศรษฐกิจมีความสําคัญตอวิชาเศรษฐศาสตรอยางมาก คือ จะทําใหเราสามารถตอบคําถาม
ทางเศรษฐศาสตรได เชน เราจะรูว า กิจกรรมอะไรบางทีก่ าลั ํ งดําเนินอยูใ นปจจุบนั (What) กิจกรรมเหลานัน้ ดําเนินการกัน
อยางไร (How) และกิจกรรมเหลานัน้ ดําเนินการไปเพือ่ ใคร (For Whom) นอกจากนีเ้ รายังสามารถรูถ งึ กิจกรรมเหลานัน้
เกิดขึน้ ทีไ่ หน (Where) และกิจกรรมเหลานัน้ เกิดขึน้ เมือ่ ใด (When)

113 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

กระบวนการทางเศรษฐกิจ
1. การผลิต (Production) คือ การสรางสินคาและบริการ เพือ่ สนองความตองการของมนุษย โดยมุง ใหสนิ คา
และบริการนัน้ เกิดประโยชนในทางเศรษฐกิจอยางใดอยางหนึง่
2. ประโยชนในทางเศรษฐกิจ (อรรถประโยชน : Utility) หมายถึง การทําใหสนิ คาและบริการนัน้ ๆ มีคณ ุ คามากขึน้
ในทางเศรษฐศาสตร แบงประโยชนในทางเศรษฐกิจได 5 ชนิด คือ
ก. ประโยชนเกิดจากการเปลีย่ นรูป (Form Utility) เชน การเอาไมซงุ มาแปรรูปแลวทําเปนโตะ หรือเอา
ดินเหนียวมาปน เปนอิฐ ภาชนะตางๆ เปนตน
ข. ประโยชนเกิดจากการเปลีย่ นสถานที่ (Place Utility) เชน ไขมกุ จากหอยมุกในทะเลนําขึ้นมาทํา
เครือ่ งประดับ เปนตน
ค. ประโยชนเกิดจากเวลา (Time Utility) เชน สุรายิง่ หมักนานยิง่ มีราคาแพง เปนตน ประโยชนในขอนี้
รวมถึงการผลิตสินคาออกมาเปนรายแรกดวย เชน ผงซักฟอก (แฟบ) ผงชูรส (อายิโนะโมะโตะ) เปนตน
ง. ประโยชนเกิดจากเปลีย่ นโอนกรรมสิทธิ์ (Possession Utility) เชน เสือ้ ผาจะเปนประโยชนแกผสู วมใส
มากกวาชางตัดเย็บเสือ้ ผา เปนตน
จ. ประโยชนเกิดจากการใหบริการ (Service Utility) เชน แพทยใหการรักษาแกผเู จ็บปวย ครูสอนหนังสือ
ใหศษิ ย ทนายวาความใหลกู ความ เปนตน
3. สินคาหรือทรัพย (Goods) คือ สิง่ ทีบ่ าบั
ํ ดความตองการของมนุษยในทางเศรษฐศาสตร แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
ก. ทรัพยเสรีหรือสินคาไรราคา (Free Goods) เปนสิง่ ทีม่ อี ยูต ามธรรมชาติ ไมตอ งซือ้ หา เชน อากาศ แสงแดด
นําฝน
้ นํ้าในแมน้าลํํ าคลอง เปนตน
ข. เศรษฐทรัพย (Economic Goods) เปนสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ ทรัพยสง่ิ ของเหลานีจ้ ะตองมีการซือ้ ขาย เชน
บาน ยา อาหาร เครือ่ งนุง หม เปนตน
4. การผลิต แบงออกเปน 3 ระดับ คือ
ก. การผลิตขัน้ ตนหรือการผลิตขัน้ ปฐมภูมิ (Primary Production) เปนการผลิตวัตถุดบิ เชน การเกษตรกรรม
การประมง การปาไม เหมืองแร (ลงทุนตํา่ ลงแรงสูง ผลตอบแทนตํ่า)
ข. การผลิตขัน้ แปรรูปหรือการผลิตขัน้ ทุตยิ ภูมิ (Secondary Production) เปนการนําวัตถุดบิ ทีผ่ ลิตไดมา
แปรรูปเปนสินคาสําเร็จรูป เชน อุตสาหกรรมตางๆ (ลงทุนสูง ลงแรงสูง ผลตอบแทนสูง)
ค. การผลิตขัน้ บริการหรือการผลิตขัน้ อุดม (Tertiary Production) เปนการผลิตบริการ เชน การขนสง
การประกันภัย การทองเทีย่ ว การรักษาพยาบาล (ลงทุนตํา่ ลงแรงตํา่ ผลตอบแทนสูง)
5. ปจจัยการผลิต (Factor of Production) ในทางเศรษฐศาสตรมอี ยู 4 อยาง คือ
ก. ทีด่ นิ (Land) หมายถึง แหลงผลิต ซึง่ หมายรวมถึงทรัพยากรทีอ่ ยูใ นบริเวณนัน้ ทัง้ หมด
ข. ทุน (Capital) หมายถึง สิง่ ซึง่ นํามาใชเปนเครือ่ งมือในการผลิต เชน โรงงาน รถยนต เครือ่ งจักร วัว ควาย
ค. แรงงาน (Labour) หมายถึง แรงกายและปญญาของมนุษยเทานัน้
ง. ผูป ระกอบการ (Entrepreneurship) หรือผูผลิต หมายถึง ผูที่จะนําเอาที่ดิน ทุน และแรงงานมากอ
ใหเกิดการผลิต

114 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

6. ปจจัยการผลิตทัง้ 4 ชนิด เพื่อนํามาดําเนินการผลิตจะไดรบั ผลตอบแทน ในทางเศรษฐศาสตรกําหนด


ผลตอบแทนปจจัยการผลิตไวดงั นี้
- ทีด่ นิ ผลตอบแทน เรียกวา คาเชา (Rent)
- ทุน ผลตอบแทน เรียกวา ดอกเบีย้ (Interest)
- แรงงาน ผลตอบแทน เรียกวา คาจาง (Wage) หรือคาแรง
- ผูป ระกอบการ ผลตอบแทน เรียกวา กําไร (Profit)
7. การผลิตสินคาและบริการ จะผลิตประมาณมากนอยเพียงใดนัน้ อยูก บั ปจจัยทีค่ วบคุมปริมาณการผลิต 3 อยาง
ดังนี้
ก. ปริมาณของวัตถุดบิ
ข. ความตองการของตลาด (อุปสงค)
ค. ราคาของผลผลิตในตลาด
8. การบริโภค (Consumption) หมายถึง การใชประโยชนจากสินคาและบริการในทางเศรษฐศาสตรนนั้ แบงออกเปน
2 ลักษณะ คือ
ก. การบริโภคทีส่ นิ้ เปลืองหมดไป (Destruction) คือ การบริโภคไดเพียงครัง้ เดียว ไมสามารถบริโภคไดอกี เชน
อาหาร นํ้ามันเชื้อเพลิง เปนตน
ข. การบริโภคทีไ่ มสนิ้ เปลือง (Diminution) คือ การบริโภคทีไ่ ดมากกวาหนึง่ ครัง้ เชน เครือ่ งนุง หม ของใชตา งๆ
เปนตน
9. ปจจัยทีค่ วบคุมการบริโภค มีอยู 3 ปจจัย ดังนี้
ก. สินคาและบริการทีจ่ ะบริโภคนัน้ มีอยูห รือไม
- ถาสินคาและบริการนัน้ มีอยูก ไ็ ดบริโภค
- ถาสินคาและบริการนัน้ ไมมกี จ็ ะไมไดบริโภค
ข. รายไดของผูบ ริโภค
- ถารายไดสงู จะไดบริโภคมาก
- ถารายไดตา่ํ จะไดบริโภคนอย หรือไมไดบริโภคก็ได
ค. โอกาสทางสังคมของผูร บั การบริโภค (ความรู - ความสามารถ)
- ถาความรู ความสามารถนอย จะไดบริโภคนอยหรือไมไดบริโภค
- ถาความรู ความสามารถสูง จะไดบริโภคมาก รายไดสงู
10. การกระจาย (Distribution) คือ การจําหนายจายแจกสินคาและบริการซึง่ เปนผลผลิตไปยังผูบ ริโภค ตลอดจน
การแบงสรรผลตอบแทนไปยังผูม สี ว นรวมในการผลิต ในทางเศรษฐศาสตรนน้ั แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
ก. การกระจายสินคา
- กระจายปจจัยการผลิต (ทีด่ นิ ทุน แรงงาน ผูป ระกอบการ)
- กระจายผลผลิต (สินคาและบริการ)
ข. การกระจายรายได
- กระจายผลตอบแทนปจจัยการผลิต (คาเชา ดอกเบีย้ คาจาง กําไร)
- กระจายผลตอบแทนผลผลิต (คาใชจา ยซือ้ สินคาและบริการ)

115 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ในการกระจายนีม้ ปี จ จัยทีค่ วบคุมการกระจายอยู 3 ประการ ดังนี้


ก. สภาพภูมศิ าสตร เชน เมืองกับชนบท
ข. ความรูค วามสามารถของผูร บั การกระจาย
ค. อุปสงคและอุปทานในภูมภิ าค
11. การแลกเปลีย่ น (Exchange) หมายถึง การนําเอาสินคาอยางหนึง่ ไปแลกกับอีกอยางหนึง่ ซึง่ มีววิ ฒ ั นาการ
ของการแลกเปลีย่ นอยู 3 ระยะ ดังนี้
ก. การแลกเปลีย่ นสินคาโดยตรง (Barter System) คือ การนําเอาสินคามาแลกเปลีย่ นกัน เชน ขาวสาร
แลกกับปุย ไขแลกกับเสือ้ ผาทีใ่ ชแลว เปนตน
ข. การแลกเปลีย่ นทีใ่ ชเงินเปนสือ่ กลาง (Money System) คือ การแลกเปลีย่ นทีใ่ ชกนั ในปจจุบนั
ค. การแลกเปลีย่ นทีใ่ ชสนิ เชือ่ หรือเครดิต (Credit System) ในกรณีทไ่ี มมเี งิน หรือมีเงินไมพอนัน้
การแลกเปลีย่ นจะตองใชความไววางใจตอกัน คือ สินเชื่อ หรือเครดิต เชน การใชเช็ค บัตรเครดิต
แทนตัวเงิน หรือระบบเชาซือ้ เปนตน
12. วงจรเศรษฐกิจ หมายถึง ความสัมพันธระหวางหนวยเศรษฐกิจตางๆ ในสังคม ซึง่ มีทง้ั ความสัมพันธกนั
โดยตรงและสัมพันธกนั โดยออม เชน ประชาชนเสียภาษีอากรใหรฐั บาล รัฐบาลจัดสาธารณูปโภคใหประชาชน เปนตน
13. "มนุษย" ในทางเศรษฐศาสตร ถือวาเปนทัง้ ผูผ ลิต และผูบ ริโภค
- ผูผลิต เชน เปนเจาของทีด่ นิ เปนเจาของนายทุน เปนแรงงาน หรือเปนผูป ระกอบการ
- ผูบริโภค เชน เปนผูนําเอาผลผลิตมาใชประโยชน
14. ลักษณะความสัมพันธของหนวยเศรษฐกิจตางๆ ในสังคมนัน้ ถาแยกตามลักษณะการแลกเปลีย่ นแลวจะมีอยู
3 ลักษณะ ดังนี้
ก. วงจรเศรษฐกิจแบบแลกเปลีย่ นโดยตรง
ปจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน ผูประกอบการ)

ธุรกิจ ครัวเรือน

สินคาและบริการ
วงจรนีม้ ี ผลดี คือ ผูผ ลิตและผูบ ริโภคติดตอกันโดยตรง สินคาราคาถูก
ผลเสีย คือ สูญเสียเวลามากและยุง ยาก เพราะเปนการแลกเปลีย่ นแบบ (Barter System)
ข. วงจรเศรษฐกิจแบบใชเงินเปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น

116 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

รายได (คาเชา ดอกเบี้ย คาจาง กําไร)


ปจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน ผูประกอบการ)

ธุรกิจ ครัวเรือน

สินคาและบริการ
คาใชจายในการซื้อสินคาและบริการ

วงจรนี้ ผลดี - ผูบ ริโภคกับผูผ ลิตติดตอกันโดยตรง ราคาสินคาถูก


- สะดวกในการแลกเปลีย่ นเพราะใชเงิน
ผลเสีย - สูญเสียเวลามาก
ค. วงจรเศรษฐกิจแบบใชเงินเปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ นโดยผานตลาด
ตนทุน ตลาด รายได
ปจจัยการผลิต ป
จ จั
ย การผลิ
ต ปจจัยการผลิต

ธุรกิจ ครัวเรือน

สินคาและบริการ สินคาและบริการ
ตลาดผลผลิต
รายรับ คาใชจายในการซื้อ
สินคาและบริการ
วงจรนี้ ผลดี - สะดวกในการแลกเปลีย่ นเพราะใชงาน
- ประหยัดเวลา
ผลเสีย - ราคาสินคาแพง เพราะตองผานคนกลาง
15. การวัดระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้นเปนการประเมินผลของการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หลังจากที่
ดําเนินการไดระยะหนึง่ ในทางเศรษฐกิจนัน้ การประเมินจาก "รายไดประชาชาติ" (National Income : NI)
16. รายไดประชาชาติ (National Income : NI) หมายถึง มูลคารวมของสินคาและบริการทีป่ ระชาชาติผลิตขึน้
ในระยะเวลา 1 ป โดยหักคาเสือ่ มราคาของทรัพยากรและภาษีทางออม
รายไดเฉลีย่ ตอบุคคล หรือรายไดตอ บุคคล (Per Capital Income) หมายถึง คาของรายไดประชาชาติตอ
จํานวนประชากร 1 คน ในการคํานวณรายไดตอ บุคคลนัน้ คํานวณจากสูตรตอไปนี้

รายไดตอ บุคคล = รายไดประชาชาติ


จํานวนประชากรในประเทศ

117 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

17. ในการคํานวณรายไดประชาชาติสามารถคํานวณไดจากขอมูลตอไปนี้
ก. มูลคาของผลผลิตรวมทีป่ ระชาชาติผลิตขึน้ ในระยะเวลา 1 ป หรือ/และ
ข. รายไดรวมของประชาชาติในระยะเวลา 1 ป หรือ/และ
ค. รายจายรวมของประชาชาติในระยะเวลา 1 ป
แตการคํานวณนัน้ มักจะประสบปญหาตางๆ ดังนี้
ก. ขอมูลตางๆ ไมตรงตามความเปนจริง
ข. ไมสามารถกําหนดคาเสือ่ มราคาของทรัพยากรไดถกู ตอง
ค. ไมสามารถกําหนดราคาของสินคาคงเหลือได
ง. สินคาและบริการทีไ่ มผา นตลาดไมสามารถนํามาคํานวณได
จ. การเก็บขอมูลซํ้า
ปญหาเหลานีท้ ําใหการคํานวณรายไดประชาชาติคลาดเคลือ่ น
18. ผลิตภัณฑประชาชาติเบือ้ งตน (Gross National Product : GNP) หมายถึง มูลคารวมของสินคาและบริการ
ขัน้ สุดทายทีป่ ระชาชาติผลิตขึน้ ในระยะเวลา 1 ป
ผลผลิตทีเ่ ปนของคนชาติเดียวกันไมวา จะผลิตในประเทศหรือตางประเทศสามารถนํามารวมไดทง้ั หมดเปนคา
GNP (GNP ใชเปนขอมูลคํานวณรายไดประชาชาติ)
ผลิตภัณฑในประเทศเบือ้ งตน (Gross Domestic Product : GDP) หมายถึง มูลคารวมของสินคาและบริการ
ขัน้ สุดทายทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศในระยะเวลา 1 ป
ผลผลิตที่เกิดจากการผลิตในประเทศทัง้ หมดไมวา ผูผ ลิตจะเปนคนชาติเดียวกันหรือคนตางชาตินํามารวมกัน
เปนคา GDP (GDP ใชเปนขอมูลคํานวณอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ)
19. การหารายไดประชาชาติทแี่ ทจริง (Real National Income) สืบเนือ่ งมาจากราคาสินคาและบริการในระยะเวลา
หนึง่ ๆ นัน้ มีการเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ การคํานวณรายไดประชาชาติรวบรวมไวไดนน้ั อาจจะไมถกู ตองตามความเปนจริง
จึงตองมีการนํามาทําใหมคี วามถูกตองมากทีส่ ดุ จึงใชสตู รดังนี้
รายไดประชาชาติ × ดัชนีราคาปฐาน
รายไดประชาชาติทแ่ี ทจริง =
ดัชนีราคาปเดียวกัน

20. ประโยชนเกิดจากการศึกษารายไดประชาชาติ
ก. เพือ่ เปรียบเทียบภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะเวลาตางๆ กัน
ข. เพื่อนํามาพิจารณาคาครองชีพของประชากรวาไดมาตรฐานหรือไม
ค. เพือ่ เปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศหนึง่ กับอีกประเทศหนึง่
ง. เพือ่ ใชเปนขอมูลพืน้ ฐานในการกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ

118 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

อุปสงค - อุปทาน
1. อุปสงค (Demand) หมายถึง ความตองการในสินคาและบริการในระดับราคาหนึง่ ๆ
กฎของอุปสงค (Law of Demand)
ถาราคาสูง อุปสงคตา่ํ (จะทําใหราคาลดลงในทีส่ ดุ )
ถาราคาตํา่ อุปสงคสงู (จะทําใหราคาสูงขึน้ ในทีส่ ดุ )
(บาท) ราคา/กก.
D
50
ราคา/กก. (บาท) อุปสงค/กก. 40
10 10 30 เสนอุปสงค
20 8
30 6 20
40 4 10 D
50 2 0 สินคา/กก.
2 4 6 8 10
ํ อปุ สงคเปลีย่ นแปลง ดังนี้
2. ตัวการทีท่ าให
- ราคาของสินคาและบริการ
- ความจําเปนทีจ่ ะใชสนิ คาและบริการนัน้ ๆ
- การโฆษณาของผูผ ลิต
- การศึกษาของผูบริโภค
- สมัยนิยม
- รายไดของผูบริโภค
- ราคาสินคาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของหรือสินคาทีใ่ ชแทนกันได
- การคาดคะเนราคา หรือการเก็งกําไร
- การเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของจํานวนประชากร
3. อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริมาณของสินคาและบริการในระดับราคาหนึง่
กฎของอุปทาน (Law of Supply)
ถาราคาสูง อุปทานสูง (จะทําใหราคาลดลงในทีส่ ดุ )
ถาราคาตํา่ อุปทานตํา่ (จะทําใหราคาสูงขึน้ ในทีส่ ดุ )

119 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

(บาท) ราคา/กก.
S
50 เสนอุปทาน
ราคา/กก. (บาท) อุปทาน/กก.
40
10 5
20 30
10
30 15 20
40 20 10
50 25 S
0 5 10 15 20 25 สินคา/กก.
ํ อปุ ทานเปลีย่ นแปลง มีดงั นี้
4. ตัวการทีท่ าให
- ราคาของสินคาและบริการ
- ฤดูกาลของผลผลิต
- เทคนิคในการผลิต
- ราคาวัตถุดบิ
- ราคาสินคาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของหรือสินคาอืน่ ทีใ่ ชแทนกันได
- การคาดคะเนราคา หรือการเก็งกําไร
- การเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของจํานวนคูแ ขงขันในตลาด
5. ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) คือ ราคาสินคาและบริการทีผ่ บู ริโภคพอใจทีจ่ ะซือ้ และผูผ ลิตพอใจ
ทีจ่ ะขายให
ปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity) คือ ปริมาณของสินคาและบริการทีผ่ บู ริโภคตองการทีจ่ ะซือ้
เทากับปริมาณทีผ่ ผู ลิตตองการทีจ่ ะขายให
(บาท) ราคา/กก.
30 D S
ราคา/กก. (บาท) อุปสงค/กก. อุปทาน/กก.
25
30 10 50
25 20 40 20
20 30 30 15
15 40 20 10
10 50 10 S D
0 10 20 30 40 50 สินคา/กก.
ราคาดุลยภาพ และปริมาณดุลยภาพ คือ คาของจุดตัดระหวางเสนอุปสงคกบั เสนอุปทานในกราฟ
จากรูปและตาราง - ราคาดุลยภาพ คือ กิโลกรัมละ 20 บาท
- ปริมาณดุลยภาพ คือ สินคาจํานวน 30 กก.
6. "ทฤษฎีของอุปสงค-อุปทาน" บางครัง้ เรียกวา "กลไกแหงราคา (Price-Merchanism)" ไดเพราะอุปสงค-
อุปทาน นัน้ ขึน้ อยูก บั ราคาของสินคาและบริการ ในขณะเดียวกัน ราคาของสินคาและบริการก็ขน้ึ อยูก บั อุปสงค-อุปทาน
7. ประโยชนของอุปสงค-อุปทาน
1. เพือ่ กําหนดปริมาณการผลิตไดอยางถูกตอง จะไมมผี ลผลิตขาดหรือเกินความตองการ
2. เพือ่ กําหนดราคาผลผลิตไดอยางถูกตอง ซึง่ เปนราคาทีข่ ายไดและมีกําไรสูงสุด

120 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ระบบเศรษฐกิจ
1. ระบบเศรษฐกิจ คือ ลักษณะการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแตละสังคม เพือ่ บรรลุจดุ หมายสูงสุด
ทางเศรษฐกิจ (อยูด ี กินดี มัง่ คัง่ ) สิง่ แวดลอมและปจจัยตางๆ ของแตละสังคมตางกัน ทําใหลกั ษณะการดําเนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจของแตละสังคมแตกตางกัน
2. ระบบเศรษฐกิจในโลกนีท้ น่ี ยิ มแพรหลาย นัน้ แบงตามลัทธินยิ ม ซึง่ สอดคลองกับลักษณะทางการเมือง
และการปกครองของประเทศ แบงได 4 ระบบ ดังนี้
ก. ระบบทุนนิยม หรือเสรีนยิ ม → เอกชน
ข. ระบบคอมมิวนิสต → รัฐบาล
ค. ระบบสังคมนิยม → รัฐบาล > เอกชน
ง. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม → เอกชน + รัฐบาล
3. ลักษณะของระบบเศรษฐกิจตางๆ

ระบบคอมมิวนิสต ระบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ระบบทุนนิยม/เสรีนิยม


ลักษณะเดน ลักษณะเดน ลักษณะเดน ลักษณะเดน
- รัฐบาลเปนเจาของปจจัย - รัฐบาลเปนเจาของปจจัย - ระบบทุนนิยมกับสังคม - เอกชนเปนผูดาเนิ
ํ นกิจกรรม
การผลิตอยางสิน้ เชิง การผลิตทีส่ ําคัญ - กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกิจ
- รัฐบาลเปนผูท ากิ
ํ จกรรม - รัฐบาลทํากิจกรรมทาง สวนใหญเปนของเอกชน - เอกชนเปนเจาของปจจัยการ
ทางเศรษฐกิจทัง้ สิน้ เศรษฐกิจทีม่ ขี นาดใหญ เหมือนทุนนิยม ผลิตโดยมีกฎหมายรับรอง
- เอกชนไมมสี ทิ ธิทํากิจ- รายไดสงู เกีย่ วของกับ - รัฐบาลเขามาทําธุรกิจ - มีการแขงขันทางดานคุณภาพ
กรรมทางเศรษฐกิจใดๆ ประชาชนมากๆ เพื่อคุมครองผลประโยชน ประสิทธิภาพ ราคาและการ
- เอกชนมีสทิ ธิทําธุรกิจ ใหแกประชาชน บริการโดยมีกาไรเป
ํ นแรงจูงใจ
ตางๆ ทีร่ ฐั บาลไมทํา - ปญหาทางเศรษฐกิจได - ราคาสินคาถูกกําหนดโดยกลไก
(ธุรกิจขนาดเล็ก) รับการแกไขจากรัฐบาล แหงราคา (อุปสงค-อุปทาน)
- รัฐบาลจัดสวัสดิการ และเอกชน
ใหแกประชาชน - รัฐบาลจัดสวัสดิการให
ประชาชน

121 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ระบบคอมมิวนิสต ระบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ระบบทุนนิยม/เสรีนิยม


ขอดี ขอดี ขอดี ขอดี
- เอกชนไมตอ งรับผิดชอบ - การกระจายรายไดดี เพราะ - ประชาชนมีเสรีภาพ - เอกชนมีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ
ทางดานเศรษฐกิจ รายไดสว นใหญเปนของรัฐ ทางเศรษฐกิจ - สินคาและบริการมีมาก
- ทรัพยากรถูกควบคุมการใช ประชาชนจะมีรายได - สินคาและบริการมีมาก คุณภาพดี ราคาเยา
จากรัฐทําใหไมถกู ทําลาย ไมแตกตางกันมากนัก คุณภาพดีและราคาเยา - รัฐไมตองจัดสรรงบประมาณ
- ประชาชนไดรับการคุม- - ประชาชนไดรบั การ มาทําธุรกิจ
ครองผลประโยชนจากรัฐ คุม ครองผลประโยชน
ในรูปของสวัสดิการและ จากรัฐบาลในรูปของ
สินคาบริการทีร่ ฐั ทํา สวัสดิการธุรกิจที่
จําเปนแกการครองชีพ
- เอกชนมีกําลังใจใน
การทําธุรกิจ เพราะ
มีกําไรเปนแรงจูงใจ
ขอเสีย ขอเสีย ขอเสีย ขอเสีย
- ประชาชนไมมีสิทธิเสรีภาพ - เอกชนถูกจํากัดสิทธิ - รัฐบาลตองจัดสรรงบ- - การกระจายรายไดไมดี เพราะ
ทางเศรษฐกิจ (รัฐบาลทํา เสรีภาพบางสวน ประมาณมาทําธุรกิจ รายไดสว นใหญตกแกนายทุน
ทัง้ หมด) - รัฐบาลตองจัดสรร มักจะขาดทุน - ประชาชนอาจมีปญ  หาจากราคา
- สินคาและบริการมีนอย งบประมาณมาทําธุรกิจ สินคาขาดแคลน เนือ่ งจาก
และดอยคุณภาพ เพราะ และมักจะขาดทุน กิจกรรม นายทุนรวมตัวกัน
ไมมีการแขงขัน ตางๆ มีคุณภาพตํ่า - การใชทรัพยากรฟุม เฟอย
- ผลผลิตตํา่ เพราะประชาชน
ไมมีขวัญและกําลังใจใน
การทําธุรกิจ

4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economics System) เปนระบบทีไ่ ดรบั ความนิยมแพรหลาย และเมืองไทย


ก็ใชระบบนี้
5. วัตถุประสงคของประเทศตางๆ ทีเ่ ขามาควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีดงั นี้
ก. เพือ่ กอใหเกิดความเปนธรรมทางเศรษฐกิจในสังคม
ข. เพือ่ ใหบริการทางดานสาธารณูปโภคแกประชาชน
ค. เพือ่ คุม ครองสวัสดิการของประชาชน
ง. เพือ่ จัดการศึกษาและสาธารณสุขใหกบั ประชาชน
จ. เพือ่ เรงพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

122 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การเงิน การธนาคาร การคลัง


1. เงิน (Money) หมายถึง สิง่ หนึง่ สิง่ ใดทีส่ งั คมสมมติขนึ้ และยอมรับวามีคา ทัง้ ยังใชเปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น
2. เงิน (Money) ในทางเศรษฐศาสตรนน้ั แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
ก. เหรียญกษาปณ (Coins)
ข. ธนบัตร (Note Currency หรือ Bank Note)
ค. เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน (Demand Deposite) ออมทรัพย (Saving) ประจํา (Fixed)
3. เหรียญกษาปณ (Coins) เปนเงินเหรียญทีส่ รางขึน้ จากโลหะชนิดตางๆ เชน ทองคํา เงิน ทองแดง และโลหะผสม
(นิกเกิลกับทองแดง) เงินประเภทนีส้ รางขึน้ โดยไมตอ งมีสง่ิ คํ้าประกันเพราะคาของมันอยูท โ่ี ลหะนัน้ ๆ รัฐบาลเปนผูผ ลิต
เหรียญกษาปณขน้ึ มาใชหมุนเวียนใหพอเพียงแกธรุ กิจในประเทศ เพราะการผลิตธนบัตรนัน้ มีขดี จํากัด เนือ่ งจากการ
ผลิตธนบัตรตองมีสง่ิ คําประกั
้ น เงินเหรียญกษาปณนใ้ี ชแลกเปลีย่ นระหวางประเทศไมได เพราะปจจุบนั นีแ้ ตละประเทศ
ทีผ่ ลิตเหรียญขึน้ ใชนน้ั มักจะกําหนดคาของเงินเกินตัว (คาของเงินเกินกวาคาของโลหะ) จึงไมยอมรับกันระหวางประเทศ
เหรียญกษาปณทป่ี ระเทศไทยผลิตทีก่ องกษาปณ กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง เหรียญที่ใชอยูขณะนี้มีชนิดราคา 25
สตางค, 50 สตางค, 1 บาท, 2 บาท, 5 บาท และ 10 บาท
4. ธนบัตร (Note Currency หรือ Bank Note) เปนเงินกระดาษทีช่ าระหนี ํ ไ้ ดตามกฎหมาย ธนาคารกลางเปน
ผูผ ลิตธนบัตร การผลิตธนบัตรตองมีสง่ิ คํ้าประกัน เชน ทองคํา เงิน เงินทุนสํารองทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศ เปนตน
การผลิตธนบัตร จะผลิตกันมีมลู คาเทากับสิง่ คํ้าประกันใชแลกเปลีย่ นระหวางประเทศได ธนบัตรของไทยนัน้ ธนาคาร
แหงประเทศไทยเปนผูผ ลิต มีชนิดราคา 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท และ 1,000 บาท
5. เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน (Demand Deposits) ออมทรัพย (Saving) และประจํา (Fixed)
เงินประเภทนีผ้ ฝู ากสามารถสัง่ จายในรูปของเช็คซึง่ ใชแทนเงินไดทนั ที นอกจากนีย้ งั หมายรวมถึงเช็คของขวัญและบัตรเครดิต
6. สิง่ ทีใ่ กลเคียงกับเงิน (Near Money) คือ สิง่ ทีม่ คี า ตางๆ ซึง่ บางครัง้ จะเปนวาคลายคลึงกับเงิน แตจะแตกตางกับ
เงินเพียงเล็กนอย เพราะจะนําสิง่ ไดชอ่ื วาใกลเคียงกับเงินนัน้ ไปใชทนั ทีไมได ตองนําไปแลกเปลีย่ นกอน แตการแลกเปลีย่ นนัน้
ทําไดโดยงาย สิง่ ทีใ่ กลเคียงกับเงิน ไดแก เช็คเดินทาง เช็คลวงหนา ตัว๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใชเงิน พันธบัตร ทองคํา แรเงิน
เปนตน
7. หนาทีข่ องเงิน ตองแบงออกเปน 4 ประการ คือ
ก. เปนมาตรฐานในการวัดมูลคา (Measure of Value)
ข. เปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น (Medium of Exchange)
ค. เปนมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต (Standard of Deforred Payment)
ง. เปนเครือ่ งรักษามูลคา (Store of Value)
8. คาของเงิน แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
ก. คาภายในประเทศ (Internal Value) หมายถึง อํานาจในการซือ้ สินคาและบริการของเงินจํานวนหนึง่
เชน เงิน 3.50 บาท สามารถขึ้นรถโดยสารของ ขสมก. ได 1 เทีย่ ว และคาของเงินเฟอเงินฝด เปนตน
ข. คาภายนอกประเทศ (External Value) หมายถึง คาของเงินสกุลหนึง่ เปรียบเทียบกับเงินสกุลหนึง่ เชน
มีเงิน 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกาเทากับ 36 บาท (พ.ศ. 2542) และการเพิม่ -ลดคาเงิน เปนตน

123 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

9. ปริมาณเงิน หรือซัพพลายเงินตรา (Money Supply) คือ เงินทุกประเภททีห่ มุนเวียนอยูใ นระบบเศรษฐกิจ


ซึง่ เงินในจํานวนนีห้ มายรวมถึง เงินฝากในธนาคารทีผ่ ฝู ากสามารถถอนออกไดทกุ เวลา
10. เงินเฟอ (Inflation) เปนสภาวการณทป่ี ริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป ซึง่ ลักษณะของ
เงินเฟอนัน้ สังเกตไดงา ยๆ คือ ราคาสินคาและบริการจะสูงขึน้ เรือ่ ยๆ เศรษฐกิจจะมีความคลองตัวมาก เพราะประชาชน
มีเงินกันมาก แตเงินนัน้ มีคา นอยลง
11. เงินเฟอแบงออกเปน 3 ระดับ แบงโดยจากราคาสินคาและบริการทีส่ งู ขึน้ ได ดังนี้
ก. เงินเฟอออนๆ ราคาสินคาและบริการทีส่ งู นัน้ ไมเกิน 5% ตอป ซึง่ เงินเฟอประเภทนีม้ ผี ลดีตอ เศรษฐกิจ
เพราะทําใหผผู ลิตมีกําลังใจทีจ่ ะผลิตสินคาและบริการ สวนผูบ ริโภคก็ไมเดือดรอนทีจ่ ะซือ้ สินคาและ
บริการในราคาทีส่ งู ขึน้ ระดับนี้
ข. เงินเฟอปานกลาง ราคาสินคาและบริการสูงขึน้ เกิน 5% แตไมเกิน 20% ตอป
ค. เงินเฟอรุนแรง ราคาสินคาและบริการสูงขึน้ เกิน 20% ตอป
เงินเฟอปานกลางและรุนแรง มีผลเสียตอเศรษฐกิจมาก รัฐบาลจะตองแกปญ  หาเงินเฟอทีเ่ กิดขึน้ นีโ้ ดยเร็ว
12. เงินเฟอเราสังเกตไดจากราคาสินคาและบริการสูงขึน้ นัน้ เกิดจากสาเหตุสําคัญ 2 ประการ คือ
ก. อุปสงคในสินคาและบริการสูงกวาอุปทาน (สินคาขาดตลาด)
ข. ตนทุนการผลิตสินคาและบริการสูงขึน้
13. ผลกระทบทีเ่ กิดจากปญหาเงินเฟอนั้นมีมาก เราแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ
ก. ผูไดผลประโยชนจากเงินเฟอ ผูผลิต ผูถ อื หุน ผูเ ปนลูกหนี้ บุคคลเหลานีไ้ ดรบั ผลประโยชนจากการทีเ่ งิน
มีคา ลดลง
ข. ผูเ สียผลประโยชน ผูม รี ายไดประจํา เชน ขาราชการ ผูใ ชแรงงาน เปนตน
ผูท เ่ี ปนเจาหนี้ ผูมีเงินฝากกับธนาคาร โดยไดรบั ดอกเบีย้ บุคคลเหลานีจ้ ะมีรายไดเทาเดิม แตคา ครองชีพและ
บริการสูงขึน้ เพราะคาเงินลดลง
14. เงินเฟอ เนือ่ งจากปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจตอนนัน้ มากเกินไป ทําใหราคาสินคาและบริการสูงขึน้
ดังนัน้ การแกปญ  หาเงินเฟอนัน้ เราจะตองลดปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ และลดราคาสินคาและบริการลงดังนี้
ก. ธนาคารกลางเพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินฝากและเงินกูแ กธนาคารพาณิชย
ข. ธนาคารกลางขายพันธบัตรรัฐบาลมากขึน้
ค. ธนาคารกลางลดเครดิตเงินกูแ กธนาคารพาณิชย (ลดการปลอยสินเชือ่ )
ง. เพิม่ ภาษีทางตรงและทางออม
จ. ควบคุมอัตราคาจาง ราคาสินคาและบริการทีจ่ าเป ํ นแกการครองชีพ
ฉ. รัฐบาลลดคาใชจา ยลง (รัฐจัดงบประมาณเกินดุล)
15. การลดคาเงิน เปนการปรับปรุงคาของเงินประเภทคาภายนอกประเทศ (External Value) แกปญ  หาดุลการคาได
เพราะการลดคาเงินนัน้ จะมีผลทําใหสนิ คาสงออก (Export) มีราคาถูกลงในตลาดตางประเทศ ขายไดมากขึน้ แตสนิ คานําเขา
(Import) มีราคาสูงขึ้น ขายไดนอ ยลง ทําใหดลุ การคาดีขน้ึ
16. เงินฝด (Deflation) เปนสภาวการณทป่ี ริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจนอยเกินไป ซึง่ ลักษณะของเงินฝด
นัน้ สังเกตไดงา ยๆ คือ ราคาสินคาและบริการลดลง เศรษฐกิจซบเซาและคนวางงานมาก เพราะประชาชนมีเงินนอย
สินคาและบริการขายไดลดลง ลดราคาลงแลวก็ยงั ไมมคี นซือ้ ในทีส่ ดุ ตองลดปริมาณการผลิตลง ทําใหคนวางงานมากขึน้

124 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

17. เงินฝดนัน้ เกิดจากสาเหตุสาคั ํ ญ 2 ประการ คือ


ก. อุปสงคในสินคาและบริการตํ่ากวาอุปทาน (สินคาลนตลาด)
ข. ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจนอยเกินไป เนือ่ งจากมีการออมสูง เชน อัตราดอกเบีย้ เงินฝาก
และเงินกูส งู การขายพันธบัตรรัฐบาลมากเกินไป เปนตน
18. ผลกระทบของเงินฝดทีม่ ตี อ เศรษฐกิจนัน้ ก็คลายคลึงกับเงินเฟอ คือ มีทง้ั ผูร บั ผลประโยชนและผูเ สียผลประโยชน
แตละกลุม นัน้ ตรงกันขามกัน ดังนี้
ก. ผูท ไ่ี ดผลประโยชน - ผูม รี ายไดประจํา เชน ขาราชการ เปนตน ผูท เ่ี ปนเจาหนี้ ผูท ไ่ี ดรบั ดอกเบีย้
จากการนําเงินไปฝากกับธนาคาร บุคคลเหลานีม้ รี ายไดเทาเดิมและแนนอน แตคา ครองชีพตําลงเพราะ ่
เงินมีคามากขึ้น
ข. ผูเ สียผลประโยชน - นักธุรกิจการคา ผูผ ลิต ผูถ อื หุน ผูเ ปนลูกหนี้ บุคคลเหลานีจ้ ะมีความเปนอยู
ฝดเคือง เพราะเศรษฐกิจซบเซาเงินหายากขึน้ เพราะมีคามากขึ้น
19. เงินฝดนัน้ เปนสภาวการณทเี่ กิดจากปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจนอยเกินไป และเศรษฐกิจซบเซา
ทําใหคนวางงานมากขึน้ ในการแกปญ  หาเงินฝด จะตองเพิม่ ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจใหมากขึน้ ดังนี้
ก. ธนาคารกลางลดอัตราดอกเบีย้ เงินฝาก และเงินกูแ กธนาคารพาณิชย
ข. ธนาคารกลางลดปริมาณการขายพันธบัตรรัฐบาลลง
ค. ธนาคารกลางเพิม่ เครดิตเงินกูแ กธนาคารพาณิชย (เพิม่ การปลอยสินเชือ่ )
ง. ลดภาษีทางตรงและทางออม
จ. สงเสริมการลงทุนจากตางประเทศและในประเทศ
ฉ. รัฐบาลเพิม่ คาใชจา ยใหสงู ขึน้ (รัฐจัดงบประมาณขาดดุล)
20. งบประมาณเกินดุล คือ รายไดภาครัฐบาลสูงกวารายจายเปนการแกปญ  หาเงินเฟอ เพราะรัฐบาลจะมีเงิน
เหลือเก็บไวในคลังมาก เงินหมุนเวียนก็จะนอยลง ถางบประมาณขาดดุล คือ รายไดภาครัฐบาลตํากว ่ ารายจาย เปนการ
แกปญ หาเงินฝด เพราะรัฐจะมีการนําเงินในคลังมาใชมากขึน้ ทําใหเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมากขึน้ ประชาชนมี
งานทํามากขึ้น เปนตน
21. เงินตึงตัว (Tight Money) คือ สภาวการณทกี่ ระแสการเงินเกิดชะงักงันทัง้ นีส้ บื เนือ่ งมาจากสาเหตุ 2 ประการ คือ
ก. ปริมาณเงินหมุนเวียนมีจํากัด เนือ่ งจากการขาดดุลการชําระเงินระหวางประเทศหรือไมมกี ารนําเงินออก
มาใชในระบบเศรษฐกิจ
ข. นโยบายทางการเงินของประเทศไมแนนอน
22. เงินตึงตัวกอใหเกิดปญหาทางเศรษฐกิจ มีดงั นี้
ก. ทําใหการคาและการผลิตชะงักงัน เพราะขาดเงินหมุนเวียน
ข. ถาไปกูเ งินจากตางประเทศมาใชทาให ํ ประเทศเปนหนีม้ ากขึน้ ดังนัน้ การแกปญ  หาเงินตึงตัว ตองแกสาเหตุ
ทีก่ อ ใหเกิดเงินตึงตัว
23. ธนาคาร (Bank) เปนสถาบันการเงินทีส่ ําคัญในระบบเศรษฐกิจ กอใหเกิดความคลองตัวในระบบเศรษฐกิจ
ธนาคารแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ธนาคารกลาง (Central Bank) และ ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank)

125 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

24. ธนาคารกลาง (Central Bank) เปนสถาบันการเงินสูงสุดของประเทศ ประเทศเอกราชทุกประเทศจะมี


