You are on page 1of 52

คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คํานํา

คูมือการใชสื่อการสอนวิชาเคมี จัดทําขึ้นเพื่อเปนแนวทางสําหรับครูในการใชสื่อประกอบการสอนวิชา

เคมีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหนังสือสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เลม 1 (พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ.


2548) โดยสื่อของตอนเรียนนี้เปนบทเรียนเรื่อง อะตอมและตารางธาตุ ตอนตารางธาตุในปจจุบัน มีเนื้อหา
ประกอบดวยการอธิบายลักษณะของตารางธาตุในปจจุบันที่ประกอบดวยบริเวณตาง ๆ แบงเปนคาบ และ หมูธาตุ

ซึ่งเกิดจากการเรียงลําดับธาตุตามการจัดเรียงอิเล็กตรอน โดยมีตัวอยางประกอบแทรกอยูตามสวนตาง ๆ ของ


บทเรียน เพื่อเพิ่มความเขาใจแกผูเรียนและสามารถนําไปประยุกตใชในบทเรียนอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ การ
ลําดับเรื่อง การยกตัวอยาง และการอธิบายในตอนนี้ จะเนนหลักการและเหตุผล เพื่อใหผูเรียนไดเขาใจเกี่ยวกับ

การกําหนดตําแหนงของธาตุในตารางธาตุอยางถองแท เพื่อสามารถใชตารางธาตุไดเกิดประโยชนสูงสุด แลว


ตารางธาตุจะไมเปนเพียงเครื่องมือเพื่อควานหาตําแหนงหรือชื่อของธาตุอีกตอไป
กอนเขาสูเนื้อหาของสื่อ มีแบบทดสอบกอนเรียนเพื่อทดสอบความรูพื้นฐานที่ควรรูสําหรับตอนเรียนนี้
และหลังจบเนื้อหาของสื่อมีแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ วัดผลการเรียนรูตามวัตถุประสงค โดยเนนการทดสอบ
ความรูและความเขาใจของผูเรียน เพื่อเพิ่มทักษะการใชความรู ความเขาใจ และการคิดวิเคราะหสําหรับแกปญหา
โจทย
นอกจากนั้น คูมือสื่อของตอนนี้ยังประกอบดวยเฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
คําอธิบายและคําแนะนําเพิ่มเติม ไปจากเนื้อหาในสื่อ การสอนและภาคผนวกเรื่องการใหชื่อรหัสแกธาตุ เพื่อให
ครูผูสอนสามารถใชคูมือสื่อนี้สําหรับประกอบในการอธิบายใหแกผูเรียนไดเขาใจการใชสื่อและเนื้อหาของสื่อดี
ยิ่งขึ้น
หวังเปนอยางยิ่งวาสื่อ การสอนและคูมือสื่อนี้ จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครูผูสอนและผูที่เกี่ยวของ เพื่อ
ชวยใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บรรลุผลการเรียนรูตามเปาหมายของวิชาเคมีในหลักสูตร

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผูเรียบเรียงคูมือสื่อการสอน
ผูชวยศาสตราจารย ดร. โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

-1-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สารบัญ

หนา

1. จุดประสงคการเรียนรู 3
2. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 4

3. ความรูพื้นฐานที่ควรรูกอนเรียน 6
4. เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน 7
5. คําอธิบายและคําแนะนําเพิ่มเติมของเนื้อหาในสื่อการสอน 18

6. เอกสารอางอิง 49
7. ภาคผนวก: รายชื่อสื่อการสอนวิชาเคมี 50

-2-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1. จุดประสงคการเรียนรู

1.1. อธิบายองคประกอบตางๆ ของตารางธาตุในปจจุบันได


1.2. ระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนและตําแหนงของธาตุในตารางธาตุได

-3-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

2.1. อธิบายองคประกอบตางๆ ของตารางธาตุในปจจุบันไดวาประกอบขึ้นจาก 4 บริเวณที่แตกตางกันอัน


เนื่องมาจากการจัดเรียงอิเล็กตรอน ไดแก s-block p-block d-block และ f-block โดยทราบวาธาตุใน

บริเวณตางๆ มีอิเล็กตรอนวงนอกอยูในระดับชั้นพลังงานยอย (subshell) นั้นๆ ธาตุใน s และ p-block


รวมเรียกวาธาตุ representative สวนธาตุใน d-block เรียกวาธาตุ transition และธาตุใน f-block
เรียกวาธาตุ inner transition

อนุกรม transition ที่ 1


อนุกรม transition ที่ 2
อนุกรม transition ที่ 3
อนุกรม transition ที่ 4

อนุกรม Lanthanide
อนุกรม Actinide

สีเหลืองคือ s-block มี 2 แถว สีเขียวคือ p-block มี 6 แถว


สีฟาคือ d-block มี 10 แถว สีชมพูคือ f-block มี 14 แถว

นอกจากนั้นตารางธาตุยังแบงออกเปนคาบและหมู โดยธาตุ representative มีทั้งสิ้น 7 คาบตาม


แนวนอน คาบแรกมีเพียงธาตุ ไฮโดรเจนและฮีเลียมเทานั้น สวนธาตุ transition ไมนิยมเรียกวาธาตุแตจะ
เรียกวาอนุกรม (series) แทน ไลจากแถวบนสุดเปนอนุกรมที่ 1 ลงมา และธาตุ inner transition ซึ่งใน
ปจจุบันมี 2 แถวจะเรียกวาอนุกรมเชนกัน แตจะเรียกชื่ออนุกรมตามธาตุชนิดแรกในแถว คือแถวบนมีธาตุ
La (Lanthanium) เปนธาตุแรก เรียกแถวนี้วาอนุกรมแลนทาไนด (Lanthanide series) และ แถวลาง
มีธาตุ Ac (Actinium) เปนธาตุแรก เรียกแถวนี้วาอนุกรมแอกติไนด (Actinide series)

-4-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สวนหมูธาตุแบงตามแถวในแนวดิ่งมีทั้งสิ้น 18 หมู ไลจากซายไปขวาเปนหมูที่ 1 ถึงหมูที่ 18 ตามลําดับ


โดยนิยมให H ลอยอยูตรงกลาง เนื่องจากสมบัติของธาตุไฮโดรเจนไมเหมือนธาตุหมูใดเลย แตจะคลายกับ
ทั้งธาตุหมู 1 และหมู 17 สวนธาตุ He จะอยูในตําแหนงบนสุดหรือคาบที่ 1 ของธาตุหมู 18 ซึ่งเปนหมู
สุดทาย เนื่องจากเฉื่อยตอปฏิกิริยาเคมีเหมือนกับธาตุชนิดอื่นๆ ในหมูนี้ ในอดีตประเทศไทยจัดเรียงหมูธาตุ
เหมือนกับระบบที่ใชในประเทศสหรัฐอเมริกาคือแบงออกเปน 2 กลุมหลัก หมูธาตุ representative จะ
เรียกวาหมู A ไลจากซายไปขวาตั้งแตหมู IA และ IIA แลวขาม d-block ซึ่งเปนธาตุ transition ไป เมื่อ
ถึง p-block ก็ไลลําดับไปจากหมู IIIA ไปจนถึงหมู VIIIA เปนหมูสุดทาย สวนธาตุ transition ใน d-
block จะเรียกชื่อไปจากหมู IIIB เปนหมูแรก แลวเรียงเลขกันไปเปนหมู IVB, VB, VIB และ VIIB สวน
หมูที่ VIIIB จะมีทั้งสิ้น 3 แถวในแนวดิ่ง คือแถวของธาตุ Fe, Co และ Ni จากนั้นจะเปนหมู IB และ IIB
ปดทาย แตธาตุในกลุม inner transition ใน f-block จะไมนิยมเรียกชื่อหมู

