You are on page 1of 32

Green

Economy
นําเสนอ อ.อัจฉรา เก่งบัญชา วิชาสังคมศึกษา เทอม 1/2562
จัดทําโดย
นางสาวปราชญา อุตสาหกิจอํานวย (เบลล์)
นางสาวพรนัฐชา เพ็ชร์ดี (นีน่า)
นางสาวณัฐลดา เสริมศีลธรรม (เอิรน
์ )
นางสาวศุภวรรณ สังข์นุช (มายด์)
นางสาวธนัชชา สิพพนะโกศล (เซฟ)
นางสาวนลพรรณ รุง่ โรจน์พนาวัลย์ (พั้นช์)
เศรษฐกิจสีเขียว

เป็นเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นให้เกิดความกินดีอยูด
่ ีของ
มนุษย์และความเท่าเทียมทางสังคมโดยลดผลก
ระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรของระบบ
นิเวศน์เป็นผลลัพธ์

โดยทั่วไปแล้วเศรษฐกิจสีเขียวเป็นความพยายามในการพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ของ
มนุษย์พร้อมกับการดูแลสิ่งแวดล้อมและการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแทนการ
แสวงหาผลกําไร
ทีม
่ าและ
ความ
สําคัญ
ม่านสาหร่าย
ข้อมูลเบื้องต้น
ม่านสาหร่ายที่ถูกเร ียกว่า
biocurtains เป็นสิ่งประดิษฐ์
กึ่งว ิศวกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
และกึ่งศิลปะ

ผลประโยชน์
คาร์บอนไม่ได้ถูกนําไปเก็บไว้เพียงเท่านัน

แต่ยังถูกนําไปเปลี่ยนเป็นมวลชีวภาพเพื่อ
ใช้เรอื่ งของอาหาร สุขภาพ และช่วยใน
เรอื่ งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ
อากาศที่รุนแรงอีกด้วย
หลักการทํางาน

สาหร่ายในม่านนั้นเป็น อนุภาคขนาดเล็กต่างๆ
สาหร่ายขนาดเล็กๆที่ ในอากาศ เปลี่ยนเป็น
สามารถสังเคราะห์แสงได้ ออกซิเจน
อย่างมีประสิทธิภาพ

โดยสาหร่ายในปร ิมาณ 1
ซึ่งพวกมันจะแปลงพลังงาน
ตารางเมตรนั้นสามารถดูด
แสงอาทิตย์เป็นพลังงานที่
คาร์บอนได้วันละ 31 กรัม
ทําให้พวกมันสามารถดักจับ
และปล่อยออกซิเจนได้วันละ
คาร์บอนไดออกไซด์ได้
24 กรัม
ข้อดีและข้อเสียของม่านสาหร่าย

ข้อดี ข้อเสีย

❏ เปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์เป็น ❏ ต้องเปลี่ยนสาหร่ายทุกๆ สองอาทิตย์


ออกซิเจน ❏ รูปลักษณ์ไม่ได้สวยหรู จึงไม่ค่อยมีคนนํามา
❏ ต้นทุนตา ประยุกต์ใช้
❏ สามารถบังแสงแดดได้ด้วย
ประโยชน์ท่ ีเทคโนโลยีน้ ีจะเกิดต่อภาคส่วนต่าง ๆ

ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม

เทคโนโลยีสามาตรเป็นส่วน ส่งเสริมให้มีการเพาะพันธุ ์
หนึ่งในการกรองคาร์บอนได สาหร่ายชนิดนี้เพื่อส่งเสริม
ออกไซต์ท่ีผลิตจากการ การเกษตรแก่เกษตรกร
อุตสาหกรรม