ธนาคารกลางเพือ่ ควบคุมเกีย่ วกับการเงินของประเทศ ประเทศไทยตัง้ ธนาคารกลางขึน้ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยมีชอ่ื วา
"ธนาคารแหงประเทศไทย (Bank of Thailand)" หรือเรียกกันวา "แบงคชาติ"
ธนาคารกลางมีหนาทีค่ วบคุมปริมาณเงินใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสมดังนี้
ก. ผลิตธนบัตร และออกธนบัตร
ข. เปนนายธนาคารของธนาคารพาณิชยและรัฐบาล
ค. ควบคุมและตรวจสอบบัญชีการเงินของสถาบันการเงินตางๆ ทัว่ ประเทศ
ง. ควบคุมการแลกเปลีย่ นเงินตราและกําหนดอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ
จ. รักษาทุนสํารองระหวางประเทศ
ฉ. กําหนดนโยบายทางดานการเงินของประเทศ
25. ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank) มีหนาทีห่ ลักสําคัญอยู 3 ประการ คือ
1. รับฝากเงินประเภทตางๆ
2. สรางเงินฝากหรือใหกเู งิน
3. ใหบริการดานตางๆ
26. หนาทีข่ องธนาคารพาณิชย 2 ประการแรก ทุกธนาคารจะทําเหมือนกันทุกประการ แมแตดอกเบีย้ ทีจ่ ะจาย
ใหผฝู ากและเก็บจากผูก ยู มื เปนอัตราตามธนาคารกลางกําหนด แตจะแตกตางกันในประการที่ 3
27. ธนาคารพาณิชยแตละแหงจะใหบริการในดานตางๆ แตกตางกัน แตธนาคารพาณิชยจะจัดบริการใหกบั ลูกคา
มากทีส่ ดุ เพือ่ ดึงดูดลูกคาใหมาใชธนาคารของตน โดยธนาคารจะไดรบั ผลตอบแทนจากลูกคาในทีส่ ดุ การบริการที่
ธนาคารจัดขึ้นนั้น เชน การบริการในดานการโอนเงิน การบริการในดานเรียกเก็บเงิน การใหเชาตูน ริ ภัย การบริการใน
การเปนตัวแทน เชน การชําระคานํ้าประปา ไฟฟา โทรศัพท เสียภาษี เปนตน การบริการในทางดานการคา เชน การเปด
Letter of Credit และการเปดเบิกถอนเงินโดยใชบตั รเอทีเอ็ม
28. ตามปกติแลวเราจะแบงประเภทของธนาคารออกเปน 2 ประเภท คือ ธนาคารกลางกับธนาคารพาณิชย
แตบางครัง้ อาจจะมีการจําแนกเพิม่ มาอีกประเภทหนึง่ ก็ได คือ ธนาคารพิเศษ ธนาคารประเภทนีม้ หี นาทีค่ ลายกับ
ธนาคารพาณิชยทกุ ประการ แตมหี นาทีพ่ เิ ศษขึน้ มา จึงเรียกกันวา "ธนาคารพิเศษ"
ธนาคารพิเศษในประเทศไทยมีอยู 3 ธนาคาร คือ
ก. ธนาคารออมสิน มีหนาทีพ่ เิ ศษ คือ ระดมเงินฝากเพื่อนําไปใหรฐั กูย มื
ข. ธนาคารอาคารสงเคราะห มีหนาทีพ่ เิ ศษ คือ ใหกยู มื เงินไปซือ้ ทีอ่ ยูอ าศัยหรือซอมสรางทีอ่ ยูอ าศัย
ค. ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) มีหนาทีพ่ เิ ศษ คือ ใหเกษตรกรไดกยู มื เงินไปใช
พัฒนาการเกษตรกรรม
ธนาคารพิเศษทั้ง 3 แหงนีเ้ ปนของรัฐบาล
29. บริษทั ประกันภัย เปนหลักคํ้าประกันในสังคม ซึง่ แบงออกเปน 2 ประเภทกวางๆ คือ
ก. การประกันชีวติ ซึง่ หมายรวมถึงชีวติ และอวัยวะในรางกาย
ข. การประกันวินาศภัย เปนการประกันทรัพยสนิ ในกรณีทช่ี ํารุด หรือสูญหาย เปนตน
การประกันภัย ผูทําหนาทีร่ บั ประกันภัย คือ บริษทั ประกันภัยตางๆ จะไดเบีย้ ประกันจากผูเ อาประกัน
สวนผูเ อาประกันนัน้ จะไดรบั ผลตอบแทนในความเสียหายจากผูร บั ประกันภัย ตามเงือ่ นไขทีท่ ําไวตอ กัน

126 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

30. สหกรณการเกษตร ตัง้ ขึน้ เพือ่ ใหเกษตรกรทีเ่ ปนสมาชิกไดชว ยเหลือกันในดานการขายผลผลิต ตลอดจน


การจัดสรรเงินกูใ หแกสมาชิกโดยคิดอัตราดอกเบีย้ ตํ่า และในปลายปการจายเงินปนผลใหแกสมาชิกสหกรณออมทรัพย
ตัง้ ขึน้ เพือ่ ใหสมาชิกนําเงินมาฝาก และเปดโอกาสใหสมาชิกไดกยู มื เงินนัน้ โดยคิดอัตราดอกเบีย้ ตํ่า นอกจากนีผ้ ฝู ากเงิน
คือ สมาชิกจะไดรบั ดอกเบีย้ เปนการตอบแทน สวนสมาชิกจะไดรบั ดอกเบีย้ เปนการตอบแทน สวนสมาชิกทีก่ ยู มื เงิน
จากสหกรณไปจะไดรบั เงินปนผลในปลายป ลักษณะเชนนีส้ หกรณออมทรัพยกเ็ ปนการชวยเหลือกันในหมูส มาชิกของส
หกรณ
31. บริษทั เงินทุน และบริษทั หลักทรัพย
บริษทั เงินทุน - รับฝากใหกเู งินโดยทัว่ ไป
บริษทั หลักทรัพย - นายหนาซือ้ ขายหลักทรัพย
32. โรงรับจํานํา เปนสถาบันการเงินทีร่ บั จํานําสิง่ ของเครือ่ งใชตา งๆ โดยเฉพาะในการจํานํานัน้ จะแตกตางจาก
การจํานอง เพราะการจํานํานัน้ จะตองนําสิง่ ของหรือเครือ่ งใชทใ่ี ชจํานําไปใหผรู บั จํานํายึดไว แตการจํานองนัน้ จะใชเอกสาร
แสดงความเปนเจาของในทรัพยสนิ ทีจ่ ะใชจานองให ํ ผรู บั จํานองยึดไวเปนหลักคําประกั
้ น สวนทรัพยสนิ ยังคงอยูก บั เจาของ
ในการจํานองจะกําหนดอัตราดอกเบีย้ และระยะเวลาไวซง่ึ เปนไปตามกฎหมาย
โรงรับจํานํามีทง้ั ของรัฐและเอกชน ถาเปนของเทศบาล เรียกกันวา สถานธนานุบาล และถาเปนของกรม
ประชาสงเคราะห เรียกวา สถานธนานุเคราะห
33. การจํานอง เปนการนําเอกสารแสดงความเปนเจาของในทรัพยสนิ ตางๆ ทัง้ ทีเ่ ปนสังหาริมทรัพยและ
อสังหาริมทรัพย ใหผรู บั จํานองยึดไวเปนหลักคํ้าประกันในการกูย มื เงินของผูจ านอง ํ ในการจํานองนั้นถาเปนธนาคาร
รับจํานอง ธนาคารจะใชหลักทรัพยทเ่ี ปนอสังหาริมทรัพยโดยเฉพาะ แตถา สถาบันการเงินอืน่ ๆ เชน บริษทั เงินทุนตางๆ
จะรับจํานองทัง้ สังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย
34. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือตลาดหุน เปนสถาบันการเงินทีท่ าหน ํ าทีซ่ อ้ื ขายหุน ทุกชนิด ทัง้ หุน สามัญ
หุน กูแ ละหุน บุรมิ สิทธิ์
35. บรรษัทเงินอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยและสํานักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดยอย เปนสถาบันการเงิน
ทีส่ ง เสริมการลงทุนทางดานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ โดยระดมเงินทุนจากเอกชน สถาบันการเงินตางๆ ธนาคารพาณิชย
และหนวยราชการโดยใหนกั ธุรกิจกูย มื ไปใชในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ
36. บริษทั เครดิตฟองซิเอร เปนสถาบันการเงินทีร่ บั ฝากเงินจากสมาชิก (ผูฝ ากทุกคนถือเปนสมาชิกของบริษทั ) แลว
จัดสรรเงินฝากใหสมาชิกกูย มื ไปเพือ่ ปลูกสรางทีอ่ ยูอ าศัย หรือเชาซือ้ บานทีอ่ ยูอ าศัย เปนตน โดยสมาชิกจะตองนําทีด่ นิ
หรือทีอ่ ยูอ าศัยนัน้ ๆ เปนสิง่ คําประกั
้ นและจายดอกเบีย้ ใหกบั บริษทั เปนการตอบแทนการกูย มื เงิน
37. การคลัง หมายถึง เศรษฐกิจภาครัฐบาล เกีย่ วกับการหารายไดเพือ่ นํามาใชจา ยในกิจกรรมตางๆ ทีเ่ ปน
ประโยชนสว นรวมของประเทศ โดยมีรฐั บาลเปนผูด แู ลเกีย่ วกับรายรับและรายจายใหเหมาะสม
การคลังนัน้ มีขอบเขตครอบคลุมอยู 3 อยาง คือ
ก. รายรับของรัฐบาล
ข. รายจายของรัฐบาล
ค. งบประมาณแผนดิน

127 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

38. รายรับของรัฐบาลนัน้ ไดจากเงินตางๆ 3 ประการ คือ


ก. รายไดของรัฐบาล ประกอบดวย ภาษีอากร การขายสิง่ ของและบริการ รัฐพาณิชยและอืน่ ๆ เชน คาปรับ
คาภาคหลวง ฤชากร และการผลิตเหรียญกษาปณ
ข. เงินกู เงินกูข องรัฐบาลนัน้ มีทง้ั กูภ ายในประเทศและกูจ ากตางประเทศ เรียกวา "หนีส้ าธารณะ" (เงินกูจ าก
ตางประเทศจะไมใสในงบประมาณรายรับ)
ค. เงินคงคลัง คือ เงินทีร่ ฐั บาลมีอยูแ ตมไิ ดนําออกมาใช เงินนีอ้ าจจะเหลือจากงบประมาณในปกอ นก็ได
39. ภาษีอากร เปนรายไดสว นใหญของรัฐบาล แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
ก. ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีทเ่ี ก็บจากผูม รี ายไดโดยตรงหรือผูท เ่ี ปนเจาของทรัพยสนิ เชน ภาษี
เงินไดบคุ คลธรรมดา ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ภาษีมรดก ภาษีดอกเบีย้ (เงินฝากประจํา) ภาษีรางวัล
ภาษีทะเบียนรถยนต ภาษีทะเบียนมอเตอรไซค ภาษีทะเบียนเรือ ภาษีทดี่ นิ ภาษีทะเบียนปน ภาษีโรงเรือน
ภาษีปา ย ภาษีสนามบิน เปนตน
ข. ภาษีทางออม (Indirect Tax) คือ ภาษีทเ่ี ก็บจากบุคคลหนึง่ แลวบุคคลนัน้ ผลักภาระการเสียภาษีนน้ั ไป
ใหอกี บุคคลหนึง่ แบงออกเปน 3 กลุม คือ
- ภาษีศลุ กากร เปนภาษีทเ่ี ก็บจากการนําเขาและสงออกสินคา
- ภาษีสรรพสามิต เปนภาษีทเ่ี ก็บจากการผลิตหรือจําหนายสินคาบางชนิด เชน นํ้ามันเชื้อเพลิง กาซ
บุหรี่ สุรา เบียร เครื่องดื่ม ยานัตถุ ไพ ไมขีด ปูนซีเมนต เปนตน
- ภาษีสรรพากร เชน อากรมหรสพ ภาษีมลู คาเพิม่ เปนตน
40. การเก็บภาษีเงินไดของไทยใชระบบกาวหนา หมายถึง ยิง่ มีรายไดสงู อัตราการเก็บภาษีสงู ขึน้ เรือ่ ยๆ (5-37%)
41. การกูเ งินของรัฐบาล รัฐบาลมีแหลงเงินกูท ง้ั ภายในและภายนอกประเทศ
แหลงเงินกูภ ายในประเทศ คือ ธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณิชย องคการ สถาบัน
มูลนิธิ บริษทั และประชาชน
แหลงเงินกูภ ายนอก คือ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินตางประเทศ และรัฐบาลตางประเทศ เงินกู
ภายนอกประเทศจะไมนํามาใสงบประมาณรายรับ เพราะการกูเ งินจากตางประเทศจะตองมีโครงการไปเสนอแหลงเงิน
จะพิจารณาใหกตู ามโครงการและจะตองนําเงินมาใชเฉพาะในโครงการนั้นๆ เอาไปใชอยางอืน่ นอกโครงการไมได
42. วัตถุประสงคของรัฐบาลในการใชจา ยเงิน นั้นมีอยู 4 ประการ คือ
ก. เพือ่ เพิม่ ผลผลิตทําใหรายไดประชาชนสูงขึน้
ข. เพือ่ จัดสาธารณูปโภคบริการแกประชาชน
ค. เพือ่ รักษาความสงบภายใน
ง. เพือ่ ใชปอ งกันประเทศ
43. รายจายของรัฐบาล แบงออกเปน 12 ประการ คือ
1. การเกษตร 7. การสาธารณสุข
2. การอุตสาหกรรมและเหมืองแร 8. การบริการสังคม
3. การคมนาคม ขนสงและสือ่ สาร 9. การรักษาความมัน่ คงแหงชาติ
4. การพาณิชยและทองเทีย่ ว 10. การรักษาความสงบเรียบรอยภายใน
5. การวิทยาศาสตร เทคโนโลยี พลังงานและสิง่ แวดลอม 11. การบริหารงานทัว่ ไปของรัฐ
6. การศึกษา 12. การชําระหนีเ้ งินกู

128 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

44. งบประมาณแผนดิน หมายถึง เอกสารประมาณการเกีย่ วกับรายรับและรายจายของรัฐบาล งบประมาณแผนดิน


นัน้ เปนการวางแผนเกีย่ วกับการใชจา ยของรัฐบาลนัน่ เอง ประเทศไทยเริม่ มีงบประมาณแผนดินครัง้ แรกในสมัยรัชกาลที่ 5
45. การจัดทํางบประมาณแผนดิน นัน้ เปนหนาทีข่ องรัฐบาล สวนผูท อ่ี นุมตั กิ ารใชงบประมาณ คือ รัฐสภา โดย
ประกาศออกมาเปนกฎหมาย เรียกวา "พระราชบัญญัตงิ บประมาณประจําป พ.ศ. ... "
ขัน้ ตอนการจัดทํางบประมาณมีดังนี้
1. รัฐบาลรวบรวมรายจายจากหนวยราชการตางๆ
2. รัฐบาลจะสงขอมูลทีร่ วบรวมไดในขอ 1 ใหสํานักงานงบประมาณ กระทรวงการคลัง และสภาพัฒนา-
การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พิจารณาดําเนินการจัดทํางบประมาณ
3. เมือ่ สํานักงานงบประมาณและสภาพัฒนาฯ พิจารณาและทํางบประมาณเรียบรอยจะสงมาใหคณะรัฐมนตรี
พิจารณาความเรียบรอยอีกครัง้
4. เมือ่ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาเรียบรอยก็จะเสนอตอรัฐสภา เพือ่ พิจารณาประกาศใชหรือรับรอง
5. รัฐสภารับรองประกาศใชเปนกฎหมาย รัฐบาลก็จะใชงบประมาณนัน้ ได
ปงบประมาณของประเทศไทย 2543 จะอยูร ะหวาง 1 ตุลาคมถึง 30 กันยายนของปถดั ไป เชน ปงบประมาณ
พ.ศ. 2544 จะอยูร ะหวาง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2544 เปนตน
46. ลักษณะของงบประมาณแผนดิน แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ
ก. งบประมาณขาดดุล หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาล ตํากว ่ า ยอดรายจายจําตองนําเอาเงินกูแ ละ
เงินคงคลังมาเสริม
ข. งบประมาณเกินดุล หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาล สูงกวา ยอดรายจาย
ค. งบประมาณไดดลุ (สมดุล) หมายถึง ยอดรายไดของรัฐบาล เทากับ ยอดรายจาย

เศรษฐกิจระหวางประเทศ
1. เศรษฐกิจระหวางประเทศ หมายถึง ความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ซึง่ มีความสัมพันธกนั
อยู 3 เรื่อง คือ การคาระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศและการรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ
2. การคาระหวางประเทศ หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศหนึง่ ไปแลกเปลีย่ นกับอีกประเทศหนึง่
ซึง่ ลักษณะการแลกเปลีย่ นมีทง้ั ทีเ่ ปนการแลกเปลีย่ นสินคากับสินคา การแลกเปลีย่ นโดยใชเงินเปนสือ่ กลาง และการแลก-
เปลี่ยนโดยใชสินเชื่อหรือเครดิต การคาระหวางประเทศนัน้ เกิดขึน้ เนือ่ งจากการทีป่ ระเทศตางๆ มีลกั ษณะทางกายภาพ
ทรัพยากรทีม่ คี วามสามารถในการผลิตแตกตางกันนัน่ เอง
3. การคาระหวางประเทศกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนี้
ก. ประเทศตางๆ มีสนิ คาครบตามความตองการ
ข. ประเทศตางๆ จะมีการผลิตสินคาแบบการคาหรือมีเศรษฐกิจแบบการคา
ค. การผลิตสินคาในประเทศตางๆ จะมีการแขงขันกันทางดานคุณภาพและประสิทธิภาพ
ง. กอใหเกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง แบงงานกันทําตามความถนัด

129 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

4. นโยบายการคาระหวางประเทศ (Trade Policy) หมายถึง แนวทางปฏิบตั ทิ างการคากับตางประเทศตางๆ


มักจะกําหนดขึน้ ใชเพือ่ รักษาไวซง่ึ ประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายการคาระหวางประเทศ แบงออกเปน 2
ประเภท คือ
ก. นโยบายการคาโดยเสรี
ข. นโยบายการคาคุม กัน
5. นโยบายการคาโดยเสรี (Free Trade Policy) เปนนโยบายการคาทีเ่ ปดโอกาสใหมกี ารสงสินคาจากประเทศ
หนึง่ ไปอีกประเทศหนึง่ ไมมกี ารกีดกันใดๆ ทางการคา ประเทศทีใ่ ชนโยบายนีม้ กั จะใชวธิ กี าร ดังนี้
ก. ไมมกี ารเก็บภาษีคมุ กัน เชน ไมมกี ารตัง้ กําแพงภาษีสนิ คาขาเขา หรือไมมกี ารเก็บคาพรีเมียม เปนตน
ข. ไมใหสทิ ธิพเิ ศษทางการคาแกประเทศหนึง่ ประเทศใด
ค. ไมมีขอจํากัดทางการคาใดๆ เชน ไมมกี ารกําหนดโควตาสินคา เปนตน
ง. เลือกผลิตเฉพาะสินคาทีถ่ นัด ซึง่ ทําใหทนุ การผลิตตํ่า และสินคามีคณ ุ ภาพ
6. นโยบายการคาคุม กัน (Pretective Trade Policy) เปนนโยบายการคาทีจ่ ํากัดการนําสินคาเขามาแขงขัน
กับการผลิตในประเทศ นโยบายนีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ คุม ครองการผลิตภายในประเทศ ใหสามารถดําเนินการได ประเทศ
ใดทีใ่ ชนโยบายนีม้ กั จะมีเครือ่ งมือในการคุม กัน ดังนี้
ก. การตัง้ กําแพงภาษี
ข. การกําหนดโควตาสินคา
ค. การหามเขาหรือสงออกของสินคาบางอยาง
ง. การควบคุมการแลกเปลีย่ นเงินตรา
จ. การใหเงินอุดหนุน
7. ในการคาระหวางประเทศนัน้ จะมีสนิ คาอยู 2 ชนิด คือ
ก. สินคาเขา (Import) คือ สินคาทีน่ ามาจากต
ํ างประเทศเพือ่ เขามาจําหนาย
ข. สินคาออก (Export) คือ สินคาทีส่ ง ออกไปจําหนายในตางประเทศ
8. การศึกษาปริมาณการคาระหวางประเทศ และดุลการคาระหวางประเทศ ตองศึกษาจากมูลคาของสินคาเขา
และมูลคาของสินคาออก
ปริมาณการคาระหวางประเทศ คือ มูลคารวมของสินคาเขาและสินคาออก ในระยะเวลา 1 ป
ดุลการคาระหวางประเทศ คือ การเปรียบเทียบระหวางมูลคาของสินคาเขากับมูลคาของสินคาออก ในระยะ
เวลา 1 ป
9. ดุลการคาระหวางประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางมูลคาของสินคาเขากับมูลคาของสินคาออก
เมือ่ เปรียบเทียบแลวจะมีอยู 3 ลักษณะ ดังนี้
ก. ดุลการคาเกินดุล คือ มูลคาของสินคาออก สูงกวามูลคาของสินคาเขา (ไดเปรียบดุลการคา)
ข. ดุลการคาขาดดุล คือ มูลคาของสินคาออก ตํากว ่ ามูลคาของสินคาเขา (เสียเปรียบดุลการคา)
ค. ดุลการคาไดดลุ (สมดุล) คือ มูลคาของสินคาออก เทากับมูลคาของสินคาเขา

130 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

10. ลักษณะการคาตางประเทศของไทยสรุปได ดังนี้


ก. ใชนโยบายการคาคุม กัน เพือ่ คุม ครองการผลิตในประเทศโดยมีมาตรการทีส่ ําคัญ เชน การตัง้ กําแพง
ภาษีสินคาเขา การกําหนดโควตาสินคานําเขา และการใหเงินอุดหนุนการผลิตหรือสงออก เปนตน
ข. ใหเอกชนมีบทบาทในทางการคามากทีส่ ดุ โดยรัฐจะเปนผูอานวยความสะดวกให
ํ แตบางครัง้ รัฐบาล
ก็อาจทําการคากับตางประเทศโดยตรงบาง
ค. ใชระบบภาษีศลุ กากรพิกดั อัตราเดียว คือ สินคาเขาเปนชนิดเดียวกันไมวา จะสงมาจากประเทศใดก็ตาม
จะเก็บภาษีศลุ กากรในอัตราเดียวกัน
11. ภาวะการคาตางประเทศของประเทศไทยในปจจุบนั พอสรุปได ดังนี้
ก. ปริมาณการคาขยายตัวสูงขึน้ เรือ่ ยๆ
ข. ดุลการคาขาดดุลติดตอกันเปนเวลานานหลายสิบป
ค. ประเทศคูค า ทีส่ ําคัญ คือ ญีป่ นุ สหรัฐอเมริกา ฮองกง ประเทศในกลุม อาเซียน และซาอุดอิ าระเบีย
ง. สินคาออกของไทยเปนสินคาจากภาคเกษตรกรรม เชน สิง่ ทอ อัญมณี อาหารสําเร็จรูป นํ้าตาล กาแฟ
ขาว มันสําปะหลัง ยางพารา ดีบกุ
จ. สินคาเขาของไทย คือ สินคาอุตสาหกรรม เชน เครือ่ งจักร รถยนต เครือ่ งไฟฟาและเชือ้ เพลิง ฝาย
ใยสังเคราะห ถัว่ เหลือง
12. การขาดดุลการคาของไทยติดตอกันหลายป และมีแนวโนมการขาดดุลเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ มีผลกระทบตอ
ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ ดังนัน้ จึงตองมีการแกปญ  หาดุลการคาดวยการใชมาตรการทีส่ าคั
ํ ญ ดังนี้
ก. สงเสริมการผลิตสินคาเพือ่ การสงออกใหปริมาณมากขึน้ รวมถึงการหาตลาดสําหรับการสงออกใหมากขึน้ ดวย
ข. จํากัดการนําเขาสินคาบางชนิด เชน สินคาฟุม เฟอยตางๆ และสินคาทีผ่ ลิตไดเองภายในประเทศรวมทัง้
การลดอัตราการเพิม่ การนําเขาเชื้อเพลิงลง
ค. สงเสริมใหประชาชน และรัฐบาลหันมาใชสนิ คาทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศใหมากขึน้
13. การเงินระหวางประเทศ เปนการแสดงความสัมพันธทางดานการเงินระหวางประเทศหนึง่ กับอีกประเทศหนึง่
ซึง่ ความสัมพันธนส้ี บื เนือ่ งมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกูย มื เงินและการชําระหนี้ การลงทุนระหวางประเทศและ
การชวยเหลือกันระหวางประเทศ
14. การแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ คือ การนําเงินตราสกุลหนึง่ ไปแลกเปลีย่ นกับอีกสกุลหนึง่ การแลก-
เปลีย่ นเงินตราเปนสิง่ ทีส่ ําคัญในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ การแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศทีถ่ กู ตองนัน้ ตอง
แลกทีธ่ นาคารพาณิชยซง่ึ มีการกําหนดอัตราแลกเปลีย่ นไว 2 อยาง คือ
ก. อัตราซื้อ (Buying) คือ อัตราทีธ่ นาคารรับซือ้ (ราคาตํา)่
ข. อัตราขาย (Selling) คือ อัตราทีธ่ นาคารขายไว (ราคาสูง)
อัตราแลกเปลีย่ นทัง้ 2 ประเภท ธนาคารกลางเปนผูก าหนด ํ โดยเทียบคาเงินของตนกับทองคํา หรือเงินตราสกุล
อื่นๆ ภายใตเงือ่ นไขทีก่ องทุนการเงินระหวางประเทศกําหนด
ปจจุบนั ประเทศไทยใชระบบการแลกเปลีย่ นฯ แบบลอยตัวชนิดมีการจัดการ (Manage float currency) อัตรา
การแลกเปลีย่ นฯ ขึน้ อยูก บั กลไกตลาด
15. ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment) หมายถึง รายงานทีแ่ สดงถึงยอดรายได และรายจาย
ทีป่ ระเทศไดรบั หรือจายใหแกตา งประเทศในระยะเวลา 1 ป

131 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

16. บัญชีตา งๆ ทีใ่ ชแสดงรายงานดุลการชําระเงินระหวางประเทศ มีอยู 3 บัญชี คือ


ก. บัญชีเดินสะพัด เปนบัญชีแสดงดุลการคา ดุลบริการ และดุลบริจาค
ข. บัญชีทนุ เคลือ่ นยาย เปนบัญชีทแ่ี สดงเกีย่ วกับการนําเงินทุนไปลงทุนระหวางประเทศ
ค. บัญชีทนุ สํารองระหวางประเทศ เปนบัญชีทแ่ี สดงการเปลีย่ นแปลงของจํานวนเงินสํารองระหวางประเทศ
ในแตละป
17. ลักษณะของดุลการชําระเงินระหวางประเทศ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ
ก. ดุลการชําระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกวารายจาย
ข. ดุลการชําระเงินขาดดุล หรือรายรับตํากว่ ารายจาย
ค. ดุลการชําระเงินไดดลุ (สมดุล) คือ รายรับเทากับรายจาย
18. การลงทุนระหวางประเทศ (International Investment) คือ การทีร่ ฐั บาลหรือเอกชนของประเทศหนึง่
นําเงินไปลงทุนดําเนินธุรกิจ เพือ่ แสวงหากําไร ในอีกประเทศหนึง่ ซึง่ การลงทุนระหวางประเทศนัน้ เกิดจากประเทศอุตสา-
หกรรมทีม่ ฐี านะรํารวยต
่ องการขยายกิจการของตน จึงนําเงินไปลงทุนในประเทศทีก่ ําลังพัฒนา ซึง่ เปนประเทศทีม่ ี
ทรัพยากรอุดมสมบูรณ แตขาดเงินทุนและเทคโนโลยี
19. การลงทุนระหวางประเทศกอใหเกิดทัง้ ผลดีและผลเสีย ซึง่ สรุปได ดังนี้
ผลดี
ก. กอใหเกิดการขยายตัวทางการคาระหวางประเทศ
ข. เปดโอกาสใหประเทศทีข่ าดเงินทุนและเทคโนโลยีไดมกี ารพัฒนาอุตสาหกรรม
ค. เปดโอกาสใหประชาชนในประเทศที่เทคโนโลยีไมกาวหนาไดเรียนรูวิทยาการและมีประสบการณทางดาน
อุตสาหกรรม
ง. สงเสริมความเขาใจอันดีตอ กันระหวางประเทศ
ผลเสีย
ก. เกิดการเอาเปรียบจากประเทศผูเ ขาไปลงทุนตอผูร บั การลงทุน
ข. ประเทศทีร่ บั การลงทุนมักเปนเบีย้ ลางทางเศรษฐกิจของประเทศทีเ่ ขาไปลงทุน
ค. บางครัง้ เกิดความขัดแยงระหวางประเทศทีร่ บั การลงทุนกับประเทศทีเ่ ขาไปลงทุน
20. กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund : IMF) เปนของสหประชาชาติ ตัง้ อยูท ่ี
นิวยอรก สหรัฐอเมริกา ตัง้ ขึน้ มาเพือ่ รวมมือกันในดานการเงินระหวางประเทศ รักษาเสถียรภาพของการแลกเปลีย่ น
เงินตราระหวางประเทศ และแกปญ  หาการขาดดุลการชําระเงินแกประเทศสมาชิก
21. ธนาคารโลก (World Bank) เปนของสหประชาชาติ ตัง้ อยูท ว่ี อชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ตัง้ ขึน้ มาเพือ่
ระดมเงินฝากจากสมาชิก และใหสมาชิกกูย มื ไปใชในการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจตามโครงการตางๆ โดยอัตราดอกเบีย้ ตํ่า
และระยะเวลาการชําระหนีย้ าวนาน
22. สหภาพยุโรป (European Union : EU) มีสมาชิก 15 ประเทศ คือ เบลเยีย่ ม เนเธอรแลนด ลักเซมเบอรก
ฝรั่งเศส อิตาลี กรีซ เยอรมัน ไอรแลนด อังกฤษ เดนมารก สเปน โปรตุเกส ออสเตรีย สวีเดน และฟนแลนด

132 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

23. สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือสมาคมอาเซียน (Association of South East Asia


Nations : ASEAN) มีสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว พมา
กัมพูชา และบรูไน ตัง้ ขึน้ เพือ่ สงเสริมความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ วิทยาศาสตรเทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรมในหมู
สมาชิก
24. องคการกลุม ประเทศผูส ง นํ้ามันเปนสินคาออก (Organization of Petroleum Exporting Countries :
OPEC) มีสมาชิก 13 ประเทศ คือ เวเนซูเอลา เอกวาดอร ไนจีเรีย กาบอง ลิเบีย ซาอุดอี าระเบีย อิหราน คูเวต กาตาร
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อัลจีเรีย อิรัก และอินโดนีเซีย ตัง้ ขึน้ มาเพือ่ กําหนดราคานํ้ามันดิบใหกบั สมาชิกสงออกไปขาย
ในตลาดโลก กลุมนี้จัดเปนกลุมผลประโยชน
25. กลุม การคาเสรีตา งๆ
EFTA : European Free Trade Association
: เขตการคาเสรียุโรป (สวีเดน ฟนแลนด นอรเวย ไอซแลนด ออสเตรีย สวิตเซอรแลนด)
EEA : European Economic Area : เขตเศรษฐกิจเสรียุโรบ (EU + EFTA)
AFTA : ASEAN FREE TRADE AREA : เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN)
NAFTA : North American Free Trade Area : เขตการคาเสรีทวีปอเมริกาเหนือ (USA แคนาดา เม็กซิโก)
26. ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางทวีป
ความรวมมือทางเศรษฐกิจแหงเอเชียและแปซิฟก (Asian - Pacific Economic Cooperation : APEC)
เปนองคการที่รวมมือกันแกปญหาเศรษฐกิจเพื่อลดความกดดันและรวมมือกันไมใหมีการกีดกันทางการคา
สงเสริมใหมกี ารลงทุนระหวางประเทศ ในปจจุบนั มีสมาชิก 21 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา แคนาดา
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญีป่ นุ จีน เกาหลีใต ไตหวัน ฮองกง ดินโดนีเซีย ฟลปิ ปนส ไทย มาเลเซีย สิงคโปร
เวียดนาม รัสเซีย เปรู ชิลี ปาปวนิวกีนี และเม็กซิโก
ความรวมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-ยุโรป (ASEM : Asia - Europe Meeting) เปนองคกรทีร่ ว มมือกัน
ในดานเศรษฐกิจ ปจจุบนั มีสมาชิกประกอบดวยสมาชิกของอาเซียน จีน เกาหลี ญีป่ นุ ฮองกงและสมาชิก
สหภาพยุโรป (EU)
27. องคการการคาโลก (WTO : World Trade Organization)
ขอตกลงทัว่ ไปเกีย่ วกับการคาและภาษีศลุ กากร (GATT : General Agreement on Tariff and Trade)
28. Growth Triangle : สามเหลีย่ มแหงการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สิงคโปร อินโดนีเซียและมาเลเซีย รวมมือกัน
พัฒนาเศรษฐกิจ IMTEG : Indonesia-Malaysia-Thailand Economic Growth : การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ระหวางไทย-มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
29. G-7 (Group Seven) - กลุม ประเทศอุตสาหกรรมชัน้ นําของโลก ประกอบดวย สหรัฐอเมริกา แคนาดา
อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี และญีป่ นุ ถา G-8 หมายถึง G-7 + ประเทศรัสเซีย
30. GSP : Generalized System of Preference ขอตกลงในดานการใหสทิ ธิพเิ ศษทางภาษีศลุ กากรที่
ประเทศพัฒนาแลวมอบใหแกประเทศกําลังพัฒนา

133 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การพัฒนาเศรษฐกิจ
1. การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การทําใหเศรษฐกิจในดานตางๆ ดีขึ้น เชน
- การทํารายไดตอ หัวสูงขึน้ อยางรวดเร็ว
- การทําใหระดับราคาโดยทัว่ ไปมีเสถียรภาพ
- มีการกระจายความมัง่ คัง่ ของระบบเศรษฐกิจ
- มีการจางงานหรือการมีงานทํามากขึ้น
- มีการพัฒนาในแตละภาคเทาเทียมกัน
- ระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ
2. การพัฒนาเศรษฐกิจนัน้ มีวตั ถุประสงค คือ
ก. เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนใหสงู ขึน้
ข. เพือ่ สงเสริมการเพิม่ ผลผลิตและการลงทุนทําใหผลผลิตของประเทศสูงขึน้
ค. เพือ่ ความมัน่ คงของชาติทางดานเศรษฐกิจสามารถยืนอยูไ ดดว ยตนเอง
ง. เพือ่ เสถียรภาพทางการเมืองเพราะประชาชนมีรายไดสงู
จ. เพือ่ ใหระบบเศรษฐกิจขยายตัว โดยเฉพาะทางดานการคาระหวางประเทศ
3. การพัฒนาเศรษฐกิจจะตองมีปจ จัยพืน้ ฐาน 4 ประการ ดังนี้
ก. ประชากร จํานวนประชากรและคุณภาพของประชากร
ข. ทรัพยากรธรรมชาติ ปริมาณและชนิดของทรัพยากรมีผลตอการผลิต
ค. การสะสมทุน การออมและการลงทุนภายในประเทศ
ง. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี วิธกี ารผลิตและการคิดคนสิง่ ใหมๆ
4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ เปนเครือ่ งมือในการวางกรอบนโยบายเพือ่ ประสานและเชือ่ มโยงการพัฒนาของรัฐ
ใหถงึ มือประชาชนตามเปาหมายและวัตถุประสงคทก่ี ําหนด
แผนพัฒนาแบงออกเปน 2 ชนิด คือ
ก. แผนชีน้ าํ เปนแผนพัฒนาทีช่ แ้ี นวทางปฏิบตั เิ พือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนประเภทนีไ้ มบงั คับ
ใหตอ งปฏิบตั ติ าม
ข. แผนเพือ่ การควบคุม เปนแผนพัฒนาทีร่ ฐั บาลจัดทําและควบคุมการปฏิบตั ติ ามแผน โดยมีเจาหนาที่
วางแผนสวนกลางทีม่ อี ํานาจเด็ดขาดและเปนแผนทีค่ รอบคลุมกิจการตางๆ และสาขาการผลิตของ
ประเทศไวเกือบทัง้ หมด
5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย เรียกวา "แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ" ซึง่ มีสํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติของสํานักนายกรัฐมนตรี เปนหนวยงานทีจ่ ดั ทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยมีลกั ษณะเปนแผนชีน้ าํ
6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2504-2509) เปนการพัฒนาทาง
ดานเศรษฐกิจเปนสวนใหญ เชน การพัฒนาปจจัยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ ไดแก การสรางเขือ่ น ถนน นํ้าประปา ไฟฟา
ขยายการศึกษาออกไปยังชนบท และสงเสริมสาธารณสุขสูป ระชาชน แผนพัฒนาฉบับนีป้ ระสบความสําเร็จเปนอยางดี
แตมปี ญ หาตามมาทีส่ ําคัญ คือ การพัฒนาเปนไปอยางลาชาเพราะขาดเงินทุนและบุคลากร ตลอดจนอัตราการเพิม่ ของ
ประชากรสูงขึน้

134 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 2 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2510-2514) เนนการพัฒนา


ดานเศรษฐกิจเหมือนฉบับที่ 1 คือ สรางปจจัยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจตอจากแผนที่ 1 ในแผนนี้เริ่มพัฒนากําลังคนและ
เห็นความสําคัญของการพัฒนาชนบทสงเสริมใหเอกชนเขามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศดวย ในแผนนีป้ ระสบความ-
สําเร็จพอสมควร แตประสบปญหาทีส่ าคั ํ ญ คือ ดุลการชําระเงินขาดดุลเปนครัง้ แรกและอัตราการเพิม่ ของประชากรสูงขึน้
8. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2515-2519) เนนการพัฒนา
ทางดานเศรษฐกิจเหมือนฉบับที่ 1-2 ในแผนนีเ้ ริม่ มีการวางแผนครอบครัวเปนครัง้ แรก ในชวงแรกของแผนการพัฒนา
ประสบความสําเร็จแตชว งหลังประสบความลมเหลวอยางสิน้ เชิง เนือ่ งจากปญหาทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ ทัง้ ภายในประเทศและตางประเทศ ทําใหการลงทุนในประเทศ การสงสินคาออกและรายได
ของประเทศเสียหาย
ปญหาทีเ่ กิดในชวงของแผนนี้ คือ
- เหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
- การขึ้นราคานํามั ้ นและการลดปริมาณการผลิตของโอเปก
- การพายแพของสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนามทําให ลาว กัมพูชา และเวียดนามเปลีย่ นเปนคอมมิวนิสต
- การนัดหยุดงานแพรกระจายไปทัว่ ประเทศอยูบ อ ยๆ
- การขับไลฐานทัพอเมริกนั ในประเทศไทยออกไปของนิสติ นักศึกษา
9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2520-2524) เนนการฟน ฟูเศรษฐกิจ
ทีต่ กตํา่ มุง สรางความเปนธรรมทางสังคม โดยลดความเหลือ่ มลํ้าทางเศรษฐกิจลง เสริมสรางสวัสดิการทางสังคมแกคน
สวนใหญในชาติดว ยการขยายระบบการชลประทาน และการปฏิรปู ทีด่ นิ ในแผนนีป้ ระสบปญหาทีส่ ําคัญ คือ คาของเงิน
ดอลลารสหรัฐอเมริกาตกตํ่า ราคานํ้ามันยังสูงขึน้ เรือ่ ยๆ เงินเฟอและเงินฝด เกิดขึ้นตลอดระยะของแผนนี้
10. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2525-2529) เนนการฟน ฟูเศรษฐกิจ
ทัง้ ทางดานการเงินของประเทศใหมน่ั คง ปรับโครงสรางและเพิม่ ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ พัฒนาโครงสรางและกระจาย
บริการทางสังคม แกปญ  หาความยากจนในชนบทลาหลัง (ภาคเหนือ ภาคใต และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ประสานการ
พัฒนาเศรษฐกิจและความมัน่ คงของประเทศใหสอดคลอง และสนับสนุนปฏิรปู ระบบบริหารงานของรัฐบาลและกระจาย
สินทรัพยทางเศรษฐกิจเริม่ ขยายเมืองหลักออกไปในภูมภิ าคตางๆ ในชวงปลายของแผนนี้ ดุลการชําระเงินเกินดุลเปน
ครัง้ แรก ดุลการคาขาดดุลนอยลงและเงินทุนสํารองเพิ่มขึ้น
11. ปญหาเศรษฐกิจไทยในชวงกอนแผนพัฒนา ฉบับที่ 6 มีอยู 5 ประการ ดังนี้
ก. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและฐานะทางการเงินของประเทศ อยูใ นสถานะทีข่ าดดุล คือ คาใชจายภาค
รัฐบาลสูงกวารายรับ ซึง่ มีผลมาจากการเปลีย่ นแปลงโครงสรางเศรษฐกิจโลก
ข. ความเสือ่ มโทรมของธรรมชาติและสิง่ แวดลอมทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ เพราะการใช
ทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุม เฟอยโดยไมมกี ารอนุรกั ษ
ค. โครงสรางทางเศรษฐกิจออนแอ และพึง่ การนําเขาสูง ไมสามารถปรับตัวเขากับภาวะของโลก ขาดระบบ
การบริหารและความรวมมือระหวางรัฐกับเอกชน นอกจากนีป้ ระเทศยังตองพึง่ พาพลังงานนํ้ามันจาก
ตางประเทศเพิม่ มากขึน้ (60-70%)
ง. การพัฒนาโครงสราง และกระจายการบริการสังคมรวดเร็วเกินไป ทําใหการปรับตัวไมทนั ตอการ
เปลีย่ นแปลงกอใหเกิดปญหาสังคมมากขึน้
จ. ปญหาความยากจนของชนสวนใหญในชนบทลาหลัง เพราะเขาเหลานัน้ เปนเกษตรทีม่ รี ายไดตาและขาด
่ํ
การศึกษา (การศึกษาตํ่า)

135 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

12. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2530 - 2534) เนนการพัฒนาประเทศ


โดยการนําเอาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตา งๆ มาใช เสริมสรางเสถียรภาพทางการเงินใหมน่ั คง สงเสริมการสงสินคาออก
ทัง้ ทางภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ลดอัตราการเพิม่ ของประชากรลงใหเหลือ 1.3% ในปสดุ ทายของแผน และขยาย
เมืองหลักเพิม่ ขึน้ จากแผนที่ 5 ออกไปในภูมภิ าคตางๆ
13. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 (ปงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2539) พัฒนาเศรษฐกิจ
ตอเนือ่ งจากแผนฯ 6 มุง รักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสมและมีเสถียรภาพ มุง กระจาย
รายไดและกระจายการพัฒนาไปสูภ มู ภิ าคใหมากขึน้ ทัง้ ยังพัฒนาคุณภาพชีวติ และรักษาสิง่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ
ลดอัตราการเพิม่ ของประชากรเหลือ 1.2%
14. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (ปงบประมาณ 2540 - 2544) เปนการพัฒนาทรัพยากร
มนุษยและคุณภาพชีวติ คนไทย พัฒนาคุณภาพชีวิต สิง่ แวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน
และยาวนาน กระจายความเจริญไปยังสวนภูมภิ าค โดยการพัฒนากลุมคนในชนบท กระจายอํานาจการบริหารออกไปยัง
ภูมภิ าคและทองถิน่ พัฒนาจิตใจของมนุษยใหมสี มรรถภาพจิตใจทีด่ ี คุณภาพจิตใจดีและสุขภาพจิตดี พัฒนาอาชีพ
เกษตรกรรมใหมคี วามแข็งแกรง อัตราการเพิม่ ของประชากรอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม

กิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศ
1. การเกษตรกรรม หมายถึง อาชีพตางๆ 4 สาขา คือ
ก. การเพาะปลูก
ข. การเลีย้ งสัตว
ค. การปาไม
ง. การประมง
2. การเพาะปลูกและการเลีย้ งสัตว ในประเทศไทย มีลกั ษณะทีส่ าคั
ํ ญ ดังนี้
ก. เกษตรกรมีเนือ้ ทีถ่ อื ครองขนาดเล็ก
ข. เกษตรกรเปนจํานวนมากไมมที ด่ี นิ เปนของตนเอง ตองเชาทีด่ นิ ทําการเกษตร
ค. การเพาะปลูกสวนใหญตอ งพึง่ นําฝน

ง. วิธกี ารผลิตทางการเกษตรยังไมทนั สมัย
3. เกษตรกรไทยทําการเกษตรกรรมแลวประสบปญหา พอสรุปได ดังนี้
ก. ปญหาดานปจจัยการผลิต คือ เกษตรกรไมมที ด่ี นิ เปนของตัวเอง หรือมีทด่ี นิ ขนาดเล็กตองเชาทีด่ นิ มาทํา
การเกษตร ทําใหเสียคาเชาเปนจํานวนมาก ในขณะเดียวกันเกษตรกรยากจนมีเงินทุนนอยในการทําการเกษตร
ข. ปญหาดานวิธีการผลิต คือ เกษตรกรใชวธิ กี ารแบบเกาลาสมัย ใชพนั ธุท ม่ี คี ณ
ุ ภาพตํา่ ขาดการอนุรักษดิน
ทําใหผลผลิตตกตํ่า
ค. ปญหาดานการตลาด คือ ผลผลิตทางการเกษตรของไทย สวนใหญมตี ลาดอยูภ ายในประเทศ ทําใหมรี าคาตํ่า
สวนตลาดตางประเทศมีนอ ยและยังมีคแู ขงขันมาก ทําใหผลผลิตลนตลาดขายไมได

136 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

4. รัฐบาลแกปญ หาทีเ่ กิดกับเกษตรกรดวยวิธกี าร ดังตอไปนี้


ก. รัฐบาลออกพระราชบัญญัตกิ ารปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ การเกษตรกรรม
ข. รัฐบาลตัง้ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร
ค. รัฐบาลใหความรูแ ละเทคโนโลยีสมัยใหมแกเกษตรกร
ง. รัฐบาลประกันราคาผลผลิตทางการเกษตรและหาตลาดใหกวางขึน้
จ. รัฐบาลสงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจตามความตองการของตลาด
ฉ. รัฐบาลกําหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ
5. เขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro Economic Zone) เปนการกําหนดเขตการเพาะปลูก และการเลีย้ งสัตว
ใหเหมาะสมแกสภาพสิง่ แวดลอมเพือ่ ผลผลิตทางการเกษตรจะไดสงู ขึน้ ในการกําหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจนัน้ ตองคํานึง
ถึงสภาพภูมปิ ระเทศลักษณะของดิน อุณหภูมขิ องอากาศและชนิดของพืชเศรษฐกิจ สัตวเศรษฐกิจ ประเทศไทยแบงเขต
เกษตรเศรษฐกิจออกเปน 19 เขต แตละเขตจะมีพชื และสัตวทเ่ี ลีย้ งแตกตางกันออกไปตามความเหมาะสม
6. เขตเกษตรเศรษฐกิจของไทย
เขตที่ จังหวัดทีต่ ง้ั อยูใ นเขตเศรษฐกิจ ผลผลิตสําคัญทีค่ วรสงเสริม
1 นครพนม มุกดาหาร สกลนคร เลย หนองคาย อุดรธานี ยาสูบ มันสําปะหลัง โค กระบือ ไหม
หนองบัวลําพู
2 ยโสธร อุบลราชธานี อํานาจเจริญ ปอ ไหม โค
3 กาฬสินธุ ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด ปอ ไหม
4 บุรีรัมย ศรีสะเกษ สุรินทร ปอ ไหม ขาวโพด มันสําปะหลัง โค กระบือ
5 ชัยภูมิ นครราชสีมา ขาวโพด ปอ โค ฝาย ไหม ละหุง มันสําปะหลัง
6 นครสวรรค เพชรบูรณ อุทยั ธานี ขาวโพด ขาวฟาง ยาสูบ ฝาย ถัว่ เขียว ถัว่ เหลือง
7 ลพบุรี สระบุรี ขาวโพด ถัว่ เหลือง ถัว่ เขียว ฝาย ขาวฟาง
8 กําแพงเพชร ตาก พิจติ ร พิษณุโลก ถัว่ เหลือง ถัว่ ลิสง ขาวโพด ถัว่ เขียว
9 นาน แพร ลําปาง สุโขทัย อุตรดิตถ ฝาย ยาสูบ ถัว่ เหลือง โค กระบือ
10 เชียงใหม เชียงราย แมฮอ งสอน ลําพูน พะเยา ยาสูบ ถัว่ เหลือง โค กระบือ
11 อยุธยา สุพรรณบุรี อางทอง กรุงเทพฯ สิงหบรุ ี ขาว พืชหมุนเวียนในนาขาว ออย
ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี
12 กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี ราชบุรี โค ออย มันสําปะหลัง ขาวโพด ฝาย ละหุง
13 ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแกว ขาว มันสําปะหลัง กระบือ
14 สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ประมงทะเล มะพราว
15 ชลบุรี ระยอง มันสําปะหลัง ประมงทะเล ออย
16 จันทบุรี ตราด ยางพารา ผลไม ประมงทะเล
17 ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา สุราษฎรธานี ขาว ยางพารา มะพราว โค กระบือ กาแฟ ประมงทะเล
18 กระบี่ ตรัง พังงา ภูเก็ต ระยอง สตูล ยางพารา มะพราว ประมงทะเล
19 ยะลา นราธิวาส ปตตานี ยางพารา มะพราว ผลไม กาแฟ

137 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

7. การประมง คือ การจับสัตวนา้ํ ซึง่ ประเทศมีการจับสัตวนาในบริ ้ํ เวณแมน้าํ คลอง บึง อางเก็บนํ้า และทะเลสาบ
เหนือเขือ่ นตางๆ ซึง่ จัดเปนประมงนําจื
้ ด สวนทีท่ ากั
ํ นบริเวณชายฝง ทะเลและในมหาสมุทรจัดเปนประมงนําเค็ ้ มและนํ้ากรอย
การประมงในประเทศไทยปจจุบนั มีการขยายตัวมากขึน้ เนือ่ งจากสาเหตุสําคัญ 2 ประการ คือ
ก. มีการเพาะเลีย้ งสัตวน้าจื
ํ ด และนํากร
้ อยมากขึน้
ข. มีการออกไปจับสัตวน้ําในเขตนานนํ้านอกประเทศมากขึน้
8. การประกอบอาชีพประมงในปจจุบนั นีช้ าวประมงประสบกับปญหาตางๆ ดังนี้
ก. ปญหาความเสือ่ มโทรมของทรัพยากร สัตวนาในเขตน ้ํ านนําของประเทศ
้ ทําใหชาวประมงจับสัตวนาได
ํ้ นอ ย
ข. ปญหาการประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะของประเทศเพือ่ นบาน ทําใหชาวประมงมีพน้ื ทีจ่ บั สัตวนาลดน ้ํ อยลง
ค. ปญหาการขึน้ ราคานํ้ามันเชื้อเพลิง ทําใหชาวประมงมีคา ใชจา ยสูงขึน้ แตจบั สัตวนาได ้ํ นอ ยลง ซึง่ เกิดจาก
ปญหา 2 ขอแรก
ปญหาเหลานีร้ ฐั บาลแกไขโดยสงเสริมใหมกี ารเพาะเลีย้ งสัตวนาในบริ
ํ้ เวณนํากร
้ อยและนําจื ้ ด นอกจากนีย้ งั รวมมือ
กับตางประเทศในดานการประมงและออกกฎหมายรักษาสภาพสิง่ แวดลอม
9. การปาไม คือ การตัดไมและการเก็บของปา ในอดีตอาชีพนีม้ คี วามสําคัญมากทํารายไดสงู แตในปจจุบนั ปาไม
ลดจํานวนลงไปเปนอันมากเหลือเพียง 28% ของพืน้ ทีป่ ระเทศ ตองสัง่ ซือ้ ไมมาจากตางประเทศมาใชในประเทศ ทัง้ นี้
เนือ่ งจากสาเหตุ 3 ประการ ดังนี้
ก. มีการลักลอบตัดไมโดยผิดกฎหมายมาก
ข. มีการบุกรุกทําลายปาเพือ่ เปดพืน้ ทีท่ ําการเกษตร (ชาวไทยทัว่ ไปและชาวไทยภูเขา)
ค. การปลูกปาไมทดแทนมีไมทว่ั ถึง
10. ปาไมทส่ี ําคัญของไทย แบงออกเปนประเภทๆ ไดดงั นี้
ก. ปาไมไมผลัดใบ
1. ปาดงดิบ (ชื้น) - ยาง ตะเคียน กะบาก เคียน หวาย
2. ปาดงดิบเขา - กอ จําปปา มะขามปอม
3. ปาสนเขา - สนสองใบ สนสามใบ
4. ปาเลนนํ้าเค็ม - โกงกาง แสม ปรง ตะบูน ลําพู
ข. ปาไมผลัดใบ
1. ปาเบญจพรรณ - สัก ประดู แดง ตะแบก มะคาโมง ยม เกลือ
2. ปาแดง (ปาแพะ, ปาโคก) - เต็ง รัง เหีย่ ง พลวง พะยอม
ค. ปาชนิดอืน่ ๆ
1. ปาพรุ - อินทนิลนํ้า จิก
2. ปาชายหาด - สนทะเล หูกวาง กระทิง โพทะเล ตีนเปดทะเล

138 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

11. แรธาตุและแหลงแรทส่ี าคั


ํ ญในประเทศไทย
ก. แรโลหะ
เหล็ก - ลพบุรี นครสวรรค กาญจนบุรี ชลบุรี
ทองแดง - เลย ขอนแกน
บ็อกไซด - สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช
ดีบกุ , แทนทาลัม - ภูเก็ต พังงา ระนอง
ทังสเตน (วุลแฟรม) - เชียงราย นครศรีธรรมราช
ทองคํา - ประจวบคีรขี นั ธ ปราจีนบุรี นราธิวาส
สังกะสี - ตาก
ตะกัว่ - กาญจนบุรี
แมงกานีส - ชลบุรี นราธิวาส ยะลา เลย
ข. แรอโลหะ
ฟลูออไรด - ลําพูน ลําปาง ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี สุราษฎรธานี
ยิปซัม - พิจติ ร สุราษฎรธานี นครสวรรค ลําปาง
เกลือหิน - มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี นครราชสีมา ชัยภูมิ ยโสธร
เกลือทะเล - สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ดินมารล (ดินสอพอง) - ลพบุรี
ดินเกาลิน (ดินขาว) - ลําปาง
หินออน - สระบุรี สุโขทัย นครนายก กําแพงเพชร
ทรายแกว - ระยอง
โพแตช - ชัยภูมิ นครราชสีมา อุดรธานี หนองคาย สกลนคร
ค. แรเชือ้ เพลิง - กัมมันตภาพรังสี
ถานหิน - ลําปาง ลําพูน กระบี่
นํ้ามัน - เชียงใหม ขอนแกน กําแพงเพชร
หินนํามั
้ น - ตาก ลําพูน
กาซธรรมชาติ - ขอนแกน อาวไทย
ยูเรเนียม - ขอนแกน (ทอเรีย - พังงา ระนอง ภูเก็ต)
ง. รัตนชาติ
พลอย - จันทบุรี ตราด กาญจนบุรี
12. การขนสงทางอากาศเปนการขนสงทีใ่ ชขนสงมวลชนและสินคาทีม่ คี า ใชจา ยสูง แตประหยัดเวลา สนามบิน
พาณิชยนานาชาติของประเทศไทย ปจจุบนั นีม้ อี ยูด งั นี้ คือ กรุงเทพฯ เชียงใหม สงขลา ภูเก็ต (อูต ะเภา เชียงราย ขอนแกน
อุบลราชธานี)
13. การขนสงทางนํ้า เปนการขนสงทีเ่ สียคาใชจา ยนอยทีส่ ดุ แตสน้ิ เปลืองเวลามาก สวนใหญแมนาลํ ้ํ าคลองเปน
เสนทางสวนการคมนาคมทางทะเลประเทศไทยมีทา เรือทีส่ าคั ํ ญ คือ ทาเรือกรุงเทพฯ (คลองเตย) ทาเรือสัตหีบ ทาเรือ
ศรีราชา (เกาะสีชัง) และมีโครงการสรางทาเรือนําลึ
้ กทีแ่ หลมฉบัง (อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุร)ี สงขลา ภูเก็ต และกระบี่

139 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

14. การประกอบอุตสาหกรรมในประเทศนัน้ สามารถแบงลักษณะอุตสาหกรรมได 3 ประเภท ดังนี้


ก. อุตสาหกรรมขนาดยอม เปนอุตสาหกรรมทีท่ ํากันมาชานานแลว และทํากันเปนจํานวนมาก อุตสาหกรรม
ขนาดยอมนีบ้ างครัง้ อาจเรียกวา "อุตสาหกรรมในครอบครัว" เปนอุตสาหกรรมทีใ่ ชวตั ถุดบิ ในทองถิน่ เชน
การทอผา การทําเครื่องปนดินเผา การทํารม การทําเครื่องเขิน เครือ่ งเงิน ไมแกะสลัก โรงงานนํ้าปลา
การทําเครือ่ งจักสาน การทํามีด เปนตน
ข. อุตสาหกรรมขนาดกลาง เปนอุตสาหกรรมทีอ่ าศัยวัตถุดบิ ทางการเกษตรและมีการลงทุนมากขึน้ อุตสาหกรรม
ประเภทนีจ้ ดั เปนอุตสาหกรรมพืน้ ฐานทีร่ องรับผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงงานนํ้าตาล โรงงานถลุงแร
โรงสีขาว โรงงานอาหารสําเร็จรูป โรงงานตัดเย็บเสือ้ ผาสําเร็จรูป เปนตน
ค. อุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนอุตสาหกรรมทีใ่ ชทนุ สูง เทคโนโลยีทท่ี นั สมัยมีการผลิตทีซ่ บั ซอนใชแรงงานมาก
ดังนัน้ อุตสาหกรรมประเภทนีส้ ว นใหญประเทศไทยจึงตองอาศัยใหตา งประเทศเขามาลงทุน เชน โรงกลัน่ -
นํ้ามัน โรงงานปูนซีเมนต โรงงานผลิตยารักษาโรค และโรงงานผลิตอาหารสัตว เปนตน
15. ปจจัยทีส่ ง เสริมใหการพัฒนาทางดานอุตสาหกรรมของประเทศไทยกาวหนาคอนขางเร็ว เพราะการพัฒนาอุต
สาหกรรมของไทยเพิง่ เริม่ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 คือ
ก. ทรัพยากรธรรมชาติทน่ี ามาใช
ํ ในการประกอบอุตสาหกรรมมีมาก และมีการสํารวจหาเพิม่ ขึน้ เชน กาซ
ธรรมชาติและนํามั ้ นปโตรเลียม
ข. แรงงานในประเทศมีมากทัง้ ยังมีคา แรงตํา่
ค. รัฐบาลใหความสําคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนอยางมาก ดังมีปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับตางๆ
ง. รัฐบาลสงเสริมการลงทุนทางดานอุตสาหกรรม ทัง้ จายภายในและภายนอกประเทศ
จ. รัฐบาลสรางปจจัยพืน้ ฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรม เชน การสรางถนน การสรางเขือ่ นผลิตพลังงานไฟฟา
การพัฒนาทาเรือ สนามบินและการสือ่ สาร การพัฒนาแหลงนํา้ เปนตน
ฉ. รัฐบาลกําหนดพืน้ ทีใ่ ชประกอบอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญ (นิคมอุตสาหกรรม) เปนการสงเสริม
ใหอตุ สาหกรรมไดมกี ารพัฒนาอยางเต็มที่ นิคมอุตสาหกรรมทีก่ าหนดขึ ํ ้นนี้มีอยูในภูมิภาคตางๆ เชน
ลําพูน ขอนแกน นครราชสีมา สมุทรปราการ ปทุมธานี ชลบุรี (แหลมฉบัง) ระยอง (มาบตาพุด) สงขลา
สุราษฎรธานี เปนตน

140 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แบบทดสอบ ส 504
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. เศรษฐศาสตรจลุ ภาค (Microeconomic) คือขอใด
1) ป พ.ศ. 2539 นี้ เศรษฐกิจของไทยมีภาวะเงินเฟอประมาณรอยละ 6.7
2) ปนด้ี ลุ บัญชีเดินสะพัดขาดดุลประมาณ 3 แสนลานบาท
3) คณะรัฐมนตรีมมี ติใหเพิม่ คาแรงขัน้ ตํ่าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล อีกวันละ 11 บาท
4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 มุง ผลิตสินคาเพือ่ การสงออก
2. ขอใดตอไปนีก้ ลาวผิดจากความเปนจริง
1) ผูผลิตนําเอาที่ดิน ทุน และแรงงานมาดําเนินการผลิตสินคาและบริการจะไดกําไร (Profit) เปนผลตอบแทน
2) ป ค.ศ. 1997 พมากําหนดใหเปนปทอ งเทีย่ วเปนการสงเสริมการผลิตขัน้ ทุตยิ ภูมิ (Secondary Production)
3) ปจจัย 4 ในการดํารงชีวติ จัดเปนสินคาเศรษฐทรัพย (Economic Goods) ตามหลักเศรษฐศาสตร
4) แพทยทใ่ี หการรักษาผูป ว ยนัน้ ตามหลักเศรษฐศาสตรถอื วาเปนอรรถประโยชนเกิดจากการใหบริการ (Service
Utility)
3. การผลิตสินคาและบริการนัน้ จะตองมีปจ จัยการผลิตครบทัง้ 4 อยาง ขอใดหมายถึงปจจัยการผลิต
1) ทีด่ นิ ทุน แรงงาน และผูป ระกอบการ 2) ทีด่ นิ เงินทุน แรงงาน และผูผ ลิต
3) ทีด่ นิ เงินทุน เครือ่ งจักร และแรงงาน 4) ทรัพยากร ทุน แรงงาน และผูผ ลิต
4. ทฤษฎีของอุปสงค (Law of Demand) ตรงกับขอตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) หางสรรพสินคาลดราคาสินคาประจําปทําใหยอดขายสูงขึน้
2) เกษตรกรผูเ ลีย้ งกุง กุลาดําลดการเลีย้ งลงเนือ่ งจากราคากุง ลดลง
3) ราคานํ้ามันในตลาดโลกมีแนวโนมสูงขึน้ รัฐบาลชักชวนใหประชาชนใชนามั ้ํ นอยางประหยัด
4) ปจจุบนั ราคาทองคําลดลงทําใหประชาชนซือ้ มาสวมใสมากขึน้
5. ขอใดกลาวผิดจากรูปภาพนี้
ราคา/กิโลกรัม (บาท)
50
40 S
D
30
20
10
S D
0 10 20 30 40 50
(เสน DD คือ เสนอุปสงค และ SS คือ เสนอุปทาน)
1) เมื่อราคาสินคา กิโลกรัมละ 30 บาท จะมีสนิ คาลนตลาดอยู 20 กิโลกกรัม
2) ถาราคาสินคา กิโลกกรัมละ 10 บาท จะมีสนิ คาในตลาดเพียง 20 กิโลกกรัม
3) ราคาดุลยภาพคือ กิโลกกรัมละ 30 บาท และปริมาณดุลยภาพคือ 20 กิโลกกรัม
4) ราคาสินคา กิโลกกรัมละ 20 บาท จะมีผซู อ้ื สินคา 30 กิโลกกรัม ไมมีสินคาขาดตลาด

141 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

6. ระบบเศรษฐกิจแบบใดทีร่ ฐั กับเอกชนรวมมือกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยทีร่ ฐั จะดําเนินกิจกรรมทีเ่ ปน


สาธารณูปโภคตางๆ สวนกิจกรรมอืน่ ๆ เอกชนเปนผูดําเนินการ ระบบเศรษฐกิจแบบนีป้ ระเทศไทยนํามาดําเนินใน
ปจจุบนั ดวย
1) ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ ม 2) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
3) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 4) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
7. รายไดประชาติ (National Income : NI) หมายถึงขอใด
1) มูลคารวมของสินคาและบริการทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศไทย ในระยะเวลา 1 ป
2) ปริมาณของสินคาและบริการทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศในระยะเวลา 1 ป
3) รายไดทป่ี ระชาชาติดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระยะเวลา 1 ป รวมกัน
4) รายไดทป่ี ระชาชาติดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศตลอดทัง้ ปรวมกัน
8. บัตรเครดิตของสถาบันการเงินตางๆ จัดเปน "เงิน" (Money) ประเภทใด
1) เหรียญกษาปณ 2) ธนบัตร
3) เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน 4) ถูกทุกขอ
9. ขอใดตอไปนีก้ ลาวถูกตองเกีย่ วกับ "เงิน"
1) เงินฝดและเงินเฟอเปนลักษณะทีเ่ กีย่ วของกับคาเงินภายนอกประเทศ
2) การลดคาเงินบาทและการเพิม่ คาเงินเยนเปนเรือ่ งของคาเงินภายนอกประเทศ
3) เช็คเดินทาง พันธบัตร และทองคํา จัดเปนเงินประเภทเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน
4) เหรียญกษาปณและธนบัตร เปนเงินที่ใชชาระหนี ํ ไ้ ดและแลกเปลีย่ นไดระหวางประเทศ
10. ขอใดตอไปนี้ไมจดั เปนหนาทีข่ องธนาคารพาณิชย (Commercial Bank)
1) รับฝากเงินประเภทตางๆ 2) ใหกยู มื เงิน
3) ใหบริการในดานการโอนเงิน 4) กําหนดอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา
11. ธนาคารในขอใดตอไปนีม้ ลี กั ษณะแตกตางจากขออืน่ ๆ ทัง้ หมด
1) ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห 2) ธนาคารกรุงไทย ธนาคารทหารไทย
3) ธนาคารไทยพาณิชย ธนาคารไทยทนุ 4) ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงเทพ
12. ขอใดตอไปนี้ผิดจากความเปนจริงในกรณีทภ่ี าวะเงินเฟอกําลังเกิดขึน้
1) ราคาสินคาและบริการสูงขึน้ เพราะสินคาขาดตลาดและตนทุนการผลิตสูงขึน้
2) ผูท ม่ี รี ายไดประจํา เชน ขาราชการ และผูใ ชแรงงานจะเปนผูไ ดเปรียบจากสภาวการณน้ี
3) การเพิม่ อัตราดอกเบีย้ ทัง้ เงินฝาก และเงินกู จะแกปญ  หาเงินเฟอไดดี
4) เงินเฟอออนๆ นั้นจะเปนผลดีตอเศรษฐกิจเพราะผูผลิตและผูบริโภคไมเดือดรอน
13. งบประมาณแผนดินของไทยมีลกั ษณะเปนงบประมาณขาดดุลมาเปนเวลาหลายปนน้ั มีลกั ษณะอยางไร
1) ยอดรายไดของรัฐบาลตํากว ่ ายอดรายจาย
2) ยอดรายจายของรัฐบาลตํากว ่ ายอดรายรับ
3) ยอดรายไดของรัฐบาลสูงกวายอดรายจาย
4) ยอดรายไดและยอดรายรับของรัฐบาลเทากัน

142 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

14. การคลังในขอใดตอไปนีผ้ ิดจากความเปนจริง


1) ภาษีศลุ กากร ภาษีสรรรพสามิตและอากรมหรสพ จัดเปนภาษีทางออม (Indirect Tax)
2) ถารายไดของรัฐบาลตํ่ากวารายจายจะตองนําเงินคงคลังและเงินกูม าเสริมใหเพียงพอ
3) รายจายดานการชําระหนีเ้ งินกูใ นงบประมาณรายจายนัน้ ทัง้ เงินกูใ นประเทศและตางประเทศ
4) ปงบประมาณของไทยนัน้ อยูร ะหวางวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม
15. มูลคาของสินคาออกสูงกวามูลคาของสินคาเขา หมายความวาอยางไร
1) ดุลการคาเกินดุล 2) ดุลการคาขาดดุล
3) ดุลการคาไดดลุ 4) ดุลการคาสมดุล
16. ดุลการชําระเงินระหวางประเทศไทยในระยะ 2-3 ปมานี้ เกินดุลมาตลอด เนือ่ งจากตางประเทศเขามาลงทุนใน
ประเทศมากขึ้น บัญชีทแ่ี สดงเกีย่ วกับการลงทุนนีค้ อื บัญชีใด
1) บัญชีเดินสะพัด 2) บัญชีเงินโอน และบริจาค
3) บัญชีทนุ เคลือ่ นยาย 4) บัญชีทนุ สํารองระหวางประเทศ
17. การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การทําเศรษฐกิจของประเทศใหเจริญมากขึน้ โดยศึกษาไดจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได
ประชาชาติ ปจจัยการพัฒนาเศรษฐกิจทีส่ ําคัญทีส่ ดุ คือขอใด
1) ประชากรทีม่ คี ณุ ภาพ 2) ทรัพยากรธรรมชาติ
3) การสะสมทุน 4) ความกาวหนาทางวิทยาการ
18. การผลิตสินคาและบริการนัน้ ตองอาศัยปจจัยในการผลิต 4 อยาง คือ ทุน ทีด่ นิ แรงงาน และผูป ระกอบการ
ในทางเศรษฐศาสตรกําหนดใหเรียกชือ่ ผลตอบแทนปจจัยการผลิตแตกตางกันไป อยากทราบวาผลตอบแทนปจจัย
การผลิตในขอใดผิดจากความเปนจริง
1) ผลตอบแทนทุนเรียกวา "ดอกเบีย้ " 2) ผลตอบแทนทีด่ นิ เรียกวา "คาเชา"
3) ผลตอบแทนแรงงานเรียกวา "คาแรง" 4) ผลตอบแทนผูป ระกอบการเรียกวา "คาจาง"
19. "เศรษฐศาสตรมหภาค (Macroeconomic) เกีย่ วของกับขอความใดตอไปนี้
1) ธนาคารพาณิชยทกุ แหงลดอัตราดอกเบีย้ เงินฝากและเงินกูต ามคําสัง่ ของธนาคารแหงประเทศไทย เพือ่ ความ
คลองตัวในการลงทุน
2) หางสรรพสินคาอันดับหนึง่ ของกรุงเทพมหานครประกาศลดราคาสินคาทุกชนิด 10-15% เพือ่ สรางยอดการ
จําหนายใหเปนไปตามเปาหมายทีก่ ําหนด
3) คณะผูแ ทนโรงงานอุตสาหกรรมสิง่ ทอในประเทศไทย ยืน่ จดหมายไปยังสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรของรัฐบาล
อเมริกัน เพือ่ ใหทบทวนการออกกฎหมายจํากัดสินคาสิง่ ทอจากตางประเทศ
4) การนัดหยุดงานของพนักงานรถไฟ เพือ่ เรียกรองใหการรถไฟแหงประเทศไทย เพิม่ เงินเดือนพนักงานรถไฟ
เพราะคาครองชีพสูงขึน้

143 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

20. จากตารางนีแ้ สดงราคาอุปสงค และอุปทานของเนือ้ หมูในตลาดกรุงเทพมหานคร อยากทราบวาปริมาณดุลยภาพ


และราคาดุลยภาพคือขอใดตอไปนี้
ราคา บาท/กิโลกรัม อุปสงค (กิโลกรัม) อุปทาน (กิโลกรัม)
50 10 70
45 20 60
40 30 50
35 40 40
30 50 30
25 60 20
1) 30 กิโลกรัม, 30 บาท 2) 40 กิโลกรัม, 35 บาท
3) 50 กิโลกรัม, 40 บาท 4) 60 กิโลกรัม, 45 บาท
21. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) มีลกั ษณะตรงกับขอใดมากทีส่ ดุ
1) เปนระบบเศรษฐกิจทีม่ กี ารแขงขันเปนรากฐานทางเศรษฐกิจ
2) กิจกรรมทางเศรษฐกิจในระบบนีด้ าเนิ ํ นผานกลไกแหงราคาโดยมีกําไรเปนแรงจูงใจ
3) รัฐเปนของปจจัยการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิตบางประเภท
4) ทรัพยสนิ และปจจัยการผลิตทุกประเภทไมวา จะเล็กหรือใหญเปนของรัฐอยางสิน้ เชิง
22. การคํานวณรายไดประชาชาติ (National Income) กอใหเกิดประโยชนตอ การศึกษาเศรษฐกิจของประเทศใน
แงมมุ ตางๆ ยกเวนขอใดตอไปนี้
1) ใชในการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
2) ใชเปรียบเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในประเทศ
3) ใชเปนเครือ่ งมือในการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ
4) ใชเปรียบเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชนระหวางประเทศ
23. หลังจากทานศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรแลว ทานเห็นวาขอใดตอไปนีก้ ลาวผิดจากความเปนจริง
1) เมือ่ ราคาสินคาและบริการสูงขึน้ อุปสงคจะเพิม่ ขึน้ และถาราคาสินคาและบริการลดลงอุปสงคจะลดลงดวย
2) รานกวยเตีย๋ ว ธนาคาร และสํานักงานรับแลกเปลีย่ นรถยนตเปนตัวอยางของหนวยผลิต
3) การวัดระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจในแตละประเทศนัน้ ดูไดจากรายไดประชาชาติ (National Income)
4) การแลกเปลีย่ นสินคาและบริการกันโดยตรง (Barter System) จัดเปนวงจรเศรษฐกิจแบบดัง้ เดิม
24. ภาวะเงินเฟอ (Inflation) กอใหเกิดปญหาคาครองชีพสูง และปริมาณเงินในมือประชาชนมีมากแตมคี า นอยนัน้
รัฐบาลควรแกปญ  หานีอ้ ยางไร
1) ลดอัตราดอกเบีย้ เงินฝากและเงินกูข องธนาคารพาณิชย
2) รัฐสรางงานและสงเสิรมการลงทุนในประเทศใหมากขึน้
3) รัฐออกพันธบัตรรัฐบาลขายแกประชาชนเพิม่ มากขึน้
4) รัฐบาลออกกฎหมายลดภาษีทางตรงลง

144 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

25. ขอใดตอไปนีก้ ลาวถึงลักษณะของงบประมาณแผนดินของรัฐบาลไดถกู ตองทีส่ ดุ


1) ปงบประมาณนัน้ ทุกประเทศกําหนดระยะเวลาไวระหวางวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายนของปถดั ไป
2) เงินคงคลังเปนเงินทีร่ ฐั บาลสะสมไวจากการทีร่ ายรับสูงกวารายจายในปกอ นๆ
3) ถายอดงบประมาณรายรับสูงกวารายจาย เรียกวางบประมาณไดดลุ หรืองบประมาณสมดุล
4) งบประมาณรายจายในแตละปๆ จะไมรวมงบชําระหนีเ้ งินกูต า งประเทศ
26. "ยอดเงินรายรับของประเทศนัน้ หมดในรอบปหนึง่ ๆ ซึง่ ไดจากการสงสินคาออกไปขายตางประเทศเงินกูจ ากตาง-
ประเทศและการลงทุนของชาวตางประเทศกับยอดเงินรายจายของประเทศทัง้ หมดในรอบปนน้ั ๆ ซึง่ ไดมาจากการ
นําสินคาจากตางประเทศเขาและการชําระหนีเ้ งินกูท ง้ั เงินตนและดอกเบีย้ " ขอความทัง้ หมดนีก้ ลาวถึงเรือ่ งใด
1) บัญชีทนุ สํารองระหวางประเทศ 2) งบประมาณแผนดินประจําป
3) ดุลการคาระหวางประเทศ 4) ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ
27. การรวมกลุม ทางเศรษฐกิจกลุม ใดทีส่ มาชิกในกลุม มุง ทีจ่ ะรวมมือกันในดานผลประโยชน แตไมไดใหความชวยเหลือ
ซึง่ กันและกัน แมแตจะเขามารวมกันแกปญ  หาทีเ่ กิดขึน้ กับกลุม ก็ตามจนกระทัง่ ไดรบั ฉายาวา "กลุม ผลประโยชน"
1) กลุม ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป 2) สภาความชวยเหลือทางเศรษฐกิจรวมกัน
3) สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต 4) องคการกลุม ประเทศผูส ง นํามั ้ นเปนสินคาออก
28. ปจจุบนั นีป้ ระเทศไทยไดขยายสนามบินพาณิชยนานาชาติออกไปในสวนภูมภิ าคขึน้ หลายแหง นอกจากกรุงเทพ-
มหานครแลวยังมีทใ่ี ดอีก
1) เชียงใหม ขอนแกน ภูเก็ต 2) เชียงใหม สงขลา ภูเก็ต
3) เชียงใหม ภูเก็ต อุบลราชธานี 4) เชียงใหม ขอนแกน สงขลา
29. การประกาศลดคาเงินบาทของไทยจาก 26 บาทเปน 50 บาทตอ 1 ดอลลารสหรัฐอเมริกา กอใหเกิดผลอยางไร
ตอไปนี้
1) หนีส้ นิ ตางประเทศตองชําระเปนเงินดอลลาร เมือ่ คิดเปนเงินบาทไทยจะเสียเปรียบเปนจํานวนมาก
2) สินคาจากตางประเทศจะมีราคาแพงขึน้ และดึงราคาสินคาอืน่ ๆ ใหแพงตามไปดวย
3) ถารัฐบาลกูเ งินตางประเทศเปนดอลลารเมือ่ นําเขามาใชในประเทศจะคิดเปนเงินบาทไดมากขึ้น
4) การสงสินคาออกไปขายตางประเทศขายเปนดอลลารจะแลกเปนเงินบาทไดมากกวาเดิมแมวา ราคาขายจะคงเดิม
ก็ตาม
30. ถาเอกชนและรัฐบาลรวมกันรับผิดชอบในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แตเนนในดานประโยชนของประชาชน
สวนรวมเปนหลัก ลักษณะเชนนีเ้ ปนระบบเศรษฐกิจแบบใด
1) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 2) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
3) ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต 4) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
31. ในชีวติ ประจําวันของเรานั้น เงิน (Money) ทําหนาทีใ่ ดมากทีส่ ดุ
1) เปนเครือ่ งวัดและรักษามูลคา 2) เปนมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต
3) เปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น 4) ทัง้ ขอ 1), 2) และ 3)

145 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

32. ในปจจุบนั ประเทศไทยอยูใ นภาวะเงินเฟอประมาณรอยละ 4.5 แตยงั เปนระดับทีถ่ อื วาเศรษฐกิจกําลังดี แตถา ภาวะ
เงินเฟอรุนแรงกวานีจ้ ะกอใหเกิดปญหา ขอใดตอไปนีผ้ ิดจากลักษณะเงินเฟอ (Inflation)
1) ราคาสินคาและบริการสูงขึน้ จากปกอ น
2) ผูม รี ายไดประจําจะมีความเปนอยูดีขึ้น
3) อุปสงคในสินคาและบริการตํ่ากวาอุปทาน
4) การลดอัตราดอกเบีย้ ทัง้ เงินฝากและเงินกูเ ปนการแกปญ  หาทีด่ ี
33. ขอใดตอไปนี้กลาวผิดจากความเปนจริง
1) ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน และธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนของรัฐบาล
2) ธนาคารพาณิชยทกุ แหงจะทําหนาทีร่ บั ฝากเงิน สรางเงินฝากและการใหบริการดานตางๆ
3) ธนาคารแหงประเทศไทยเปนตลาดซึง่ ขายหลักทรัพยหรือซือ้ ขายหุน
4) ธนาคารแหงประเทศไทยนอกจากควบคุมสถาบันการเงินในประเทศยังผลิตธนบัตร
34. การใชจา ยงบประมาณแผนดินของรัฐบาลนัน้ มีวตั ถุประสงคหลักดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) สงเสริมการเพิม่ ผลผลิตทางเศรษฐกิจ
2) ดูแลปองกันประเทศและรักษาความสงบภายใน
3) ใหการบริการทางดานการสาธารณสุข การศึกษา และสาธารณูปโภค
4) ใหทนุ อุดหนุนแกองคกรระหวางประเทศ
35. ขอใดตอไปนีก้ ลาวถูกตองทีส่ ดุ
1) ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ภาษีศลุ กากร ภาษีสรรพสามิตเปนภาษีทางตรงทัง้ หมด
2) งบประมาณขาดดุล หมายถึง ยอดรายไดในงบประมาณตํากว ่ ายอดรายจาย
3) เงินกูใ นยอดรับของงบประมาณ หมายถึง เงินกูท ง้ั ในและตางประเทศ
4) การเก็บภาษีเงินไดของไทยยังไมไดใชอตั ราภาษีกา วหนา
36. มูลคาของการนําสินคาเขาและการสงสินคาออกจะแสดงอยูใ นบัญชีใดของดุลการชําระเงิน
1) บัญชีเดินสะพัด 2) บัญชีเงินโอนและเงินบริจาค
3) บัญชีทนุ เคลือ่ นยาย 4) บัญชีทนุ สํารองระหวางประเทศ
37. สมาคมอาเซียน (ASEAN) และกลุม ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EC) มีปญ  หาในการรวมกลุม คลายกันในเรือ่ งใด
ตอไปนี้
1) การกระจายผลประโยชนไมเทาเทียมกัน 2) อุปสรรคในการเคลือ่ นยายแรงงานและทุน
3) การขาดความรวมมือในหมูประเทศสมาชิก 4) ประเทศสมาชิกมีลกั ษณะเศรษฐกิจคลายกัน
38. การคาระหวางประเทศของไทยมีลกั ษณะตรงกับขอใดตอไปนี้
1) สินคาออกของไทยเปนสินคาเกษตรกรรมเชนเดียวกับสินคาเขา
2) ปริมาณการคาของไทยขยายตัวสูงขึน้ และดุลการคาเกินดุลทุกป
3) สินคาออกสวนใหญของไทยสงไปขายใหกบั ญีป่ นุ และกลุม รัฐอินโดจีน
4) มูลคาการสงออกตํ่ากวาการนําเขาทุกปในรอบ 20 ปที่ผานมา
39. โครงการพัฒนาชายฝง ทะเลดานตะวันออกของรัฐบาลมุง ทีจ่ ะพัฒนาอุตสาหกรรมในเขตใดตอไปนี้
1) ฉะเชิงเทรา - ชลบุรี 2) ชลบุรี - ระยอง 3) ชลบุรี - จันทบุรี 4) ชลบุรี - พัทยา

146 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

40. ขอใดไมจดั เปนจุดมุง หมายของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย


1) เพือ่ ชีแ้ นวนโยบายของรัฐ 2) เพือ่ วางแผนการดําเนินงานของรัฐบาล
3) เพือ่ ประโยชนแกประเทศชาติเปนสวนรวม 4) เพือ่ ควบคุมกิจการและสาขาการผลิตตางๆ
41. การขนสงสินคาทางนํ้าของไทยกับตางประเทศนัน้ ประเทศไทยใชทา เรือใดเปนสําคัญ
1) ทาเรือคลองเตย ทาเรือพาณิชยสตั หีบ 2) ทาเรือคลองเตย ทาเรือแหลมฉบัง
3) ทาเรือศรีราชา ทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด 4) ทาเรือศรีราชา ทาเรือคลองเตย
42. เพราะเหตุใดจึงกลาววาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ เปน "แผนชี้นํา"
1) เพราะเปนการควบคุมการปฏิบตั ติ ามแผนไดอยางใกลชิด
2) เพราะเปนแผนทีเ่ จาหนาทีส่ ว นกลางเทานัน้ ทีม่ อี ํานาจเด็ดขาด
3) เพราะเปนแผนทีบ่ งั คับใหปฏิบตั ติ ามเสมือนเปนกฎหมายของชาติ
4) เพราะเปนหลักและแนวทางทีร่ ฐั บาลจะถือปฏิบตั ไิ ดอยางกวางๆ
43. ตามหลักเศรษฐศาสตร ปจจัยการผลิตในขอใดตอไปนีผ้ ิดจากความเปนจริง
1) ทีด่ นิ คือทีต่ ง้ั ของแหลงผลิตรวมถึงทรัพยากรทีอ่ ยูใ นดิน บนพืน้ ดินและเหนือพืน้ ดิน
2) ทุน คือสิง่ ตางๆ ทีส่ รางขึน้ มาเปนเครือ่ งใชในการผลิตในทีน่ ไ้ี มรวมถึง "เงิน"
3) แรงงาน คือกําลังกายทีม่ าจากมนุษยและสัตว สวนกําลังความคิดมาจากมนุษยเทานัน้
4) ผูป ระกอบการ คือผูที่นําเอาที่ดิน ทุนและแรงงานมาทําใหเกิดการผลิตหรือเรียกวา "ผูผลิต"
44. ประเทศไทยใชระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy System) มีลกั ษณะตรงกับขอใดตอไปนี้
ก. รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิตอยางสิน้ เชิง
ข. รัฐจัดรัฐสวัสดิการใหกบั ประชาชน
ค. เปนระบบเศรษฐกิจทีผ่ สมระหวางทุนนิยมกับสังคมนิยม
ง. รัฐกับเอกชนรวมกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
1) ก., ข. และ ค. 2) ก., ค. และ ง. 3) ก., ข. และ ง. 4) ข., ค. และ ง.
45. เงิน (Money) ทําหนาทีใ่ นสังคมดานใดมากทีส่ ดุ ในชีวติ ประจําวัน
1) เปนมาตรฐานในการวัดมูลคา (Measure of Value)
2) เปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น (Medium of Exchange)
3) เปนมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต (Standard of Deferred Payment)
4) เปนเครือ่ งรักหษามูลคา (Store of Value)
46. ขอใดตอไปนีก้ ลาวถูกตองทีส่ ดุ เกีย่ วกับเงิน (Money)
ก. เงินคือสิง่ ทีส่ งั คมสรางขึน้ เพือ่ ใชเปนสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น
ข. รัฐบาลเปนผูผ ลิตเหรียญกษาปณขน้ึ ใชโดยไมตอ งใชสง่ิ คําประกั ้ นใดๆ
ค. ปริมาณเงินคือเงินประเภทเหรียญกษาปณและธนบัตรทีห่ มุนเวียนอยูใ นระบบเศรษฐกิจ
ง. คาเงินจํานวนหนึง่ สามารถนําไปใชซอ้ื สินคาไดจํานวนหนึง่ นัน้ จัดเปนคาเงินประเภทคาภายนอกประเทศ
(External Value)
1) ก. และ ข. 2) ก. และ ง. 3) ข. และ ค. 4) ค. และ ง.