2.2. ระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนและตําแหนงของธาตุในตารางธาตุไดวามีความสัมพันธกันอยางใกลชิด
เนื่องจากการจัดเรียงธาตุตางๆ เขาไปบรรจุอยูในตารางธาตุนั้น อาศัยการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ
พลังงานยอยของธาตุแตละชนิด ดังนั้นตําแหนงของธาตุในตารางธาตุก็จะบอกใหทราบถึงการจัดเรียง
อิเล็กตรอนของธาตุชนิดนั้นๆ และในทางกลับกันถาทราบการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุก็จะตองสามารถ
ระบุตําแหนงของธาตุในตารางธาตุไดทันที เชน

-5-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

3. ความรูพื้นฐานที่ควรรูกอนเรียน

กอนเขาสูบทเรียนเรื่องตารางธาตุในปจจุบัน ผูสอนควรแนะนําใหผูเรียนทบทวนความรูพื้นฐานที่ควร
ทราบในหัวขอตางๆ ดังตอไปนี้กอน โดยผูเรียนอาจทบทวนเนื้อหามาลวงหนาดวยตัวเอง หรือผูสอนอธิบาย

เพิ่มเติมกอนเขาสูบทเรียน

3.1. ธาตุและสัญลักษณธาตุ

3.2. แบบจําลองอะตอม
3.3. การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับชั้นพลังงานยอย
3.4. การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับชั้นพลังงานหลัก

เนื่องจากในบทนี้ผูเรียนจะไดเห็นธาตุและสัญลักษณธาตุทุกชนิดบนตารางธาตุ อยางนอยผูเรียนจะตองเขาใจวา
สัญลักษณธาตุคืออะไร สําคัญอยางไร

นักเรียนไมจําเปนตองทองชื่อธาตุ อักษรยอ ตําแหนงบนตารางธาตุ


แตตองเขาใจวาเหตุใดธาตุชนิดตางๆ จึงถูกจัดวางไว ณ ตําแหนงที่แตกตางกันในตารางธาตุ

ตารางธาตุทั่วไปมีราคาถูก พึงใหผูเรียนเสียเงินซื้อตารางธาตุ ดีกวาเสียสมองอันมีคาไปจดจําชื่อและตําแหนงของ


ธาตุ ควรใชสมองในการคิดวิเคราะหถึงเหตุผลและทฤษฎีที่อยูเบื้องหลังจะดีและมีประโยชนมากกวา

การจะเขาใจถึงการกําหนดตําแหนงและการจัดวางธาตุในตารางธาตุนั้น จะตองเขาใจถึงแบบจําลอง
อะตอม โดยเฉพาะในสวนการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานหลักและระดับพงลังงานยอยเสียกอน เพราะ
ตารางธาตุในปจจุบันนั้นสรางมาจากการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย

หากเขาใจการจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานยอย จะเขาใจตารางธาตุและใชตารางธาตุไดมีประสิทธิภาพสูงสุด
แลวตารางธาตุ จะไมเปนเพียงเครื่องมือที่ใชควานหาตําแหนงและชื่อธาตุอีกตอไป

-6-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

4. เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน

ในเรื่องตารางธาตุในปจจุบัน แบบทดสอบกอนและหลังเรียนจะเปน ปรนัย 4 ตัวเลือก มีชุดละ 5 ขอ ซึ่ง


จะเปลี่ยนลําดับโจทยและตัวเลือกใหมทุกครั้งโดยยการสุม ดังนั้นในแตละครั้งที่เปดโปรแกรมสื่อการสอนผูเรียน

อาจจะไดรับโจทยและตัวเลือกในลําดับที่แตกตางกันไป
ผูเรียนจะตองเลือกคําตอบที่ถูกตองใหไดเสียกอนจึงจะสามารถทําขอถัดไปได โดยมีเกณฑการใหคะแนน
ดังนี้

ตอบถูกในครั้งแรก ได 4 คะแนน


ตอบถูกในครั้งที่สอง ได 2 คะแนน

ตอบถูกในครั้งที่สาม ได 1 คะแนน


ตอบถูกในครั้งที่สี่ ได 0 คะแนน

ดังนั้นรวม 5 ขอจะมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน และหลังจากทําแบบทดสอบครอบทั้ง 5 ขอแลว จะมี


ขอความแสดงผลคะแนนรวมที่ไดจากการทําแบบทดสอบ และผลการประเมินศักยภาพของผูเรียนดังนี้

17 — 20 คะแนน อยูในระดับดีมาก
15 — 16 คะแนน อยูในระดับดี
11 — 14 คะแนน อยูในระดับพอใช
0 — 10 คะแนน อยูในระดับควรปรับปรุง

-7-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แบบทดสอบกอนเรียน

คําถามที่ 1
การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับชั้นพลังงานหลักของ Si ในสภาวะพื้นจะมีลักษณะตามขอใด

ตัวเลือกที่ 1 มี 3 วาเลนซอิเล็กตรอน อยูในระดับพลังงานชั้นที่ 3


ตัวเลือกที่ 2 มี 3 วาเลนซอิเล็กตรอน อยูในระดับพลังงานชั้นที่ 4
ตัวเลือกที่ 3 มี 4 วาเลนซอิเล็กตรอน อยูในระดับพลังงานชั้นที่ 3
ตัวเลือกที่ 4 มี 4 วาเลนซอิเล็กตรอน อยูในระดับพลังงานชั้นที่ 4

คําตอบ

ตัวเลือกที่ 3 มี 4 วาเลนซอิเล็กตรอน อยูในระดับพลังงานชั้นที่ 3

คําอธิบาย
เนื่องจาก Si มีเลขอะตอมเทากับ 14 แสดงวามีจํานวนโปรตอนและอิเล็กตรอนชนิดละ 14 อนุภาค
ดังนั้นจะสามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานยอยและระดับพลังงานหลักไดดังนี้คือ

ระดับพลังงานยอย 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3


ระดับพลังงานหลัก 2 8 4

จะเห็นไดจากการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานหลักวา
Si มีจํานวนอิเล็กตรอนวงนอกสุดหรือวาเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 4 และมีจํานวนระดับพลังงานเทากับ 3

-8-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 2
ธาตุคูใดตอไปนี้มีจํานวนวาเลนซอิเล็กตรอนในสภาะพื้นเทากัน

ตัวเลือกที่ 1 2He และ 10Ne


ตัวเลือกที่ 2 4Be และ 5B

ตัวเลือกที่ 3 5B และ 13Al


ตัวเลือกที่ 4 มีคําตอบถูกมากกวา 1 ขอ

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 3 5B และ 13Al

คําอธิบาย
ธาตุตางๆ มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักไดดังตอไปนี้

การจัดเรียงอิเล็กตรอน การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ธาตุ เลขอะตอม ธาตุ เลขอะตอม
K L M K L M

He 2 2 Be 4 2 2

B 5 2 3 Ne 10 2 8

Al 13 2 8 3

ดังนั้น

ตัวเลือกที่ 1 2He มีอิเล็กตรอนวงนอก = 2 และ 10Ne มีอิเล็กตรอนวงนอก = 8


ตัวเลือกที่ 2 4Be มีอิเล็กตรอนวงนอก = 2 และ 5B มีอิเล็กตรอนวงนอก = 3
ตัวเลือกที่ 3 5B มีอิเล็กตรอนวงนอก = 3 และ 13Al มีอิเล็กตรอนวงนอก = 3

ขอที่ถูกตองจึงเปนขอ 3 ธาตุ 5B และ 13Al

-9-
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 3
เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในสภาวะพื้น ธาตุกลุมใดมีวาเลนซอิเล็กตอนอยูในระดับพลังงานยอยชนิดเดียวกัน