ภาคการค้า ภาคบริการ

ช่วยหมุนเวียนกลไกเศรษฐกิจ ส่งเสริมอาชีพต่างๆให้แก่ผู้
และเป็นหนึ่งในวิธลี ดภาวะ ผลิตและผู้ใช้งาน
โลกร้อนที่ใช้ต้นทุนตา
หินคาร์บอนไดออกไซด์
โครงการ Carbfix
Reykjavik Energy กิจการสาธารณูปโภคด้านพลังงานของ
ประเทศไอซ์แลนด์ เริม่ ต้นโครงการ CarbFix เพื่อทดสอบว่าก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็นผลจากการนําพลังงานความร้อนใต้
พิภพออกมาใช้นั้นจะสามารถถูกกักเก็บคืนไว้ใต้ดินอย่างถาวรได้
อีกหรือไม่?
CarbFix เริม่ การทดสอบนี้ท่ีโรงไฟฟ้า Hellsheidi ที่ตั้งอยูบ
่ นภูเขาไฟดับสนิท ซึ่งยังมีพลังงาน
ความร้อนใต้พิภพที่ถือเป็นพลังงานไม่มีต้นทุนและยัง่ ยืนแหล่งหนึ่งของไอซ์แลนด์
วิธขี อง CarbFix จะกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ท่ีจะถูกปล่อยสู่ชน ั้ บรรยากาศไปผสมกับนาและ
ฉีดกลับไปใต้ดินในชัน ้ หินบะซอลต์ หรือ หินภูเขาไฟ ที่ความลึกราว 1-2 กิโลเมตร และก๊าซคาร์บอนไดออกไซ
ต์ท่ีถูกฉีดกลับไปนั้นจะกลายเป็นหินในอีก 1-2 ปีต่อจากนั้น และอยูใ่ นชัน
้ หินดังกล่าวไปอีกหลายล้านปี
บริเวณที่ฉีด
ฟินน์โบกี ออสการ์สัน ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานสํารวจทางธรณีวท
ิ ยาไอซ์แลนด์ ระบุวา่

ปัจจุบันกระบวนการดังกล่าวยังใช้ต้นทุนมหาศาลในการนําก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กลับสู่ชน ั้ หินใต้
ภูเขาไฟ และหากค้นพบวิธท ี ่ีต้นทุนตากว่า ก็อาจเลือกใช้พ้ ืนทะเลทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิ
ฟิก หรือจะเป็นอินเดียหรือพื้นมหาสมุทรในอเมริกาใต้ เป็นที่กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เนื่องจากมี
ลักษณะชัน
้ หินบะซอลต์ท่ีคล้ายกัน
ข้อมูลเฉพาะปี 2557 ระบุวา่ มีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ท่ีถูกปล่อยสู่ชน
ั้ บรรยากาศอย่างน้อย 3
หมื่นล้านตันภายในปีเดียว ขณะที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์เพียง 27 ล้านตันเท่านั้นที่ถูกกักเก็บไม่ให้ไปสู่
ชัน
้ บรรยากาศโลก
Project Carbfix2 + Climeworks
Project Carbfix2 + Climeworks
ประโยชน์ท่ ีเทคโนโลยีน้ ีจะเกิดต่อภาคส่วนต่าง ๆ

ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม
ช่วยเหลือในการกักเก็บ และ ควบคุม สามารถนํา CO2 ที่กักเก็บจากโครงการ
จํานวนพร้อมทั้งคุณภาพ ของของเสียที่ ไปใช้ในส่งเสริมการเพาะปลูกได้
ภาคอุตสาหกรรมผลิต โดยเฉพาะ CO2 เนื่องจากพืชเจริญเติบโตมากขึ้น หาก
เมื่อ CO2 มากขึ้น

ภาคการค้า ภาคบริการ
CO2 ที่ถูกจับแล้ว สามารถนํามาใช้ มันสามารถสร้างโอกาสใน
ในผลิตภัณฑ์เช่นเครื่องดื่มอัดลม การทํางานมากขึ้นสําหรับ
หรือ พลาสติก เป็นต้น ผู้คน
Reykjavik Energy กิจการสาธารณูปโภคด้านพลังงานของประเทศไอซ์แลนด์ เริม่ ต้นโครงการ CarbFix เพื่อทดสอบว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็นผลจากการนําพลังงานความร้อนใต้พิภพออกมาใช้
นั้นจะสามารถถูกกักเก็บคืนไว้ใต้ดินอย่างถาวรได้อีกหรือไม่

ทีมนักวิทยาศาสตร์เลียนแบบการกักเก็บก๊าซนี้ตามธรรมชาติ เหมือนการทับถมของฟอสซิลทั่วไป เพียงแต่เร่งเวลาให้กระบวนการเกิดขึ้นเร็วกว่าเดิม

วิธขี อง CarbFix จะกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ท่ ีจะถูกปล่อยสู่ช้น