147 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

47. รายไดสว นใหญของรัฐบาลไทยมาจากการเก็บภาษีอากร ซึง่ แบงไดเปนภาษีทางตรงและภาษีทางออม ภาษีในขอใด


ตอไปนีจ้ ดั เปนภาษีทางออมทัง้ หมด
1) ภาษีดอกเบีย้ เงินฝาก อากรมหรสพ ภาษีทด่ี นิ 2) ภาษีเดินทาง ภาษีสรรพสามิต ภาษีมรดก
3) ภาษีศลุ กากร ภาษีสรรพสามิต อากรมหรสพ 4) ภาษีรถยนต ภาษีศลุ กากร อากรสุรา
48. สถาบันการเงินในประเทศไทยตางๆ ตอไปนีข้ อ ใดกลาวถูกตอง
1) การซือ้ ขายหุน ทุกชนิดสามารถทําไดทต่ี ลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและธนาคารพาณิชยทกุ แหง
2) สหกรณการเกษตรและสหกรณออมทรัพยเปนสถาบันการเงินทีม่ งุ ใหชว ยเหลือทางดานการเงินแกบคุ คลทัว่ ไป
3) ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงไทย ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตรเปน
ธนาคารพาณิชยของรัฐบาล
4) ธนาคารกลางของประเทศไทย มีหนาทีผ่ ลิตธนบัตรรักษาทุนสํารองระหวางประเทศและควบคุมธนาคารพาณิชย
ทุกแหง คือธนาคารแหงประเทศไทย
49. ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank) ทุกแหงในประเทศไทย มีหนาทีห่ ลักเหมือนกันในขอตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) รับฝากเงินประเภทตางๆ
2) การสรางเงินฝากหรือใหกยู มื เงิน
3) กําหนดอัตราดอกเบีย้ เงินฝากและเงินกู
4) การใชบริการแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศและการโอนเงิน
50. ในดานการคาขายกับตางประเทศนัน้ ประเทศไทยประสบปญหาการขาดดุลการคาติดตอกันมาเปนเวลาหลายสิบปนน้ั
แสดงวา ลักษณะการคาของไทยเปนอยางไร
1) ปริมาณของสินคาออกตํ่ากวาปริมาณของสินคาเขา
2) มูลคาของสินคาออกตํ่ากวามูลคาของสินคาเขา
3) จํานวนชนิดของสินคาออกตํ่ากวาจํานวนชนิดของสินคาเขา
4) มูลคารวมของสินคาออกและสินคาเขาลดตํ่าทุกป
51. ขอใดตอไปนี้ไมใชลกั ษณะงบประมาณแผนดินของประเทศไทย
1) งบประมาณแผนดินของไทยนัน้ รัฐบาลเปนผูจ ดั ทําแตผอู นุมตั ใิ นการใชงบประมาณแผนดิน คือ รัฐสภา โดย
ระยะเวลาในการใชระหวางวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายนของปถดั ไปเปนปงบประมาณ
2) ถารายไดภาครัฐบาลตํ่ากวารายจายในงบประมาณแผนดิน แสดงวางบประมาณนัน้ มีลกั ษณะขาดดุลจึงตองนํา
เงินกูแ ละเงินคงคลังมาเสริมเพือ่ ใหดลุ กัน
3) เงินกูข องรัฐบาลนัน้ มีทง้ั จากภายในประเทศและตางประเทศ งบประมาณประเภทรายรับจะมีเฉพาะยอดเงินกู
ภายในประเทศเทานัน้ สวนงบประมาณประเภทรายจายมีทง้ั ภายในและตางประเทศ
4) งบประมาณแผนดินรายจายนัน้ มีวตั ถุประสงคหลักในการใชจา ยเพือ่ เพิม่ พูนรายไดประชาชาติ จัดสาธารณูปโภค
ปองกันประเทศ รักษาความสงบภายในและจัดสรรเพือ่ ชวยเหลือองคกรระหวางประเทศตางๆ
52. เมือ่ เกิดปญหาเงินเฟอ (Inflation) หรือเงินฝด (Deflation) เมื่อใด ทําใหเศรษฐกิจของประเทศเสียหาย จึงตอง
แกปญ  หาดวยวิธตี า งๆ ตอไปนีข้ อ ใดเปนวิธกี ารทีผ่ ิด
1) การลดคาเงินเปนการแกปญ  หาเงินเฟอและยังสามารถแกปญ  หาดุลการคาขาดดุลดวย
2) การเพิม่ ประมาณการขายพันธบัตรรัฐบาลใหมากขึน้ เปนการแกปญ  หาเงินฝดไดเปนอยางดี
3) การลดอัตราดอกเบีย้ ทัง้ เงินฝากและเงินกูข องธนาคารพาณิชยเปนการแกปญ  หาเงินฝด
4) การจัดงบประมาณแผนดินทีม่ ลี กั ษณะเกินดุลของรัฐบาลมีสว นในการแกปญ  หาเงินเฟอ

148 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

53. การทีร่ ฐั บาลสหรัฐอเมริกาไดเรียกรองใหประเทศไทยยอมรับกฎหมายลิขสิทธิแ์ ละสิทธิบตั ร มิฉะนัน้ รัฐบาลสหรัฐ


อเมริกาจะยกเลิกสิทธิพเิ ศษ G.S.P แกไทย ถามวา G.S.P นัน้ คืออะไร
1) ระบบการใหสทิ ธิพเิ ศษทางภาษีศลุ กากรทีป่ ระเทศพัฒนาแลวใหแกประเทศกําลังพัฒนา โดยการลดหยอนหรือ
ยกเวนการเก็บอากรขาเขาในสินคาทุกประเภท
2) ระบบการปลอดภาษีศุลากรที่ประเทศสหรัฐอเมริกาตกลงกับประเทศไทยโดยไมเก็บอากรขาเขาจากสินคาไทย
ทุกประเภท
3) ระบบการใชสทิ ธิพเิ ศษในโควตาหรือปริมาณการสงสินคาจากประเทศไทยไปขายในประเทศสหรัฐอเมริกา
4) ทุกขอทีก่ ลาวมา
54. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงประเทศมีลกั ษณะดังขอตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจนัน้ รัฐบาลมีจดุ มุง หมายเพือ่ ปรับปรุงโครงสรางการผลิตของประเทศ และแกปญ  หา
ความยากจน
2) ปจจัยพืน้ ฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจประกอบดวยประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ การสะสมทุนและความกาวหนา
ทางดานเทคโนโลยี
3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 มุง สงเสริมการเพิม่ ผลผลิตของประเทศโดยการนําเอา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใช
4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทกุ ฉบับเปนแผนพัฒนาประเภท "แผนเพือ่ การควบคุม" และทุกแผน
มีระยะเวลาการใช 5 ป
55. ขอความใดตอไปนีก้ ลาวผิดจากความเปนจริงของเศรษฐศาสตร
1) ปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจมีอยู 3 ประการ คือ ผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพือ่ ใคร
2) ผลิตภัณฑประชาชาติเบือ้ งตน (Gross National Product : GNP) หมายถึง มูลคารวมของสินคาและบริการ
ทีผ่ ลิตขึน้ ในประเทศระยะเวลา 1 ป
3) ความสัมพันธระหวางหนวยเศรษฐกิจทีเ่ รียกวาหนวยครัวเรือนและหนวยธุรกิจ ซึง่ ทําหนาทีเ่ ปนทัง้ ผูผ ลิตและ
ผูบริโภค เรียกวา วงจรเศรษฐกิจ
4) รัฐบาลกําหนดใหป พ.ศ. 2530 เปน "ปทอ งเทีย่ วไทย" เปนการสงเสริมการผลิตขัน้ อุดม (Tertiary Production)
56. ขอใดตอไปนีเ้ ปนตามทฤษฎีของอุปทาน (Law of Suppy)
1) ชาวนาในเขตภาคเหนือในปจจุบนั ปลูกถัว่ เหลืองกันมากขึน้ เพราะขายไดราคาดี
2) ในปนเ้ี กษตรกรชาวสวนลําไยขายลําไยไดราคาดีเพราะลําไยมีปริมาณนอย
3) ราคาทองคําในตลาดโลกสูงขึน้ เนือ่ งจากสถานการณการเมืองของโลกตึงเครียด
4) นักธุรกิจชาวญีป่ นุ เขามาลงทุนในประเทศไทยมากขึน้ เพราะคาเงินเยนมีคา สูงขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับคาเงินบาท
57. เรือ่ งของอุปสงคและอุปทานในขอตอไปนีก้ ลาวไมถกู ตอง
1) การกําหนดราคาสินคาและปริมาณของสินคาใหเหมาะสมนัน้ ผูผ ลิตจะตองศึกษาจากอุปสงคและอุปทานในสินคา
นั้นๆ กอน
2) ราคาของสินคาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของหรือราคาของสินคาอืน่ ๆ ทีใ่ ชแทนกันไดกบั สินคาทีจ่ ะผลิตหรือบริโภคจะไมมผี ล
ตออุปสงคและอุปทาน
3) คาของจุดตัดของเสนอุปสงคและเสนอุปทานในกราฟแสดงอุปสงคอปุ ทานนัน้ คือคาดุลยภาพ
4) คาดุลยภาพ หมายถึง ปริมาณของสินคาและราคาของสินคาทีผ่ ผู ลิตและผูบ ริโภคพอใจทีจ่ ะผลิตและบริโภค

149 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

58. ขอใดตอไปนี้กลาวผิดจากความเปนจริง
1) การเปลีย่ นสนามรบเปนสนามการคาของรัฐบาลไทยนัน้ จัดเปนเศรษฐศาสตรมหภาค (Macroeconomic)
2) การพัฒนาเศรษฐกิจทีแ่ ทจริงนัน้ คือ การทําใหประชาชนไทยในประเทศมีรายได และมาตรฐานการครองชีพดีขน้ึ
3) ปจจัยทีค่ วบคุมปริมาณการผลิตนัน้ ประกอบดวยปริมาณของวัตถุดบิ อุปสงคในสินคานัน้ และราคาของผล-
ผลิตนัน้ ในตลาด
4) ในการผลิตสินคาและบริการนัน้ จะตองมีปจ จัยการผลิตครบทัง้ 4 อยางคือ ทีด่ นิ แรงงาน เงินทุน และ
ผูป ระกอบการ
59. การแกปญ  หาทางเศรษฐกิจในขอใดตอไปนี้ไมสามารถเปนไปได
1) ปญหาเงินเฟอ (Inflation) นอกจากการเพิม่ อัตราดอกเบีย้ แลว การเพิม่ ภาษีทางตรงและทางออม สามารถ
แกปญ  หานีไ้ ด
2) ปญหาการขาดดุลการชําระเงินระหวางประเทศนอกจากการสงสินคาออกไปจําหนายในตางประเทศแลว การสงเสริม
การลงทุนในตางประเทศยังชวยได
3) ปญหาการขาดดุลการคา นอกจากการสงเสริมการผลิตสินคาเพือ่ สงออกและหันมาใชสนิ คาทีผ่ ลิตในประเทศแลว
การสงเสริมการทองเทีย่ วสามารถแกปญ  หานีไ้ ด
4) ปญหาทางดานการคาระหวางประเทศสวนใหญ เกิดจากการกําหนดนโยบายการคาระหวางประเทศ สามารถ
แกปญ  หานีไ้ ดโดยการรวมมือกันทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ
60. สถาบันการเงินในขอใดไมไดเปนของรัฐบาล
1) ธนาคารอาคารสงเคราะห - สถานธนานุเคราะห
2) ธนาคารทหารไทย - ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
3) ธนาคารกรุงไทย - ธนาคารออมสิน
4) ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร - สถานธนานุบาล
61. ภาษีทางออม (Indirect Tax) เปนภาษีทป่ี ระชาชนทุกเพศทุกวัยเสียกันเปนสวนใหญ คือภาษีในขอใด
1) ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ภาษีทะเบียนรถยนต ภาษีทด่ี นิ
2) ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ภาษีดอกเบีย้ ภาษีรางวัล
3) ภาษีสรรพสามิต ภาษีมหรสพ ภาษีสินคาเขา
4) ภาษีโรงเรือน ภาษีมรดก ภาษีมลู คาเพิม่
62. งบประมาณแผนดินในขอใดตอไปนี้ผิดจากความเปนจริง
1) ปงบประมาณของประเทศไทยอยูร ะหวางวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายนของปถดั ไป
2) งบประมาณขาดดุล หมายถึง ยอดรายไดตากว ่ํ ายอดรายจายประจําป
3) รัฐบาลเปนผูเ สนองบประมาณประจําป แตรฐั สภาเปนผูอ นุมตั กิ ารใชงบประมาณประจําป
4) รายรับและรายจายในงบประมาณแผนดินเกีย่ วกับเงินกูน น้ั หมายถึงเงินกูท ง้ั ในและนอกประเทศ
63. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) นั้น เนนในขอตอไปนี้ ยกเวนขอใด
1) เนนในการสรางปจจัยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจและกําลังคนแผน 2
2) ลดอัตราการสงออกทัง้ เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
3) สงเสริมการสงออกทัง้ ภาคเกษตรและอุตสาหกรรม
4) เนนการพัฒนาประเทศโดยการใชวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

150 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

64. เขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agro Economic Zone) เปนการกําหนดเขตเกษตรกรรมใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม


ดังนั้นขาวโพด มันสําปะหลัง ปอ ไหม และโค นั้นควรจะดําเนินในเขตใดตอไปนี้
1) อุดรธานี ขอนแกน อุบลราชธานี 2) เชียงใหม เชียงราย ลําพูน
3) สระบุรี ประจวบคีรขี นั ธ ราชบุรี 4) สุราษฎรธานี ชลบุรี เพชรบูรณ
65. จังหวัดในขอตอไปนีม้ คี วามสํคา ญ
ั ถูกตองตามทีก่ ลาว ยกเวนขอใด
1) เชียงราย พิษณุโลก และสงขลา เปนจังหวัดทีม่ ปี ระชากรเกินลานคน
2) ศรีสะเกษ พัทลุง และชลบุรี เปนจังหวัดทีป่ ระชากรมีรายไดตาที ่ํ ส่ ดุ ของแตละภูมภิ าค
3) เชียงใหม ภูเก็ต และสงขลา เปนจังหวัดทีร่ ฐั บาลใหมกี ารพัฒนาสนามบินเปนทาอากาศยานนานาชาติ
4) เชียงราย อุบลราชธานี และระนอง เปนจังหวัดชายแดนของไทย

เฉลย
1. 3) 2. 2) 3. 1) 4. 2) 5. 3) 6. 4) 7. 3) 8. 3) 9. 2) 10. 4)
11. 1) 12. 2) 13. 1) 14. 4) 15. 1) 16. 3) 17. 1) 18. 4) 19. 2) 20. 2)
21. 3) 22. 4) 23. 1) 24. 3) 25. 3) 26. 4) 27. 4) 28. 2) 29. -) 30. 4)
31. 4) 32. 1) 33. 3) 34. 4) 35. 2) 36. 1) 37. 1) 38. 2) 39. 2) 40. 4)
41. 2) 42. 4) 43. 3) 44. 4) 45. 2) 46. 1) 47. 3) 48. 4) 49. 3) 50. 2)
51. 4) 52. 1) 53. 1) 54. 4) 55. 2) 56. 1) 57. 2) 58. 4) 59. 2) 60. 2)
61. 3) 62. 4) 63. 2) 64. 1) 65. 2)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

151 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สังคมไทย
การเปลีย่ นแปลงของสังคมไทย
สังคมไทย แบงเปน 2 ชวง คือ
1. สังคมไทยสมัยโบราณ
สังคมไทยสมัยโบราณมีหนวยสังคมยอยๆ เปนองคประกอบทีส่ ําคัญ แตทค่ี นไทยคุน เคย คือ บานกับเมือง
บานหรือหมูบ า น เปนครัวเรือนหลายๆ ครัวเรือนทีอ่ ยูเ รียงรายเปนกลุม หมูบ า นของไทยมักตัง้ ชือ่ ตามสภาพ
ภูมศิ าสตร เชน บานเกา บานใหม บานดอน ฯลฯ
เมืองมีลกั ษณะการสรางเมือง 2 อยาง คือ
1. การทีค่ นในหมูบ า นเดิมมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น อพยพไปตัง้ ครอบครัวใหม เกิดเปนเมืองใหม
2. วิธที ําสงคราม รุกรานเมืองอืน่ ทีม่ ที ําเลเหมาะสม
ลักษณะของผูค นในสมัยโบราณ
ผูค นในสมัยโบราณมีความหลากหลายมาก มีคนอพยพเขามาตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศไทยจํานวนมาก เรียกวา ผูเขา
มาขอพึง่ พระบรมโพธิสมภาร ซึง่ พระมหากษัตริยไ ดทรงดําเนินพระราโชบายกับบุคคลเหลานัน้ หลายอยาง คือ
1. พยายามแบงเขตทีอ่ ยูอ าศัยใหเปนยานๆ
2. ผูกใจคนตางแดนดวยการใหความดีความชอบ เมือ่ ทําประโยชนใหแกประเทศ
3. ควบคุมอํานาจคนตางถิน่ มิใหมอี านาจมากเกิ
ํ นไป
4. ผสมกลมกลืนกับชนชาติอน่ื โดยการแตงงาน

152 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การจัดระเบียบทางสังคม
บานหรือหมูบ า นจัดระเบียบทางสังคม โดยใชระบบทางเครือญาติ แบงหนาทีก่ นั ตามวัยและเพศ
มีหลักฐานทีพ่ บวามีหลักเกณฑการแบงสรรผูค นตามหนาทีแ่ ละสิทธิอยางชัดเจน โดยใชกฎหมายชือ่ "พระไอยการ
ตําแหนงนาพลเรือนและไอยการตําแหนงนาทหารหัวเมือง" เกิดในสมัยพระบรมไตรโลกนาถเปนการกําหนดสิทธิและหนาที่
ของคนโดยดูจากการถือครองทีด่ นิ จากกฎหมายศักดินานีส้ ามารถแบงคนออกเปน 2 ชนชั้น คือ
1. ชนชั้นผูปกครอง ไดแก พระมหากษัตริย เจานาย ขุนนางและพระสงฆ
2. ชนชั้นผูอยูใตปกครอง ไดแก ไพรและทาส
ไพร คือ ราษฎรธรรมดาทีเ่ ปนเสรีชนขึน้ สังกัดมูลนายหรือกรมกอง อยูภ ายใตการดูแลของมูลนาย แบงออกเปน
3 ชนชั้น คือ
1. ไพรหลวง เปนไพรทข่ี น้ึ ตรงตอพระมหากษัตริยแ ละพระองคไดแจกจายไปยังกรมกองตางๆ ไมขน้ึ กับมูลนาย
โดยตรง มีหนาที่เขาเวรรับราชการ
2. ไพรสม เปนไพรทพ่ี ระมหากษัตริยพ ระราชทานใหแกเจานายและขุนนาง มีหนาทีร่ บั ใชมลู นายและเขาเวร
รับราชการ เมือ่ มูลนายตายตองโอนไปเปนไพรหลวง
3. ไพรสว ย เปนไพรสมหรือไพรหลวง แตไมสามารถมาเขารับราชการได เพราะอยูไ กลจึงสงของมาแทน
ทาส มีจํานวนนอยกวาไพร ทาสในสังคมไทยสวนใหญเปนทาสทีเ่ กิดจากการยืมเงิน เปนทาสไถตวั ได ทาสทีไ่ ถตวั
ไมได คือ ทาสเชลยศึกและทาสในเรือนเบีย้ ทาสมีฐานะตําต ่ อย มีคา เทากับทรัพยสนิ ของนายเงิน ทาสมีหนาทีร่ บั ใชมลู นาย
ยามสงครามมีหนาทีเ่ ชนเดียวกับไพร
2. สังคมไทยสมัยใหม
สังคมไทยสมัยใหมเริม่ ตัง้ แตสมัยรัชกาลที่ 4 เปนชวงทีม่ กี ารติดตอกับตะวันตกอยางเปนทางการ ทําใหเกิด
การเปลีย่ นแปลงหลายอยาง คือ
การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ ทําใหโครงสรางทางเศรษฐกิจเปลีย่ นจากการผลิตเพือ่ ยังชีพเปนการผลิตเพือ่ การคา
ทําใหทด่ี นิ และแรงงานมีความสําคัญมากขึ้น ขาวกลายเปนสินคาทีต่ อ งการในตลาดโลก แรงงานเสรีจงึ เปนทีต่ อ งการ
มีผลทําใหเกิดการเลิกทาส เลิกไพรในสมัยรัชกาลที่ 5
การเลิกไพร รัชกาลที่ 5 ทรงดําเนินการดังนี้
1. จัดตัง้ กรมทหารหนา
2. จายเงินแทนคาแรงงานประจําการ
3. ตราพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2431 กําหนดอายุไพรหลวงรับราชการ
4. ลดเงินคาราชการ
5. ประกาศใชพระราชบัญญัตลิ กั ษณะการเกณฑทหาร ร.ศ. 124 พ.ศ. 2448 เปนการประกาศใหมกี ารเกณฑ
ทหารทัว่ ประเทศ
การเลิกทาส
รัชกาลที่ 5 ทรงดําเนินการเลิกทาสอยางคอยเปนคอยไป ทีส่ าคั
ํ ญคือ
1. ประกาศใชพระราชบัญญัตพิ กิ ดั กระเษียณอายุลกู ทาสลูกไทย กําหนดใหลกู ทาสทีเ่ กิดใน พ.ศ. 2411 ซึง่ เปนปท่ี
พระองคครองราชย มีคา ตัวสูงสุด เมือ่ อายุ 7-8 ป และอายุ 21 ปกเ็ ปนไท
2. ตราพระราชบัญญัตเิ ลิกทาส พ.ศ. 2448 มีผลใชบงั คับตัง้ แต 1 เมษายน พ.ศ. 2448

153 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ มีการเปลีย่ นแปลงการคาโดยมีการคาขายกับตะวันตกมากขึน้ พระคลังสินคา


ไมมบี ทบาทในการคาขาย การคาเปลีย่ นจากระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพเปนเศรษฐกิจแบบการคา
การเปลีย่ นแปลงทางดานสังคม มีการปฏิรปู สังคมในสมัยรัชกาลที่ 5 หลายอยางเพือ่ เปนการเตรียมบุคลากรเขา
รับราชการ ทําใหมกี ารจัดการศึกษาแบบตะวันตกอยางจริงจัง รัชกาลที่ 5 มีบทบาทในการสรางคนในรูปแบบใหมทต่ี า งจาก
ระบบการศึกษาแบบวังและวัด ในสมัยเกา คือ โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ โรงเรียนแผนที่ โรงเรียนนายรอยทหารบก
โรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนนายเรือ ในสมัยนัน้ มีการตัง้ ทุนเลาเรียนหลวงเพือ่ สงคนเกงไปศึกษาตางประเทศ
การเปลีย่ นแปลงทางการปกครอง เนือ่ งจากชาติตะวันตกคุกคามดินแดนของเราอยางมาก จึงไดเริม่ มีการปฏิรปู
ระบบราชการตัง้ แต พ.ศ. 2435 โดยยกเลิกจตุสดมภและตัง้ กระทรวง 12 กระทรวงมาทํางานแทน ยึดหลักการปกครอง
หัวเมืองโดยสวนกลางใหมากทีส่ ดุ การปฏิรปู ระบบราชการมีผลทําใหเกิดรัฐแบบใหม เรียกวา ชาติหรือประเทศ
การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมไทยปจจุบนั ไดรบั อิทธิพลจากวัฒนธรรมภายนอกมากมาย ทีส่ ําคัญคือ
1. อินเดีย ไทยรับวัฒนธรรมดานการเมืองการปกครอง เชน การยกฐานะกษัตริยใ หเปนสมมติเทพ เปนเทวราช
ตามหลักศาสนาพราหมณ-ฮินดู ดานศาสนาก็มพี ธิ กี รรมในศาสนาพราหมณมาเกีย่ วของ เชน พระราชพิธบี รมราชาภิเษก
สําหรับภาษาและวรรณคดี ก็มกี ารนําเอาภาษาบาลี-สันสกฤตมาใชในภาษาไทย
2. จีน ศิลปกรรมแบบจีนรุง เรืองมากในสมัยรัชกาลที่ 3 นําเอาศิลปะแบบจีนมาผสมผสานในงานกอสราง เรียกวา
แบบพระราชนิยม เชน วัดราชโอรสาราม วัดเฉลิมพระเกียรติ ภาษาจีนถูกนํามาใชปะปนกับภาษาไทยอยางมาก วรรณกรรมจีน
เปนทีน่ ยิ มมากในสังคมไทย เชน เรือ่ งสามกก ประเพณีของจีน เชน ไหวเจา เช็งเมง กงเต็ก คนไทยก็นยิ มทําเชนกัน
3. ชาติตะวันตก มีจดุ ประสงคเขามาคาขายและเผยแพรศาสนา แตเราก็ไดรบั วัฒนธรรมของตะวันตกมาปะปน
กับวัฒนธรรมไทยหลายอยาง เชน รับเอาเรือ่ งการสรางปอมคาย การทําขนมหวาน เชน ฝอยทองมาจากโปรตุเกส รับเอา
ความรูเ รือ่ งดาราศาสตรมาจากฝรัง่ เศส
วัฒนธรรมไทยกอนสุโขทัย
เปนวัฒนธรรมเกีย่ วของกับศาสนาทัง้ ศาสนาพุทธ พราหมณและฮินดู มีวฒ
ั นธรรมในสมัยนีท้ ส่ี าคั
ํ ญคือ
- วัฒนธรรมของแควนทวารวดี ซึง่ ไดรบั อิทธิพลมาจากอินเดีย
- วัฒนธรรมของแควนศรีวิชัย เปนอิทธพลของศาสนาพุทธ ลัทธิหนิ ยาน
- วัฒนธรรมของแควนหริภุญชัย มีพทุ ธศาสนาเปนรากฐานของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย
- ดานสถาปตยกรรม นิยมสรางเจดีย 3 แบบ คือ เจดียท รงพุม ขาวบิณฑ หรือทรงดอกบัวตูม เจดียท รงลงกา
หรือทรงกลม และเจดียท รงเรือนธาตุ
- ดานประติมากรรม สรางพระพุทธรูปสําริดและเครือ่ งเคลือบ เรียกวา สังคโลก
- ดานวรรณคดี ไดแก ศิลาจารึกหลักตางๆ
วัฒนธรรมสมัยอยุธยา
- ดานสถาปตยกรรม การปลูกบานเรือนมี 2 แบบ คือ บานเรือนเครื่องผูก และเรือนเครือ่ งสับ สวนการสราง
วัดนิยมสรางเจดียย อ มุมไม 12
- ดานประติมากรรม สวนใหญเปนพระพุทธรูปสําริด
- ดานจิตรกรรม เนนเรือ่ งพุทธประวัติ โดยเฉพาะทศชาติ

154 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

วัฒนธรรมสมัยกรุงธนบุรแี ละตนรัตนโกสินทร
- ดานสถาปตยกรรม ในสมัยรัชกาลที่ 3 นิยมเลียนแบบจีน เรียกวา แบบพระราชนิยม
- ดานจิตรกรรม วาดภาพประดับฝาผนังโบสถและวิหาร
- ดานนาฏศิลปและวรรณกรรม กวีทม่ี ชี อ่ื เสียงในสมัยรัชกาลที่ 2 คือ สุนทรภู เจาพระยาพระคลัง (หน)
การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 4-พ.ศ. 2475
1. วิทยาการสมัยใหมเขามาโดยคณะมิชชันนารี มีการตัง้ โรงพิมพในไทยครัง้ แรก พ.ศ. 2379 มีการตัง้ โรงเรียน
ของคณะมิชชันนารี ทําใหคนไทยไดเรียนหนังสือ กระตุน ใหรฐั บาลนําระบบการศึกษาในโรงเรียนมาใชแทนการศึกษา
ในครอบครัว วังและวัด
2. ดานขนบธรรมเนียมประเพณี มีการเปลีย่ นแปลงในสมัยรัชกาลที่ 4 มาก เชน ใหสทิ ธิหญิงเลือกคูค รอง
รัชกาลที่ 5 เลิกการหมอบคลานเขาเฝา การเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมมีมากในสมัยรัชกาลที่ 6 เชน สงเสริมการมีภรรยาคนเดียว
ออกพระราชบัญญัตนิ ามสกุล ใช พ.ศ. แทน ร.ศ. เปนตน
3. ดานศิลปกรรม
- ดานจิตรกรรม รับการวาดภาพเหมือนของจริงมาจากตะวันตก
- ดานสถาปตยกรรม นําแบบตะวันตกมาใชในการกอสราง เชน สรางพระทีน่ ง่ั อนันตสมาคม มีการผสม
ศิลปะไทยกับศิลปะตะวันตก เชน พระทีน่ ง่ั จักรีมหาปราสาท
การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจของไทย
โครงสรางเศรษฐกิจของไทยแบงออกเปน 2 ชวง คือ
1. เศรษฐกิจแบบยังชีพ
เศรษฐกิจแบบยังชีพของสังคมไทยมีลกั ษณะกวางๆ ดังนี้
1. การผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือนหรือชุมชน มิไดผลิตเพื่อขาย
2. การเพาะปลูกเปนการพึง่ ธรรมชาติ
3. ชาวนาตองผลิตสิง่ ของเครือ่ งใชทง้ั หมดทีม่ คี วามจําเปนตอการดํารงชีวติ เอง
4. การแลกเปลีย่ น เปนการแลกเปลีย่ นสินคา
ในเมืองระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพมีลกั ษณะเปนแบบมูลนาย-ไพร ซึง่ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนการคาขาย
กับจีนคึกคักมาก สินคาของปาทีม่ าจากการเกณฑสว ยเปนทีน่ ยิ ม ภาษีอากรจะเก็บในรูปของสิง่ ของ เชน อากรคานา
เก็บเปนหางขาว ในสมัยรัชกาลที่ 2 มีชาวจีนอพยพเขามาตัง้ ถิน่ ฐานในไทย สวนไทยเขามาเปนกรรมกรรับจาง ในสมัย
รัชกาลที่ 3 มีการเปลีย่ นดานการจัดเก็บภาษีอากรโดยจัดระบบเจาภาษีนายอากร ซึง่ กอใหเกิดผลดีแกรฐั บาล
2. เศรษฐกิจแบบเงินตรา
เกิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 4 มีขอ รับทีส่ ําคัญทีส่ ดุ คือ การลงนามในสนธิสญ
ั ญาเบาวรงิ ซึง่ แสดงใหเห็นถึง
ความไมพอใจในสภาพการคาของไทยในชวงนัน้ คือ
1. การคาผูกขาดของพระคลังสินคา
2. นโยบายการเก็บภาษีทไ่ี มแนนอน
3. การใชสทิ ธิเลือกซือ้ กอนของรัฐบาลไทย

155 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรา มีผลตอการเปลีย่ นแปลงสังคมไทยดังนี้


1. วัตถุประสงคของชาวนานอกจากผลิตไวบริโภคแลว ยังทําเพือ่ ขายสูต ลาด ซึง่ เปนการสลายตัวของเศรษฐกิจ
แบบยังชีพโดยสิน้ เชิง
2. สังคมเมืองไมผลิตขัน้ ปฐมภูมแิ ตเปนผูซ อ้ื และกระจายการผลิตไปสูช นบท
3. เศรษฐกิจไทยถูกผนวกเขาเปนสวนหนึง่ ของเศรษฐกิจโลก
สนธิสญ
ั ญาเบาวรงิ 2398
สนธิสญ ั ญาเบาวรงิ กอใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทีส่ ําคัญในดานการคากับตางประเทศ คือ
1. ยกเลิกสินคาผูกขาด เลิกสินคาตองหาม และยกเลิกระบบการคาผูกขาดของพระคลังสินคาโดยสิน้ เชิง
2. ใหพอ คาติดตอคาขายกันไดโดยเสรี นําสินคาเขามาคาขายไดทุกชนิด นอกจากอาวุธซึง่ เมือ่ นําเขามาตองขาย
ใหรฐั บาลเทานัน้ สวนฝน จะตองขายใหเฉพาะเจาภาษีฝน ถาเจาภาษีไมซอ้ื ฝน เอาไว ใหบรรทุกกลับออกไป
3. พอคาสามารถซือ้ สินคาออกนอกประเทศไดทกุ ชนิด ไมมกี ารหวงหาม ยกเวน ขาว เกลือ ปลา รัฐบาลไทยยังคง
สงวนสิทธิท์ จ่ี ะประกาศหามมิใหสง ออกนอกประเทศได เมือ่ เกิดการขาดแคลนหรือทุพภิกขภัย
4. ยกเลิกคาธรรมเนียมปากเรือ เปลี่ยนมาเปนการเก็บภาษีขาเขา-ขาออก รอยละ 3

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง
การปกครองและศิลปวัฒนธรรมของชาติตะวันตก
การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและศิลปวัฒนธรรมของชาติตะวันตก
สมัยโบราณ
ตะวันตกในสมัยโบราณ หมายถึง บริเวณรอบๆ ทะเลเมดิเตอรเรเนียน ดินแดนของกรีกและโรมัน
ตะวันออกกลางเปนบริเวณทีม่ ีอารยธรรมของอียิปตและเมโสโปเตเมีย ซึง่ มีความเชือ่ ในอํานาจลึกลับของธรรมชาติ
เชื่อวา ผูป กครองมีอํานาจผูกพันกับศาสนาอยางแนนแฟน กลาวคือกษัตริยห รือฟาโรหทรงเปนโอรสของเทพเจา ราหรือเร
มรดกทีต่ ะวันออกกลางทิง้ ไว คือ
- อักษรภาพเฮียโรกลิฟก ของอียปิ ต - ซิกกูแรตของสุเมเรียน
- อักษรลิม่ คูนฟิ อรมของสุเมเรียน - สวนลอยแหงบาบิโลนของบาบิโลเนีย
- อักษรแทนเสียงของฟนเี ซีย - การแกะสลักสฟงซของอียปิ ต
- เทคนิคการกอสรางทีส่ าคั
ํ ญ คือ ประมิดของอียปิ ต - การแกะสลักภาพนูนตําของชาวอั ่ สซีเรีย
กรีก ยกยองเชิดชูเสรีภาพเหนือสิง่ อืน่ ใด กรีกรับวัฒนธรรมมาจากไมนวน เชือ่ ในเทพเจาหลายองค แตไมงมงาย
เหมือนพวกตะวันออกกลาง มีนกั ปรัชญาทีส่ าคัํ ญ คือ โซเครตีส เพลโต อริสโตเติล
ผลงานทีส่ าคั
ํ ญ คือ การกอสราง ซึง่ รับวัฒนธรรมของอียปิ ตมาดัดแปลง นิยมสรางวิหารบนทีส่ งู เพือ่ สักการะเทพเจา
ประดับดวยรูปแกะสลักเนนสรีระของมนุษยอยางสมจริง เชน วิหารพารเธนอน
วรรณกรรมทีส่ าคั
ํ ญ คือ นิทานอีสป มหากาพยของโฮเมอร

156 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

โรมัน เปนนักคิด ในขณะทีก่ รีกเปนนักปฏิบตั ิ เคารพระเบียบวินยั ยําเกรงอํานาจของพระเจา โรมันแบงคนออก


เปน 2 ชนชั้น คือ พวกพาทรีเชียน และพลีเบียนซึง่ เปนคนสวนใหญของประเทศ ความเปนนักปฏิบตั ขิ องชาวโรมันเห็น
ไดชดั ในดานสถาปตยกรรมซึง่ ชาวโรมันนิยมสรางสาธารณสถานมโหฬารเพือ่ ประโยชนของคนสวนรวม เชน สนามกีฬา
โคลอสเซียม
สมัยกลาง เปนสมัยทีส่ งั คมเมืองซบเซา ชุมชนกระจัดกระจายตามชนบท เขตปกครองแตกแยกเปนแควนเล็ก
แควนนอยทัว่ ยุโรปมีการปกครองแบบฟวดัล ศาสนาคริสตมอี ทิ ธิพลอยางมาก
ในยุโรปตะวันตก ศิลปะสมัยกลางแบงออกเปน 2 แบบ คือ
1. ศิลปะโรมาเนสค จุดเดนคือสถาปตยกรรมมีการสรางวิหารขนาดใหญเปนศูนยกลางของวัด
2. ศิลปะแบบโกธิกพัฒนามาจากโรมาเนสค เชน ศิลปะทีห่ ลุดจากอิทธิพลของกรีกและโรมันอยางแทจริง
สถาปตยกรรมสวนใหญจะสรางวิหาร ผนังบาง เจาะหนาตาง ติดกระจกสี สวางไสว
สมัยใหม ชวงแรก เกิดชนชั้นกลาง ซึง่ มีบทบาทสนับสนุนพระราชอํานาจของกษัตริยใ นการตอตานขุนนาง
ในระบบฟวดัล ทําใหเกิดการปกครองแบบราชาธิปไตยทีส่ มบูรณอกี ครัง้
ในชวงนีเ้ กิดการฟน ฟูศลิ ปวิทยาการ ซึง่ เปนการรือ้ ฟน ศิลปวรรณกรรมและวิชาความรูข องกรีกและโรมันมาใช
ใหความสําคัญแกความคิดของมนุษย เรียกวา แนวคิดแบบมนุษยนิยม การฟน ฟูศลิ ปวิทยาการควรเกิดควบคูก บั การ
ปฏิรปู ศาสนา ตอมาเกิดยุคแหงความรูแ จงหรือสมัยภูมธิ รรม ซึง่ มีสถาปตยกรรม จิตรกรรม และประติมากรรมสืบทอด
มาจากยุคราชาธิปไตย แตวรรณกรรมและดนตรีเปลีย่ นแปลงไปสูค วามเปนสมัยใหมชดั เจน กลาวคือวรรณกรรมนักเขียน
ไดแสดงความเชือ่ มัน่ ในเหตุผล กฎเกณฑ ระเบียบของสังคม และจักรวาล มุง สัง่ สอนและใหความเพลิดเพลินแกผอู า น
พยายามใหเห็นความตองการปรับปรุงสังคม เชน งานเขียนของมองเตสกิเออ วอลแตร และรุสโซ ในดานดนตรี
เปดโอกาสใหนกั แตงเพลง นักดนตรี นักรองทีม่ คี วามสามารถเฉพาะตัวไดแสดงความสามารถ เชน โมซารท บีโธเฟน
สมัยใหมชวงหลัง
ชวงนีส้ งั คมตะวันตกกลายเปนสังคมทุนนิยมอุตสาหกรรม ซึง่ มีความเจริญกาวหนาทางวัตถุอยางไมหยุดยัง้
มีการตืน่ ตัวเรือ่ งการปกครองแบบประชาธิปไตยเปนอยางมาก ชนชัน้ กลางไดสรางระบบเศรษฐกิจใหม คือ ระบบทุนนิยม
อุตสาหกรรม ซึง่ ทําใหเกิดระบบสังคมนิยมตามมา ควบคูก บั แนวคิดแบบเสรีนยิ มในระยะหลังมีการนําผลงานคนควา
ทางวิทยาศาสตรไปประยุกตใชเปนเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมอยางมากมายดวยแลว ก็ยง่ิ ทําใหความเชือ่ ทีว่ า วิทยาศาสตร
จะชวยใหมนุษยชาติเจริญกาวหนาตอไปอยางไมมที างสิน้ สุดเรียกแนวคิดนีว้ า ปฏิฐานนิยม
ในสมัยใหมชว งหลังผลงานดานศิลปะและวรรณกรรม จะพบวาแนวการสรางสรรคทจ่ี ะมีอทิ ธิพลมาจนถึงปจจุบนั
มีดงั นี้
1. แนวจินตนิยมหรือโรแมนติก เปนการยกยองเชิดชูเสรีภาพ และอารมณความรูส กึ ของปจเจกชน
- จิตรกรรม การเขียนภาพแสดงอารมณอยางเต็มที่ ใชสีสดชัดเจน
- วรรณกรรม พูดถึงความใฝฝน ความรักทีร่ นุ แรง ใชถอ ยคําออนหวาน บรรยายความงดงามของธรรมชาติ
เชน เรือ่ งเหยือ่ อธรรม ของ วิกเตอร ฮูโก
- ดนตรี เนนความรูสึก อารมณ และจินตนาการ เสียงใกลเคียงธรรมชาติ ทีส่ ําคัญ เชน ไชคอฟกี
2. แนวสัจนิยมหรือเรียลิสติก เปนการถายทอดความเปนจริงทีม่ อี ยูใ นสังคม โดยไมแทรกความรูส กึ สวนตัว
- จิตรกรรม เชน คนทุบหิน ของ กุสตาฟ คูรเ บต
- ศิลปะการละคร เปนการสะทอนสังคม เชน เรือ่ งปศาจ ของ เฮนริค ฮิบเซน
- วรรณกรรม เปนการตีแผชวี ติ จริงในสังคม เชน เรื่องโอลิเวอร ทวิสต ของ ชารลส ดิกเคนส