ตัวเลือกที่ 1 1H 2He 3Li

ตัวเลือกที่ 2 2He 4Be 10Ne

ตัวเลือกที่ 3 2He 10Ne 18Ar

ตัวเลือกที่ 4 20Ca 24Cr 29Cu

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 1 1H 2He 3Li

คําอธิบาย
ธาตุตางๆ มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอยไดดังตอไปนี้

ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน

H 1s1 He 1s2
Li 1s2 2s1 Be 1s2 2s2
Ne 1s2 2s2 2p6 Ar 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
Ca 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 Cr 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5
Cu 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d10

ดังนั้น อิเล็กตรอนวงนอกสุดของธาตุในแตละขอจะอยูในระดับชั้นพลังงานดังตอไปนี้

ตัวเลือกที่ 1 1H 2He 3Li อยูระดับพลังงานยอย s


ตัวเลือกที่ 2 2He 4Be อยูระดับพลังงานยอย s แต 10Ne อยูระดับพลังงานยอย p
ตัวเลือกที่ 3 2He อยูระดับพลังงานยอย s แต 10Ne 18Ar อยูระดับพลังงานยอย p

ตัวเลือกที่ 4 20Ca อยูระดับพลังงานยอย s แต 24Cr 29Cu อยูระดับพลังงานยอย d

ขอที่ถูกตองจึงเปนขอ 1 ธาตุ 1H 2He 3Li

- 10 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 4
จากวิวัฒนาการของตารางธาตุ ตารางธาตุที่นิยมใชกันในปจจุบันมีลักษณะคลายกับตารางธาตุของใครมากที่สุด

ตัวเลือกที่ 1 Antoine Lavoisier


ตัวเลือกที่ 2 Johann Wolfgang Dӧbereiner

ตัวเลือกที่ 3 John Newlands


ตัวเลือกที่ 4 Dmitri Mendeleev

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 4 Dmitri Mendeleev

คําอธิบาย
Antoine—Laurent de Lavoisier
มีผลงานหนังสือ Traité Élémentaire de Chimie ในป ค.ศ. 1789 ซึ่งถือเปนตําราวิชาเคมีสมัยใหมเลมแรก
ของโลก ไดจัดทํารายชื่อธาตุชนิดตางๆ และจัดแบงออกเปนกลุมโลหะและอโลหะ

Johann Wolfgang Dӧbereiner


ไดพยายามจัดธาตุเปนกลุมขึ้น โดยในป ค.ศ. 1828 ไดสรางกฎ triad ขึ้น จากการสังเกตุพบวาถาจับกลุมธาตุที่มี
สมบัติคลายคลึงกัน 3 ชนิด เมื่อเรียงอะตอมตามน้ําหนักของธาตุจะพบวา ธาตุที่สองจะมีน้ําหนักเทากับคาเฉลี่ย
ของน้ําหนักธาตุที่หนึ่งและสาม

John Newlands
ในป ค.ศ. 1865 พบวาเมื่อเรียงธาตุตามน้ําหนักอะตอมแลว สมบัติของธาตุใดๆ และธาตุที่ถัดออกไปเปนธาตุที่ 8
จะคลายคลึงกัน และเรียกวากฎ octaves

Dmitri Mendeleev
เปนนักวิทยาศาสตรคนแรกที่จัดทําตารางธาตุที่มีลักษณะคลายกับตารางธาตุในปจจุบันขึ้นมา โดยเริ่มเผยแพร
ผลงานเมื่อป ค.ศ . 1869 ในวารสารวิชาการของรัสเซีย และ ตีพิมพใหมอีกครั้งในวารสาร Zeitschrift für
Chemie ของเยอรมัน

- 11 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 5
ถาพิจารณาตารางธาตุในปจจุบัน ธาตุ F และ Cl จะมีตําแหนงติดกันแนวดิ่ง นาจะมาจากคุณสมบัติใดที่คลายคลึง

กัน

ตัวเลือกที่ 1 น้ําหนักอะตอม

ตัวเลือกที่ 2 จํานวนโปรตอน
ตัวเลือกที่ 3 จํานวนอิเล็กตรอน
ตัวเลือกที่ 4 จํานวนวาเลนซอิเล็กตรอน

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 4 จํานวนวาเลนซอิเล็กตรอน

คําอธิบาย
F และ Cl มีสมบัติตางๆ ดังนี้

ธาตุ เลขอะตอม โปรตอน อิเล็กตรอน น้ําหนัก การจัดเรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานหลัก

F 9 9 9 19 2, 7
Cl 17 17 17 35.5 2, 8, 7

ธาตุทั้งสองชนิดมีจํานวนวาเลนซอิเล็กตรอนเทากัน จึงจัดอยูในหมูเดียวกันตามตารางธาตุ คือหมู 17 หรือ VIIA

- 12 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แบบทดสอบหลังเรียน

คําถามที่ 1
ถาสามารถสังเคราะหธาตุหมายเลข 122 ได ธาตุนั้นจะจัดอยูในกลุมใด

ตัวเลือกที่ 1 p-block
ตัวเลือกที่ 2 d-block
ตัวเลือกที่ 3 f-block
ตัวเลือกที่ 4 g-block

คําตอบ

ตัวเลือกที่ 4 g-block

คําอธิบาย
เมื่อพิจารณาลําดับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย
ชนิดตางๆ การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุหมายเลข 122 จะเปน
ดังนี้

1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6, 5s2, 4d10,
5p6, 6s2, 4f14, 5d10, 6p6, 7s2, 5f14, 6d10, 7p6, 8s2,

5g2

ดังนั้นจะเห็นไดวา อิเล็กตรอนวงนอกสุดอยูที่ระดับพลังงานยอย g
แสดงวาจะตองบรรจุอยูใน g-block ซึ่งจะเปน block ใหม

- 13 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 2
ธาตุคูใดตอไปนี้จัดอยูในหมูเดียวกัน

ตัวเลือกที่ 1 2He และ 10Ne


ตัวเลือกที่ 2 4Be และ 5B

ตัวเลือกที่ 3 5B และ 15P


ตัวเลือกที่ 4 มีคําตอบถูกมากกวา 1 ขอ

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 1 2He และ 10Ne

คําอธิบาย
ธาตุตางๆ มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักไดดังตอไปนี้

การจัดเรียงอิเล็กตรอน การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ธาตุ เลขอะตอม ธาตุ เลขอะตอม
K L M K L M

He 2 2 Be 4 2 2

B 5 2 3 Ne 10 2 8

P 15 2 8 5

ตัวเลือกที่ 1 2He มีอิเล็กตรอนวงนอก = 2 และ 10Ne มีอิเล็กตรอนวงนอก = 8


ตัวเลือกที่ 2 4Be มีอิเล็กตรอนวงนอก = 2 และ 5B มีอิเล็กตรอนวงนอก = 3
ตัวเลือกที่ 3 5B มีอิเล็กตรอนวงนอก = 3 และ 15P มีอิเล็กตรอนวงนอก = 5

ปกติธาตุที่อยูหมูเดียวกันจะมีจํานวนอิเล็กตรอนวงนอกสุดเทากัน แตในทั้งสามตัวเลือกแมวาจะไมมีธาตุคูใดมี
จํานวนวาเลนตอิเล็กตรอนเทากันเลย แตตัวเลือกที่ 1 คือ He และ Ne จะเปนคําตอบที่ถูกตอง เนื่องจาก He เปน
กาซเฉื่อยที่ทําปฏิกิริยายาก จึงอยูในหมู 18 หรือ VIIIA ในตารางธาตุเชนเดียวกับ Ne