ั บรรยากาศไปผสมกับนาและฉีดกลับไปใต้ดินในชั้นหินบะซอลต์ หรือ หินภูเขาไฟ ที่ความลึกราว 1-2 กิโลเมตร และก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซต์ท่ ีถูกฉีดกลับไปนั้นจะกลายเป็นหินในอีก 1-2 ปีต่อจากนั้น และอยู่ในชั้นหินดังกล่าวไปอีกหลายล้านปี

ฟินน์โบกี ออสการ์สัน ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานสํารวจทางธรณีวท ิ ยาไอซ์แลนด์ ระบุวา่ ปัจจุบันกระบวนการดังกล่าวยังใช้ต้นทุนมหาศาลในการนําก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กลับสู่ชน


ั้ หินใต้ภูเขาไฟ และ
หากค้นพบวิธท ี ่ีต้นทุนตากว่า ก็อาจเลือกใช้พ้ ืนทะเลทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก หรือจะเป็นอินเดียหรือพื้นมหาสมุทรในอเมริกาใต้ เป็นที่กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เนื่องจากมี
ลักษณะชัน ้ หินบะซอลต์ท่ีคล้ายกัน

ข้อมูลเฉพาะปี 2557 ระบุวา่ มีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ท่ีถูกปล่อยสู่ชน


ั้ บรรยากาศอย่างน้อย 3 หมื่นล้านตันภายในปีเดียว ขณะที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์เพียง 27 ล้านตันเท่านั้นที่ถูกกักเก็บไม่ให้
ไปสู่ชน
ั้ บรรยากาศโลก

At current capturing capacity, approximately 1/3rd of the CO2 and about 3/4th of the H2S emissions from the plant are being re-injected, or approximately
10,000 tonnes of CO2 and about 6,000 tonnes of H2S annualy.

ADVANTAGES AND DISADVANTAGES


1. https://s3platform.jrc.ec.europa.eu/carbon-capture-and-storage
2. https://www.adb.org/publications/prospects-carbon-capture-and-storage-southeast-asia
3. http://www.ccop.or.th/eppm/projects/42/docs/Thailand_CCS_Presentation.pdf
4. file:///Users/Preyapa/Downloads/Thailand_CCOP_CCS_2013.pdf
5. https://www.sciencealert.com/scientists-have-figured-out-a-way-to-convert-carbon-dioxide-into-plastic
CCUS นวัตกรรม
เปลี่ยนคาร์บอนเป็น
พลังงาน
หลักการทํางาน
จุดประสงค์ 1
ดักจับก๊าซ CO2 หรือการปล่อยคาร์บอนที่เป็น
มุ่งลดการปล่อยก๊าซ CO2 ที่เกิดจาก ลบ จากปล่องควันสูงจากโรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน
การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อให้เกิด อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ปรากฎการณ์ก๊าชเรือนกระจก หรือโรงงานผลิตที่มีก๊าซ CO2 เป็นผลข้างเคียง

03
01

3
กักเก็บในรูปของก๊าซ CO2 ที่มีความบริสุทธิ์ 2
สูง และอัดฉีดก๊าซฯ ลงสู่ใต้ดินที่ความลึก 02 ถูกแยกออกจากก๊าซชนิดอื่น ผ่าน
หลายกิโลเมตร อาทิ โพรงทางธรณีวท ิ ยาที่ กระบวนการทางเคมีด้วยสารละลายเอมีน ซึ่ง
อยูใ่ ต้ดิน หรือใต้มหาสมุทร ซึ่งจะถูกกักเก็บไว้ เป็นกระบวนการที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมโรง
ไม่ให้รวั่ ไหลออกมาไม่ให้สามารถกลับเข้าสู่ กลั่นและการผลิตก๊าซธรรมชาติ
บรรยากาศได้อีก
01 02
กระบวนการผลิตนามันขึ้นมาจากหลุม การผลิตนาแข็งแห้ง เพื่อรักษาความสด
หลังจากที่ได้มีการผลิตตามธรรมชาติ และยับยัง้ การเติบโตของแบคทีเรียใน
แล้ว ในการเพิ่มปริมาณการผลิตนามัน อาหารหรือในกระบวนการหมักต่างๆ