157 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การเปลีย่ นแปลงการเมืองการปกครองของชาติตะวันตก
สมัยโบราณ
สมัยโบราณตะวันตก หมายถึง บริเวณรอบทะเลเมดิเตอรเรเนียนเทานัน้ บริเวณนี้จะมีชนเผาตางๆ อพยพมาอยู
ทีส่ ําคัญคือ กรีกและโรมัน
ในตะวันออกกลาง ศาสนามีอทิ ธพลในการปกครองอยางมาก ทําใหเกิดระบบการปกครองแบบเทวราช เชื่อวา
ผูป กครองเปนบุคคลศักดิส์ ทิ ธิ์ ในระบบการปกครองแบบนีป้ ระชาชนตองเชือ่ ฟงผูป กครองโดยไมมขี อ แม
การปกครองของกรีกในนครรัฐตางๆ แบงออกเปน 2 อยาง คือ แบบคณาธิปไตยจะปกครองในรัฐสปารตา
ซึง่ เปนสังคมทหาร สวนเอเธนสเปนรัฐการคา มีการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง
โรมันเปนรัฐทีป่ กครองแบบอภิชนาธิปไตย มีสภาซีเนทและมีกฎหมายลายลักษณอกั ษรไว
สมัยกลาง เปนสมัยทีอ่ านารยชนเผาตางๆ มารุกรานยุโรป จักรวรรดิโรมันลมสลาย มีการสรางการปกครอง
แบบใหม เรียกวา ระบบฟวดัลหรือศักดินาสวามิภกั ดิข์ น้ึ มาแทน ทําใหกษัตริยไ มมอี านาจอย
ํ างแทจริง อํานาจอยูท ข่ี นุ นาง
และอัศวิน ซึง่ กระจายอยูใ นชนบท
สมัยใหม การปกครองสมัยใหมเปลีย่ นจากการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนแบบประชาธิปไตย
ซึง่ มีพน้ื ฐาน มาจากปจจัย 4 ประการ คือ
1. การฟน ฟูศลิ ปวิทยาการ
2. การปฏิรปู ศาสนา
3. ความคิดเห็นเกีย่ วกับประชาธิปไตย
4. ชนชั้นกลาง
แนวคิดเกีย่ วกับระบอบประชาธิปไตย
โทมัส ฮอบส เปนคนอังกฤษ เขียนหนังสือทีโ่ ดงดัง ชื่อ Leviathan เขามีความคิดวา มนุษยอยูโดดเดี่ยว
แยงชิงกันไมดี จึงมาอยูร วมกันเปนสังคมและมอบหมายใหคนคนหนึง่ ปกครอง คือ กษัตริย มนุษยตอ งเชือ่ ฟงกษัตริย
แตกษัตริยไ มสามารถออกกฎหมายไดตามความพอใจ กษัตริยแ ละมนุษยตา งรวมกันออกกฎหมาย กลาวคือ การปกครอง
กษัตริยต อ งมาจากความยินยอมของประชาชน
จอหน ลอค เปนคนอังกฤษ เขียนสาระวาดวยขันติธรรมและนิพนธวา ดวยการปกครอง เขาเสนอแนวความคิดวา
ดวยสัญญาประชาคมเหมือนฮอบส แตลอคตองการใหมกี ารสรางความสมดุลระหวางอํานาจบริหาร ตุลาการ และนิต-ิ
บัญญัติ รัฐบาลจะมีความชอบธรรมในการปกครองไดเมือ่ มีการประกาศกฎหมายทีม่ เี หตุผล รัฐบาลตองมาจากคนทีเ่ ปน
ตัวแทนของประชาชน ถารัฐบาลไมดปี ระชาชนสามารถบอกเลิกสัญญาได
มองเตสกิเออร เปนนักคิดชาวฝรัง่ เศส เขียนเรือ่ งวิญญาณกฎหมาย ไดรบั ยกยองวาเปนบิดาแหงทฤษฎีการแบงแยก
เพราะเขาเสนอใหมกี ารแบงอํานาจการปกครองเปน 3 ฝาย คือ อํานาจบริหาร อํานาจนิตบิ ญ ั ญัติ และอํานาจตุลาการ
แตละอํานาจไมกา วกายกัน
ฌอง ฌาคส รุสโซ เปนนักคิดชาวฝรั่งเศส เขียนเรือ่ งสัญญาประชาคม เขาคิดวาอํานาจเกิดจากการทําสัญญา
รวมกันของมนุษย และตัง้ รัฐบาลขึน้ มาปกครอง ซึง่ เรียกวา มนุษยมเี จตจํานงทัว่ ไป แตมนุษยกย็ งั คงรักษาเจตจํานงเสรี
ของตนอยู การทีม่ นุษยมารวมกัน เรียกวา เปนองคอธิปต ย รัฐบาลตองยอมรับความตองการของประชาชน รัฐบาล
อาจถูกถอดถอนไดถา สนใจเจตจํานวทัว่ ไปของประชาชน

158 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

พัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยในชาติตะวันตก
การปฏิวตั กิ ารเมืองการปกครองในอังกฤษ
พัฒนาการการปกครองแบบประชาธิปไตยของอังกฤษ เริม่ เมือ่ ปลายสมัยกลาง โดยมีลําดับดังนี้
- พ.ศ. 1758 พระเจาจอหนที่ 5 ถูกขุนนางบังคับใหลงนามในกฎบัตร Magna Carta ซึง่ เปนการจํากัดอํานาจ
ของกษัตริย
- กษัตริยไ มคอ ยยอมจึงเกิดสงครามกลางเมือง และมีการปกครองแบบสาธารณรัฐระยะหนึง่ ตอมาฟน ฟูระบบ
กษัตริยข น้ึ มาใหม
- พ.ศ. 2231 เกิดการปฏิวตั อิ นั รุง โรจน มีการประกาศพระราชบัญญัตวิ า ดวยสิทธิ (Bill of Rights) ซึง่ เปนการ
ทําใหการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยสน้ิ สุดลง
- พ.ศ. 2375 ประกาศใชพระราชบัญญัตปิ ฏิรปู (Reform Bill)
- พ.ศ. 2410 ขยายสิทธิการเลือกตัง้ ใหสามัญชน
การปฏิวตั กิ ารเมืองการปกครองในสหรัฐอเมริกา
แนวคิดเรือ่ งสัญญาประชาคมเขามามีอทิ ธิพล โดยอาณานิคม 13 แหงของอังกฤษในอเมริกา ถูกตักตวงผลประโยชน
จากอังกฤษมาก จึงเกิดการตอตานอังกฤษ เกิดเหตุการณรนุ แรงขึน้ เมือ่ รัฐสภาอังกฤษออกกฎหมายการเดินเรือ เรียกวา
Navigater Acts ใหเรืออังกฤษเทียบทาบรรทุกสินคาของอาณานิคมมายังทาเรืออังกฤษ โดยบังคับใหคา ขายกับอังกฤษ
เทานัน้ และหามคาขายแยงกับอังกฤษ นอกจากนัน้ ยังออกกฎหมายแสตมปมาขึน้ ภาษีอกี ทําใหชาวอาณานิคมไมพอใจ
ประทวงโดยการเผาแสตมป ตอมารัฐสภาอังกฤษยืนยันการผูกขาดสินคาเขาใบชา ทําใหอาณานิคมรวมตัวกันเรียกรอง
ประชาธิปไตยและประกาศเอกราช เมือ่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1783 อิทธิพลของการปฏิวตั อิ เมริกาสวนใหญมาจากความคิด
ของจอหน ลอค
การปฏิวตั กิ ารเมืองการปกครองในฝรัง่ เศส
การปกครองของฝรัง่ เศสรุง เรืองมากในสมัยพระเจาหลุยสที่ 14 หลังจากนัน้ เกิดความเสือ่ มโทรมทางดานเศรษฐกิจ
การเมืองและสังคมอยางมาก โดยเฉพาะในสมัยพระเจาหลุยสที่ 16 มีการเรียกรองเสรีภาพโดยเสนอใหรฐั บาลแกไขปญหา
ทีเ่ กิดจากระบบเกา กษัตริยก ย็ อมทําตามโดยการเรียกประชุมสภาฐานันดร ซึง่ ตกลงกันเรือ่ งการลงคะแนเสียงไมได
ทําใหมกี ารกอตัง้ สภาแหงชาติขน้ึ และมีการเดินขบวนไปทําลาย ซึง่ เปนสัญลักษณของการเอาเปรียบประชาชน ทําให
การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยสน้ิ สุดลง

159 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง
สังคมและศิลปวัฒนธรรมของชาติตะวันออก
การเปลีย่ นแปลงทางการเมืองการปกครอง
เอเชียตะวันตกเฉียงใต
ในสมัยโบราณเนือ่ งจากมีสภาพภูมปิ ระเทศทีแ่ ตกตางกันทําใหผปู กครองตองมีความเขมแข็ง สวนใหญเปนกษัตริย
ในสมัยกลางเมือ่ ศาสนาคริสตเขมแข็งในยุโรป ศาสนาอิสลามก็มามีอทิ ธิพลแถบนี้ และเนือ่ งจากมีอาณาเขตติดตอกับ
ยุโรปจึงมีความขัดแยงทางดานศาสนากัน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต
ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสว นใหญตกอยูใ ตการปกครองของตะวันตก และมีขบวนการชาตินยิ มเรียก
รองเอกราชในชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เชน พมาถูกอังกฤษยึดครอง เพราะอางวาเคยเปนสวนหนึง่ ของอินเดีย กลุมผูนํา
ขบวนการชาตินยิ ม คือ อองซาน อูนุ เนวิน โดยญีป่ นุ ชวยเหลือในการจัดหาอาวุธ มีการกอตัง้ สันนิบาตเสรีชนตอตาน
ฟาสซิสต (Anti-Fascist People's Freedom Leage = AFPFL)
เอเชียตะวันออก
จีน มีการปกครองแบบกษัตริยท ง้ั โดยสืบทอดทางสายโลหิตและการยึดอํานาจการปกครองโดยอางวาเปนบัญชา
จากสวรรค การปกครองแบบกษัตริยข องจีน ถูกคัน่ ดวยการปกครองแบบศักดินา ในสมัยราชวงศโจว กษัตริยไ ดตอบ
แทนบุญคุณแมทพั ทีช่ ว ยแยงอํานาจจากราชวงศเดิมดวยการแบงทีด่ นิ ให ในสมัยราชวงศจน๋ิ กลับมาปกครองแบบกษัตริย
เหมือนเดิม โดยยึดหลักนิตธิ รรมนิยมในการปกครองและพัฒนาสังคม และไดสบื ทอดการปกครองแบบนีม้ าจนถึงปลาย
คริสตศตวรรษที่ 19 จีนตองประสบปญหาภายในและถูกกดดันจากตะวันตก ค.ศ. 1911 จีนไดปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลง
การปกครองเปนระบอบสาธารณรัฐ มี หยวนซีไข เปนประธานาธิบดีคนแรก หลังจากอสัญกรรมของหยวนซีไข จีนอยูใ น
ยุคขุนศึก 3 ป ประเทศอยูใ นสภาพแตกแยก แนวความคิดแบบคอมมิวนิสตเขามาในจีน ค.ศ. 1949 พรรคคอมมิวนิสต
ไดขนึ้ มาบริหารประเทศ การปกครองเปนแนวสังคมนิยม มีพรรคเดียว ปกครองประเทศ เมือ่ เหมาเจอตุงถึงแกอสัญกรรม
จีนกาวสูย คุ 4 ทันสมัย เศรษฐกิจเปนเสรีมากขึน้ เดือนมิถนุ ายน ค.ศ. 1989 เกิดจลาจลทีจ่ ตั รุ สั เทียนอันเหมิน รัฐบาล
ปราบปรามนักศึกษาอยางรุนแรง ค.ศ. 1996 พรรคคอมมิวนิสตอายุครบ 75 ป พรรคไดแถลงวาพรรคยังคงสําคัญสูงสุด
ในโครงสรางทางการเมืองของจีน เพราะมีสมาชิกมากกวา 57 ลานคน
ญี่ปุน มีจกั รพรรดิปกครองมานานมาก ระหวางคริสตศตวรรษที่ 9-19 ญีป่ นุ ตกอยูภ ายใตการปกครองของ
ตระกูลตางๆ ทีผ่ ลัดเปลีย่ นกันขึน้ มามีอานาจ
ํ ซึง่ มีตาแหน
ํ งเปนโชกุนซึง่ เปนตําแหนงทีส่ บื ทอดตามสายโลหิต คริสตศตวรรษที่
16 ญีป่ นุ เริม่ ติดตอกับตะวันตก และดวยความหวาดระแวงตะวันตกจึงประกาศปดประเทศตัง้ แตคริสตศตวรรษที่ 17-19
ค.ศ. 1868 จักรพรรดิมสิ ซูฮโิ ตปฏิรปู ประเทศ เรียกวา สมัยเมจิ ยกเลิกตําแหนงโชกุน ประกาศใชรฐั ธรรมนูญ
มีรฐั สภาไดแอต ประกอบดวย สภาขุนนางและสภาผูแ ทนราษฎรเปนผลใหญป่ี นุ พัฒนาไดหลายทาง และขยายอํานาจออก
ไปนอกประเทศดวยการทําสงคราม การรุกรานเพือ่ นบานทําใหญป่ี นุ ตองประสบกับความพายแพในสงครามโลกครัง้ ที่ 2
และทําใหอเมริกาเขามาครอบครอง หลังจากเปนเอกราชญีป่ นุ ปกครองแบบรัฐสภา

160 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

เกาหลีใต ปกครองดวยระบบจักรพรรดิ มีสภาพภูมปิ ระเทศทีถ่ กู ขนาบดวยญีป่ นุ จีน และรัสเซีย ทําใหไมมี


ความมัน่ คงในการปกครองในสมัยจักรวรรดินยิ ม เกาหลีถกู แยงชิงระหวางจีนกับญีป่ นุ ญีป่ นุ กับรัสเซีย และใน ค.ศ.
1965 ก็ตกอยูภ ายใตการปกครองของญีป่ นุ แตยงั คงมีจกั รพรรดิปกครองอยู เกาหลีใตไดรบั เอกราชหลังสงครามโลก
ครัง้ ที่ 2 และมีปญ
 หาความแตกแยกทางการเมืองทําใหเกิดสงครามเกาหลี และประเทศถูกแบงแยกเปน 2 ประเทศ มี
การปกครองตางกัน จากนัน้ มีการเลือกตัง้ เสรีและปกครองกันเอง เกิดปญหาอยางมากในการปกครอง ประชาชนอดอยาก มี
การเดินขบวนตอตาน
เกาหลีเหนือ ปกครองแบบคอมมิวนิสต มีประธานาธิบดีปกครอง ประธานาธิบดีคนแรกบริหารประเทศโดยไดรบั
ความชวยเหลือ จากรัสเซียและจีน เมือ่ รัสเซียลมสลายและจีนไมไดใหความชวยเหลือแลว เกาหลีเหนือตองประสบปญหา
ในการพัฒนาประเทศ ความคิดทางการเมืองแตกแยก และเกิดภาวะขาดแคลนอาหารอยางหนัก ทําใหอเมริกามีโอกาส
เขามาเพื่อรวมเกาหลี
เอเชียใต
อินเดีย มีกษัตริยป กครอง มีศกึ สงครามบอย กษัตริยม อี านาจมาก
ํ เชือ่ วาตนเปนสมมติเทพ ในสมัยเมารยะ
เปนสมัยแรกทีอ่ นิ เดียรวมเปนอาณาจักรใหญและไดเขียนตําราเกีย่ วกับการปกครอง เรียกวา ราชศาสตร คริสตศตวรรษ
ที่ 10 มุสลิมเขามาปกครองอินเดีย ไดจดั ระบบการปกครองอยางเปนระเบียบเรียบรอยซึง่ เปนประโยชนตอ อังกฤษ
ในเวลาตอมา ค.ศ. 1858 อังกฤษควบคุมอินเดียไดเกือบทัง้ หมด และแบงอินเดียออกเปน 500 แควน และยินยอมให
บางสวน มีเจาปกครองดูแลเอง อังกฤษสรางความเปนเอกภาพในการปกครองใหแกอนิ เดียเปนอยางมาก เพราะมี
ระเบียบบริหารราชการ กฎหมายและการศาลแบบเดียวกันทัว่ ประเทศ แมจะมีความแตกตางกันทางเชือ้ ชาติและภาษาก็ตาม
หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มหาตมคานธี เยาวราลห เนหรู กอตัง้ กรรมการกูช าติ เรียกรองเอกราชสําเร็จ พรรคคองเกรส
ซึง่ มีแนวคิดสังคมนิยมไดรบั เสียงขางมาก มีเนรูเปนนายกรัฐมนตรีคนแรกและเปนพรรคทีไ่ ดรบั ความนิยมตลอดมา
อินเดียจัดไดวา เปนประเทศทีม่ รี ะบบการปกครองแบบประชาธิปไตยทีใ่ หญมากทีส่ ดุ แหงหนึง่ ในโลก การเปลีย่ นแปลง
ทางการเมืองทุกดานจะเปลีย่ นแปลงไปในวิถที างประชาธิปไตยทุกครัง้
ปากีสถาน แยกตัวออกจากอินเดียแบงเปนปากีสถานตะวันตกและตะวันออก โดยปากีสถานตะวันออกจัดตัง้
ประเทศบังกลาเทศขึน้ ในป ค.ศ. 1971 ทัง้ 2 ประเทศมีแนวโนมปกครองแบบเผด็จการ
เอเชียกลาง
เปนบริเวณทีอ่ ยูใ นทีส่ งู อากาศหนาว คนมีอาชีพเรรอ นเลีย้ งสัตว การปกครองของแควนตางๆ ในสมัยโบราณมัก
จะไดมาดวยการใชกองทัพเขาโจมตี แควนตางๆ ทีม่ คี วามเจริญมักจะอยูท างตะวันออกเฉียงใตของภูมภิ าค เชน อุชเบกิสถาน
คาซักสถาน หลังจากพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชยึดครองเอเชียกลาง เตอรกไดเขามายึดครองตอและเผยแพรศาสนา
อิสลาม คริสตศตวรรษที่ 13 เจงกริสขาน ชาวมองโกลมายึดครอง ตอมาอาณาจักรรัสเซียสามารถขับไลมองโกลไดสําเร็จ
ประมาณ ค.ศ. 1830 และมีอํานาจในดินแดนนี้ การปกครองของมองโกลและชารของรัสเซียมีลกั ษณะเหมือนกันคือให
แควนตางๆ ปกครองตนเองและสงเครีอ่ งราชบรรณาการมาให ค.ศ. 1917 รัสเซียเกิดการปฏิวตั ขิ องพวกบอลเซอรวชิ
กษัตริยถ กู สังหาร การปกครองเปลีย่ นเปนสังคมนิยมคอมมิวนิสต ระยะแรกมีพวกตอตานทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจาก
อังกฤษแตถกู ปราบได ประเทศตางๆ ในเอเชียกลางจึงถูกผนวกเปนสาธารณรัฐของรัสเซียและถูกปกครองอยางเขมงวด
ทําใหประเทศลาหลังคนจึงไมพอใจ ค.ศ. 1980 ประธานาธิบดีกอรบาชอบรมนี โยบายปฏิรปู ระเทศ เรียกวา เปรเรสรอยกา
หมายถึง การเปลีย่ นแปลงและคลาสนอติก หมายถึง การเปดกวางผลการดําเนินการทําใหยกเลิกสหภาพโซเวียต
สังคมนิยมและจัดการปกครองขึน้ ใหมในรูปรัฐอิสระ

161 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม
เอเชียตะวันออก
จีน ในสมัยราชวงศชางมีการพัฒนาการใชตวั หนังสือโดยเขียนบนกระดูกสัตวเรียกกระดูกเสีย่ งทาย ซึง่ แสดงให
เห็นความเชือ่ ความลีล้ บั ทางธรรมชาติตอ จากราชวงศชางมีหลายราชวงศปกครองจีนทีส่ าคั
ํ ญคือ ราชวงศโจว ซึง่ มีนกั ปรัชญา
เกิดขึ้นหลายคน เชน ขงจือ๊ เลาจือ๊ เมงจือ๊
ราชวงศจน๋ิ เปนกําเนิดของคําวาจีนและสรางกําแพงเมืองจีน
ราชวงศฮั่น มีการขุดคลองเพือ่ การชลประทานขนาดใหญ คือ คลองเชือ่ มเมืองหลวงกับแมน้าฮวงโห ํ สถาปนา
ความเชื่อของลัทธิขงจื๊อ เชน ศาสนาประจําชาติ มีการสอบจอหงวนเพือ่ เขารับราชการ และเปดเสนทางสายแพรไหม
สมัยราชวงศถงั เปนยุคทองของจีน ศาสนาพุทธเจริญรุง เรืองมาก เปดเสนทางสายแพรไหมทางทะเล
สมัยราชวงศซอ ง จีนประดิษฐแทนพิมพหนังสือได มีวิธีการฝงเข็ม ประเพณีการรัดเทาสตรี
สมัยราชวงศมองโกลหรือหยวน เปนราชวงศทจ่ี กั รพรรดิกบุ ไลขานมายึดครอง สมัยนีต้ ดิ ตอกับสุโขทัย มีมารโคโปโล
มารับราชการ
สมัยราชวงศหมิง จีนขับไลอานารยชนออกไป พยายามฟน ฟูยคุ ทองของจีน ฟน ฟูการคาขายกับตางประเทศอีกครั้ง
โดยจีนผลิตทัง้ เครือ่ งเคลือบและผาไหมออกจําหนาย
สมัยราชวงศชิงหรือเช็ง เปนราชวงศสดุ ทายของจีน เปนพวกแมนจูหา มทหารของตนแตงงานกับคนจีน ตําแหนง
ราชการสําคัญก็สงวนไวใหคนแมนจู ใหไวผมแบบแมนจู
นักปรัชญาเมธีจนี
ขงจือ๊ มีชวี ติ สมัยเดียวกับพระพุทธเจา เขาไมพอใจกับความวุน วายในสมัยราชวงศโจว ขงจือ้ เนนการสรางความ
สัมพันธของตนในสังคมทุกคนตองปฏิบตั ติ ามบทบาทและหนาทีข่ องตน จักรพรรดิถอื เปนผูป กครองสูงสุดใหความ
สําคัญตอการศึกษาเลาเรียน
เมงจือ๊ คิดคลายขงจือ๊ เชือ่ วามนุษยนน้ั ดีแตสภาพแวดลอมทําใหเสีย มนุษยจะดีไดตอ งไดรบั การศึกษาเลาเรียน
เลาจือ๊ เปนเจาของลัทธิเตาซึง่ มีทรรศนะตรงขามกับลัทธิขงจือ๊ เชือ่ วาโลกเต็มไปดวยความเลวราย มนุษยควรสละ
ไปอยูก บั ธรรมชาติลทั ธิเตาสอนเรือ่ งความรัก การถอมตน ความไมเห็นแกตวั และคัดคานพิธกี รรมตางๆ ของลัทธิขงจือ๊
นิยายและเรือ่ งสัน้
- ไซอิว๋
- ความฝนในหอแดง
- วารสารเยาวชนใหม
หลูซน่ิ เปนผูใ หกําเนิดวรรณกรรมใหมของจีน เขียนเรือ่ งบันทึกคนบา
อินเดีย มีอารยธรรมเกาแกในลุม แมนาสิ
้ํ นธุที่เมืองฮาลัมปาโมเอนโอดาโร ซึง่ แสดงใหเห็นถึงความเจริญของคน
อินเดียสมัยโบราณ พบรูปปน ของมนุษยและสัตว บางทีพบรูปองคเทพมาตาแสดงใหเห็นถึงการบูชาเทวดาผูห ญิง

162 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สมัยแควนมคชและราชวงศเมารยะ เปนสมัยเริม่ ยุคใหมของอินเดียทีพ่ ยายามจะรวบรวมใหอนิ เดียเปนอันหนึง่


อันเดียวกัน พระเจาอโศกมหาราชจึงทําสงครามขยายดินแดนประสบชัยชนะหลายครัง้ แตมคี นตายเปนจํานวนมาก ทําให
พระเจาอโศกมหาราชเปลีย่ นใจมานับถือศาสนาพุทธและไดสรางสถูปสัญจี และเสาอโศกจารึกหลักธรรมทางศาสนา
ราชวงศคปุ ตะ เปนยุคทองของอินเดียตรงกับสมัยราชวงศถงั ของจีน ไดพฒ ั นารูปแบบการปกครองแบบจักรพรรดิ
หรือราชาธิราชทํ าใหกษัตริยเปนเหมือนราชาของจักรวาลและเกิดระบบบรรณาการขึ้นระบบการปกครองและสังคมของ
อินเดียสมัยนีม้ พี น้ื ฐานมาจากศาสนาฮินดูและพราหมณ สวนวรรณคดีมกี วีทม่ี ชี อ่ื เสียง คือ การิทาสแตงบทละครเรือ่ งศ
กุลตลา พบภาพวาดทีม่ ชี อ่ื เสียงในถําอชั
้ นตะ ซึง่ เปนภาพเกีย่ วกับพุทธประวัติ มีการคาขายทางทะเลกับอาณาจักรโรมัน และ
ประเทศตางๆ ในแหลมมลายู ราชวงศคปุ ตะเสือ่ มลง พวกมุสลิมเขามารุกรานตัง้ ราชวงศใหม คือ ราชวงศโมกุล ปก
ครองอินเดีย ทําใหลกั ษณะการปกครองผสมระหวางฮินดูกบั มุสลิม แตศาสนาฮินดูถอื วาเปนศาสนาหลัก ตอมาอังกฤษ
ขยายตัวเขามาในอินเดีย โดยยึดเมืองทาสําคัญ 3 แหง คือ กัลกัตตา มัทราส บอมเบล และปกครองอินเดียทัว่ ประเทศ

ความกาวหนาทางวิทยาการในสมัยใหม
การปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตรเกิดขึน้ ในสาขาวิชาดาราศาสตร มีนกั ดาราศาสตรทส่ี าคั
ํ ญหลายคน เชน นิโคลัส คอ
เปอรนิคัส กาลิเลโอ กาลิเลอี ฟรานซีส เบคอน การปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตรดาเนิํ นมาถึงตอนที่เขมขนที่สุดเมื่อ เซอร
ไอแซก นิวตัน ไดคน พบกฎสากลวาดวยแรงดึงดูดหรือแรงโนมถวงของมวลสาร
การปฏิวตั ทิ างเกษตรกรรม
เกิดขึน้ ในอังกฤษเปนประเทศแรก มีสาเหตุมาจาก
1. การเปลีย่ นแปลงวิธกี ารเพาะปลูก
2. การตอบสนองความตองการของตลาดโพนทะเล
3. แรงงานภาคเกษตรลดลง
4. การเปลีย่ นกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ จากขุนนางเปนชนชัน้ กลาง
5. ความกาวหนาดานเทคนิคการเกษตร
การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม
สาเหตุ
1. การขยายตัวทางการคา
2. การเพิ่มขึ้นของประชากร
3. เงินทุน
4. ความกาวหนาของการประดิษฐคดิ คน
การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมระยะที่ 1 หรือสมัยแหงพลังไอนํ้า
มีลกั ษณะเดน คือ
1. เทคโนโลยีทใ่ี ชไมมคี วามสลับซับซอนมากนัก
2. สวนใหญเปนเครือ่ งจักรในอุตสาหกรรมทอผา
3. การทําอุตสาหกรรมเหล็กเปนวัสดุพน้ื ฐานของการทําอุตสาหกรรมอืน่ ๆ จนไดชื่อวา การปฏิวตั ยิ คุ เหล็ก
4. สินคาทีผ่ ลิตสวนใหญตอบสนองความตองการของโพนทะเล

163 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมระยะที่ 2
มีลกั ษณะเดน คือ
1. กําเนิดอุตสาหกรรมใหมๆ เชน อุตสาหกรรมเคมี เครือ่ งจักรกล
2. มีความกาวหนาทางอุตสาหกรรมมากขึน้ เพราะมีการนําเอาวิธคี น ควาวิจยั ทางวิทยาศาสตรมาใช
3. มีการนําพลังงานใหมๆ มาใช
4. ไดชอ่ื วาการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมเหล็กกลา
5. มีการจัดระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรมใหมขน้ึ
6. มีระบบการลงทุนทีม่ สี ถาบันการเงินเขาควบคุมกิจการอุตสาหกรรมในฐานะผูถ อื หุน รายใหญ
การปฏิวตั อิ ต
ุ สาหกรรมระยะที่ 3 หรือสมัยแหงการคนพบ
อิเล็กทรอนิกส
มีลกั ษณะเดน คือ
1. เปนความกาวหนาทางวิทยาการทีเ่ กีย่ วกับชีวติ ประจําวันมากทีส่ ดุ
2. จากการคนพบไฟฟาเปนผลใหการสือ่ สารไดรบั การพัฒนาใหกา วหนามากขึน้
ผลดีของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในดานเศรษฐกิจ
1. กําเนิดระบบโรงงานซึง่ มีการทํางานแบบจําแนกความชํานาญเฉพาะอยาง
2. การเปลีย่ นแปลงวิธกี ารผลิต คุณภาพและผลผลิตทําใหสนิ คามีมาตรฐานเดียวกันและมีจํานวนเพิ่มขึ้น
3. ทําใหเกิดการติดตอกับตางประเทศเพราะมีสนิ คาไมเหมือนกัน
ผลเสียของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในดานเศรษฐกิจ
1. เกิดความไมเทาเทียมกันทางดานเศรษฐกิจ
2. ทรัพยากรธรรมชาติเสือ่ มโทรม
ผลดีของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในดานสังคม
1. เกิดความเจริญของบานเมือง
2. เกิดความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิตประจําวัน
3. อัตราการตายลดลง ทําใหมแี รงงานทีจ่ ะใชในโรงงานมากขึน้
ผลเสียของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในดานสังคม
1. เกิดปญหาการขูดรีดแรงงาน
2. เกิดชนชั้นกลางใหมและชนชั้นกรรมาชีพ ทําใหเกิดการแบงแยกชนชัน้
3. ปญหาชุมชนแออัด
4. เกิดความขัดแยงในสังคมเนือ่ งจากความเหลือ่ มลํ้าทางรายได
ผลดีของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในดานการเมือง
1. เกิดลัทธิเศรษฐกิจและลัทธิการเมืองใหม คือลัทธิเสรีนยิ มและสังคมนิยม
2. ชนชั้นกลางเขามามีอํานาจทางการเมือง
3. เกิดการตอสูข องชนชัน้ กรรมกร

164 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ผลเสียของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในดานการเมือง
1. การเกิดลัทธิจกั รวรรดินยิ ม
2. การเรียกรองสวัสดิการของชนชัน้ กรรมกร
3. การแขงขันกันสรางแสนยานุภาพ
4. ความแตกตางทางดานอุดมการณทางการเมือง
ผลกระทบของความกาวหนาทางวิทยาการทีม่ ตี อ ประเทศไทย
หลังจากไทยเปดประเทศเขาสูร ะบบการคาเสรีในสมัยรัชกาลที่ 4 แลวการขยายตัวของอิทธิพลตะวันตกไดปรากฏ
เดนชัดขึ้นดวยสาเหตุที่สําคัญ คือ
1. ชนชั้นนําของไทยรุน ใหม ยอมรับคติ คุณคา วิทยาการ ความรูท ง้ั หมดจากตะวันตก
2. ระบบเศรษฐกิจไทยถูกผนวกเปนสวนหนึง่ ของเศรษฐกิจโลก
การพัฒนาดานการเกษตร
มีการนําเครือ่ งจักรมาใชในการขุดคลองซึง่ เดิมใชแรงงานคน เปนเครือ่ งจักรของบริษทั ขุดคลองแลคูนาสยาม
ขุดคลองรังสิต เพือ่ ขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกและสัง่ ไถเหล็กมาใชแตน้าหนั
ํ กมากเกินไป
นอกจากนัน้ บริษทั กสิกรรมสยามนําเครือ่ งยนตสําหรับไถนามาใช แตราคาแพงเกินไป เครือ่ งจักรกลมามีบทบาท
ดานเกษตรอีกอยาง คือ ใชในกิจการโรงสี
การพัฒนาดานคมนาคม
รัชกาลที่ 4 ตัดถนนเพือ่ ใหรถยนตวงิ่ ในกรุงเทพฯ ทีส่ าคั
ํ ญคือ ถนนเจริญกรุง ถนนบํารุงเมือง และถนนเฟอ งนคร
รัชกาลที่ 5 ตัดถนนราชดําเนินฯ เริม่ โครงการสรางทางรถไฟไปยังภาคตางๆ ของประเทศ ซึง่ ระยะแรกสรางเพือ่
เหตุผลทางการเมือง คือ ปราบกบฏทีเ่ กิดในภูมภิ าคตางๆ นอกจากนัน้ ยังไดนาโทรเลขและโทรศั
ํ พทเขามาใชเปนครัง้ แรก

ปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ
สาเหตุของสงครามโลกครัง้ ที่ 1
1. ปญหาแหลมบอลขาน รุสเซีย และออสเตรีย-ฮังการีตา งแขงขันกันทีจ่ ะขยายอิทธิพลเหนือดินแดนตางๆ
ในแหลมบอลขาน ซึง่ สวนใหญอยูใ นการปกครองของตุรกี ในระยะแรกๆ ออสเตรีย-ฮังการี ใหความสนับสนุนตุรกี
แตในระยะตอมาก็พยายามขยายอํานาจและอิทธิพลของตนในแหลมบอลขาน ในขณะทีร่ สั เซียใหการสนับสนุนเซอรเบีย
บัลแกเรียและกรีซจนกลายเปนกรณีพพิ าททีล่ กุ ลามขยายตัว
2. ปญหาลัทธิชาตินยิ ม การแขงขันในดานผลงานทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศในยุโรปตัง้ แตตน
ทศวรรษที่ 16 เปนตนมากอใหเกิดความรูส กึ ชาตินยิ มอยางรุนแรงจนเกิดสงครามยอยๆ เสมอ ในชวงกอนสงครามโลก
ครัง้ ที่ 1 ลัทธิชาตินยิ มทวีความรุนแรงมากขึน้ จนเกิดความรูส กึ วาสงครามเปนเรือ่ งของการรักษาเกียรติภมู ขิ องชาติ
ในขณะทีช่ นกลุม นอยทีอ่ ยูใ ตการปกครองของมหาอํานาจตองการเอกราช จึงรวมตัวกันอยางลับๆ สรางความขัดแยง
3. ลัทธิจกั รวรรดินยิ ม เกิดจากความสําเร็จของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ทําใหตอ งแขงขันหาตลาดระบายสินคาและ
วัตถุดบิ

165 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

4. การแขงขันดานแสนยานุภาพ เมือ่ มีความขัดแยงทําใหประเทศตางๆ เพิม่ แสนยานุภาพ ความอดทน


ในการเจรจาจึงนอยลง
5. การขยายตัวของระบบพันธมิตรทางทหาร ซึง่ เกิดจากความหวาดระแวงของประเทศตางๆ ทําใหรวมตัวกัน
ทีส่ ําคัญมี 2 ลักษณะ
5.1 กลุม ไตรภาคี คือ เยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี อิตาลี
5.2 กลุม สัมพันธมิตรสามเสา คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส รุสเซีย
ชนวนที่นําไปสูส งครามโลกครัง้ ที่ 1
อารัชดยุค ฟรานซิส เฟอรดินานด รัชทายาทแหงราชอาณาจักรออสเตรีย-ฮังการี ถูกลอบปลงพระชนมทเ่ี มือง
ซาราเจโวขณะเสด็จประพาสบอสเนีย คนรายเปนชาวบอสเนียสัญชาติเซอรเบีย ออสเตรียจึงยืน่ คําขาดใชเซอรเบียทําตาม
ขอเรียกรองโดยมีเยอรมันสนับสนุนเมือ่ เซอรเบียปฏิเสธ ออสเตรียประกาศสงคราม รุสเซียจึงระดมพลใหญ เยอรมัน
ขอใหหยุดแตรสุ เซียปฏิเสธ ทําใหเยอรมันประกาศสงครามกับรุสเซียและฝรัง่ เศส
คูก รณีแบงเปน 2 ฝาย คือ
1. มหาอํานาจฝายกลาง
2. ฝายสัมพันธมิตร
กอนสงครามสงบประธานาธิบดี วูดส โรบินสัน ประกาศนโยบาย 14 ขอ เพือ่ เปนหลักการในการยุตสิ งคราม
สนธิสัญญาสันติภาพ
1. สนธิสญ ั ญาแวรซายส
2. สนธิสญ ั ญาแซงต
3. สนธิสญ ั ญาเนยยี
4. สนธิสญ ั ญาตริอานอง
5. สนธิสญ ั ญาแซฟส
การกอตัง้ องคการสันนิบาตชาติ กอตัง้ ตามสนธิสญ
ั ญาแวรซายสโดยประเทศผูช นะสงคราม และประเทศทีม่ ไิ ด
เปนคูส งครามรวมกันจัดตัง้ ขึน้ แตอเมริกาไมไดเปนสมาชิกเนือ่ งจากรัฐสภาไมตอ งการใหผกู พันกับการเมืองยุโรปอันเปน
นโยบายไมยงุ เกีย่ วตามหลักการของลัทธิมอนโร ซึง่ ถือเปนจุดบกพรองทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ของสันนิบาตชาติ
ความสําเร็จและความลมเหลวของสันนิบาตชาติ
สันนิบาตชาติทาหน
ํ าทีไ่ ดผลดีในดานมนุษยธรรม เชน การปราบปรามการคายาเสพติด สวนในดานการระงับขอ
พิพาทปรากฏวาสันนิบาตชาติประสบความสําเร็จเฉพาะการระงับขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิก แตไมอาจยุตกิ รณี
ขอพิพาททีม่ หาอํานาจมีสว นเกีย่ วของอยูด ว ย เชน กรณีญป่ี นุ รุกรานแมนจูเรีย อิตาลีรกุ รานเอธิโอเปย อิตาลีและเยอรมัน
ลาออกจากการเปนสมาชิก เยอรมันละเมิดสนธิสญ ั ญาแวรซายสหลายครัง้

166 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สาเหตุสงครามโลกครัง้ ที่ 2
1. สนธิสญ ั ญาแวรซายสและสนธิสญ
ั ญาสันติภาพทีไ่ มเปนธรรม
2. ความแตกตางของลัทธิการปกครองเนื่องจากรัสเซียเปลี่ยนการปกครองเปนคอมมิวนิสตตั้งแตกอนสงคราม
โลกครัง้ ที่ 1 จะสิน้ สุด และเกิดการปกครองแบบเผด็จการในอิตาลีและเยอรมัน ทําใหกลุม ประชาธิปไตยขัดขวาง
3. ปญหาเศรษฐกิจ ทัง้ ประเทศทีแ่ พและทีช่ นะตองการแหลงวิตถุดบิ และตลาด สําหรับระบายสินคาผลผลิต
มีมากเกินความตองการจนขายไมออก นําไปสูภ าวะเศรษฐกิจตกตําทั ่ ว่ โลก ประชาชนเรียกรองใหรฐั บาลของตนแกไข
เปดโอกาสใหรฐั บาลเผด็จการอยูแ ลวเผด็จการมากขึน้
4. ปญหาเกีย่ วกับดินแดนและอาณานิคม กลุม ประชาธิปไตยถูกเรียกวากลุม มี สวนกลุม เผด็จการถูกเรียกวา
กลุม ไมมี ประชาชนของกลุม หลังเรียกรองใหมกี ารแกไขสนธิสญ
ั ญาแวรซายสเกีย่ วกับเรือ่ งอาณานิคม
5. ความไมรว มมือกันของประเทศมหาอํานาจ ประเทศตางๆ ดําเนินนโยบายตางๆ เพือ่ รักษาประโยชนของตน
มากกวาของสวนรวม
6. ความลมเหลวของสันนิบาตชาติ เนือ่ งจากอเมริกาไมไดเขาเปนสมาชิกและสันนิบาตชาติไมมกี องกําลังประจํา
ระงับกรณีพพิ าทไดทนั ที
วิกฤตการณทก่ี อ ใหเกิดสงครามโลกครัง้ ที่ 2
1. เยอรมันยกเลิกสนธิสญ ั ญาแวรซายส
2. สงครามอิตาลีเอธิโอเปย
3. สงครามกลางเมืองสเปน
4. เยอรมันรวมออสเตรีย
5. เยอรมันรวมเชคโกสโลวาเกีย
6. อิตาลียดึ ครองแอลบาเนีย
7. ปญหาฉนวนโปแลนด
ฉนวนโปแลนด เปนจุดระเบิดของสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เพราะหลังจากทีเ่ ยอรมันรวมเชคโกสโลวาเกียและอิตาลี
ยึดครองแอลบาเนียแลว มหาอํานาจตะวันตกก็เกรงกลวการรุกรานของเยอรมันมากขึน้ และคิดวาโปแลนดเปนจุดตอไปที่
เยอรมันคิดจะรุกรานซึง่ ฮิตเลอรกเ็ ลือกโปแลนดเปนเปาหมายเอาไวเพราะฉนวนโปรแลนดมคี นเยอรมันอยูม าก แตเยอรมัน
เสียโปแลนดไปตามสนธิสญ ั ญาแวรซายส นอกจากนัน้ ฉนวนโปแลนดยงั แบงแยกดินแดนเยอรมันออกเปน 2 สวน คือ
ปรัสเซียตะวันตกและปรัสเซียตะวันออก ฮิตเลอรเริม่ ดวยการขอสรางถนนผานโปแลนดไปปรัสเซียตะวันออก อังกฤษ
และฝรัง่ เศสรวมมือกันคัดคานเยอรมันจึงยกเลิกสนธิสญ ั ญาทางนาวีกบั อังกฤษ และยกเลิกสนธิสญ ั ญาไมรกุ รานกัน
ระหวางเยอรมันกับโปแลนดโดยไปทําสัญญาไมรกุ รานกันกับรัสเซียทําใหเยอรมันโจมตีโปแลนดไดงา ยขึน้ ฮิตเลอรเรียกรอง
ใหรฐั สภาของเสรีนครดานสิท แตงตัง้ สมาชิกพรรคนาซีในเมืองดานสิทเปนประมุขและเรียกรองใหมหาอํานาจแกปญ  หา
ดานสิทและฉนวนโปแลนดเปนการดวน โดยใหองั กฤษยกเลิกสัญญาพันธมิตรกับโปแลนดแตองั กฤษปฏิเสธ ฮิตเลอร
จึงสงทหารบุกโปแลนดจงึ เกิดสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ขึ้น
การแบงกลุม คูส งคราม
1. ฝายอักษะมีเยอรมัน ญีป่ นุ อิตาลี เปนสําคัญ
2. ฝายสัมพันธมิตรมีองั กฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา

167 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

โครงสรางและอํานาจหนาที่ของสหประชาชาติ
1. สมัชชาใหญประกอบดวย ตัวแทนของสมาชิกทัง้ หมดปกติประชุมสามัญปละ 1 ครัง้ มีหนาทีพ่ จิ ารณาเรือ่ งราว
ทุกปตามขอบเขตและอํานาจของกฎบัตรทีร่ ะบุไว
2. คณะมนตรีความมั่นคงมีสมาชิก 15 ประเทศ มีสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และหมุนเวียน 10 ประเทศ
มีอํานาจหนาทีร่ บั ผิดชอบโดยตรงตอการจรรโลงสันติภาพระหวางประเทศ
3. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมมีหนาทีป่ ระสานงานใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและสังคมแกประเทศตางๆ
4. คณะมนตรีภาวะทรัสตีมหี นาทีป่ กครองดูแลดินแดนทีถ่ กู ระบุใหเปนดินแดนในภาวะทรัสตี
5. สํานักงานเลขาธิการทําหนาทีบ่ ริหารงานตามนโยบายและโครงการทีไ่ ดรบั มอบหมาย ควบคุมดูแลกิจการ
ดานบริหารและธุรการขององคกรตางๆ ของสหประชาชาติ
6. ศาลยุตธิ รรมระหวางประเทศมีหนาทีพ่ จิ ารณาขอพิพาททางกฎหมายระหวางประเทศ และใหคาแนะนํ
ํ า
ดานกฎหมายตามคําขอรองของสหประชาชาติและองคการตางๆ ในเครือของสหประชาชาติ
สงครามเย็น
เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน้ สุดลง มีการแขงขันกันระหวาง 2 มหาอํานาจ คือ สรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
ซึง่ มีอดุ มการณทางการเมืองทีต่ า งกันระหวางฝายเสรีประชาธิปไตยและฝายคอมมิวนิสต ถือวาเปนความขัดแยงครัง้ ใหม
ซึง่ มิใชเปนการทําสงครามโดยตรงแตเปนภาวะตึงเครียดของโลก เรียกวา สงครามเย็น ซึง่ ทัง้ 2 ประเทศหันมาแขงขันกัน
ในดานแสนยานุภาพ รวมทัง้ ผลักดันใหเกิดการสูร บนอกภูมภิ าค สงครามเย็นเริม่ จากการทีร่ สั เซียเขาแทรกแซง
การปกครองของประเทศตางๆ โดยเฉพาะยุโรปตะวันออก ทําใหสหรัฐอเมริกาหวาดกลัวการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต
โดยประกาศหลักการทรูแมน คือ จะใหความชวยเหลือแกบรรดาประเทศตางๆ ใหพน ภยคอมมิวนิสต และประกาศใช
แผนการมารแชลโดยใหความชวยเหลือฟน ฟูเศรษฐกิจของยุโรปตะวันตก
การสิน้ สุดสงครามเย็นเกิดจากความสํานึกของ 2 อภิมหาอํานาจทีเ่ ห็นวาสงครามโหดรายมาก ตางฝายก็ดาเนิ ํ น
นโยบายผอนปรน คือ โลกเสรีฝรัง่ เศสลาออกจากองคการนาโต เพราะไมอยากเปนสนามรบในสงครามนิวเคลียร รัสเซีย
เปลี่ยนผูนาจากสตาลิ
ํ นซึง่ ถึงแกอสัญกรรมเปนครุสชอฟ และประกาศนโยบายการอยูร ว มกันอยางสันติ การผอนคลาย
ความตึงเครียดมีมากขึน้ เมือ่ มีขอ ตกลงเฮลซิงกิในป ค.ศ. 1975 ซึง่ เปนผลของการประชุมเกีย่ วกับความปลอดภัยและ
การรวมมือกันของประเทศตางๆ ในยุโรปโดยสหรัฐอเมริกาและแคนาดามีจดุ มุง หมายสรางสันติภาพและความมัน่ คงใน
ยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก และในป ค.ศ. 1975 สหรัฐอเมริกาเปลีย่ นนโยบายตางประเทศโดยหันไปเปนมิตรกับจีน
มีการเจรจาลดอาวุธนิวเคลียรระหวางมหาอํานาจทัง้ 2 แตเมือ่ ป ค.ศ. 1979 สหภาพโซเวียตสัง่ ทหารบุกอัฟกานิสถาน
ทําใหความสัมพันธของทัง้ 2 ประเทศแยลงไปอีก
ค.ศ. 1985 กอรบาชอฟมีนโยบายปฏิรปู ประเทศเรียกวา "เปเรสตรอยกา" และนโยบายเปดกวางทางการเมือง
คือ "กลาสนอสต" มีการประนีประนอมกับอเมริกาและจีน คือ ยอมถอนทหารออกจากอัฟกานิสถานและพรมแดนของจีน
เจรจาใหเวียดนามถอนทหารจากกัมพูชา มีการทําลายกําแพงเบอรลนิ ประเทศในยุโรปตะวันออกเปลีย่ นแปลงการปกครองเปน
แบบประชาธิปไตย ตอมาในป ค.ศ. 1991 รัสเซียลมสลายเปนผลใหสงครามเย็นสิน้ สุดลง
สงครามอินโดจีน
อินโดจีนประกอบดวยเวียดนาม กัมพูชา และลาวซึง่ เคยเปนเมืองขึน้ ของฝรัง่ เศส เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สงบ
ขบวนการกูช าติไดทําใหประเทศตางๆ แยกตัวเปนอิสระ

168 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ในเวียดนามมีการแบงเปน 2 ผาย คือ เวียดนามเหนือมีผูนําขบวนการชาตินยิ ม คือ โฮจิมินท เปนผูป กครอง


เวียดนามใต มีจกั รพรรดิเบาไดซง่ึ ฝรัง่ เศสสนับสนุนเปนผูป กครอง 2 ฝายตางไมยอมกันจึงเกิดสงครามกลางเมือง
โดยมีรสั เซียและจีนหนุนเวียดนามใต สงครามนีข้ ยายตอไปในลาวและกัมพูชา ในตอนหลังสหรัฐอเมริกาถอนตัวทําให
ฝายเหนือเปนฝายชนะ
สงครามเกาหลี
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 เกาหลีเหนือถูกรัสเซียยึดครอง สวนเกาหลีใตถกู สหรัฐอเมริกายึดครองโดย 2 ประเทศ
แบงกันทีเ่ สนขนานที่ 38 องศาเหนือ ทัง้ เกาหลีเหนือและเกาหลีใตตา งไดรบั การสนับสนุนจากมหาอํานาจ และตกลงสงบ
ศึกกันในทีส่ ดุ โดยใหถอื วาเสนขนานที่ 38 องศาเหนือเปนเสนแบงเขตแดนถาวร
สงครามในตะวันออกกลาง
ตะวันออกกลางเปนดินแดนทีเ่ ต็มไปดวยนํ้ามันซึง่ ถือวาเปนทรัพยากรธรรมชาติทส่ี ําคัญมาก สงครามเกิดเมื่อ
อิสราเอลประกาศตัง้ ประเทศ การสูร บแบงเปน 2 ฝาย คือ บรรดากลุม ประเทศอาหรับและอิสราเอล ความรุนแรงของการ
สูรบเกิดขึ้นเปนคราวๆ จนถึงปจจุบนั นอกจากนัน้ บางครัง้ ก็มคี วามขัดแยงระหวางประเทศทีน่ บั ถืออิสลามดวยกันเอง
เชน สงครามระหวางอิรกั กับอิหราน อิรกั กับคูเวต กรณีของอิรกั สหรัฐอเมริกาชวยขับไลอริ กั ออกจากคูเวตดวย
แอฟริกา
หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 แอฟริกาใตรบั เอกราชแตมปี ญ หาตามมามากมาย เชน ความยากจน การแบงผิว
ปญหาการแขงขันระหวางมหาอํานาจเพือ่ แสวงหาอิทธิพล เชน รัสเซียและสหรัฐอเมริกาแขงขันกันในอังโกลาและซาอีร

ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
วิทยาการ (Knowledge) เปนความรูใ นดานตางๆ ทัง้ หมดของคนในโลกทีม่ กี ารจัดระเบียบ พัฒนา และสัง่ สมสืบทอด
กันมาอยางตอเนือ่ ง เปนความรูใ นทุกๆ ดาน ไมวา จะเปนดานจิตวิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร รัฐศาสตร เปนตน
วิทยาศาสตร (Science) เปนสาขาหนึง่ ของวิทยาการ เปนความรูท เ่ี กิดจากกระบวนการศึกษาในเรือ่ งตางๆ ที่
เกีย่ วกับความเปนไปตามธรรมชาติ โดยอาศัยวิธกี ารสังเกต ทดลอง หรือวิธอี น่ื ใดก็ตามทีว่ างรากฐานอยูบ นการใชเหตุผล
รวมทัง้ สามารถพิสจู นใหเห็นจริงได โดยแยกสาขาเปนชีววิทยา ฟสกิ ส เคมี สัตววิทยา เปนตน
เทคโนโลยี (Technology) เปนวิทยาการทีเ่ กีย่ วกับศิลปะในการนําวิทยาศาสตรประยุกต มาใชใหเกิดประโยชน
ในทางปฏิบตั ิ
ลักษณะของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีทน่ี ยิ มใชและศึกษากันอยูม ี 2 ลักษณะ คือ
1. เทคโนโลยีในลักษณะทีเ่ ปนกระบวนการ วิธกี ารหรือเทคโนโลยีทเ่ี ปนนามธรรม ซึง่ อาจจะเปนความรูค วามสามารถ
ของมนุษยหรืออาจจะเปนขอมูลขอเท็จจริงก็ได
2. เทคโนโลยีในลักษณะทีเ่ ปนเครือ่ งมือหรือทีเ่ ปนรูปธรรม ซึง่ อาจแฝงมาในรูปของวัตถุ หรืออาจเปนเรือ่ งของ
องคกรบริหารและการจัดการ

169 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ผลเสียจากการใชวทิ ยาการและเทคโนโลยี
1. ปญหาดานสภาพแวดลอม เกิดจากการขยายตัวอยางรวดเร็วของการพัฒนาการดานเทคโนโลยี ซึง่ ทําให
ปริมาณการบริโภคสูงขึน้ ทําใหเกิดปญหาสภาพสิง่ แวดลอม เชน การผลิตทางอุตสาหกรรม ซึง่ สงผลกระทบกอใหเกิด
ปญหามลภาวะ โดยทําใหเกิดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ซึง่ เปนผลมาจากการเผาไหมนามั ้ํ นเชื้อเพลิง กาซเหลานีจ้ ะละลาย
ปนไปกับฝน ทําใหเกิดฝนกรด เปนตน
2. ปญหาจากการประยุกตใชทางการเมือง การทหาร เกิดจากการนําเทคโนโลยีใหมๆ ทุกแขนงไปใชในดานทหาร
เพือ่ พัฒนาขีดความสามารถในการทําลายลางกันและกัน
3. ปญหาทางสังคม เกิดจากความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี ทําใหมปี ญ  หาดานศีลธรรม จริยธรรมและ
คุณคาของมนุษย เชน เทคนิคการผสมเทียม โดยเอาลูกไปฝากคนอืน่ ทอง เมือ่ คลอดแลวคนทีต่ ง้ั ทองไมยอมคืนลูกให
หรือการนําอวัยวะของคนหนึง่ ไปใชกบั อีกคน อาจทําใหมกี ารขายอวัยวะกันขึน้
4. ปญหาตอการพัฒนาประเทศ วิทยาการและเทคโนโลยีไดกลายเปนทัง้ ความหวังและอุปสรรคในการพัฒนา
ประเทศสําหรับประเทศทีต่ อ งการมุง มัน่ จะศึกษา ทําความเขาใจและดูดซับเทคโนโลยีเปนของตน วิทยาการและเทคโนโลยี
ก็เปนเครือ่ งมือทีจ่ ะนําไปสูก ารพัฒนาประเทศได แตถา ละเลยไมสนใจทีจ่ ะดูดซับเทคโนโลยีเปนของตน วิทยาการและ
เทคโนโลยีกจ็ ะกลายเปนอุปสรรคสําคัญทีท่ ําใหสงั คมนัน้ ไมอาจพัฒนาได
ทีม่ าของเทคโนโลยี
1. เกิดขึน้ โดยผูท ค่ี ดิ คนไมมพี น้ื ฐานความรูท างวิทยาศาสตรทเ่ี ปนระบบ
2. เกิดจากการคิดคนของนักวิทยาศาสตร นักประดิษฐ และนักวิจยั
3. เกิดจากการกระจายตัวของเทคโนโลยีทม่ี ศี กั ยภาพสูงออกไปสูจ ดุ ทีม่ ศี กั ยภาพตํ่ากวา
ระดับของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีตามลักษณะของการใชแบงออกเปน 3 ระดับ คือ
1. เทคโนโลยีระดับตํ่า หรือเทคโนโลยีชาวบาน เปนเทคโนโลยีทช่ี ว ยใหเราสามารถทํางานเดิมในแบบเดิมไดดีขึ้น
หรือทุน แรงไดมากขึน้
2. เทคโนโลยีระดับกลาง หรือระดับธรรมดา เปนเทคโนโลยีทช่ี ว ยใหทํางานไดรวดเร็วขึ้น มีปริมาณเพิม่ ขึน้ และ
มีประสิทธิภาพสูงขึน้
3. เทคโนโลยีระดับสูง เปนเทคโนโลยีทส่ี ลับซับซอน สมัยใหม เปนความสามารถในการคิดประดิษฐสงิ่ ใหมๆ หรือ
นําสิง่ ใหมมาดัดแปลงใหเกิดประโยชนมากขึน้
รูปแบบในการพัฒนาเทคโนโลยีมี 3 ลักษณะ คือ
1. แบบรวมศูนย หมายถึง อํานาจในการตัดสินใจอยูท ร่ี ฐั บาล หรือผูมีอานาจสู
ํ งสุดของประเทศเทานัน้
2. แบบแทรกแซง หมายถึง การทีร่ ฐั บาลเขาไปแทรกแซงการตัดสินใจของภาครัฐและภาคเอกชน
3. แบบกระจายอํานาจ เปนรูปแบบของการตัดสินใจทีก่ ระจายอํานาจจากรัฐบาลไปสูห นวยงานระดับตางๆ
การดอยพัฒนาทางเทคโนโลยี หมายถึง การทีป่ ระเทศหนึง่ ตองพึง่ พาอาศัยเทคโนโลยีจากประเทศอืน่ เพราะ
คนในชาติของตนไมมคี วามรูพ อหรือขาดความสามารถในการรับการถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ
การดอยพัฒนาทางเทคโนโลยี เปนสาเหตุสําคัญของการดอยพัฒนาทางเศรษฐกิจ

170 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การดอยพัฒนาทางเทคโนโลยี เกิดจากสาเหตุดงั นี้


1. เศรษฐกิจของประเทศมีโครงสรางแบบทวิภาค
2. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมคี วามลาหลัง
3. กําลังความสามารถทางเทคโนโลยีทม่ี ภี ายในประเทศมักถูกละเลย
4. มีเงือ่ นไขหรือขอผูกพันทีต่ ดิ มากับโครงการเงินกูใ หใชเทคโนโลยีจากตางประเทศทัง้ หมด
5. รูปแบบการพัฒนาทางเศรษฐกิจมิไดผสมผสานกับการพัฒนาทางเทคโนโลยี
6. ผูบ ริหารประเทศและนักการเมืองไมใหความสนใจในการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางจริงจัง
เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม หมายถึง การนําวิธกี ารหรือเครือ่ งมือทีซ่ บั ซอนมาใชใหเกิดประโยชนอยางเหมาะสมกับ
ทรัพยากร สภาพแวดลอม สภาพสังคมและสภาพเศรษฐกิจ
ปจจุบันเทคโนโลยีไดกลายเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศซึง่ ทําใหประเทศตางๆ มีระดับการพัฒนาไมเทากัน
จึงแบงกลุม ประเทศในโลกออกเปน 2 กลุม คือ
1. กลุม ประเทศทีม่ อี ตั ราความกาวหนาทางเทคโนโลยี เรียกวา กลุม ประเทศพัฒนาแลว
2. กลุม ประเทศทีม่ กี ารพัฒนาทางเทคโนโลยีต่ํา เรียกวา กลุม ประเทศกําลังพัฒนา
ลักษณะและองคประกอบของเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
1. เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมตองประกอบดวยลักษณะทีส่ าคั ํ ญ 2 อยาง คือ
- เหมาะสมกับสภาพแวดลอมของทองถิน่ นัน้
- เหมาะสมกับวัตถุประสงคของหนวยงานหรือองคกรตางๆ ในเรือ่ งของกระบวนการผลิต
2. องคประกอบของเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม คือ สถานที่ ชวงเวลา และลักษณะของงานทีจ่ ะใชเทคโนโลยี
ตัวอยางของประเทศทีป่ ระสบความสําเร็จจากการนําเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมาใชในการพัฒนาประเทศ
1. ญีป่ นุ การพัฒนาเทคโนโลยีของญีป่ นุ เรียกวา เปนการพัฒนาแบบยอนทาง เปนการพัฒนาเทคโนโลยีทต่ี อ ง
อาศัยเทคโนโลยีตา งประเทศเปนพืน้ ฐาน โดยจัดระเบียบสําหรับควบคุมการนําเขาเทคโนโลยี เพือ่ เปดโอกาสใหมกี ารพัฒนา
เทคโนโลยีภายในประเทศควบคูไ ปดวย ทําใหสามารถยกระดับและเพิม่ การผลิตเทคโนโลยีใหมภายในประเทศใหมากขึน้
2. เกาหลีใต มีลกั ษณะคลายญีป่ นุ คือ ตองอาศัยเทคโนโลยีนาเข ํ าเปนพืน้ ฐานและทุม เทพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีเปนอยางมาก ปจจุบนั สามารถพัฒนาเทคโนโลยีใหพฒ ั นากาวหนาใกลเคียงกับญีป่ นุ และสามารถพัฒนา
อุตสาหกรรมตอเรือชนะญีป่ นุ ดวย
3. ไตหวัน ประสบความสําเร็จในการพัฒนาเกษตรและอุตสาหกรรม ซึง่ เปนความสําเร็จในการพึง่ ตนเอง รัฐบาล
มีนโยบายทีม่ งุ ตรงไปยังระดับลาง คือประชาชนสวนใหญในชนบท โดยพัฒนาชนบทแบบผสมผสาน 3 ขั้นตอน คือ
1. กระจายการถือครองทีด่ นิ เพือ่ ชาวชนบท
2. ใหชาวนามีโอกาสผลิตรวมกันในรูปแบบสหกรณ
3. ใชัเทคนิคเพือ่ การเกษตร โดยเริม่ พัฒนาการเกษตรไปสูอ ตุ สาหกรรม
ระดับเทคโนโลยีของไทย
ปจจุบนั ความสามารถทางเทคโนโลยีของไทยจัดอยูใ นระบบทีเ่ รียกวา การรับเทคโนโลยีจากตางประเทศเขามา
แลวนํามาดัดแปลงพัฒนาตอเล็กนอย เพือ่ ใชกบั กิจกรรมดานอุตสาหกรรม มิไดเกิดจากนักวิชาการไทย จึงทําใหเราตอง
พึง่ พิงเทคโนโลยีจากตางประเทศอยางมาก การถายทอดเทคโนโลยีเขาสูป ระเทศไมคอ ยประสบความสําเร็จ เพราะขาด
ความสามารถในการคัดเลือกเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม

171 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ผลกระทบของการใชวทิ ยาการและเทคโนโลยีทม่ี ตี อ มนุษย


1. ทางดานเกษตรกรรม มีผลกระทบหลายอยาง เชน
- การนําวิทยาการและเทคโนโลยีมาใช เพือ่ ชวยผอนแรงทางการเกษตร
- การนําสารสังเคราะหทางเคมี เพือ่ ชวยในการกําจัดแมลงและศัตรูพชื ตางๆ ทําใหผลผลิตทางเกษตรเพิม่ ขึน้
- เทคนิคใหมๆ ทางการเกษตร ชวยใหมนุษยสามารถควบคุมใหผลผลิตทางการเกษตรออกมาในฤดูกาล
ทีต่ อ งการ
- วิทยาการและเทคโนโลยี บางครัง้ กอใหเกิดผลเสีย เชน การนํายาฆาแมลงมาใชกบั ผัก ผลไม ทําใหเกิดสารพิษ
ตกคาง
2. ดานอุตสาหกรรม มีทง้ั ผลดีและผลเสีย ผลดี คือ ทําใหปริมาณการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมมีปริมาณ
เพิ่มมากขึ้น โดยมีตน ทุนตําลง่ แตสนิ คาจะมีลกั ษณะเหมือนๆ กัน เปนสินคาโหล ผลเสียที่เกิดขึ้นคือ เกิดแนวความคิด
แบบบริโภคนิยมมากขึน้ เพราะการโฆษณาประชาสัมพันธมีมาก ทําใหเกิดการสูญเสียทรัพยากรอยางสิน้ เปลือง นอกจากนัน้
ถาโรงงานอุตสาหกรรมเจริญขึ้นมากๆ จะทําใหเกิดปญหามลภาวะตามมา เชน นํ้าเสีย อากาศเปนพิษ และการทําลายชัน้
ของโอโซนทีเ่ กิดจากการเพิม่ ขึน้ ของกาซคารบอนไดออกไซด
ขอควรคํานึงในการใชความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยี
1. ตองดูวา เทคโนโลยีจะสงผลกระทบในดานบวกหรือในดานลบ ถาผลออกมาทางดานลบมากเกินไปก็ไมควรทํา
2. ตองผานการรับฟงความคิคเห็นจากบุคคลหลายฝาย เพือ่ ทีก่ ารใชวทิ ยาการและเทคโนโลยีจะสามารถอํานวย
ประโยชนแกมนุษยชาติใหไดมากทีส่ ดุ
3. ควรคํานึงถึงประโยชนทจ่ี ะไดรบั วาคุม กันหรือไม
4. ควรคํานึงถึงความสมดุลระหวางมนุษย เทคโนโลยี และธรรมชาติ โดยดูวา วิทยาการและเทคโนโลยีสามารถจะ
สนองตอบและสรางสมดุลระหวางความเพียงพอทางวัตถุและความอิม่ เอิบใจของมนุษยไดหรือไม

การแขงขัน การประสานประโยชนทางการเมือง
และเศรษฐกิจระหวางประเทศ
ประเทศตางๆ ในโลก ไมสามารถอยูต ามลําพังได อาจเปนเพราะขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ การตองการ
แลกเปลีย่ นเทคโนโลยี เพราะฉะนัน้ รัฐตางๆ จึงตองติดตอสัมพันธกนั การติดตอกันนัน้ แตละรัฐก็มนี โยบายของตนเอง
เพือ่ รักษาผลประโยชนของตน ซึง่ ผลประโยชนนเ้ี รียกวา ผลประโยชนของรัฐ ซึง่ อาจจะหมายถึง ความอยูร อดของรัฐนัน้
ความมั่นคงของชาติ การกินดีอยูด ขี องประชากร ศักดิศ์ รีและเกียรติของชาติ อุดมการณของชาติ อํานาจของชาติ ดังนัน้
เมือ่ แตละชาติหวังผลประโยชนมากเกินไปจึงทําใหเกิดความขัดแยงกันได

172 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สาเหตุของความขัดแยงของรัฐ
1. สาเหตุทางดานเศรษฐกิจ เกิดจากการมีทรัพยากรไมเทากัน และเกิดการแยงกัน เชน เลนิน กลาววา ความขัดแยง
ระหวางเยอรมันกับฝรัง่ เศส กอนสงครามโลกครัง้ ที่ 1 เกิดจากการแยงแควนอัลซาสและลอรเรน ซึง่ มีเหล็กและถานหินมาก
2. สาเหตุทางดานการเมือง การมีอดุ มการณทางการเมืองตางกัน ทําใหเกิดการขัดแยงกันได เชน ความขัดแยง
ระหวางการปกครองแบบประชาธิปไตยกับคอมมิวนิสต ทําใหเกิดสงครามเย็น
3. สาเหตุทางดานสังคมและวัฒนธรรม ไดแก ความแตกตางทางศาสนา เชื้อชาติ ภาษา เชน สงครามครูเสด
เกิดจากความขัดแยงของศาสนาคริสตกบั อิสลาม
4. สาเหตุทางดานจิตวิทยา เกิดจากการตองการความยอมรับ การรักษาศักดิศ์ รีของประเทศ
ความขัดแยงในภูมภิ าคอืน่ ๆ ของโลก
สงครามระหวางอาหรับกับอิสราเอล
เปนสงครามทีเ่ กิดจากความขัดแยงทางศาสนา และเชือ้ ชาติ ระหวางคนอาหรับทีน่ บั ถือศาสนาอิสลามกับชาวยิวที่
นับถือศาสนายูดายในดินแดนปาเลสไตนซงึ่ เปนประเทศอิสราเอลในปจจุบนั สงครามครัง้ นีเ้ กิดขึน้ เมือ่ อิสราเอลประกาศจัดตัง้
ประเทศใน ค.ศ. 1948 กลุม ประเทศอาหรับไมเห็นดวยจึงประกาศสงครามและมีสงครามตอมาหลายครัง้ จนถึงปจจุบนั
สงครามอิรกั -อิหราน
สงครามระหวาง 2 ประเทศนีบ้ างที เรียกวา สงครามอาวเปอรเซีย เกิดในป ค.ศ. 1980 เนือ่ งจากสาเหตุดงั นี้
1. การแยงดินแดน ซัต อัล - อาหรับ
2. ปญหาดานเชือ้ ชาติ เพราะอิรกั เปนอาหรับ อิหรานเปนเปอรเซีย ความแตกตางในการนับถือศาสนาคนละ
นิกายของผูน ํา 2 ประเทศในขณะนัน้
อิรกั เปนฝายโจมตีกอ น สหรัฐใหความชวยเหลืออิรกั สหประชาชาติไดเขาไปไกลเกลีย่ โดยในป ค.ศ. 1989 รัฐบาล
อิรกั และรัฐบาลอิหรานประกาศยอมรับแผนสันติภาพของคณะมนตรีความมัน่ คงของสหประชาชาติ
สงครามเกาะฟอลกแลนด
ฟอลกแลนดเปนหมูเ กาะอยูท างตะวันออกของอารเจนตินา แตเดิมนักสํารวจชาวอังกฤษมาสํารวจพบและจัดเปน
อาณานิคมของตน มีคนอังกฤษเขามาตัง้ ถิน่ ฐาน ตอนหลังถูกสเปนซึง่ ปกครองอารเจนตินาขับไลชาวอังกฤษออกไป
ตอมาเมือ่ อารเจนตินาไดรบั เอกราชจากสเปนก็ปกครองเกาะนีโ้ ดยไมมใี ครสนใจ จนกระทัง่ สหรัฐประกาศวาเกาะนีไ้ มได
เปนอาณานิคมของใคร แตองั กฤษก็เขามาขยายอิทธิพลในเกาะนีอ้ กี สหรัฐมิไดขดั ขวางเพราะกําลังดําเนินนโยบาย
ตามวาทะบอลโร เมือ่ สหประชาชาติตดั สิน หมูเ กาะนีก้ ต็ กอยูใ ตอารักขาของสหประชาชาติในฐานะอาณานิคมโพนทะเล
ของชาติอน่ื แตอารเจนตินาเรียกรองวาเกาะนีเ้ ปนดินแดนของตน สหประชาชาติจงึ เรียกอารเจนตินาและอังกฤษมาตกลงกัน
แตตกลงมิได ในป ค.ศ. 1982 อารเจนตินายกกําลังเขาปดลอมอังกฤษในฟอลกแลนด อังกฤษจึงสงกองทัพไปชวยและ
อังกฤษประสบชัยชนะในทีส่ ดุ
สงครามอิรกั ปดลอมคูเวต
การทีอ่ ริ กั ทําสงครามกับอิหรานทําใหมหี นีส้ นิ มากมาย โดยเฉพาะซาอุดอิ าระเบียกับคูเวต แตอริ กั มีน้ามั
ํ นมาก
และมีกองทัพทีม่ แี สนยานุภาพจึงไมอยากใชหนี้ คูเวตเปนประเทศเล็กๆ อยูร ะหวางอิรกั กับซาอุดอิ าระเบีย ในตอนทีอ่ ริ กั
ยุตสิ งครามกับอิหรานนัน้ นํามั้ นราคาตกตํามาก
่ อิรกั หาวาประเทศสมาชิกโอเปกขายนํ้ามันมากเกินไปทําใหเสียราคา
โดยอิรกั กลาววาคูเวตเปนตัวกลางและดูดนํ้ามันจากอิรกั ไปดวยแตคเู วตปฏิเสธ อิรกั จึงเคลือ่ นกําลังเขาปดลอมคูเวต
คณะมนตรีความมัน่ คงสหประชาชาติจดั ประชุม ฉุกเฉินและมีมติใหอริ กั ถอนกองกําลังออกไป แตอริ กั กลาววาคูเวตเปน
จังหวัดหนึง่ ของตน สหประชาชาติภายใตการนําของสหรัฐและประเทศอืน่ ๆ สงกองทัพไปโจมตีอริ กั และยึดคูเวตกลับคืนได

173 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การแกไขความขัดแยง
1. การแกไขโดยวิธสี นั ติ คือ
- การใชวธิ ที างการทูต ซึง่ เปนการประนีประนอมระหวางคูก รณี โดยใชวธิ กี ารเจรจาโดยตรง คือ ใหทงั้ สองฝาย
สงผูน ํามาเจรจากันหรือการเปนคนกลาง คือ เอาฝายที่ 3 เขามาชวยใหเกิดการเจรจาขึน้ หรือการไกลเกลีย่ คือ ใหฝา ยที่ 3
เขามาชวยเจรจาดวยเพือ่ หาขอยุติ หรือการสืบสวนหาขอเท็จจริง เปนการตัง้ กรรมการหาขอเท็จจริง หรือการประนีประนอม
เปนการไกลเกลี่ย เพือ่ เสนอแนวทางใหยตุ ปิ ญ  หาทีเ่ กิดขึน้
- วิธที างกฎหมาย วิธนี เ้ี ครงครัดมากกวาวิธที างการทูต มี 2 อยาง คือ
1. การตัง้ ศาลอนุญาโตตุลาการ คือ การยุตปิ ญ  หาโดยคูก รณีเปนผูแ ตงตัง้ ศาลอนุญาโตตุลาการ ซึง่ ศาลนี้
เกิดขึน้ ครัง้ แรกทีก่ รุงเฮก ค.ศ. 1889
2. การตัดสินของศาลยุตธิ รรมระหวางประเทศ เปนการนําขอพิพาทขึน้ สูก ารตัดสินของศาลโลก เชน กรณี
เขาพระวิหาร ซึง่ เปนกรณีพพิ าทของไทยและเขมร
2. การแกไขโดยวิธกี ารบีบบังคับ ซึง่ แบงเปน 2 อยาง
- รีทอรชัน (Retortion) เปนการแกไขปญหาอยางไมเปนมิตรและไมขดั ตอกฎหมายระหวางประเทศ เชน
การตัดสัมพันธทางการทูต
- รีไพรซอล (Reprisal) เปนการตอบโตคกู รณีโดยวิธกี ารผิดกฎหมาย เชน การไมยอมปฏิบตั ติ ามพันธ-
กรณีในสนธิสญ ั ญาการบอยคอต (Boycott) เปนตน
3. การแกปญ  หาโดยการใชกําลัง คือ การทําสงคราม สงครามทีม่ จี ดุ มุง หมายเพือ่ สรางดุลยภาพแหงอํานาจขึ้น
เปนสงครามทีเ่ รียกวา "สงครามจํากัดขอบเขต" คือ พยายามใหเกิดความเสียหายนอยทีส่ ดุ สวนสงครามทีม่ จี ดุ มุง หมาย
เพือ่ สรางความเปนใหญใหกบั ตนเอง เรียกวา "สงครามเบ็ดเสร็จ" เชน กรณีสงครามโลก
การประสานประโยชน
การขัดแยงตางๆ ถาใหเกินเลยจะทําใหเกิดสงครามขึน้ ดังนัน้ จึงจําเปนตองประสานความรวมมือกัน เพือ่ ให
เกิดประโยชนแกทกุ ประเทศทีต่ ดิ ตอกัน การรวมมือระหวางประเทศจึงเกิดจากสาเหตุหลายอยาง คือ
1. เพือ่ หลีกเลีย่ งภัยพิบตั ขิ องสงคราม
2. เพือ่ การพึง่ พาอาศัยกันทางเศรษฐกิจ
3. เพือ่ ความกาวหนาทางเทคโนโลยี
4. การรณรงคของคนบางกลุม เพือ่ รักษาผลประโยชนของสวนรวม
5. การมองเห็นปญหารวมกัน
รูปแบบของความรวมมือระหวางประเทศ
1. การทูต เปนการเจรจาตกลงกันโดยอาศัยนักการทูตเปนหลัก ซึง่ มีหนาทีช่ ว ยเหลือและดูแลรักษาผลประโยชนของ
คนในชาติ การเปนตัวแทนของประเทศ การรวบรวมขาวสารขอมูลตางๆ เพือ่ เสนอตอรัฐบาลของตน และการเขาไปมีสว นรวม
ในการเสนอแนะ และการกําหนดนโยบาย
2. กฎหมายระหวางประเทศ เปนกฎหมายทีร่ ฐั ยอมรับกันเปนสวนใหญ มาจากแหลงสําคัญ ดังนี้
- จารีตประเพณี
- สัญญาและขอตกลงระหวางประเทศ
- คําวินจิ ฉัยของศาลภายในประเทศและศาลระหวางประเทศ
- ความเห็นของนักกฎหมายและผูเ ชีย่ วชาญ
- หลักเกณฑทว่ั ไปของกฎหมาย

174 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

3. องคการระหวางประเทศ ในคริสตศตวรรษที่ 20 องคการระหวางประเทศ จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค ดังนี้


- จัดระเบียบความสัมพันธระหวางประเทศ
- เพือ่ ลดหรือควบคุมความขัดแยงระหวางประเทศ
- เพือ่ ความรวมมือกันระหวางประเทศในกิจการตางๆ
- เพือ่ เปนการปองกันรวมกันของกลุม ประเทศตอภัยคุกคามจากภายนอก
องคการระหวางประเทศ แบงตามจุดประสงคได 3 ประเภท
1. องคการระหวางประเทศเพือ่ ความรวมมือดานทหาร เชน องคการสนธิสญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ (NATO)
องคการกติกาสัญญาวอรซอ (WARSAW PACT) เปนตน
2. องคการระหวางประเทศวาดวยความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ เชน กลุม ประเทศผูส ง นํามั้ นออก (OPEC)
ขอตกลงเกีย่ วกับพิกดั ภาษีศลุ กากรและการคาหรือแกตต (GATT) เปนตน
3. องคการระหวางประเทศ เพื่อความรวมมือดานอื่น เชน สมาคม วาย ดับบลิว ซี เอ (Y.W.C.A.) เปนตน
รูปแบบอืน่ ๆ ของความรวมมือระหวางประเทศ ทีส่ ําคัญคือ การลดอาวุธ ซึง่ เกิดปญหาหลายอยาง คือ
1. เรือ่ งความมัน่ คงของประเทศ
2. ปญหาทางเทคนิค เพราะเปนเรือ่ งละเอียดออน
3. ปญหาดานตรวจสอบ คนไมชอบเปดเผยเรือ่ งการสะสมอาวุธ
กลุม ผลประโยชนระหวางประเทศดานการเมือง
องคการสนธิสญ ั ญาวอรซอหรือกติกาสัญญาวอรซอเปนความรวมมือทางทหารของฝายคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออก
เพือ่ เปนการปองกันรวมกันและประเทศภาคีสมาชิกทุกประเทศตางยินยอมใหกองทหารของรัสเซียเขาไปตัง้ ในประเทศของตนได
กลุม ผลประโยชนระหวางประเทศกลุม เศรษฐกิจ
ประชาคมยุโรปหรือตลาดรวมยุโรป เปนสนธิสญ ั ญาทางเศรษฐกิจของกลุม ประเทศในยุโรปตะวันตก เพือ่ ประสาน
ประโยชนในดานการผลิตและการคาของประเทศสมาชิก พยายามทําใหยโุ รปเปนตลาดเดียวและพัฒนาไปสูอ นั หนึง่ อันเดียว
ทางการเมืองเปนองคกรทางเศรษฐกิจระหวางประเทศทีเ่ ขมแข็งทีส่ ดุ และมีพลังตอรองทางเศรษฐกิจระหวางประเทศมากที่สุด
สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต
เปนองคกรทางเศรษฐกิจของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไมมมี หาอํานาจเปนสมาชิก พัฒนามาจากสมาคมอาสา
ขอตกลงทัว่ ไปวาดวย อัตราพิกดั ภาษีศลุ กากร และการคา หรือ GATT มีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมการผลิตและ
การแลกเปลีย่ นสินคาโดยลดหยอนการกีดกันทางการคาและภาษีอากร
สมาคมการคาเสรีแหงยุโรป หรือ EFTA เปนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศยุโรปตะวันตกทีไ่ มพอใจ
ตลาดรวมยุโรปมีวตั ถุประสงคคลายตลาดรวมยุโรป
เขตการคาเสรีแหงอเมริกาเหนือ หรือ NAFTA มีสมาชิก 4 ประเทศ คือ อเมริกา แคนนาดา แม็กซิโก และชิลี
NAFTA ถูกมองวาเปนองคกรทีก่ ดี กันสินคาจากทัว่ โลก เพราะจะสัง่ เขาสินคาจากสมาชิกเทานัน้ และใหสทิ ธิลดหยอนภาษี
ใหเงินสนับสนุนแกสนิ คาเกษตรของสมาชิกดวย
กลุม ประเทศผูส ง นํามั
้ นเปนสินคาออก หรือ OPEC เปนองคกรระหวางประเทศทีจ่ ดั ตัง้ เพือ่ ความรวมมือดาน
นโยบายนํามั
้ น และชวยเหลือทางดานเศรษฐกิจและเทคนิคของสมาชิก นโยบายสวนใหญเปนการกําหนดปริมาณการผลิต
และราคานํามั้ น

175 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรม
ตอการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาประเทศตางๆ มักจะมีความยากงายตางกันขึน้ อยูก บั ความพรอมของแตละประเทศ สาเหตุทท่ี ําให
การพัฒนาประเทศตางกันทีส่ าคั ํ ญ คือ ความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรม ซึง่ มีสาเหตุดงั นี้
1. ความหลากหลายทางดานเชือ้ ชาติ เผาพันธุ และศาสนา
2. ความแตกตางทางดานภูมศิ าสตร เชน อยูบ ริเวณทีร่ าบลุม สังคมจะเปนสังคมเกษตร ถาอยูบ ริเวณทะเล
ทรายอากาศแหงแลงไมอดุ มสมบูรณ คนจะตองตอสูด น้ิ รน เชน พวกเบดูอนิ หรือพวกมองโกล แถวทะเลทรายโกบี
เปนพวกเรรอ นอยูเ ปนหลักแหลงไมได เพราะไมมที ใ่ี ดอุดมสมบูรณพอ
3. ความแตกตางของรูปแบบทางเศรษฐกิจ ไดแก สังคมอุตสาหกรรม และสังคมเกษตรกรรมจะทําให
การดําเนินชีวติ ของคนในสังคมตางกัน ถาเปนคนในสังคมอุตสาหกรรม จะเปนคนทีส่ นใจเกีย่ วกับเครือ่ งจักรเครือ่ งกล
การดําเนินชีวติ เปนไปอยางใกลชิดสนิทสนม ตองพึง่ พาอาศัยธรรมชาติ จึงมักมีความเชือ่ ในเรือ่ งความลีล้ บั เหนือธรรมชาติ
ความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรมในภูมภิ าคตางๆ ของโลกในปจจุบนั มีหลายสาเหตุ ดังนี้
1. บริเวณวัฒนธรรม (Culture area) หมายถึง พืน้ ทีห่ นึง่ ซึง่ มีวฒ ั นธรรมเดนเฉพาะตัวทีเ่ รียกวา เปนเอกลักษณ
ครอบคลุมอยู บริเวณวัฒนธรรมแบงออกได ดังนี้
โลกตะวันตก หมายถึง วัฒนธรรมของชาวยุโรป สหรัฐอเมริกา วัฒนธรรมเหลานีม้ รี ากฐานมาจากยุโรป เอกลักษณ
ทีส่ าคั
ํ ญ คือ มีคา นิยมของการนับถือความคิดของบุคคลเปนหลัก ยึดเหตุผลเปนแนวปฏิบตั ิ มีความเชือ่ ในคริสตศาสนา
รูปแบบทางเศรษฐกิจเปนอุตสาหกรรม
โลกตะวันออก หมายถึง บริเวณทางเอเชียที่มีวัฒนธรรมของอินเดีย และจีนเปนหลัก ยึดถือสังคมมากกวา
ความคิดของบุคคล ยึดพวกพอง เคารพระบบอาวุโส เชือ่ ในเรือ่ งพุทธศาสนา เปนสังคมเกษตรกรรม
การแบงบริเวณวัฒนธรรมออกตามประเทศตางๆ เชน ไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส เปนตน
การแบงบริเวณวัฒนธรรมในระดับทองถิน่ เชน ภาษาของภาคเหนือและภาษาของภาคอีสาน ตางกัน
2. เกณฑทางวัฒนธรรม แบงเปน
- ความเชือ่ เปนสิง่ ทีเ่ กิดจากการสัง่ สมความรูต กทอดกัน มาจากบรรพบุรษุ เชน ลัทธิไซออนนิสม (Zionism)
ทีเ่ ชือ่ วาดินแดนปาเลสไตน เปนดินแดนทีพ่ ระเจาประทานใหชาวยิว
- คานิยม เปนสิง่ ทีค่ นในสังคมเห็นวาเปนสิง่ ทีด่ งี ามสมควรประพฤติปฏิบตั ติ าม เชน ชาวจีน มีคานิยม
ในการมีลกู ชายมากกวาลูกสาว
- ศาสนา
- เชือ้ ชาติ เชน ในประเทศแคนาดาประกอบดวยคนเชือ้ ชาติองั กฤษ และฝรัง่ เศส พวกนีจ้ ะมีวฒั นธรรมตางกัน