- 14 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 3
ถาพิจารณาจากการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในสภาวะพื้น ธาตุกลุมใดสมควรที่จะถูกจัดอยูใน block เดียวกัน

ในตารางธาตุ

ตัวเลือกที่ 1 1H 2He 3Li

ตัวเลือกที่ 2 2He 4Be 10Ne

ตัวเลือกที่ 3 2He 10Ne 18Ar

ตัวเลือกที่ 4 20Ca 24Cr 29Cu

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 1 1H 2He 3Li

คําอธิบาย
ธาตุตางๆ มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอยไดดังตอไปนี้

ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอน

H 1s1 He 1s2
Li 1s2 2s1 Be 1s2 2s2
Ne 1s2 2s2 2p6 Ar 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
Ca 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 Cr 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5
Cu 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d10

ดังนั้น อิเล็กตรอนวงนอกสุดของธาตุในแตละขอจะอยูในระดับชั้นพลังงานดังตอไปนี้

ตัวเลือกที่ 1 1H 2He 3Li อยูระดับพลังงานยอย s


ตัวเลือกที่ 2 2He 4Be อยูระดับพลังงานยอย s แต 10Ne อยูระดับพลังงานยอย p

ตัวเลือกที่ 3 2He อยูระดับพลังงานยอย s แต 10Ne 18Ar อยูระดับพลังงานยอย p


ตัวเลือกที่ 4 20Ca อยูระดับพลังงานยอย s แต 24Cr 29Cu อยูระดับพลังงานยอย d

เมื่อการจัด block ของธาตุเปนไปตามการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานยอย


ธาตุกลุมขอ 1 1H 2He 3Li จึงสมควรที่จะถูกจัดอยูใน block เดียวกันในตารางธาตุ คือ s-block
เพียงแตในตารางธาตุปจจุบัน นิยมจะวาง He ไวที่หมู 18 มากกวาตามสมบัติทางเคมี

- 15 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 4
ตําแหนงของธาตุในตารางธาตุบอกอะไรแกเราไมได

ตัวเลือกที่ 1 จํานวนอิเล็กตรอนวงนอก
ตัวเลือกที่ 2 จํานวนโปรตอนในอะตอม

ตัวเลือกที่ 3 จํานวนระดับพลังงานที่มีอิเล็กตรอนบรรจุ
ตัวเลือกที่ 4 น้ําหนักอะตอม

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 4 น้ําหนักอะตอม

คําอธิบาย
ตารางธาตุในอดีตสมัยของ Dmitri Mendeleev และ Julius Lothar Meyer ไดพัฒนาตารางธาตุขึ้นจากการ
เรียงอะตอมตามลําดับของน้ําหนักอะตอมไปเปนกลุมตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมีที่คลายคลึงกัน

เมื่อมีธาตุที่คนพบใหมมากขึ้น และมีความเขาใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของธาตุไดมากขึ้น ตารางธาตุของ


Mendeleev จึงถูกขยายออกและพัฒนารูปแบบขึ้น ในป ค.ศ. ๑๙๒๓ Horace Groves Deming โดยอาศัย
การจัดหมวดหมูตาม เลขอะตอม (จํานวนโปรตอน) และคุณสมบัติที่คลายคลึงกันของธาตุแตละชนิด

จนเมื่อทฤษฎี quantum mechanic พัฒนาขึ้นมาก จึงเริ่มจัดเรียงธาตุในตารางธาตุตามระบบการจัดเรียง


อิเล็กตรอนในระดับชั้นพลังงานยอย โดยป ค.ศ.๑๙๔๕ Glenn Seaborg เปนคนแรกที่เสนอใหแยกเอาธาตุกลุม
Lanthanide และ Actinide ออกมาจากกลุม ธาตุ transition อื่น สุดทายจึงไดตารางธาตุที่มีลักษณะเหมือนที่
เห็นในปจจุบันขึ้นมา

ดังนั้นปจจุบันตารางธาตุจะจัดเรียงธาตุไปตามเลขอะตอมหรือจํานวนโปรตอน โดยวางตําแหนงตามการจัดเรียง
อิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย แตไมไดอาศัยน้ําหนักอะตอมในการจัดเรียงเหมือนในอดีตแลว

- 16 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

คําถามที่ 5
ถาพิจารณาตารางธาตุนปจจุบัน ธาตุ He และ Ne จะมีตําแหนงติดกันแนวดิ่ง นาจะมาจากคุณสมบัติใดที่

คลายคลึงกัน

ตัวเลือกที่ 1 จํานวนอิเล็กตรอน

ตัวเลือกที่ 2 จํานวนอิเล็กตรอนวงนอกสุด
ตัวเลือกที่ 3 จํานวนระดับพลังงานที่มีอิเล็กตรอนบรรจุในสภาวะพื้น
ตัวเลือกที่ 4 สมบัติการเกิดปฏิกิริยาเคมี

คําตอบ
ตัวเลือกที่ 4 สมบัติการเกิดปฏิกิริยาเคมี

คําอธิบาย
พิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอยของ He และ Ne จะไดวา

He = 1s2
Ne = 1s2, 2s2, 2p6

ดังนั้นธาตุทั้งสองควารจะอยูคนละ block และคนละหมูกัน แตที่นิยมนํามาวางไวเปนหมูเดียวกันเพราะสมบัติทาง


เคมีที่ He เฉื่อยตอปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดเหมือนธาตุอื่นๆ ในหมู 18 หรือมู VIIIA จึงนํามาวางไวดวยกัน

- 17 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

5. คําอธิบายเพิ่มเติมของเนื้อหาในสื่อการสอน

สื่อการสอนตอนตารางธาตุในปจจุบันมีความยาว 16:17 นาที โดยเนื้อหาเริ่มดวยการสรุปการพัฒนา

ตารางธาตุในยุคหลังตั้งแต Dmitri Mendeleev เรื่อยมาจนไดตารางธาตุที่นิยมใชกันในปจจุบันนี้ มีการอธิบาย


ถึงองคประกอบสวนตางๆ ของตารางธาตุ และความสัมพันธระหวางการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมกับการ
เรียงลําดับและวางตําแหนงของธาตุในตารางธาตุ โดยแสดงตัวอยางใหเห็นไดชัดเจนยิ่งขึ้นดวย นอกเหนือไปจาก
ธาตุที่มีในธรรมชาติและธาตุที่ไดสังเคราะหขึ้น ในสื่อการสอนนี้ยังอธิบายเพิ่มเติมไปอีกถึงตําแหนงในตารางธาตุ
ของธาตุที่อาจจะสามารถสังเคราะหขึ้นไดในอนาคต
นอกจากนั้นยังมีภาคผนวกดานทายของสื่อการสอนที่แสดงถึงการระบุชื่อรหัสของธาตุตามระบบ IUPAC
สําหรับธาตุที่เพิ่งสังเคราะหได โดยยังไมมีการตั้งชื่อขึ้นอยางเปนทางการดวย

- 18 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 00:29
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายองคประกอบตางๆ ของตารางธาตุในปจจุบันได

2. ระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนและตําแหนงของธาตุในตารางธาตุได

อธิบายเพิ่มเติม
ภาพดานหลังคือภาพของ Dmitri Ivanovich Mendeleev นักเคมีชาวรัสเซียผูสรางตารางธาตุขึ้น
สําเร็จเปนคนแรก

- 19 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 00:40
จากบทเรียนเรื่องวิวัฒนาการของตา รางธาตุ Dmitri Mendeleev และ Julius Lothar Meyer ได
พัฒนาตารางธาตุขึ้นจากการเรียงอะตอมตามลําดับของน้ําหนักอะตอมไปเปนกลุมตามสมบัติทางกายภาพและทาง
เคมีที่คลายคลึงกัน

อธิบายเพิ่มเติม
ภาพ ทางดานซายคือภาพของ Dmitri Ivanovich Mendeleev สวนทางดานขวาคือภาพของ Julius
Lothar von Meyer ชาวเยอรมัน ซึ่งเผยแพรผลงานการสรางตารางธาตุที่มีลักษณะคลายกันมากในเวลาใกลคียง
กัน

ภาพกลางคือภาพของตารางธาตุที่ Mendeleev สรางขึ้นและเผยแพรขึ้นเมื่อป ค.ศ. 1869 เปนภาษา


รัสเซีย และภายหลังพิมพเผยแพรซ้ําในวารสารวิชาการภาษาเยอรมัน

Mendelejew, Dimitri. Über die Beziehungen der Eigenschaften zu den Atomgewichten der
Elemente Zeitschrift für Chemie 1869, 405–406.