การประยุกต์ใช้

03 04
ใช้เป็นสารกันเสีย ในอุตสาหกรรม เป็นสารตั้งต้นในการผลิตสารเคมี เช่น เมทานอล
เครื่องดื่มจําพวกนาอัดลมหรือโซดา และยูเรียที่ใช้เป็นสารเคมีในกระบวนการผลิตขั้น
ตอนต่อไปในการผลิตปุ๋ยทางการเกษตร
สามารถลด CO2 ได้อย่างมี ต้นทุนสูง
ประสิทธิภาพ ข้อดี VS ข้อเสีย

● 17 โรงงาน เริม่ ใช้เทคโนโลยี


● มีกําลังสะสม CO2 40 ล้านเมตริกตัน หรือ
0.1% จากทั่วโลก
● มีอัตราการเติบโต 23.3%
● คาดว่าเอเชีย แปซิฟิก จะเป็นศูนย์กลางการ
ใช้เทคโนโลยีต่อไป
ประโยชน์ท่ ีเทคโนโลยีน้ ีจะเกิดต่อภาคส่วนต่าง ๆ

ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม
ใช้เป็นสารกันเสีย ใน เป็นเทคโนโลยีท่ีสามารถนํา
อุตสาหกรรมเครื่องดื่มจําพวก มาแปรรูปเป็นปุ๋ยเพื่อการ
นาอัดลมหรือโซดา เกษตร

ภาคการค้า ภาคบริการ
นํามาต่อยอดในธุรกิจอื่นๆเช่น ส่งผลกระทบทางอ้อม ในเรื่อง
เพิ่มปริมาณการผลิตนามัน ของการสร้างอาชีพที่สามารถ
นําคาร์บอนมาต่อยอดได้
สรุปสาระสําคัญ และวิเคราะห์ผลดีท่ ีจะเกิดกับเศรษฐกิจสีเขียว

ม่านสาหร่าย หินคาร์บอนไดออกไซต์ CCUS

ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซ
สามารถลด CO2 ได้อย่างมี
ต์ท่ีราคาถูกกว่าวิธอี ่ ืน และ ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซ ประสิทธิภาพ นําไปประยุกต์ใช้ได้
สดวกสะบาย สามารถนํามา ต์ได้อย่างยัน
่ ยืน หลายอย่าง
ประยุกต์ใช้ในครัวเรือน

ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ ลดความเสี่ยงในการทําให้โลกร้อน ส่งผลดีค่อภาคอุตสาหะกรรมเป็นหลัก


ส่งเสริมอาชีพและแนวคิดเทคโนโลยีใหม่ๆให้แก่เศรษฐกิจ
การนํามาใช้ในปัจจุบน

มานสาหราย หินคารบอนไดออกไซด CCUS


ปัจจุบันผ้าม่านสาหร่ายแก้โลกร้อนนี้ ไอซ์แลนด์อัดคาร์บอนไดออกไซด์ใส่ ในปัจจุบันมี 17 โรงงาน ที่เริม่ ดําเนิน
เริม่ มีทดลองติดตั้งไว้ในอาคารหลาย หินในใจกลางภูเขาไฟกักเก็บก๊าซ การใช้เทคโนโลยีCCUSขณะที่ทวีป
แห่งในยุโรปและยังเคยนําไปจัดแสดง เรือน ยุโรปประเทศอังกฤษและประเทศ
ในงานนิทรรศการด้านเทคโนโลยีท่ี กระจกที่ทําให้เกิดภาวะโลกร้อนไว้ใต้ เนเธอร์แลนด์ได้กําหนดยุทธศาสตร์
กรุงปารีสประเทศฝรัง่ เศสโดยมีแนว พิภพไปตลอดกาลโดยเทคนิคของนัก การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่าง
โน้มการนําสาหร่ายดังกล่าวไปประ เล่นแร่แปรธาตุแห่งศตวรรษที่ 21 นี้ สะอาดและข้อตกลงความร่วมมือ
ยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมความสวย เป็นการเลียนแบบปรากฏการณ์ท่ีเกิด กลุ่มชาวดัตช์เพื่อเป็นแนวทางใน
ความงามอุตสาหกรรมยาและอาจนํา ขึ้นตามธรรมชาติเพียงแต่เร่งเวลาให้ การปรับใช้เทคโนโลยีCCUSใน
ไปใช้เป็นพลังงานอื่นๆ ได้อีกด้วย เร็วขึ้น โครงการสําคัญๆ ของทวีป

You might also like