176 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ปญหาทีเ่ กิดจากความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรม
1. ปญหาดานความเชื่อ เชน ความขัดแยงระหวางยิวกับอาหรับ ในเรือ่ งดินแดนปาเลสไตนหรือความเชือ่ เรือ่ ง
การปกครองทีด่ รี ะหวางการปกครองแบบคอมมิวนิสตและประชาธิปไตย
2. ปญหาดานคานิยมเมือ่ เกิดความแตกตางทางสังคม และวัฒนธรรม คานิยมของคนก็จะมีความแตกตางกัน
โดยเฉพาะในสังคมทีก่ าลั ํ งจะมีการเปลีย่ นแปลงรูปแบบทางเศรษฐกิจจากเกษตรกรรมไปสูอ ตุ สาหกรรม เพราะคานิยม
เกาจะถูกเลิกลมไปและมีคา นิยมใหมมาแทนที่
3. ปญหาดานศาสนา เกิดจากความขัดแยงทางดานความเชือ่ ทางศาสนาทีแ่ ตกตางกัน เชน การเกิดสงคราม
ครูเสด ความขัดแยงระหวางชาวฮินดูกบั ชาวซิกขในรัฐปญจาบของอินเดีย การสังหารนางอินทิรา คานธี โดยพวกซิกข
การเกิดกองทัพปฏิวตั ไิ อริชหรือไอ อาร เอ ซึง่ เกิดจากความขัดแยงของตน อังกฤษทีน่ บั ถือโปรเตสแตนตกบั ชาวไอริชที่
นับถือโรมันคาทอลิก
4. ปญหาดานเชื้อชาติ เปนปญหาทีเ่ กิดจากการไมยอมรับคนเชือ้ ชาติอน่ื เชน มีการตัง้ กลุม ตอตานคนผิวดํา
เรียกวา คู คลักซ แคลน (Ku Klux Klan) ออกทํารายคนผิวดํา ทางภาคใตของอเมริกา
ความรวมมือในการแกไขปญหาความแตกตางทางสังคม และวัฒนธรรม เพือ่ การพัฒนาประเทศ
ความรวมมือในการแกไขปญหานี้ มี 2 ระดับ คือ
1. ความรวมมือระดับในประเทศ มีองคการหรือหนวยงานของรัฐ และภาคเอกชนทําหนาทีป่ ระสานความแตกตาง
ทางสังคม และวัฒนธรรม โดยการสรางความเขาใจระหวางกลุม คนในเรือ่ งตางๆ สําหรับประเทศไทยหนวยงานของรัฐ
บาลทีท่ ําหนาทีท่ างดานนี้ คือ สํานักงานเผยแพรเอกลักษณของชาติ
2. ความรวมมือระดับระหวางประเทศ มีหนวยงานทีอ่ ยูใ นความควบคุมของสหประชาชาติคอยดูแลอยู เชน
UNESCO เปนหนวยงานทีช่ ว ยเหลือและสงเสริมใหเกิดความรวมมือและความเขาใจทางสังคม และวัฒนธรรมระหวาง
ประเทศสมาชิก
- ประชาคมยุโรป เปนกลุม ทีใ่ หสทิ ธิพเิ ศษในการสัญจรไปมาเขา-ออกระหวางประเทศสมาชิกทีเ่ กิดการไป
มาหาสูก นั เกิดการสือ่ สารแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมกัน
- องคการเอกภาพแอฟริกา OAU ทําหนาทีป่ ระสานประโยชนระหวางประเทศสมาชิกทีม่ คี วามแตกตางกัน
ทางดานเผาพันธุแ ละวัฒนธรรม
ความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรมไทย
สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงจากสังคมเกษตรกรรมไปเปนสังคมอุตสาหกรรม ทําใหเกิดปญหาทางสังคมและ
วัฒนธรรมแกสงั คมเกษตรหลายประการ คือ
1. การมีรายไดนอ ยของคนในสังคมเกษตร ซึง่ เกิดจากสาเหตุตา งๆ หลายอยาง เชน
- การตองพึง่ พาอาศัยธรรมชาติ และตองลงทุน ตองพึง่ วิทยาการสมัยใหมเพือ่ เพิม่ ผลผลิต
- ไมสามารถกําหนดราคาสินคาของตนได เพราะเปนสินคาทีเ่ นาเสียงาย จึงตองรีบขาย
2. การขาดการศึกษาของคนในชนบท เกิดจากการทีร่ ฐั บาลไมสามารถใหบริการดานนีไ้ ดอยางเต็มที่ ทัง้ ๆ ที่
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 รัฐบาลจะสงเสริมการศึกษาใหแกประชาชนโดยเฉพาะในชนบท
โดยขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 6 ป เปน 9 ป โดยหลักสูตรจะเนนเกีย่ วกับการฝกทักษะและเพิม่ พูนความรู
ดานอาชีพใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของทองถิน่
3. ปญหาดานสาธารณสุขในชนบท ซึง่ รัฐบาลไดกาหนดแนวทางแก
ํ ไขไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับที่ 7 ตอการสนับสนุนใหประชาชนมีสว นรวมในการตัดสินใจ การพัฒนาภูมปิ ญ  ญาดานการรักษาพยาบาลแบบพืน้ บาน
การพัฒนาสถานบริการทุกระดับ และขยายบริการพืน้ ฐานดานสาธารณสุข เปนตน

177 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

ผลกระทบของความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรมทีม่ ตี อ การพัฒนาประเทศ แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ


1. ผลกระทบทีม่ ตี อ การวางแนวทางการพัฒนาประเทศ เนือ่ งจากสังคมไทยมีความแตกตางกันระหวางสังคม
เกษตรและอุตสาหกรรมอยางชัดเจน การวางแผนในการพัฒนาประเทศจึงเปนแนวทางเดียวกันลําบาก เพราะถาสนับสนุน ดาน
หนึง่ ก็จะเกิดผลเสียแกอกี ดานหนึง่
2. ผลกระทบทีม่ ตี อ การแจกแจงรายไดระหวางสังคมเมืองกับสังคมชนบท ซึง่ อาจนําไปสูค วามขัดแยงในสังคม
เพราะคนในชนบทไมพอใจวิถชี ีวติ แบบชนบท และพยายามเรียกรองความเปนอยูท ด่ี ขี น้ึ กวาเดิม ซึง่ จะทําใหเปนอุปสรรค
ในการพัฒนาประเทศ

การพัฒนาคุณภาพของประชากร
การพัฒนาคุณภาพของประชากรโลก
ประชากร = พลเมืองหรือประชาชนของสังคมหนึง่
ประชากรเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาสังคมในวิชาเศรษฐศาสตรเรียกวาทรัพยากรมนุษย
โครงสรางประชากรของโลก มีลกั ษณะดังนี้
1. ประชากรสวนใหญจะอาศัยอยูต ามชนบทของกลุม ประเทศกําลังพัฒนาโดยเฉพาะในทวีปเอเชีย
2. ประชากรจะตัง้ ถิน่ ฐานอยูห นาแนนบริเวณใกลแหลงนํา้
3. การกระจายของประชากรอยูใ นอัตราทีไ่ มเทากัน
4. ประชากรในวัยเด็กของกลุม ประเทศกําลังพัฒนาจะมีสดั สวนสูงกวากลุม ประเทศทีพ่ ฒ
ั นาแลว
5. ประชากรวัยชราและวัยแรงงานในประเทศกําลังพัฒนาจะมีนอ ยกวากลุม ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว
ปญหาประชากรโลกทีส่ ําคัญในปจจุบนั
1. อัตราการเพิม่ ไมเหมาะสม คือเพิม่ มากเกินไปทําใหเกิดปญหาขึน้ ตามมา
2. อัตราการเพิม่ ของประชากรอยูใ นเกณฑทส่ี งู เกินไป
3. การเพิม่ ของจํานวนประชากรเปนไปในอัตราสวนทีไ่ มเหมาะสม
ผลกระทบทีเ่ กิดจากการเพิม่ ประชากร
1. ปญหาการขาดแคลนอาหารบริโภค การขาดอาหารทําใหเกิดปญหาทุพภิกขภาพเกิดมากในเอเชียใต
2. ปญหาการเสือ่ มโทรมของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติการมีประชากรมากของเสียก็เพิม่ ขึน้
3. ปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ อดีตปญหาเกิดจากการกระจายประชากรซึง่ นําไปสูก ารแยงชิงดินแดน
คุณภาพชีวติ หมายถึง ความสุขทัง้ ทางรางกายและจิตใจตามสมควรแกอตั ภาพสอดคลองกับทรัพยากร สภาพ
แวดลอมไมเปนภาระและกอใหเกิดปญหากับสังคม
แนวทางในการแกไขปญหาประชากรโลก
เปาหมายสูงสุดในการแกปญหาประชากรขององคการสหประชาชาติเนนการขจัดปญหาความอดอยากและโรค
ภัยไขเจ็บของประชากรใหเหลือนอยทีส่ ดุ โดยลดอัตราการเพิม่ ประชากร โดยใหมคี า ใกลเคียงกับศูนย หมายถึง อัตราการเกิด
นาจะเทากับอัตราการตาย

178 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

การพัฒนาคุณภาพของประชากร
กับการพัฒนาประเทศไทย
ประเทศไทยจําเปนอยางมากทีต่ อ งพัฒนาประชากร ซึง่ กอนอืน่ เราควรดูโครงสรางประชากรของประเทศกอน
โครงสรางประชากร
จํานวนประชากรของไทยเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ซึง่ ดูจากการเปลีย่ นแปลงประชากรทีม่ เี รือ่ งของการเกิดการตายและ
การยายถิน่ ระหวางประเทศดังนี้
1. อัตราการเกิดของไทยลดลง
2. อัตราการตายลดลง
3. มีสว นในการกําหนดจํานวนประชากรนอยมากเมือ่ เทียบกับอัตราการเกิดและอัตราการตาย
โครงสรางทางอายุของประชากร
อัตราการเกิดและอัตราการตายมีผลตอโครงสรางทางอายุของประชากร ถาอัตราการเกิดลดลง คนวัยเด็กจะ
ลดลงดวยจํานวนเด็กในวัยเรียนจะเปลีย่ นไป ประชากรวัยแรงงานและผูส งู อายุจะมีมากขึน้ อัตราสวนวัยทีเ่ ปนภาระจะ
เปนผูส งู อายุมากกวาเด็ก
ความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากรทีม่ ตี อ การพัฒนาประเทศ
การพัฒนาประชากร หมายถึง การพัฒนาคนในระยะยาวตองทําอยางตอเนือ่ งและมีขน้ั ตอน ตองทําตัง้ แตเกิด
โดยเฉพาะการปลูกฝงดานวินยั ความคิด และเรือ่ งความจําเปนในการศึกษา ประชากรยุคใหมจําเปนตองมีความสามารถ
ในการจัดการรวมทัง้ มีทกั ษะใหมๆ การวางแผนประชากรในอดีตเปนเรือ่ งของอุปสงคและอุปทานดานแรงงาน แตใน
ปจจุบนั ควรคํานึงถึงสิง่ ตางๆ ดังนี้
1. การปรับปรุงประสิทธิภาพในการจัดสรรของตลาดแรงงาน
2. นโยบายดานภาษีการคา ตลอดจนนโยบายการกําหนดราคาปจจัยการผลิตอยางเหมาะสมทีจ่ ะชวยเพิม่ การสราง
ประสิทธิภาพการสรางงานและการสงเสริมการลงทุนทีเ่ นนความเปนไปไดดา นกําลังคน นอกเหนือจากความเปนไปดานการเงิน
3. นโยบายการศึกษาทีเ่ ปนไปตามความตองการของประเทศ
4. นโยบายการฝกอบรมของรัฐบาลโดยผานนโยบายภาษีอากร
5. นโยบายสงเสริมการลงทุนโดยเนนการถายทอดเทคโนโลยี การถายทอดลักษณะและการจัดการการอบรม
โดยบริษทั ขามชาติ
บทบาทของประชากรทีม่ คี ณ
ุ ภาพตอการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาประชากรของแตละประเทศยอมมีลกั ษณะตางกัน แตจะมีความคลายกันในกลุม ประเทศอุตสาหกรรม
ซึง่ มักใชการพัฒนาประชากรดวยการศึกษาในระดับหนึง่ คือจนถึงระดับมัธยมศึกษา หลังจากนัน้ ก็มกี ารพัฒนาประชากร
ดวยการฝกอบรม โดยเฉพาะในตลาดแรงงาน สําหรับประเทศไทยการพัฒนาประชากรเนนการศึกษาในระดับสูง คือ
ระดับอุดมศึกษามากกวาระดับมัธยมศึกษา การพัฒนาประชากรดวยการฝกอบรมไมเปนทีน่ ยิ มนัก ดังนัน้ ถาเราอยาก
พัฒนาประเทศใหทดั เทียมประเทศอุตสาหกรรมเราก็ตอ งพัฒนาประชากรอยางจริงจัง เพื่อนําไปสูก ารพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมทีเ่ จริญกาวหนาตอไป
ปจจุบนั ประเทศไทยมีการเพิม่ ประชากร รอยละ 1.1 ตอป ยังถือวาเปนการเพิม่ มากเกินไป เพราะดูตามสภาพ
ทุกดานของประเทศประชากรควรมีมากทีส่ ดุ ประมาณ 60 ลานคน จึงจะพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ไี ด

179 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

สาเหตุการเพิม่ ประชากรของไทย
ปกติประชากรจะเพิม่ จากปจจัย 3 อยาง คือ
1. อัตราการเกิดสูง
2. อัตราการตายลดลง
3. การยายถิน่ สุทธิ
แตสําหรับประเทศไทยการยายถิน่ สุทธิไมใชสง่ิ สําคัญ เพราะเรามีกฎหมายคนเขาเมืองกําหนดคนตางดาว ทีจ่ ะมา
ตัง้ ถิน่ ฐานสัญชาติละไมเกิน 200 คนตอป
การพัฒนาคุณภาพของประชากรไทย
คุณภาพของประชากรไทยทีพ่ งึ่ ปรารถนาและสอดคลองกับความจําเปนในการพัฒนาประเทศ คือ การมีคณ ุ ธรรม
มีระเบียบวินยั มีความรับผิดชอบ คิดเปนทําเปนทําเปน ขยันอดทน ประหยัด
ความสําคัญของประชากร
1. ทางดานเศรษฐกิจ เปนผูก าหนดและประกอบกิ
ํ จกรรมทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการใชัแรงงาน หมายถึง ประชากรที่
มีอายุประมาณ 15-60 ป
2. ทางดานการเมือง ดินแดนตางๆ ตองมีผนู าํ มีการปกครอง มีทหารปองกันประเทศ
การกระจายประชากรของโลก
1. การกระจายตามเขตภูมศิ าสตร เขตทีม่ ปี ระชากรหนาแนนของโลก คือ เอเชียตะวันออกและเอเชียใตมปี ระชากร
รวมกันประมาณครึง่ หนึง่ ของโลก
เขตประชากรเบาบาง คือ เขตหนาวทางภาคเหนือของอเมริกาเหนือและยูเรเซีย ซึง่ เปนเขตอากาศแหงแลง
แบบทะเลทราย
2. การกระจายรายได ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวรายไดเฉลีย่ ของประชากรตอคนตอปสงู มาก ตรงขามกับประเทศ
กําลังพัฒนา
3. การกระจายของกลุม อายุ คนในประเทศพัฒนาแลวมักมีสดั สวนใกลเคียงกัน คือ เด็ก คนหนุม สาวและ
ผูส งู อายุ
สวนในประเทศทีก่ ําลังพัฒนา สัดสวนในกลุม อายุของประชากรจะมีลกั ษณะคลายประมิด มีประชากรวัยเด็กมาก
หนุม สาวนอยลงและผูส งู อายุมสี ดั สวนตําที
่ ส่ ดุ
คุณภาพชีวติ ของประชากร หมายถึง คุณภาพของประชากรในดานตางๆ ทีท่ าให ํ ชวี ติ ไมเปนภาระและไมกอ ใหเกิด
ปญหาสังคม
องคประกอบของคุณภาพชีวติ
1. มีมาตรฐานในการครองชีพ
2. พลวัตของประชากร ซึง่ เปนเรือ่ งเกีย่ วกับโครงสรางทางอายุ เพศ อัตราการเติบโตของประชากร อัตราการเกิด
การตาย การยายถิน่
3. ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
4. กระบวนการพัฒนา
5. ทรัพยากร

180 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แบบทดสอบชุดที่ 1
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. การปกครองสมัยอยุธยามีลกั ษณะตางจากสมัยสุโขทัยในเรือ่ งใด
1) รูปแบบการปกครอง 2) ลักษณะการปกครองสวนภูมภิ าค
3) ขอจํากัดอํานาจของพระมหากษัตริย 4) ฐานะของพระมหากษัตริย
2. พระอัยการตําแหนงนาพลเรือนและพระอัยการตําแหนงนาทหารหัวเมืองเกีย่ วของกับเรือ่ งใดมากทีส่ ดุ
1) การจัดลําดับชัน้ ในสังคมไทย 2) การแบงแยกอํานาจของพลเมือง
3) การแบงแยกทหารและพลเรือนออกจากกัน 4) การปฏิรปู ทีด่ นิ
3. ขอใดผิดเกีย่ วกับไพร
1) ไพรเปนพลเมืองสวนใหญของสังคมมีทง้ั หญิงและชาย
2) ไพรทถ่ี กู เกณฑแรงงานสวนใหญเปนชายทีม่ คี วามสูงวัดจากเทาถึงไหลไดประมาณ 40 นิ้ว
3) ใหบางพวกอาจเสียสวยเปนสิง่ ของหรือเงินแทนได
4) ในยามสงครามไพรไมจําเปนตองถูกเกณฑแรงงานเพราะตองไปรบ
4. ฐานะการเปนไพรมตี ง้ั แตเมือ่ ใด
1) ตัง้ แตเกิด 2) เมือ่ อายุ 9 ป 3) เมือ่ บรรลุนติ ภิ าวะแลว 4) วัดตามความสูงของไพร
5. ทาสสวนใหญเปนทาสชนิดใด
1) ทาสเชลย 2) ทาสสินไถ 3) ทาสในเรือนเบีย้ 4) ทาสทานให
6. ขอใดมิเกีย่ วกับทาส
1) ทาสเปนสมบัตขิ องนายเงินทีจ่ ะยกขายใหใครก็ได
2) นายเงินจะลงโทษทาสอยางไรก็ได
3) ไพรหลวงทีข่ ายตัวเปนทาสยังตองรับภาระทีจ่ ะตองเขาเดือนตอไปดวย
4) บิดา มารดามีสทิ ธิขายบุตรเปนทาสได
7. มูลนายสูงสุดคือใคร
1) พระมหากษัตริย 2) เจานาย 3) ขุนนาง 4) พระสงฆ
8. ไพรหลวงมีลกั ษณะเปนอยางไร
1) เปนไพรทก่ี ษัตริยพ ระราชทานใหแกเจานายและขุนนาง
2) เปนไพรทท่ี รงแจกจายไปอยูป ระจําตามกรมกองตางๆ
3) เปนไพรทข่ี น้ึ สังกัดเปนสวนตัวของเจานายและขุนนาง
4) เปนไพรทไ่ี มมหี นาทีเ่ ขาเวรรับราชการ
9. เมือ่ มูลนายตายไพรสมจะมีทางเลือกอยางไร
1) เปนไพรสว ย 2) เปนเสรีชน
3) สมัครเปนไพรของมูลนายคนใหม 4) โอนเปนไพรหลวง

181 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

10. ขอใดทําใหสงั คมมีความเหลือ่ มลํ้า


1) ระบบมูลนาย 2) ระบบศักดินา
3) ระบบอุปถัมภ 4) ระบบการเมืองการปกครอง
11. ศิลปวัฒนธรรมแบบดัง้ เดิมสรางผลงานเพือ่ วัตถุประสงคใด
1) เพื่อประโยชนใชสอย 2) เพือ่ ประโยชนในการทําพิธกี รรมทางศาสนา
3) เพือ่ บูชาเทพเจา 4) เพือ่ ใชเปนเครือ่ งมือในการหาเลีย้ งชีพ
12. ศิลปวัฒนธรรมหลวงตรงกับขอใด
1) ศิลปวัฒนธรรมแบบดัง้ เดิม 2) ศิลปวัฒนธรรมแบบประเพณีนยิ ม
3) ศิลปวัฒนธรรมสุโขทัย 4) ศิลปวัฒนธรรมพระราชนิยม
13. สถาปตยกรรมทีเ่ ปนลักษณะเฉพาะของศิลปะอยุธยาคือขอใด
1) สถูปและวิหารยอดทรงแบบพุกาม 2) พระพุทธรูปเชียงแสน
3) พระพุทธรูปสัมฤทธิป์ างสมาธิ 4) เจดียย อ มุมไม 12
14. ในสมัยสุโขทัยนิยมสรางเจดีย 3 แบบ ยกเวนขอใด
1) เจดียท รงพุม ขาวบิณฑ 2) เจดียท รงดอกบัวตูม
3) เจดียท รงเรือนธาตุ 4) เจดียท รงระฆังควํา่
15. สถาปตยกรรมสมัยใหมมงุ เนนเรือ่ งใด
1) สถานทีร่ าชการ 2) พระบรมมหาราชวัง 3) ทีอ่ ยูอ าศัย 4) วัด
16. วรรณกรรมสมัยใหมเนนแบบใด
1) เลียนแบบตะวันตก 2) เปนตํานาน 3) เสียดสีสงั คม 4) เปนการแปลนวนิยาย
17. ขอใดเปนลักษณะของละครพันทาง
1) เกิดจากการผสมผสานระหวางคอนเสิรต โอเปราของตะวันตก
2) ใชผหู ญิงแสดงลวนเชนเดียวกับละครใน
3) มีเฉพาะบทรองและบทเจรจาไมมบี ทรํา
4) เรือ่ งทีแ่ สดงมักเปนเรือ่ งทีอ่ งิ พงศาวดาร
18. การเปลีย่ นวันขึน้ ปใหมเปนวันที่ 1 มกราคม เกิดในยุคผูนําคนใด
1) นายควง อภัยวงศ 2) จอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต
3) จอมพล ป. พิบลู สงคราม 4) จอมพลถนอม กิตขิ จร
19. คาผานดานที่เรียกเก็บจากสินคาที่ผานขนอน ทีต่ ง้ั เก็บภาษีเรียกวา
1) จังกอบ 2) อากร 3) ฤชา 4) สวย
20. ขอใดไมใชลกั ษณะของเศรษฐกิจแบบยังชีพ
1) ผลิตเพื่อบริโภคในครอบครัวหรือชุมชน 2) พึง่ ธรรมชาติเปนหลัก
3) ตองผลิตสิง่ ของเครือ่ งใชทง้ั หมด 4) การแลกเปลีย่ นใชเงินเปนสือ่ กลาง

182 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

21. ผลดีของระบบเจาภาษีนายอากรทีด่ ที ส่ี ดุ คือขอใด


1) รัฐบาลหมดภาระในการเก็บภาษี 2) ประชาชนมีความสะดวกในการเสียภาษี
3) รัฐบาลไดรบั รายไดทแ่ี นนอนทุกป 4) คนตางดาวมีงานทํา ไมกอ ปญหา
22. ขอใดไมใชสว นทีช่ าวตะวันตกไมพอใจสภาพการคาของไทยกอนสนธิสญ ั ญาเบาวรงิ
1) ลักษณะการคาแบบผูกขาดของพระคลังสินคา
2) นโยบายเก็บภาษีในอัตราทีไ่ มแนนอน
3) รัฐเก็บภาษีปากเรือในกรณีเรือทีม่ สี นิ คาอัตราวาละ 2,000 บาท
4) รัฐบาลใชสทิ ธิเลือกซือ้ กอน
23. ขอใดไมใชสาระสําคัญของสนธิสญ ั ญาเบาวรงิ
1) อนุญาตใหพอ คาอังกฤษติดตอคาขายกับพอคาโดยตรง
2) พอคาอังกฤษซือ้ สินคาทุกชนิดออกนอกประเทศไทย
3) ตองเก็บภาษีขาเขาและขาออกรอยละ 3
4) สนธิสญ ั ญาจะแกไขไดเมือ่ ผานไป 10 ป
24. เคาโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค เสนอโครงการแกปญ  หาเศรษฐกิจในรูปแบบใด
1) แบบทุนนิยม 2) แบบสังคมนิยม 3) สหกรณ 4) คอมมิวนิสต
25. ระบบภาษีอากรทีใ่ หเอกชนดําเนินการแทนรัฐบาลเกิดในสมัยใด
1) รัชกาลที่ 2 2) รัชกาลที่ 3 3) รัชกาลที่ 4 4) รัชกาลที่ 5
26. การทําเหมืองแรสว นใหญอาศัยแรงงานพวกใด
1) ไพร 2) ไพรและทาส 3) คนจีน 4) คนตางชาติทว่ั ไป
27. นโยบายชาตินยิ ม ในสมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม ดําเนินการหลายอยาง ยกเวนขอใด
1) สงวนอาชีพใหคนไทย 2) กําหนดเขตหวงหามมิใหคนจีนอยูอ าศัย
3) สงเสริมใหประชาชนเขาจับจองทีด่ นิ สรางตนเอง 4) เรียกรองใหคนไทยขับไลชาวตางชาติ
28. อุตสาหกรรมทีส่ าคั
ํ ญเกิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 2 บริเวณลุม แมน้าท
ํ าจีนคือขอใด
1) อุตสาหกรรมทอผา 2) อุตสาหกรรมขนสงทางทะเล
3) อุตสาหกรรมขาว 4) อุตสาหกรรมนํ้าตาลทราย
29. ภายหลังการฉลองพระนครครบรอบ 150 ป มีเหตุการณใดเกิดขึน้
1) การปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475 2) การพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย
3) การสละราชสมบัตขิ องรัชกาลที่ 7 4) การสวรรคตของรัชกาลที่ 8
30. ขอใดไมใชมรดกทีช่ าวตะวันออกกลางโบราณทิง้ ไวใหชนรุน หลัง
1) การประดิษฐตวั อักษร 2) เทคนิคการกอสราง
3) การปกครองแบบประชาธิปไตย 4) การนับถือพระเจาองคเดียว
31. ภาพวาดรูปสัตวบนผนังถํ้าอัลตามิราในประเทศสเปนแสดงถึงวัฒนธรรมชัน้ สูงของมนุษยในยุคใด
1) ยุคหินเกาตอนตน 2) ยุคหินเกาตอนปลาย
3) ยุคหินใหมตอนตน 4) ยุคหินใหมตอนปลาย

183 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

32. ภาพทีว่ าดสวนใหญในยุคหินกลางมีจดุ มุง หมายอยางไร


1) บูชาเทพเจา 2) แสดงเรือ่ งราวของผูค น
3) ความเชื่อเรื่องวิญญาณ 4) ใหความสําคัญกับเทพเจามากกวาเทพี
33. ขอใดไมใชศลิ ปกรรมในยุคหินใหม
1) เครื่องปนดินเผา 2) อนุสาวรียห นิ
3) เครือ่ งใชทางการเกษตรแบบงายๆ 4) ภาพวาดตามฝาผนังถํ้า
34. ขอใดไมใชความเชือ่ ของชาวอียปิ ต
1) ความเปนอมตะของวิญญาณ 2) เชือ่ วาโลกหนาเปนโลกทีอ่ ดุ มสมบูรณ
3) เชือ่ วาการทํามัมมีจ่ ะทําใหรา งกายไมเนาเปอ ย 4) เชือ่ วาสฟงคจะรักษาความเปนอมตะของวิญญาณได
35. มรดกชิ้นสําคัญของอมรไลทคอื อะไร
1) ซิกแู ลต 2) สวนลอยบาบิโล 3) กฎหมายฮัมมูราบี 4) คัมภีรมรณะ
36. เฮเลนนิส เปนชื่อของชนชาติใด
1) กรีก 2) โรมัน 3) สุเมเรียน 4) อียปิ ต
37. ชาวกรีกนิยมสรางประติมากรรมแบบใด
1) รูปเปลือย 2) รูปโป 3) รูปสามมิติ 4) แตงกายเต็มยศ
38. ชาติใดเปนชาติแรกทีน่ าศิ ํ ลปะมารับใชมนุษยแทนการรับใชเทพเจา
1) กรีก 2) โรมัน 3) สุเมเรียน 4) อียปิ ต
39. สาเหตุทส่ี ปาตารเปนรัฐทางทหารเพราะเหตุใด
1) ประชากรมีจํานวนมาก 2) ภูมปิ ระเทศทุรกันดาร
3) มีชนกลุม นอยและชนพืน้ เมืองจํานวนมาก 4) มีพลเมืองชายมากกวา
40. วิหารเซนตโซเฟยเปนสถาปตยกรรมแบบใด
1) ไบเซนตไท 2) โรมาเนสค 3) โกธิก 4) ศิลปะอิสลาม
41. นครรัฐของกรีกแตละแหงนิยมสรางวิหารไวบนทีส่ งู เพือ่ อะไร
1) เพือ่ หนีสภาพภูมอิ ากาศ 2) เพือ่ บูชาเทพเจา
3) เพือ่ เปนทีอ่ ยูก ษัตริย 4) เพือ่ แสดงถึงความยิง่ ใหญ
42. ขอใดไมเกีย่ วกับโรมัน
1) เครงครัดระเบียบวินยั 2) เปนนักคิด
3) สรางระบบกฎหมายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 4) นิยมสรางสาธารณสถานขนาดใหญ
43. ผูท ม่ี สี ทิ ธิออกเสียงวีโตคดั คานมติทส่ี ภาเซเนตเห็นชอบคือขอใด
1) พวกพลีเบียน 2) พวกพาทรีเชียน 3) พวกตรีบนู 4) พระมหากษัตริย
44. แมนเนอรตรงกับยุคใด
1) ยุคโบราณ 2) ยุคกลาง 3) สมัยใหมตอนตน 4) สมัยใหมตอนปลาย

184 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

45. ขอใดเปนลักษณะของศิลปะแบบโกธิก
1) เปนศิลปทีห่ ลุดพนจากกรีกและโรมัน 2) เปนศิลปะทีไ่ มเกีย่ วของกับคริสตศาสนา
3) เปนศิลปะทีไ่ มสมั พันธกบั สมัยโรมาเนสค 4) ภายในตัวอาคารจะไมสวาง เชน วิหารโนตรดาม
46. ขอใดไมใชผทู เ่ี กีย่ วของเกีย่ วกับศิลปวัฒนธรรมแบบสัจจนิยม
1) บีโทเฟน 2) ชารลส ดารวิน 3) คานมารก 4) เดอกาส
47. ขอใดไมไดเปนผลงานของลีโอนาโด ดารวินชี
1) ภาพโมนาลิซาร 2) ภาพอาหารมือ้ สุดทาย
3) รูปสลักหินออนเดวิด 4) ความรอบรูท างดานดาราศาสตร
48. ศิลปวัฒนธรรมแบบโรแมนติกเปนอยางไร
1) นิยมการใชเหตุผล 2) เปนสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริงในสังคม
3) สนใจความกาวหนาทางวิทยาศาสตร 4) ชื่นชมกับความงามในธรรมชาติ
49. รูปปเอตารเกีย่ วของกับขอใด
1) วิหารเซนตปเ ตอร 2) ลีโอนาโด ดารวินชี 3) วิหารพาเทนอร 4) ไมเคิลแองเจโร
50. วิหารนอทเทอรดามเปนศิลปะแบบใด
1) ศิลปะไบเซนไท 2) ศิลปะโรมาเนสค 3) ศิลปะโกธิก 4) ศิลปะอิสลาม
51. กระดูกเสีย่ งทายทําใหรเู รือ่ งใดของจีน
1) การเกษตร 2) ความเชื่อ 3) การปกครอง 4) การคาขาย
52. ขงจือ๊ สอนคุณธรรมเรือ่ งใดทีส่ าคั ํ ญทีส่ ดุ
1) การปฏิบตั ติ ามหนาทีแ่ ละบทบาทของตน 2) การปกครองทีม่ คี ณ ุ ธรรม
3) การเคารพผูอื่นเสมือนตนเอง 4) การเขาหาธรรมชาติ
53. ความเชื่อของใครที่สอนเรื่องความรัก การถอมตน ความไมเห็นแกตวั
1) ขงจือ๊ 2) เลาจือ๊ 3) เมงจือ๊ 4) ซินจือ๊
54. บันทึกของคนบาเปนวรรณกรรมทีแ่ สดงถึงเรือ่ งใดของสังคม
1) วัฒนธรรม 2) ความเชื่อทางศาสนา 3) ความยุตธิ รรม 4) ความเปนจริงในสังคม
55. นวนิยายของจีนเรือ่ งใดทีแ่ สดงความเสือ่ มโทรมของสังคมศักดินาจีน
1) สามกก 2) ซองกัง๋ 3) จินฟงเหมย 4) หลโหลงเมิง่
56. ขอใดไมใชคุณธรรม 5 ประการของขงจือ๊
1) ความสุภาพ 2) ความอดทน 3) ความจริงใจ 4) ความเมตตากรุณา
57. เครือ่ งเคลือบดินเผาของจีนเจริญมากทีส่ ดุ ในสมัยใด
1) ราชวงศจน๋ิ 2) ราชวงศซอ ง 3) ราชวงศมองโกล 4) ราชวงศแมนจู
58. ราชวงศใดทีเ่ ปดใหมกี ารสอบจอหงวน
1) ราชวงศจน๋ิ 2) ราชวงศสยุ 3) ราชวงศฮั่น 4) ราชวงศซอง

185 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

59. เหตุการณใดทีท่ าใหํ การเผชิญหนาระหวางฝายกวอมินตัง๋ และคอมมิวนิสตหยุดพักไปชัว่ คราว


1) การอสัญกรรมของ ดร. ซุนยัดเซน 2) การรุกรานของญีป่ นุ เหนือดินแดนจีน
3) การรุกรานของเยอรมันเหนือดินแดนจีน 4) การทําสงครามระหวางจีนกับเกาหลี
60. วิธกี า วกระโดดไกลของจีนสัมพันธกบั ขอใด
1) ระบบนารวม 2) นโยบาย 4 ทันสมัย 3) การปฏิวตั วิ ฒ ั นธรรม 4) ระบบคอมมูน
61. ขอใดไมใชนโยบาย 4 ทันสมัยของจีน
1) การปฏิรปู ทางดานการเกษตร 2) การปฏิรปู ทางดานอุตสาหกรรม
3) การปองกันประเทศ 4) การปฏิรปู ทางดานการศึกษา
62. สุสานทัชมาฮาลเปนสุสานหินออนสะทอนอิทธิพลของศิลปะใด
1) กรีกและเปอรเซีย 2) โรมันและเปอรเซีย 3) โรมันและฮินดู 4) เปอรเซียและฮินดู
63. คําวา "เศรณี" เกีย่ วของกับขอใด
1) ระบบการปกครองของอินเดียสมัยราชวงศคปุ ตะ 2) สมาคมพอคาของอินเดียสมัยราชวงศคปุ ตะ
3) ระบบการปกครองของอินเดียสมัยราชวงศเมารยะ 4) สมาคมพอคาของอินเดียสมัยราชวงศเมารยะ
64. คํากลาวทีว่ า "อังกฤษเปนผูส รางความเปนเอกภาพใหอนิ เดีย" หมายถึง เอกภาพในเรือ่ งใด
1) เชื้อชาติวัฒนธรรม 2) ความรูส กึ ชาตินยิ ม
3) การเมือง การปกครอง 4) ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ
65. วรรณกรรมในสมัยแหงความรูแ จงมีลกั ษณะอยางไร
1) สะทอนความเปนจริงของสังคม
2) สะทอนใหเห็นความเชือ่ และความตองการทีจ่ ะปรับปรุงสังคม
3) ศึกษาวิจารณสงั คมในระบอบประชาธิปไตย
4) ไมคอ ยเชือ่ มัน่ ในเหตุผลกฎเกณฑของสังคม
66. ปฏิฐานนิยมเปนความเชือ่ วาสิง่ ใดจะชวยใหมนุษยชาติเจริญกาวหนาตอไปอยางไมมที ส่ี น้ิ สุด
1) วิทยาศาสตร 2) เทคโนโลยี 3) ความเชื่อทางศาสนา 4) ระบบเสรีนยิ ม
67. การปกครองแบบประชาธิปไตยของตะวันตกสมัยใหมมปี จ จัยหลายอยาง ยกเวนขอใด
1) การฟน ฟูศลิ ปวิทยาการ 2) การปฏิรปู ศาสนา
3) การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม 4) การเกิดชนชัน้ กลาง
68. นักเขียนคนใดเสนอแนวความคิดทางการเมืองการปกครองวาดวยการแบงแยกอํานาจทางการเมืองออกเปน 3 สวน คือ
นิตบิ ญ ั ญัติ บริหาร และตุลาการ
1) จอหน ล็อค 2) มองเกสติเออ 3) ฌอง ฌาค รุสโซ 4) โทมัส ฮอบส
69. หนังสือสัญญาประชาคมเปนผลงานของใคร
1) จอหน ล็อค 2) มองเกสติเออ 3) ณอง ฌาค รุสโซ 4) โทมัส ออบส
70. โซเครติส เพลโต เกีย่ วพันกับชาติใดมากทีส่ ดุ
1) กรีก 2) โรมัน 3) สุเมเรียน 4) อียปิ ต

186 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

71. การประกาศอิสรภาพของอเมริกาไดรบั อิทธิพลจากแนวความคิดของนักปรัชญาคนใด


1) จอหน ล็อค 2) โทมัส ออบส 3) มองเกสกิเออ 4) รุสโซ
72. ชัยชนะอยางเด็ดขาดของรัฐสภาอังกฤษคือเรือ่ งใด
1) กฎบัตรแมกนากาตา 2) การปกครองของโอริเวอรคอมเวล
3) การปฏิวตั อิ นั รุง โรจน 4) พระราชบัญญัตวิ า ดวยสิทธิเสรีภาพ
73. ระบบพาณิชยชาตินยิ มมีลกั ษณะทีส่ าคั ํ ญคือ
1) รัฐบาลของกษัตริยค วบคุมการผลิตสินคาและการคาขายอยางใกลชดิ
2) เอกชนเปนผูค วบคุมการผลิตสินคาและการคาขายอยางใกลชดิ
3) มีการกระตุน ใหสง สินคาและนําสินคาเขาเพือ่ แลกเปลีย่ นกัน
4) ไมสนับสนุนใหแสวงหาอาณานิคมแตสนับสนุนคาขายในดินแดนโพนทะเล
74. อดัมสมิทสเกีย่ วของกับขอใด
1) ลัทธิสงั คมนิยม 2) เสรีนยิ ม 3) สังคมยุโทเปย 4) สังคมคอมมิวนิสต
75. พมาตกเปนเมืองขึน้ ของอังกฤษดวยเหตุผลใด
1) อังกฤษทําสงครามชนะพมา 2) อังกฤษอางวาพมาเปนเมืองขึน้ ของอินเดีย
3) พมาขอเปนเมืองขึน้ ของอังกฤษ 4) ฝรัง่ เศสยกพมาใหองั กฤษ
76. ประเทศใดที่เกรงวาคอมมิวนิสตในเวียดนามจะขยายตัวเหนือดินแดนอินโดจีนจึงสงทหารมาชวยรบภายใตชื่อของ
"ทีป่ รึกษาทางทหาร"
1) ฝรั่งเศส 2) อังกฤษ 3) สหรัฐอเมริกา 4) แคนาดา
77. มาเลเซียมีปญ  หาในเรือ่ งความสัมพันธกบั อินโดนีเซียเนือ่ งจากเหตุใด
1) ประชากรเชือ้ ชาติตา งกัน 2) ประชากรนับถือศาสนาตางกัน
3) ขัดแยงกันเรือ่ งผลประโยชนเหนือทองทะเล 4) ขัดแยงกันเรือ่ งผลประโยชนของการคาระหวางประเทศ
78. ขอใดไมเกีย่ วของกับการปฏิรปู เมจิ
1) เลิกตําแหนงโชกุน 2) ปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผนดิน
3) ประกาศใชรฐั ธรรมนูญ 4) กษัตริยไ มมอี ํานาจในการปกครองประเทศ
79. ขอใดไมใชเหตุผลทีญ ่ ป่ี นุ ฟน ตัวอยางรวดเร็วหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2
1) มีสหรัฐอเมริกาชวยเหลือ
2) ความรูใ นเรือ่ งระบบโรงงานและการพาณิชยยงั มีอยูใ นญีป่ นุ
3) สหรัฐอเมริกาพัฒนาการเมืองการปกครองญีป่ นุ ตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม
4) สหรัฐอเมริกาสนับสนุนใหญป่ี นุ สะสมกําลังและชวยฟน ฟูบํารุงกองทัพญีป่ นุ
80. ระบบเศรษฐกิจของเอเชียใตเติบโตอยางเชือ่ งชาเพราะ
1) ประชากรยากจน
2) ขาดการศึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
3) ขาดระบบการสือ่ สารและคมนาคมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
4) ขาดผูนาที ํ ม่ ปี ระสิทธิภาพ