- 20 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 01:22
เมื่อมีธาตุที่คนพบใหมมากขึ้น และมีความเขาใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของธาตุไดมากขึ้น ตารางธาตุของ
Mendeleev จึงถูกขยายออกและพัฒนารูปแบบขึ้น ในป ค.ศ. 1923 โดย Horace Groves Deming อาศัย

การจัดหมวดหมูตาม เลขอะตอม (จํานวนโปรตอน) และคุณสมบัติที่คลายคลึงกันของธาตุแตละชนิดจัดตารางธาตุ


ขึ้นใหม

อธิบายเพิ่มเติม
Deming นักเคมีชาวอเมริกันเปนคนแรกๆ ที่เริ่มจัดตารางธาตุออกเปน 18 หมู เหมือนกับตารางธาตุที่
นิยมใชกันในปจจุบัน โดยใชกันอยางแพรหลายในชวงเวลานั้น

- 21 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 01:56
จนเมื่อทฤษฎี quantum mechanic พัฒนาขึ้นมาก จึงเริ่มจัดเรียงธาตุในตารางธาตุตามระบบการ
จัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชั้นพลังงานยอย โดยป ค.ศ. 1945 Glenn Seaborg เปนคนแรกที่เสนอใหแยกเอา

ธาตุกลุม Lanthanide และ Actinide ออกมาจากกลุม ธาตุ transition อื่น

อธิบายเพิ่มเติม
เมื่อทฤษฎี quantum mechanic พัฒนาขึ้น มีการศึกษาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชั้นพลังงาน
ยอย จึงสังเกตพบวาการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุนั้นคลายกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย ดังนั้น
ระดับพลังงานยอยที่ใหญขึ้นจะใชแถวบรรจุธาตุในตารางที่กวางขึ้นดวย
ภาพดานหลังคือภาพของ Glenn Theodore Seaborg เปนนักวิทยาศาสตรที่ทํางานเกี่ยวของกับธาตุ
ในกลุม Actinide และเปนคนแรกที่เสนอใหแยกเอาธาตุกลุม Lanthanide และ Actinide ออกมาบรรจุใน
ตารางธาตุแถวใหมของธาตุที่มีอิเล็กตรอนวงนอกอยูในระดับพลังงานยอย f

- 22 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 01:43
สุดทายจึงไดตารางธาตุที่มีลักษณะเหมือนที่เห็นในปจจุบันขึ้นมา
จากตารางธาตุในปจจุบันวางธาตุเรียงลําดับไปเรื่อยๆ จากเลขอะตอมหรือจํานวนโปรตอนนอยที่สุด ไป

หามากที่สุด ไลเรียงตั้งแตธาตุ hydrogen หมายเลข ๑, ธาตุ helium หมายเลข ๒, ธาตุ lithium หมายเลข ๓
เรื่อยไป

อธิบายเพิ่มเติม
ตารางธาตุในปจจุบันที่ใชมีหลายแบบที่แตกตางกันไป แตแบบที่นิยมมากที่สุดจะมีลักษณะคลายๆ กัน
เหมือนที่แสดงใหดูในภาพนี้ อยางไรก็ดีมักจะมีขอแตกตางกันบางบางประการโดยเฉพาะตําแหนงของธาตุกลุม

Lanthanide และ Actinide เชน


1. วางธาตุ La และ Ac ไวดานลางของตารางธาตุ ยาวไปถึง Lu และ Lr ทําใหแถวดานลางมีแถวละ
15 ธาตุ
2. วางธาตุ La และ Ac ไวบน d-block แลวแถวดานลางทั้งสองแถวเริ่มจาก Ce และ Th ยาวไปถึง
Lu และ Lr รวมแถวละ 14 ชนิดธาตุ
3. วางธาตุ La และ Ac ไวดานลางของตารางธาตุ ยาวไปถึง Yb และ No รวมแถวละ 14 ชนิดธาตุ
แลวนํา Lu และ Lr มาวางไวดานบนใน d-block แทน
ซึ่งถาจะพิจารณาตามการจัดเรียงอิเล็กตรอนแลว ตารางธาตุควรบรรจุธาตุตามแบบขอที่ 3 ดานบน หรือ
แบบที่แสดงในรูปนี้ เนื่อง La และ Ac เปนธาตุ f1 สวน Lu และ Lr เปนธาตุ d1 ทั้งคู

- 23 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 2:25
จะเห็นไดวาตารางธาตุนั้นจะมีลักษณะเปน 4 block ตอกัน โดยถาพิจารณาจํานวนแถวของแตละ block
จะมีคาเทากับ 2, 6, 10, และ 14 แถว ซึ่งเทากับจํานวนอิเล็กตรอนที่บรรจุไดในระดับพลังงานยอย s, p, d และ f

ตามลําดับ ซึ่งเปนเพราะการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุสมัยใหมนี้ จัดเรียงตามการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุแตละ


ชนิดนั่นเอง

อธิบายเพิ่มเติม
ในสื่อการสอนจะมีการเนนตําแหนงของ block ตางๆ คือ s, p, d และ f—block ใหเห็นไดชัดเจนตาม
จังหวะการพูด และจะเลื่อนตําแหนงของ H และ He ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 1s1 และ 1s2 ตามลําดับมาอยู

ที่ s—block ดานบนดวย ซึ่งผูสอนอาจจะตองชี้แจงใหผูเรียนทราบ เพราะการจัดตารางธาตุปกติ H และ He จะ


ไมไดอยูตําแหนงนี้ ดวยเหตุผลดานสมบัติทางเคมีของทั้งคู

- 24 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 3:48
โดยธาตุแตละชนิดตั้งแต hydrogen เรื่อยไปนั้นเมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นแลว จะพบวา
อิเล็กตรอนวงนอกสุดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังนี้ คือ

- 25 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ธาตุ hydrogen มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 1s1 ธาตุ helium มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 1s2


ธาตุ lithium มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 2s1 ธาตุ beryllium มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 2s2

ธาตุ boron มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 2p1 ไลไปเรื่อยๆ จนถึง


ธาตุ neon มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 2p10 แลวจึงขึ้นบรรทัดใหมดวย
ธาตุ sodium มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 3s1 ธาตุ Mg มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 3s2

แลวจึงขึ้น p-block อีกครั้งดวยธาตุ Al ถึง Ar เมื่อเต็มแลวจึงขึ้นบรรทัดใหมที่ 4s อีกครั้ง


และเมื่อเต็มแลวจึงเริ่ม block กลาง ที่ 3d1 ไลไปจนถึง 3d10 ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงธาตุหมายเลข 57La

ที่ 5f1 ก็จะยกแถวนี้ทั้งแถวที่ประกอบดวยธาตุ 14 ชนิด เพราะระดับพลังงานยอย f สามารถบรรจุได 14

อิเล็กตรอน ลงมาดานลาง เนื่องจากไมตองการใหตารางธาตุนั้นยาวมากเกินไป หลังจากนั้นจะสามารถบรรจุธาตุ


ชนิดตางๆ ประกอบเปนตารางธาตุขึ้นมาไดอยางสมบูรณ
จะเห็นไดวาระดับชั้นพลังงานยอยชนิดเดียวกันจะเรียงอยูใน block เดียวกันโดยที่จํานวนอิเล็กตรอนใน

ระดับพลังงานชั้นนอกสุดที่เทากันจะเรียงตัวอยูในแถวเดียวกันตามแนวดิ่ง

อธิบายเพิ่มเติม
ในภาพจะเปนการอธิบายใหเห็นชัดวาการจัดเรียงธาตุลงไปในตารางธาตุนั้นจะสัมพันธกับการจัดเรียง
อิเล็กตรอนเปนอยางมาก
ธาตุในตางรางธาตุ จะเปลี่ยนจากสัญลักษณธาตุไปเปนการจัดเรียงอิเล็กตรอน โดยแสดงระดับพลังงาน
ยอยชั้นนอกสุดของแตละธาตุนั้น เรียงไปเรื่อยๆ จาก H, He, Li จนหมดตารางธาตุ ซึ่งจะสัมพันธกับแผนภาพการ
จัดเรียงอิเล็กตรอนที่แสดงเปรียบเทียบอยูทางดานขวามือ โดยลูกศรที่ชี้วาการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยูที่ระดับ
พลังงานยอยใดจะคอยๆ พุงลงมาโดยสัมพันธกับการเปลี่ยนสัญลักษณในตารางธาตุทางดานซาย
57
นอกจากนั้นจะมีการอธิบายใหเห็นชัดวาธาตุ La นั้น มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 4f1 จึงไปอยูใน
block ใหม ซึ่งดวยความที่จะมี 14 ชนิดธาตุและทําใหตารางธาตุนั้นยาวเกินไปจึงยกลงมาวางไวทางดานลางของ
ตารางธาตุ จากนั้นจะทําการบรรจุตารางธาตุตอไปจนสมบูรณ โดยจะแสดงใหเห็นภาพชาลงอีกครั้งเมื่อจะขึ้นกลุม
ธาตุ 5f วาจะตองยายลงมาทางดานลางเชนเดียวกับ 4f
ผูสอนควรชี้ใหเห็นภาพทั้งสองดาน คือทางดานตารางธาตุซายมือ และ แผนภาพการเรียงอิเล็กตรอนทาง
ขวามือ ไปพรอมๆ กันดวย และ เมื่อบรรจุธาตุครบแลว จะแสดงการเลื่อนตําแหนงของ H และ He กลับไป
เหมือนตารางธาตุปกติ คือยาย H ไวตรงกลางและ He ไวเหนือ Ne ทางขวาสุด ซึ่งผูสอนควรชี้ใหเห็นจุดนี้ดวย
เชนกัน
นอกจากนั้นในประโยคสุดทายจะชี้ใหเห็นวา ระดับชั้นพลังงานยอยชนิดเดียวกันจะเรียงอยูใน block
เดียวกันโดยที่จํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุดที่เทากันจะเรียงตัวอยูในแถวเดียวกันตามแนวดิ่ง ซึ่ง
ผูสอนควรเนนย้ําที่นี่อีกครั้งดวย เพราะจะตองใชระบุหมูธาตุตอไป

- 26 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 4:56
block ตางๆ เหลานี้จึงเรียกชื่อตามระดับพลังงานยอยนั้นๆ และจะเรียก s และ p block รวมกันวาธาตุ
representative สวน d block จะเรียกวาธาตุ transition และ f block เรียกวาธาตุ inner transition

ตําแหนงของธาตุบนตารางธาตุนั้น สัมพันธกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุแตละชนิดมาก ถาเรา


สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุไดถูกตอง ก็จะสามารถทราบตําแหนงของธาตุชนิดนั้นๆ บนตารางธาตุได และ
ในทางกลับกัน ถาเราทราบตําแหนงของธาตุชนิดนั้นๆ บนตารางธาตุ เราก็จะทราบการจัดเรียงอเล็กตรอนของธาตุ

ชนิดนั้นๆ ได

อธิบายเพิ่มเติม
ในตารางธาตุจะเลือนอักษรใหเหลือแตการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุตัวแรงของแตละ block ในแตละ
คาบเทานั้น เพื่อใหเห็นไดวาแตละ block มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกสุดดวยระดับพลังงายยอยเดียวกัน และ
ไดแสดงชื่อเรียกของกลุมธาตุตางๆ ไดแกธาตุ representative, transition และ inner transition ไวดวย

- 27 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 5:40
เชน Ne เปนธาตุหมายเลข ๑๐ สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนไดเปน 1s2, 2s2, 2p6, 3s2 และ 3p6 ดังนั้น
Ne จึงอยูใน p-block ในแถว 3p ตัวที่ 6

ธาตุชนิดอื่นๆ ก็สามารถทําไดในลักษณะเดียวกัน เชน Ca ที่มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 4s2 ก็จะอยูใน


s-block ในแถว 4s ตัวที่ 2 และ Fe ที่มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเปน 3d6 ก็จะอยูใน d-block ในแถว 3d ตัวที่ 6
เปนตน

อธิบายเพิ่มเติม
จากการแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนที่สัมพันธกับตารางธาตุในฉากที่ผานมา ในภาพนี้จะแสดงตัวอยาง
ใหเห็นวา ถาเราสามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุไดถูกตอง ก็จะสามารถทราบตําแหนงของธาตุชนิดนั้นๆ บน
ตารางธาตุได
ตัวอยางแรกจะแสดงวา Ne ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนลงทายวา 3p6 จะมีตําแหนงในตารางธาตุอยูที่ p-

block แถวแรกซึ่งเปนแถวของ 2p และเปนธาตุลําดับที่ 6 ในแถวนี้


ตัวอยางที่ 2 แสดงวา Ca ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนลงทายวา 4s2 จะมีตําแหนงในตารางธาตุอยูที่ s-
block แถวที่ 4 ซึ่งเปนแถวของ 4s และเปนธาตุลําดับที่ 2 ในแถวนี้
ตัวอยางที่ 3 แสดงวา Fe ที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนลงทายวา 3d6 จะมีตําแหนงในตารางธาตุอยูที่ d-
block แถวที่ 1 ซึ่งเปนแถวของ 3d และเปนธาตุลําดับที่ 6 ในแถวนี้
ผูสอนอาจยกตัวอยางอื่นเพิ่มเติมใหผูเรียนไดเห็นมากขึ้นดวยจะเปนการดีมาก

- 28 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 6:54
ในทางกลับกันถาเราทราบตําแหนงของธาตุในตารางธาตุ ก็จะสามารถระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ
ธาตุนั้นไดทันที เชน Uranium เปนธาตุลําดับที่ 4 ในบรรทัดลางสุดของ f-block หมายถึงมีอิเล็ฏตรอนวงนอกสุด

เปน 5f4 ก็จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน

1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6, 5s2, 4d10, 5p6, 6s2, 4f14, 5d10, 6p6, 7s2, 5f4

ดังนั้น U ซึ่งมีจํานวนอิเล็กตรอนรวมเทากับ 92 จะสามาถจัดเรียงอิเล็กตรอนไดดังที่ระบุไวในตารางธาตุ