187 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

81. เกาหลีเหนือมีแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจตามแบบสหภาพโซเวียตคือเปนการพัฒนาดานใด
1) อุตสาหกรรมการเกษตร 2) อุตสาหกรรมในครัวเรือน
3) อุตสาหกรรมหนัก 4) อุตสาหกรรมขนาดยอม
82. ลัทธิซกิ ขเนนเรือ่ งใด
1) การนับถือเทพเจาหลายองค 2) การบูชาธรรมชาติ
3) การตอตานระบบวรรณะ 4) การยอมรับตรีมรู ติ
83. กอนการปฏิวตั ทิ างการเกษตรวิธกี ารเพาะปลูกเปนอยางไร
1) ทํานาแบบนาเปดโลง 2) ทํานาแบบนาปดลอม
3) เกษตรกรไมมที ท่ี ํากิน 4) มีการปลูกพืชหมุนเวียน
84. ขอใดไมใชสาเหตุทท่ี าให
ํ องั กฤษเปนผูน ําในการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม
1) อังกฤษมีประชากรเพิม่ ขึน้ อยางเห็นไดชดั
2) อังกฤษมีความพรอมทางดานวิชาการ
3) อังกฤษมีความพรอมทางดานทรัพยากรทีจ่ ําเปนตอการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม
4) อังกฤษมีความพรอมทางกําลังทหาร
85. สาเหตุทเ่ี ยอรมันเริม่ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมชากวาฝรัง่ เศสเนือ่ งจากมีปญ
 หาดานใด
1) ดานการเมือง 2) ดานเศรษฐกิจ 3) ดานสังคม 4) ดานวัฒนธรรม
86. ไมเคิล ฟาราเดย เปนผลผลิตของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมยุคใด
1) สมัยแหงไอนํ้า 2) การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมยุคเหล็ก
3) การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมยุคเหล็กกลา 4) การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมยุคที่ 3
87. ขอใดมิใชผลดีของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมทางดานเศรษฐกิจ
1) เกิดความชํานาญการเฉพาะอยาง 2) มีการคาขายระหวางประเทศ
3) เกิดระบบชนชั้นกรรมาชีพ 4) คุณภาพของสินคามีมาตรฐานเดียวกัน
88. การทีร่ ฐั บาลอนุญาตใหบริษทั ขุดคลองแลคูนาสยามใชเครือ่ งจักรขุดคลองรังสิตดวยเหตุผลใด
1) ยนระยะเวลาการทํางานของชาวนา 2) ขยายพืน้ ทีก่ ารชลประทาน
3) ขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูก 4) สรางความกาวหนาทางการเกษตร
89. ถนนสายใดมิไดถกู ตัดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 4
1) ถนนราชดําเนิน 2) ถนนเฟอ งนคร 3) ถนนบํารุงเมือง 4) ถนนเจริญกรุง
90. แนวความคิดทีเ่ นนคุณคาความเปนมนุษยแตละบุคคลเรียกวาอะไร
1) สิทธิมนุษยนิยม 2) ลัทธิปจ เจกชนนิยม 3) ลัทธิธรรมชาตินยิ ม 4) ลัทธิสขุ นิยม
91. เหตุการณทถ่ี อื วาเปนการรวมความรูส กึ เปนชาติครัง้ แรกของฝรัง่ เศสคือขอใด
1) สงครามนโปเลียน 2) การปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส 3) สงครามรอยป 4) สงครามดอกกุหลาบ
92. สนธิสญ
ั ญาใดทีถ่ กู ยกเลิกภายหลังการปฏิวตั ใิ นตุรกี
1) สนธิสญั ญาแยงติแยงราเมง 2) สนธิสญ ั ญาเนยยี
3) สนธิสญ ั ญาตริอานอง 4) สนธิสญ ั ญาแซฟส

188 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

93. ปญหาแหลมบอลขานเปนความขัดแยังระหวางชาติใด
1) ออสเตรีย-ฮังการีกบั เยอรมัน 2) เยอรมันกับรัสเซีย
3) ออสเตรีย-ฮังการีกบั รัสเซีย 4) ฝรัง่ เศสกับรัสเซีย
94. กรณีการลอบปลงพระชนมทายาทของออสเตรีย-ฮังการีทเ่ี มืองซาลาเจโวเปนสิง่ ทีแ่ สดงถึงความขัดแยงในดานใด
1) เศรษฐกิจ 2) ศาสนา 3) เชื้อชาติ 4) การปกครอง
95. ความลมเหลวของสันนิบาตชาตินอกจากสหรัฐอเมริกาไมไดเปนสมาชิกและไมมกี องกําลังทหารเปนของตนเองแลว
ยังมีเหตุผลอืน่ สําคัญทีส่ ดุ คืออะไร
1) ประเทศสมาชิกไมมคี วามจริงใจในการใหความรวมมือรักษาสันติภาพ
2) ไมมเี งินทุนสนับสนุนประเทศสมาชิกใหเพิม่ แสนยานุภาพ
3) ประเทศสมาชิกมีจํานวนนอยเกินไป
4) สนธิสญ ั ญาสันติภาพไมกาหนดระยะเวลาในการรั
ํ กษาสันติภาพ
96. ขอใดเปนความลมเหลวของสันนิบาตชาติ
1) มีสมาชิกจํานวนไมมากพอ 2) มหาอํานาจไมใหความรวมมือ
3) ไมมกี องทหารเปนของตนเอง 4) ขาดเงินสนับสนุน
97. จุดระเบิดของสงครามโลกครัง้ ที่ 2 คือขอใด
1) เมืองทาคานซิก 2) ออสเตรีย 3) แควนอันซาส 4) แควนรอเรน
98. แถลงขอเสนอ 14 ขอ ของวูดส โรบินสัน เกีย่ วของกับขอใดมากทีส่ ดุ
1) สันนิบาตชาติ 2) สหประชาชาติ 3) สงครามเย็น 4) สงครามตัวแทน
99. ถาจํากัดบทบาทขององคการสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพระหวางประเทศซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับมหาอํานาจคือ
ขอใด
1) ปญหาคาใชจา ยขององคการสหประชาชาติ
2) ความจํากัดในขอบเขตแหงการดําเนินงานของสหประชาชาติ
3) ปญหาการขาดการบังคับอยางเด็ดขาด
4) ปญหาการใชสทิ ธิยบั ยัง้
100. APEC เกีย่ วของกับเรือ่ งใด
1) การลดอาวุธ 2) การคา
3) อุดมการณทางการเมือง 4) สังคมและวัฒนธรรม

189 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

แบบทดสอบชุดที่ 2
จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. ความรูท ไ่ี ดจากการศึกษา การพัฒนา การจัดระเบียบ สัง่ สมสืบทอดกันมาอยางตอเนือ่ งของมนุษยชาติ คืออะไร
1) วิทยากร 2) เทคโนโลยี 3) วิทยาศาสตร 4) ดาราศาสตร
2. ความรูท เ่ี กิดการศึกษาเรือ่ งตางๆ เกีย่ วกับความเปนไปตามธรรมชาติ โดยการสังเกต ทดสอบ เรียกวาอะไร
1) วิทยาการ 2) วิทยาศาสตร
3) เทคโนโลยี 4) วิทยาการและวิทยาศาสตร
3. วิทยาศาสตรสมัยใหม กอตัง้ ขึน้ ในยุคใด
1) ยุคแหงความรูแ จง 2) ยุคฟน ฟูศลิ ปวิทยาการ
3) ยุคกลาง 4) ยุคใหม
4. เงือ่ นไขสําคัญทีท่ ําใหเกิดแนวคิดวิทยาศาสตรสมัยใหม คือขอใด
1) การเจริญทางดานอุตสาหกรรม 2) ลัทธิพาณิชยชาตินยิ ม
3) ลัทธิจกั รวรรดินยิ ม 4) การเกิดชนชัน้ กลาง
5. ขอใดไมเกีย่ วของกับกาลิเลโอ
1) การคัดคานคําสอนของอริสโตเติล 2) การยอมรับความคิดของนิโคลัส โคเปอรนิคัส
3) สรางกลองโทรทัศน 4) พบดาวบริวารของดาวพุธ
6. ผูใ ดเกีย่ วของกับราชสมาคมแหงลอนดอนมากทีส่ ดุ
1) อริสโตเติล 2) นิโคลัส โคเปอรนิคัส 3) ฟรานซิส เบคอน 4) กาลิเลโอ
7. กระบวนการเรียน การวิเคราะห และการตรวจสอบ ความถูกตองเรียกรวมกันวา
1) การกําหนดสมมติฐาน 2) การวิเคราะหหาขอมูล
3) การปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร 4) ระเบียบวิธกี ารทางวิทยาศาสตร
8. ขัน้ ตอนทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ของระเบียบวิธกี ารทางวิทยาศาสตร คือขอใด
1) การศึกษาและการสังเกตปรากฏการณตา งๆ ทางธรรมชาติ
2) การวิเคราะหขอเท็จจริงทีพ่ บเห็น
3) การทดลองและทดสอบเพือ่ ตรวจสอบความถูกตองของสมมติฐาน
4) การสรุป วิเคราะห ผลการทดสอบ
9. ริชารด เทรวิชัด และยอรช สตีเฟนสัน เกีย่ วของกับเรือ่ งใด
1) การผลิตของจํานวนมาก 2) การนําเครือ่ งจักรไอนํามาใช
้ กบั รถไฟ
3) การใชสายพานในการผลิตสินคา 4) การประดิษฐวทิ ยุสอ่ื สาร
10. นักวิทยาศาสตรคนใดทีเ่ กีย่ วของกับแกลแวนอมิเตอร
1) ฮันส คริสเตียน เออรสเตด 2) ไมเคิล ฟาราเดย
3) เจมส คลารก แมกซเวลด 4) ฟรานซิส เบคอน

190 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

11. บุคคลใดมิไดอยูใ นกลุม เดียวกัน


1) โยฮัน กูเต็นเบอรก 2) อริสโตเติล 3) ลีโอนารโด ดาวินชี 4) นิโคลัส โคเปอรนิคัส
12. ทฤษฎีใดเปนจุดเริม่ ตนของการประดิษฐคดิ คนเลเซอร
1) ทฤษฎีทางดานโปลิตสเตทฟสกิ ส 2) ทฤษฎีทางดานออฟโตอิเล็กทรอนิกส
3) ทฤษฎีแหงการโนมถวง 4) ทฤษฎีคลืน่ แมเหล็กไฟฟา
13. เครือ่ งมือทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ทีท่ ําใหเกิดความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีคอื อะไร
1) คอมพิวเตอร 2) เลเซอร 3) เครือ่ งใชไฟฟา 4) เครือ่ งทุน แรง
14. จุดเริม่ ตนทีส่ ําคัญทีผ่ ลักดันใหเกิดปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในอังกฤษ คืออะไร
1) การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม 2) การปฏิวตั เิ กษตรกรรม
3) การปฏิวตั เิ ครือ่ งจักรไอนํา้ 4) การคนพบวิธกี ารผลิตแบบใหม
15. พลังงานทีส่ ําคัญทีส่ ดุ ของมนุษยในปจจุบนั คือขอใด
1) พลังงานนิวเคลียร 2) พลังงานดวงอาทิตย 3) พลังงานไฟฟา 4) พลังงานกล
16. พลังงานจากดวงอาทิตยมลี กั ษณะอยางไร
1) เปนพลังงานถาวร 2) เปนพลังงานทีห่ าของทดแทนไมได
3) เปนพลังงานทีม่ นี อ ย 4) เปนพลังงานกึง่ ถาวร
17. หลักการของลิเนียรมอเตอร หรือมอเตอรแนวนอน เกีย่ วของกับเรือ่ งอะไรมากทีส่ ดุ
1) การทํางานของเครือ่ งจักรไอนํ้า 2) การผลิตสินคาดวยคอมพิวเตอร
3) การผลิตรถไฟฟาทีล่ อยไปตามราง 4) การคมนาคมขนสงในยุคโบราณ
18. คอมพิวเตอร ไดเปรียบเครือ่ งคิดเลขหลายดาน ยกเวนขอใด
1) คอมพิวเตอรคํานวณไดเร็วกวามาก
2) คอมพิวเตอรมหี นวยความจําขนาดใหญ
3) คอมพิวเตอรจะถูกควบคุมการทํางานโดยโปรแกรมคําสัง่
4) คอมพิวเตอรทาให ํ การคํานวณเกิดความสะดวกในทุกสถานที่
19. เฮนรี ฟอรด เกีย่ วของกับอะไร
1) การนําเครือ่ งจักรไอนํามาใช ้ กบั อุตสาหกรรมรถยนต
2) การนําสายพานมาใชกบั อุตสาหกรรมรถยนต
3) การนําคอมพิวเตอรมาใชกบั โรงงานอุตสาหกรรม
4) การนําการวิจยั มาใชในการผลิตสินคา
20. โรงงานอุตสาหกรรมอัตโนมัตเิ กีย่ วของกับเรือ่ งใดมากทีส่ ดุ
1) หุน ยนตคอมพิวเตอร 2) การนําเลเซอรมาใชในอุตสาหกรรม
3) อุตสาหกรรมเกีย่ วกับการวิจยั 4) เงินทุนในระบบอุตสาหกรรม
21. การนําเอาความรูแ ละกระบวนการตางๆ เกีย่ วกับสิง่ มีชวี ติ ไปใชกบั สิง่ มีชวี ติ หรือไปจัดการกับสิง่ มีชวี ติ เพือ่ ทําใหเกิด
ผลผลิตใหมๆ ที่เปนประโยชน เรียกวาอะไร
1) เทคโนโลยีดา นวัสดุศาสตร 2) เทคโนโลยีชีวภาพ
3) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร 4) เทคโนโลยีวทิ ยาศาสตร

191 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

22. การนําหุน ยนตคอมพิวเตอรมาใชในโรงงานอุตสาหกรรมมักคํานึงถึงเรือ่ งใดเปนสําคัญ


1) จํานวนเงินลงทุน 2) ลักษณะงานทีล่ ะเอียด
3) เปนงานทีจ่ าเจซํ
ํ าซาก้ 4) เปนงานที่ไมมีผูชํานาญการเฉพาะทาง
23. ขอใดไมใชลกั ษณะของเลเซอร
1) เปนลําแสงทีม่ พี ลังงานสูง 2) การวิง่ ของแสงไมกระจายเปนมุมกวาง
3) เปนแสงทีม่ สี เี ดียว 4) มีความยาวคลืน่ หลายขนาด
24. ปญหาทีเ่ กิดจากการนําวิทยาการและเทคโนโลยีมาใชในเรื่องของการขาดความรับผิดชอบทางสังคมของรัฐวิสาหกิจ
เอกชนคือขอใด
1) ทําใหสภาพแวดลอมเสียหาย เพราะละเลยการประเมิน
2) ทําใหการดําเนินชีวิตของประชาชนถูกละเลย
3) เสียคาใชจา ยสูงในการแกปญ  หา
4) รัฐบาลตองแบกรับภาระ ขณะทีผ่ ไู ดผลประโยชนโดยตรงไมตอ งรับผิดชอบ
25. มูลเลอรเกีย่ วของกับเรือ่ งใดมากทีส่ ดุ
1) ปุย หมัก 2) ดี ดี ที กําจัดศัตรูพชื
3) ปุย วิทยาศาสตร 4) ปุย คอก
26. ภาวะเรือนกระจกเกิดจากอะไร
1) การเผาไหมของนํามั ้ นเชื้อเพลิง 2) การเผาผลาญเชื้อเพลิง
3) ความรอนจากดวงอาทิตย 4) การสลายตัวของกาซซัลเฟอรไดออกไซด
27. ขอดีของการนําวิทยาการและเทคโนโลยีมาใชในการเกษตรทีส่ ามารถลบลางขอเสียไดคอื ขอใด
1) เสียเงินลงทุนนอย 2) ใชประโยชนจากพืน้ ทีก่ ารเกษตรไดมากขึน้
3) แกปญ  หาพืน้ ฐานของมนุษยได 4) ทําใหสภาพแวดลอมดีขน้ึ
28. ขอจํากัดของการผลิตทางอุตสาหกรรมคืออะไร
1) ขาดแคลนแรงงาน 2) การลงทุนสูง 3) ไมมตี ลาด 4) สินคาเหมือนๆ กัน
29. ลัทธิบริโภคนิยม หมายความวาอยางไร
1) นิยมบริโภคจํานวนมาก 2) บริโภคตามคําโฆษณา
3) บริโภคตามความเหมาะสม 4) บริโภคแตสง่ิ ทีด่ ี
30. ขอใดไมตอ งคํานึงถึงในการใชความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยี
1) การใชเทคโนโลยีมที ง้ั ผลดีและผลเสีย 2) ความสมดุลระหวางเทคโนโลยีและธรรมชาติ
3) รับฟงความคิดเห็นของบุคคลหลายฝาย 4) ดูทผ่ี ลเสียมากกวาประโยชนทไ่ี ดรบั
31. ขอใดไมใชดชั นีผลลัพธ
1) สิง่ ตีพมิ พ 2) การขอรับสิทธิบตั ร 3) จํานวนนักวิจยั 4) การคาเทคโนโลยี
32. เทคโนโลยีเขมซึง่ เปนสินคาออกของไทย คืออะไร
1) แผงวงจรไฟฟา 2) อัญมณีและเครือ่ งประดับ
3) ดีบกุ 4) อุตสาหกรรมยา

192 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

33. ขอใดไมใชความตองการ 5 ประการ ของมนุษย


1) ความตองการอาหาร 2) ความตองการอยูอ ยางปลอดภัย
3) ความตองการกระทําในสิง่ ทีต่ นชอบ 4) ความตองการสะดวกสบาย
34. ความกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยีทางดานการเกษตร ทําใหเกิดผลกระทบทางดานลบตอประเทศดานใด
มากทีส่ ดุ
1) ตองพึง่ เงินทุนจากตางประเทศ 2) ตองสัง่ ปุย เคมีจากตางประเทศ
3) ความพึง่ นักวิชาการจากตางประเทศ 4) ตองพึง่ พาปจจัยการผลิตจากตางประเทศ
35. ผลเสียทีเ่ กิดจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีของโลกทีด่ กี วาระดับเทคโนโลยีของไทยทางดานเศรษฐกิจมีหลายอยาง
ยกเวนขอใด
1) การสูญเสียเงินตราตางประเทศ
2) การสูญเสียความสัมพันธอนั ดีกบั ตางประเทศ
3) การสูญเสียอํานาจในการแขงขันทางตลาดตางประเทศ
4) การสูญเสียการตอรองทางเศรษฐกิจ
36. หัวใจสําคัญของการถายทอดเทคโนโลยีอยูท อ่ี ะไร
1) เงินทุน 2) สภาพแวดลอม
3) การพัฒนาและการดัดแปลง 4) กระบวนการเรียนรูข องบุคลากร
37. การถายทอดเทคโนโลยีเกีย่ วกับเรือ่ งใด
1) การเรียนรูเ ทคโนโลยี 2) การคิดคนเทคโนโลยี
3) การไดเทคโนโลยีมาจากตางประเทศ 4) การสืบทอดเทคโนโลยีภายในประเทศ
38. ขอใดเปนการถายทอดเทคโนโลยี
1) การพัฒนาเทคโนโลยีพน้ื บานใหมปี ระสิทธิภาพมาก
2) การใชเครือ่ งจักรแทนแรงงานคนและสัตว
3) การนําเทคโนโลยีจากตางประเทศมาใช
4) การลงทุนเพือ่ พัฒนาทางดานเทคโนโลยี
39. การนําเอาความรูท างวิทยาศาสตร ภาคทฤษฎีมาประยุกตใหเกิดประโยชนตอ การดํารงชีวติ ของมนุษยชาติมากขึน้ เรือ่ ยๆ
เรียกวาอะไร
1) วิทยาศาสตรประยุกต 2) วิทยาศาสตรประยุกตและเทคโนโลยี
3) วิทยาศาสตรประยุกตวทิ ยาการ 4) เทคโนโลยีประยุกต
40. เทคโนโลยีทช่ี ว ยใหการทํางานบางอยางสะดวกสบายกวาการทํางานดวยมือเปลาเรียกวาอะไร
1) เทคโนโลยีทเ่ี ปนรูปธรรม 2) เทคโนโลยีทเ่ี ปนกระบวนการ
3) เทคโนโลยีทเ่ี ปนวิธกี าร 4) เทคโนโลยีที่เปนนามธรรม
41. เทคโนโลยีทผี่ ใู ชไมจาเป
ํ นตองเขาใจอยางลึกซึง้ เกีย่ วกับเทคโนโลยี เพียงแตรวู ธิ กี ารใชและการเลือกใชไดอยางเหมาะสม
คือขอใด
1) เทคโนโลยีระดับตํา่ 2) เทคโนโลยีระดับกลาง
3) เทคโนโลยีระดับสูง 4) เทคโนโลยีระดับพิเศษ

193 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

42. การทีป่ ระเทศหนึง่ ตองพึง่ พาอาศัยประเทศอืน่ ในดานความรูท างดานเทคโนโลยีเนือ่ งจากคนในประเทศนัน้ มีความรู


ไมเพียงพอเรียกวาอะไร
1) การรับการถายทอดเทคโนโลยี 2) ความดอยพัฒนาทางเทคโนโลยี
3) การปฏิรปู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4) การประยุกตใชเทคโนโลยี
43. ลักษณะของเทคโนโลยีเหมาะสมหมายถึงอะไร
1) เหมาะสมกับสภาพแวดลอมของทองถิน่ นัน้ ๆ 2) เหมาะสมกับสติปญ  ญาของคนในประเทศนัน้
3) เหมาะสมกับจํานวนประชากรของประเทศนัน้ 4) เหมาะสมกับการเมืองการปกครอง
44. ขอใดไมใชองคประกอบของเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
1) สถานที่ 2) ชวงเวลา
3) ความสามารถของประชากร 4) ลักษณะของงานทีใ่ ชเทคโนโลยี
45. การพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศญีป่ นุ เปนแบบใด
1) แบบรวมศูนย 2) แบบแทรกแซง 3) แบบกระจายอํานาจ 4) แบบแบงอํานาจ
46. คํากลาวทีว่ า ญีป่ นุ มีการพัฒนาเทคโนโลยีแบบยอนทางหมายความวาอยางไร
1) ญีป่ นุ ไมตอ งอาศัยเทคโนโลยีจากตางประเทศ
2) ญีป่ นุ รับเทคโนโลยีจากตางประเทศตลอดเวลา
3) ญีป่ นุ ควบคุมการนําเขาเทคโนโลยีจากตางประเทศและพัฒนาเทคโนโลยีของตนควบคูก นั ไป
4) ญีป่ นุ พัฒนาเทคโนโลยีแบบพึง่ ตนเอง
47. นโยบาย 4 ขา เปนนโยบายเกีย่ วกับอะไร
1) นโยบายทีม่ งุ กระจายศูนยกลางการผลิตไปยังจุดสําคัญของโลก
2) เปนนโยบายทีม่ งุ กระจายศูนยกลางทางดานวัฒนธรรมไปยังจุดสําคัญของโลก
3) เปนนโยบายสรางชาติตามลัทธิชาตินยิ ม
4) เปนนโยบายสรางชาติตามลัทธิเศรษฐกิจ
48. อุตสาหกรรมใดทีเ่ กาหลีใตผลิตไดมปี ระสิทธิภาพมากกวาญีป่ นุ
1) อุตสาหกรรมในครัวเรือน 2) อุตสาหกรรมเครือ่ งจักรกล
3) อุตสาหกรรมเครือ่ งใชไฟฟา 4) อุตสาหกรรมตอเรือ
49. ไตหวัน มีนโยบายพัฒนาประเทศโดยมุง ตรงไปยังประชาชนในชนบท โดยเนนการพัฒนาแบบใด
1) แบบสหกรณ 2) แบบผสมผสาน 3) แบบพึง่ ตนเอง 4) แบบรวมศูนย
50. ปจจุบนั ความสามารถทางเทคโนโลยีของไทยจัดอยูใ นระดับใด
1) พึง่ ตนเองไมไดเลย
2) นําเทคโนโลยีจากตางประเทศมาดัดแปลงเล็กนอย
3) นักวิชาการของไทยคิดคนเทคโนโลยีมาใชประโยชนไดอยางมาก
4) การถายทอดเทคโนโลยีของไทยมีประสิทธิภาพ
51. อุตสาหกรรมสวนใหญของไทยอยูใ นระดับใด
1) ผลิตชิน้ สวน 2) ตัดแปลงชิน้ สวน 3) ประกอบชิน้ สวน 4) แยกชิน้ สวน

194 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

52. ลักษณะรวมของประเทศอุตสาหกรรมในแถบเอเชีย คือเรือ่ งอะไร


1) ขาดแคลนวัตถุดบิ
2) อุตสาหกรรมในระยะแรกตองพึง่ พาเทคโนโลยีจากตางประเทศ
3) เปนประเทศทีผ่ ลิตอุตสาหกรรมหนัก และสงขายยังตางประเทศ
4) ประชากรดอยคุณภาพ
53. การใชระบบปฏิวศิ วกรรมในการถายทอดเทคโนโลยีของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวหมายถึงการทําอยางไร
1) การซือ้ เทคโนโลยีทกุ อยางมาใช 2) การนําความรูเ กีย่ วกับสูตรกระบวนการผลิตมาใช
3) การพัฒนาและดัดแปลงเทคโนโลยี 4) การคิดคนเทคโนโลยีแบบใหม
54. เศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาตกตําเพราะสาเหตุ
่ ใด
1) ใหความชวยเหลือตางประเทศมากเกินไป 2) ไปยุง กับตางประเทศมากเกินไป
3) ประชากรขาดความชวยเหลือ 4) ขาดดุลการคาเพิ่มมากขึ้น
55. นโยบายภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ของประธานาธิบดีสหรัฐ 6 คน มีนโยบายเดียวกันคือขอใด
1) สกัดกัน้ การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต 2) สกัดกัน้ การขยายตัวของเยอรมัน
3) ชวยเหลือประเทศสมาชิก 4) ชวยเหลือทุกประเทศในโลก
56. ขอใดมิใชระบบพันธมิตรทีม่ ลี กั ษณะเปนแนวปดลอมคอมมิวนิสตในสมัยประธานาธิบดีทรูแมน
1) NATO 2) CENTO 3) SEATO 4) ASEAN
57. หนวยงานสืบราชการลับ CIA ของสหรัฐอเมริกากอตัง้ ขึน้ ในสมัยประธานาธิบดีคนใด
1) ทรูแมน 2) ไอเซนฮาร 3) เคเนดี 4) จอหนสัน
58. ในสมัยประธานาธิบดีเคเนดี มีการเผชิญหนากันระหวางสหรัฐกับรัสเซียในกรณีใด
1) สงครามเกาหลี 2) สงครามอินโดจีน
3) สงครามตะวันออกกลาง 4) สงครามคิวบา
59. เหตุการณใดทีแ่ สดงถึงการผอนคลายความตึงเครียดของสถานการณโลกทีอ่ เมริกาเปนผูก ระทํา
1) การเยือนจีนของประธานาธิบดีนกิ สัน 2) การเจรจาลดอาวุธของนิกสัน
3) การถอนฐานทัพออกจากคิวบา 4) การถอนฐานทัพออกจากประเทศไทย
60. การเจรจาจํากัดขีปนาวุธ ระยะทําการปานกลางกับรัสเซียเกิดขึน้ ในสมัยประธานาธิบดีคนใด
1) เคเนดี 2) จิมมี่ คารเธอร 3) โรนัลด เรแกน 4) จอรช บุช
61. ขอใดเปนหนาทีห่ ลักของกองทุนระหวางประเทศ
1) ใหเงินกูก บั ประเทศกําลังพัฒนา 2) ดูแลระบบการเงินระหวางประเทศ
3) จัดทําดุลการชําระเงินระหวางประเทศ 4) ชวยเหลือการเงินแกประเทศทีป่ ระสบปญหาเศรษฐกิจ
62. ขอใดไมใชสาเหตุของความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรม
1) สภาพภูมศิ าสตร 2) รูปแบบทางเศรษฐกิจ
3) รูปแบบการเมือง 4) ความหลากหลายทางดานเชือ้ ชาติ
63. การดําเนินชีวติ ของพวกเบดูอนิ ขึน้ อยูก บั อะไร
1) สภาพภูมศิ าสตร 2) รูปแบบทางเศรษฐกิจ 3) รูปแบบทางการเมือง 4) รูปแบบทางวัฒนเมือง

195 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

64. เลนินเชือ่ วาสาเหตุในขอใดเปนปจจัยสําคัญทีท่ ําใหเกิดความขัดแยงระหวางประเทศ


1) สาเหตุทางการเมือง 2) สาเหตุทางทหาร 3) สาเหตุทางเศรษฐกิจ 4) สาเหตุทางสังคม
65. ขอใดมิไดเกิดจากความขัดแยงทางดานสังคมและวัฒนธรรม
1) สงครามคูเวต 2) สงครามกลางเมือง เลบานอน
3) สงครามสามสิบป 4) สงครามโลก
66. สงครามระหวางอิสราเอลและอาหรับเกิดจากปญหาดานใด
1) ปญหาความเชือ่ 2) ปญหาคานิยม 3) ปญหาศาสนา 4) ปญหาเชือ้ ชาติ
67. ขอใดมิใชคา นิยมทีม่ พี น้ื ฐานมาจากยุโรป
1) ยึดเหตุผลเปนแนวปฏิบตั ิ 2) เชื่อมั่นในศาสนาคริสต
3) ยึดถือความคิดของปจเจกชน 4) ยึดถือความเปนพวกพอง
68. วิธกี ารแกไขความขัดแยงดวยวิธบี งั คับทีไ่ มขดั ตอกฎหมายระหวางประเทศ แตไมเปนมิตรคือขอใด
1) รีทอรชั่น 2) รีไพรซอล 3) การเจรจาโดยตรง 4) การเปนคนกลาง
69. การตัง้ ศาลอนุญาโตตุลาการ เปนสิทธิของใคร
1) ศาลยุตธิ รรมระหวางประเทศ 2) องคการสหประชาชาติ
3) ประเทศคูก รณี 4) คณะมนตรีความมั่นคง
70. สงครามทีม่ จี ดุ ประสงคเพือ่ ใหเกิดดุลภาพแหงอํานาจคือขอใด
1) สงครามจีน สัง่ สอนเวียดนาม 2) สงครามโลกครัง้ ที่ 1
3) สงครามโลกครัง้ ที่ 2 4) สงครามอินโดจีน
71. ขอใดมิใชสาเหตุของการเกิดสงครามระหวางอิรกั -อิหราน
1) อิรกั มีคนสวนใหญเปนเปอรเซีย อิหรานมีคนสวนใหญเปนอาหรับ
2) แยงดินแดนปากแมนาไทกรี ้ํ สยูเฟรตีส
3) แยงจังหวัด คู เช สถาน
4) ผูนํานับถือนิกายของศาสนาอิสลามตางกัน
72. คณะมนตรีความมัน่ คงเปนองคกรทีม่ หี นาทีใ่ นขอใด
1) เปนทีป่ ระชุมใหญของสหประชาชาติและเปนศูนยกลางของกิจกรรมทัง้ ปวง
2) มีหนาทีร่ บั ผิดชอบดานการปกครองของประเทศทีย่ งั มิไดรบั เอกภาพอยางสมบูรณ
3) มีหนาทีใ่ นการแกปญ  หาและรับผิดชอบทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิทธิมนุษยชน
4) มีหนาทีต่ ดั สิน วินิจฉัย ขอพิพาทขัดแยงระหวางประเทศสมาชิกสหประชาชาติ
73. ขอใดเปนสาเหตุใหเกิดการแยงชิงหมูเ กาะฟอลกแลนด
1) ประชากรอารเจนตินาถูกคุกคามจากประชากรอังกฤษ
2) อารเจนตินากอบโกยผลประโยชนจากฟอลกแลนด
3) อังกฤษยังอางความเปนเจาของฟอลกแลนดทง้ั ๆ ทีอ่ ารเจนตินาครอบครอง
4) สหรัฐอเมริกาสนับสนุนอังกฤษใหรกุ รานอารเจนตินา

196 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

74. สาเหตุสําคัญทีส่ ดุ ทีท่ ําใหเกิดสงครามระหวางอิรกั กับคูเวตคือขอใด


1) คูเวตโจมตีอริ กั ในขณะทีท่ าสงครามกั
ํ บอิหราน
2) คูเวตชวยเหลืออิหรานทางดานอาวุธ
3) อิรกั กลาวหาคูเวตวาดูดนํ้มา นั ของอิรกั ขณะทีเ่ กิดสงครามกับอิหราน
4) อิรกั กลาวหาคูเวตวายอมใหอหิ รานตัง้ ฐานทัพ
75. องคการสนธิสญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ มีวตั ถุประสงคทแ่ี ทจริงคือขอใด
1) ชวยเหลือทางดานทหารแกสมาชิก 2) ตอตานอํานาจของเยอรมัน
3) ตอตานอํานาจของรัสเซีย 4) ชวยเหลือทางดานเศรษฐกิจแกสมาชิก
76. ระบบความมัน่ คงแอตแลนติกเปนความรวมมือระหวางประเทศใด
1) สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ 2) สหรัฐอเมริกาและฝรัง่ เศส
3) สหรัฐอเมริกาและแคนาดา 4) สหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก
77. องคการสนธิสญ ั ญาวอรซอร กอตัง้ เพือ่ ตอตานหนวยงานใด
1) องคการสนธิสญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ 2) ประชาคมยุโรป
3) สมาคมการคาเสรียุโรป 4) เขตการคาเสรีแหงอเมริกาเหนือ
78. จุดประสงคในการสกัดกัน้ ลัทธิคอมมิวนิสตของนาโต มุง หวังจะสกัดกัน้ ในภูมภิ าคใด
1) อเมริกาเหนือ 2) ยุโรปตะวันตก 3) ยุโรปตะวันออก 4) เอเชียตะวันออกเฉียงใต
79. สมัยทีส่ ตารลนิ เปนผูน ําโซเวียตดําเนินนโยบายใดในสหรัฐอเมริกา
1) ประนีประนอมในการผลิตอาวุธ 2) รวมมือในโครงการสตารวอร
3) แบงแยกขัว้ อํานาจในยุโรป 4) เผชิญหนาอยางจริงจังในทุกดาน
80. สมาคมอาเซียนผูกพันกับขอใด
1) SEATO 2) OPEC 3) EC 4) GATT
81. แอฟตา มีวตั ถุประสงคคลายหนวยงานใด
1) อาเซียน 2) GATT 3) EC 4) นาฟตา
82. ขอใดไมใชองคการระหวางประเทศทีม่ จี ดุ ประสงคเพือ่ ความรวมมือทางดานการทหาร
1) องคการสนธิสญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ 2) SEATO
3) WARSA W PACT 4) GATT
83. องคการสันนิบาตอาหรับ เลียนแบบวัตถุประสงคของหนวยงานใด
1) NATO 2) OPEC 3) EC 4) SEATO
84. ขอใดเปนนโยบายของนาฟตา ทีม่ ผี ลกระทบกระเทือนตอสินคาการสงออกของไทย
1) มีประเทศในภูมิภาคเดียวกันเปนสมาชิก
2) ใหเงินอุดหนุนแกสนิ คาเกษตรของประเทศสมาชิก
3) ใหความรวมมือกับตลาดรวมยุโรปเพียงองคการเดียว
4) สมาชิกขององคการนีม้ สี นิ คาเหมือนประเทศไทย

197 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

85. WTO เนนเรื่องใด


1) การตกลงรวมกันในดานการลงทุนระหวางประเทศ
2) การรวมกลุม เศรษฐกิจ
3) ขอตกลงวาดวยพิกดั อัตราภาษีศลุ กากรและการคา
4) การปลดปลอยภาษีประเทศดอยพัฒนา
86. ภาวะการคาของโลกซบเซาเกิดจากสาเหตุใดเปนสําคัญ
1) มีการทําสงครามหลายพืน้ ที่ 2) มีการแบงคายของประเทศตางๆ ในโลก
3) มหาอํานาจกีดกันการคา 4) การรวมกลุม การคาของประเทศในภูมภิ าคเดียวกัน
87. กลุม ประเทศโลกที่ 3 ทางการเมืองหมายถึงกลุม ประเทศใด
1) กลุม ประเทศอุตสาหกรรม 2) กลุม ประเทศทีพ่ ฒ
ั นาแลว
3) กลุม ประเทศทีก่ ําลังพัฒนา 4) กลุม ประเทศประชาธิปไตย
88. สงครามเย็นเกิดขึ้นเมื่อใด
1) ระหวางสงครามครัง้ ที่ 1 2) หลังสงครามครัง้ ที่ 1
3) ระหวางสงครามครัง้ ที่ 2 4) หลังสงครามครัง้ ที่ 2
89. การปฏิวตั สิ ายฟาแลบ เกิดขึน้ ในประเทศใด
1) ฝรั่งเศส 2) อเมริกา 3) รัสเซีย 4) อินโดจีน
90. ขอใดไมใชลกั ษณะของสงครามเย็น
1) ความขัดแยงดานอุดมการณของอเมริกากับรัสเซีย
2) การขยายอิทธิพลของอเมริการัสเซียในดินแดนตางๆ
3) การทีอ่ เมริกาและรัสเซียใหตวั แทนทําสงคราม
4) การสูร บระหวางอเมริกาและรัสเซีย
91. เพราะเหตุใดเกาหลีจงึ ตองแบงเปนเกาหลีเหนือและใต
1) ความขัดแยงระหวางโลกเสรีกบั คอมมิวนิสตในสงครามเย็น
2) ความขัดแยงระหวางเผด็จการกับประชาธิปไตยระหวางสงครามโลกครัง้ ที่ 2
3) การแยงอํานาจกันเองระหวางผูน าํ 2 กลุม
4) การขัดขวางมหาอํานาจทีเ่ ขามามีอทิ ธิพลในเกาหลี
92. การกระจายของกลุม อายุของประชากรในประเทศพัฒนาแลวมักมีสดั สวนเปนอยางไร
1) เด็กและคนหนุม สาวมีสดั สวนสูงกวาผูส งู อายุ
2) คนหนุม สาวและผูส งู อายุมสี ดั สวนสูงกวาเด็ก
3) เด็กคนหนุม สาวและผูส งู อายุมสี ดั สวนใกลเคียงกัน
4) เด็กและผูส งู อายุมสี ดั สวนใกลเคียงกัน
93. ประเทศในขอใดที่เมื่อนําสัดสวนอายุของประชากรมาเขียนกราฟคลายประมิด
1) สหรัฐอเมริกา 2) อังกฤษ 3) ญีป่ นุ 4) เม็กซิโก

198 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

94. พลวัตของประชากรหมายถึงอะไร
1) รายไดของประชากร
2) โครงสรางอายุ เพศ อัตราการเกิด การตายของประชากร
3) คานิยมทางศาสนา วัฒนธรรม ชีวติ ความเปนอยูข องประชากร
4) ความสามารถของบุคคล
95. ขอใดเปนเขตทีม่ ปี ระชากรอาศัยหนาแนนทีส่ ดุ ของโลก
1) ยุโรปตะวันตก 2) ยุโรปตะวันตกและตะวันออก
3) เอเชียตะวันออก 4) เอเชียตะวันออกและเอเชียใต
96. ภาวะทุโภชนาการตรงกับขอใด
1) เปนภาวะทีม่ อี าหารลนโลก
2) เปนภาวะทีม่ อี าหารมีคณ ุ ภาพครบหมู
3) เปนภาวะขาดอาหารทําใหเกิดโรคตางๆ
4) เปนภาวะการขาดแคลนปริมาณอาหารไมเกีย่ วกับคุณภาพ
97. ขอใดไมใชลกั ษณะของประชากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ
1) มีความสามารถพิเศษและมีความรูเ ฉพาะ
2) มีบคุ ลิกภาพดี
3) มีความสามารถในการคิดปรับปรุงและเปลีย่ นแปลง
4) มีมนุษยสัมพันธดี
98. ปจจัยทีก่ าหนดอุ
ํ ปสงคกําลังคนของประเทศคืออะไร
1) อุปสงคในผลิตภัณฑ 2) อุปทานในผลิตภัณฑ
3) อุปสงคและอุปทานในผลิตภัณฑ 4) ดุลยภาพของผลิตภัณฑ
99. การพัฒนาประชากร หมายถึง นโยบายการพัฒนาคนระยะยาว ซึง่ หมายถึงขอใด
1) เริม่ ตัง้ แตเกิด เขาโรงเรียน ถึงตาย 2) เริม่ ตัง้ แตเกิด เขาโรงเรียน ไดรบั การอบรม
3) เริม่ ตัง้ แตเกิด เขาโรงเรียน ถึงไดทํางาน 4) เริม่ ตัง้ แตเกิด เขาโรงเรียน
100. แนวทางในการพัฒนาคุณภาพประชากรดานใดทีถ่ อื วาเปนการลงทุนทางดานทรัพยากรมนุษย เพือ่ ใหไดผลตอบแทนใน
อนาคตสูงกวาทางดานอืน่ ๆ
1) การเพิม่ คุณภาพชีวติ 2) การมีงานทํา
3) การใหบริการดานสาธารณสุข 4) การใหการศึกษา

199 สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note

เฉลย
แบบทดสอบชุดที่ 1
1. 4) 2. 1) 3. 2) 4. 1) 5. 2) 6. 2) 7. 1) 8. 2) 9. 4) 10. 3)
11. 1) 12. 2) 13. 4) 14. 4) 15. 3) 16. 1) 17. 4) 18. 3) 19. 1) 20. 4)
21. 3) 22. 3) 23. 2) 24. 3) 25. 2) 26. 3) 27. 4) 28. 4) 29. 1) 30. 4)
31. 2) 32. 3) 33. 4) 34. 4) 35. 3) 36. 1) 37. 1) 38. 2) 39. 3) 40. 1)
41. 2) 42. 2) 43. 3) 44. 2) 45. 1) 46. 1) 47. 3) 48. 4) 49. 1) 50. 3)
51. 2) 52. 1) 53. 2) 54. 3) 55. 4) 56. 2) 57. 2) 58. 3) 59. 2) 60. 4)
61. 4) 62. 3) 63. 2) 64. 3) 65. 2) 66. 1) 67. 3) 68. 2) 69. 4) 70. 1)
71. 1) 72. 3) 73. 1) 74. 2) 75. 2) 76. 3) 77. 3) 78. 4) 79. 4) 80. 3)
81. 3) 82. 3) 83. 1) 84. 4) 85. 1) 86. 4) 87. 3) 88. 3) 89. 1) 90. 2)
91. 3) 92. 4) 93. 3) 94. 3) 95. 1) 96. 3) 97. 1) 98. 2) 99. 4) 100. 2)
แบบทดสอบชุดที่ 2
1. 1) 2. 4) 3. 2) 4. 4) 5. 4) 6. 3) 7. 4) 8. 3) 9. 2) 10. 1)
11. 2) 12. 2) 13. 1) 14. 3) 15. 3) 16. 4) 17. 3) 18. 4) 19. 2) 20. 1)
21. 2) 22. 3) 23. 4) 24. 4) 25. 2) 26. 2) 27. 3) 28. 4) 29. 2) 30. 4)
31. 3) 32. 1) 33. 4) 34. 4) 35. 2) 36. 4) 37. 3) 38. 3) 39. 2) 40. 1)
41. 1) 42. 2) 43. 1) 44. 3) 45. 2) 46. 3) 47. 1) 48. 4) 49. 2) 50. 2)
51. 3) 52. 4) 53. 3) 54. 4) 55. 1) 56. 1) 57. 2) 58. 4) 59. 1) 60. 3)
61. 2) 62. 3) 63. 1) 64. 3) 65. 4) 66. 1) 67. 4) 68. 1) 69. 3) 70. 1)
71. 1) 72. 4) 73. 3) 74. 3) 75. 3) 76. 3) 77. 1) 78. 2) 79. 4) 80. 1)
81. 3) 82. 4) 83. 1) 84. 2) 85. 3) 86. 4) 87. 3) 88. 4) 89. 3) 90. 4)
91. 1) 92. 3) 93. 4) 94. 2) 95. 4) 96. 3) 97. 4) 98. 3) 99. 3) 100. 4)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

200 สังคมศึกษา

You might also like