อธิบายเพิ่มเติม
ในตัวอยางนี้จะจะแสดงวาถาเราทราบตําแหนงของธาตุบนตารางธาตุก็จะระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนได
โดยไมจําเปนตองใชแผนภาพทางดานขวาแตใชตําแหนงของธาตุบนตารางธาตุระบุแทน เนื่องจากตําแหนงตางๆ
บนตารางธาตุเปนการบอกการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยูแลว โดยตัวอยางนี้จะแสดงแถบสีของระดับพลังงานยอยบน
ตารางธาตุควบคูไปกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ U ทางดานลาง และแผนภาพการจัดอิเล็กตรอนทางขวา
ควรใหผูเรียนไดลองระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุอื่นๆ โดยไมตองใชแผนภาพทางดานขวาแตดู
เฉพาะตําแหนงบนตารางธาตุแทนใหคลอง ก็จะสามารถเขาใจกาจัดวางตําแหนงของตารางธาตุไดอยางลึกซึ้ง

- 29 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 7:13
จะเห็นไดชัดวา เราจะสามารถระบุการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุใดๆ ได โดยอาศัยการพิจารณา
ตําแหนงของธาตุนั้นบนตารางธาตุไดอยางงายดาย

อธิบายเพิ่มเติม
ภาพของตารางธาตุจะเปลี่ยนจากสัญลักษณธาตุไปเปนการจัดเรียงอิเล็กตรอนที่ระดับชั้นพลังงานนอกสุด
อีกครั้งหนึ่ง โดยเมื่อเปลี่ยนครบจะเลื่อนตําแหนงของ H และ He กลับไปไวตามตารางธาตุปกติ
ถาใหผูเรียนไดทดลองระบุกาจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุตางๆ บนตารางธาตุ จะสามารถใชตารางธาตุนี้
ตรวจคําตอบไดโดยงาย อาจะทําเปนกิจกรรมเสิรในระหวางเรียนขึ้นมาได

- 30 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 7:36
ตารางธาตุนอกจากจะแยงออกเปน block แลว ถาเราพิจารณาตามแถวจะเห็นไดวามีทั้งสิ้น ๗ แถว หรือ
เรียกวา คาบ หรือ period โดยแสดงไดถึงจํานวนระดับชั้นพลังงานหลักของธาตุในคาบนั้นๆ

- 31 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เชน เมื่อพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ Ne ตามพลังงานยอยแลว จะสามารถยุบรวมกันเปนการ


จัดเรียงอิเล็กตรอนตามรดับพลังงานหลักไดเปน Ne = 2, 8 เพราะอิเล็กตรอนในระดับชั้นพลังงานที่ 2
ไดแก 2s และ 2p มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 8 อิเล็กตรอน ดังนั้น Ne จะมีอิเล็กตรอนบรรจุใน 2 ระดับพลังงานที่
สภาวะพื้น จึงปรากฎอยูในคาบที่ 2
สวน Ca = 2, 8, 8, 2 ดวยสาเหตุเดียวกัน Ca จึงมีอิเล็กตรอนบรรจุใน 4 ระดับพลังงานที่
สภาวะพื้น จึงปรากฎอยูในคาบที่ 4
ในกรณีของ Fe นั้น ระดับพลังงานที่ 3 จะมีทั้ง 3s, 3p และ 3d ดังนั้นจะมีอิเล็กตรอนบรรจุอยูในระดับ
พลังงานชั้นที่ 3 รวมทั้งสิ้น 14 อิเล็กตรอน อยางไรก็ดี จะมีอิเล็กตรอนบรรจุใน 4 ระดับพลังงานที่สภาวะพื้น
เชนเดียวกันกับ Ca จึงปรากฎอยูในคาบที่ 4 เชนกัน

อธิบายเพิ่มเติม

ภาพตารางธาตุแสดงคาบ โดยระบุเปนเลข 1 ถึง 7 ไวทางดานซายของตารางธาตุ โดยปรากฏธาตุจาก


ตัวอยางที่ผานมา คือ Ne Ca Fe และ U
จากนั้นจะแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานหลักของแตละธาตุ โดยใชการยุบรวมระดับ
พลังงานยอยเปนระดับพลังงานหลัก แสดงใหเห็นทีละตัวอยาง และมีการเนนที่ตัวอยาง Fe ซึ่งที่ระดับพลังงานหลัก
ที่ 3 จะมีระดับพลังงานยอย 3 ชนิดคือ 3s, 3p และ 3d จึงตองรวมเอาอิเล็กตรอนจากทั้ง 3 ระดับพลังงานยอยมา
ซึ่งทั้งสามตัวอยางที่แสดงนี้จะชี้ใหเห็นวา จํานวนระดับพลังงานหลักจะบอกถึงคาบที่ธาตุทั้ง 3 ชนิดนี้
ปรากฏอยูบนตารางธาตุ

- 32 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 9:42
แตในกรณีของธาตุทรานซิชันนี้ จะไมนิยมระบุตําแหนงตามคาบแตจะใชคําวาอนุกรมหรือ series ระบุ
แทน โดยที่ในแถวของ

3d จะเรียกวาอนุกรม transition ที่ 1 4d จะเรียกวาอนุกรม transition ที่ 2


5d จะเรียกวาอนุกรม transition ที่ 3 6d จะเรียกวาอนุกรม transition ที่ 4
สวนบริเวณ inner transition นั้น จะระบุวา

4f จะเรียกวาอนุกรม lanthanide 5f จะเรียกวาอนุกรม actinide


เนื่องจากธาตุชนิดแรกในอนุกรมคือ La และ Ac ตามลําดับ

อธิบายเพิ่มเติม
เนื่องจากการเหลื่อมกันของคาบและการแยกเอา f ไปวางทางดานลาง โดยปกติจึงไมนิยมระบุคาบสําหรับ
ธาตุในกลุม transition และ inner transition แตจะใชคําวา series หรือ อนุกรมแทน

- 33 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 10:27
นอกจากจะมีการระบุตําแหนงของธาตุตามแถวในแนวนอนแลว ยังมีการระบุตําแหนงของธาตุตามแถว
ในแนวตั้งดวย โดยเรียกวาหมู หรือ group ซึ่งจะมีความสัมพันธกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามที่ไดแสดงไปแลว

วา ธาตุในหมูเดียวกันนั้นจะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดเหมือนกัน
แตเดิมนั้นเราจะระบุหมูของธาตุคลายกันกับระบบในประเทศสหรัฐอเมริกาคือ ธาตุ representative จะ
ระบุเปนหมู A สวนธาตุ transition จะระบุเปนหมู B โดยมีเลขโรมันกํากับดังนี้

อธิบายเพิ่มเติม
หมูของธาตุแตเดิมจะแบงออกเปน 2 ระบบใหญๆ คือหมู A สําหรับธาตุ representative ซึ่งในรูปนี้ได
แสดงการเนนดวยกรอบสีเขียว และหมู B สําหรับธาตุ transition ซึ่งในรูปนี้ไดแสดงการเนนดวยกรอบสีสม
ดานบนของตารางธาตุจะมีตัวเลขโรมันกํากับอยู บอกถึงหมูของธาตุบนตารางธาตุ

- 34 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 10:51
หมูธาตุ representative หรือหมู A นั้นจะมีเลขหมูเทากับจํานวนอิเล็กตรอนวงนอกเมื่อจัดเรียงดัวยการ
จัดเรียงระดับชั้นพลังงานหลัก

ดังที่แสดงนี้จะเห็นวาธาตุคาบที่ ๒ ในหมู representative จะมีจํานวนอิเล็กตรอนวงนอกของระดับ


พลังงานหลักเทากันกับเลขหมูพอดี และเปนเชนเดียวกันนี้สําหรับธาตุคาบลางๆ ลงไปดวย เนื่องจากตารางธาตุนี้
ไดจากการจัดเรียงอิเล็กตรอน หมูธาตุเดียวกันจึงมีจํานวนอิเล็กตรอนในชั้นนอกสุดเทากัน

อธิบายเพิ่มเติม
ตารางธาตุนี้จะไดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกที่สัมพันธกับหมูของตารางธาตุสําหรับธาตุ
representative หรือธาตุในหมู A โดยแสดงธาตุในคาบที่ 2 ใหดูตั้งแต Li ถึง Ne มีการเนนสีใหเห็นโดยใชสี
แดงสําหรับระดับพลังงาน K และสีน้ําเงินสําหรับระดับพลังงาน L ซึ่งเปนระดับพลังงานชั้นนอก
ดวยเหตุที่มี 2 ระดับพลังงาน ธาตุทั้งหมดในตัวอยางจึงปรากฏอยูในคาบที่ 2 แตจะอยูในหมูที่แตกตาง
กันไปตามจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุด

- 35 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 11:12
ในป ค.ศ. 1988 IUPAC ไดกําหนดการระบุเลขหมูขึ้นใหม โดยเรียงเลขหมูจากซายไปขวาเปนหมู 1
ถึง 18 ทําใหปจจุบันการระบุตําแหนงของธาตุตามหมูนั้นเรียบงายขึ้นกวาเดิม

อยางไรก็ดี ธาตุใน f-block ไมนิยมเรียกชื่อหมู

อธิบายเพิ่มเติม
ที่เหนือตารางธาตุจะปรากฏตัวเลข 1 ถึง 18 ขึ้นกํากับหมู เนื่องจากตั้งแตป ค.ศ. 1988 ทาง IUPAC ได
ประกาศการเรียกชื่อหมูใหเปนสากลขึ้น ให ใชรวมกัน เพราะกอนหนานั้นการเรียก เลขหมูในประเทศและทวีป
ตางๆ ใชแตกตางกันไป

- 36 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 11:44
เนื่องจากธาตุในหมูเดียวกันมีจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุดเทากัน จะมีผลทําใหสมบัติ
ทางเคมีของธาตุในหมูเดียวกัน จะมีความคลายคลึงกันดวย ดังจะไดศึกษาตอในหัวขอถัดๆ ไป

อธิบายเพิ่มเติม
ตารางธาตุนี้จะสรุปใหเห็นอีกครั้งวาในแตละหมูนั้น ธาตุทุกชนิดในหมูจะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
ระดับชั้นพลังงานนอกสุดเหมือนกันทั้งสิ้น โดยจะแสดงเฉพาะแถวบนสุดของแตละหมู เพื่อใหเห็นระดับพลังงาน
ยอยและจํานวนอิเล็ฏตรอนในแตละระดับพลังงานยอยนั้นๆ

- 37 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 12:05
และดวยสาเหตุนี้เองหมูธาตุจึงมีความสําคัญ และธาตุบางหมูก็จะมีชื่อหมูเฉพาะขึ้นมาดวยเชน
หมู 1 เรียกวา alkali metals หมู 2 เรียกวา alkaline earth metals

หมู 17 เรียกวา halogens หมู 18 เรียกวา noble gases เปนตน

อธิบายเพิ่มเติม
ในระยะเริ่มแรก ธาตุ ตางๆ ถูกแบงออกเปนเพียง 2 หมูใหญคือหมูธาตุโลหะ และ อโลหะ ตอมาจึงอาศัย
สมบัติการเกิดสารประกอบตางๆ เชน oxide และ hydride มาแยกแยะใหมีหมูธาตุแตกตางกันมากขึ้น
ปจจุบันมีธาตุอยู 18 หมูหลัก โดยบางหมูที่มีความโดดเดนก็จะมีชื่อเฉพาะลงไป ในตัวอยางนี้เปนเพียง
หมูธาตุที่มีชื่อเรียกกันอยางแพรหลายที่สุด 4 หมูเทานั้น นอกจาก 4 หมูดังกลาวแลว ธาตุหมูอื่นก็มีชื่อเรียกเฉพาะ
เชนกัน แตอาจจะไมแพรหลายหรือเปนที่นิยมเทากับ 4 หมูหลักดังกลาว เชน
หมู 11 เรียกวา coinage metals หมู 15 เรียกวา pnictogens
หมู 16 เรียกวา chalcogens เปนตน

- 38 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 12:15
ขอสังเกตุหนึ่งในตารางธาตุนี้คือตําแหนงของ H และ He แมวาจะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 1s1 และ
1s2 ตามลําดับ แตก็ไมไดวางไวใน s-block แตนํา He มาวางไวคาบแรกของหมู p6 และนํา H มาวางลอยอยู

เหนือตารางธาตุ
ทั้งนี้เพราะสมบัติของ H นั้นก้ํากึ่งกัน หรือคลายกับสมบัติของธาตุในหมู 1 และ หมู 17 จึงไมนําไปวาง
ไวกับหมูใด สวน He เปนกาสเฉื่อยเหมือนกับธาตุหมู 18 จึงยายไปวางกับหมู 18 แทน

อธิบายเพิ่มเติม
ตารางนี่จะเนนใหเห็นถึงตําแหนงของ H และ He ที่นิยมจัดวางในตารางธาตุตามสมบัติทางเคมีไมใช
ตามการจัดเรียงอิเล็กตรอน
โดย H นั้นนอกจากจะนิยมนํามาวางไวกลางตารางธาตุ ไมอิงอยูกับหมูใดหมูหนึ่งแลว บางครั้งเราอาจจะ
เห็นวามีการวาง H ไวกับโลหะหมู 1 ดวย ทั้งนี้เพื่อความเปนระเบียบสวยงามของตารางธาตุ และเพราะอยางนอย
H ก็มีอิเล็กตรอนวงนอกเปน 1 และเกิดปฏิกิริยาบางอยางคลายกับธาตุในหมูที่ 1

- 39 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 12:56
ธาตุที่มีอยูในธรรมชาติบนโลกเราที่มีขนาดใหญที่สุดจะมีโปรตอนประมาณ 92 อนุภาค คือ Uranium
สวนธาตุขนาดใหญกวานั้น ถูกสังเคราะหขึ้นในหองปฏิบัติการ และในปจจุบันยังมีการศึกษาและพยายาม

สังเคราะหธาตุขนาดใหญขึ้นมาอยางตอเนื่อง ดังนั้นตารางธาตุจะมีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ บรรจุธาตุมากขึ้นเรื่องๆ


ตราบเทาที่เรายังสามารถสังเคราะหธาตุใหมๆ ขึ้นมาไดอีก

อธิบายเพิ่มเติม
สมการดานลางเปนสมการการสังเคราะหธาตุ Uuo ซึ่งมีเลขอะตอมเทากับ 118 ซึ่งถูกสังเคราะหขึ้นได
ครั้งแรกในป ค.ศ. 2002 เพียง 1 อะตอมเทานั้น จากการยิงลําอนุภาค Ca ไปกระทบ Cf และทดลองซ้ําเปน

ผลสําเร็จในป ค.ศ. 2005

Oganessian, Yu. Ts.; Utyonkov, V. K.; Lobanov, Yu. V.; Abdullin, F. Sh.; Polyakov, A. N.;
Sagaidak, R. N.; Shirokovsky, I. V.; Tsyganov, Yu. S.; Voinov, A. A.; Gulbekian, G. G.;
Bogomolov, S. L.; Gikal, B. N.; Mezentsev, A. N.; liev, S.; Subbotin, V. G.; Sukhov, A. M.;
Subotic, K.; Zagrebaev, V. I.; Vostokin, G. K.; Itkis, M. G.; Moody, K. J.; Patin, J. B.;
Shaughnessy, D. A.; Stoyer, M. A.; Stoyer, N. J.; Wilk, P. A.; Kenneally, J. M.; Landrum, J.
H.; Wild, J. F.; Lougheed, R. W. Synthesis of the Isotopes of Elements 118 and 116 in the
Cf—249 and Cm—245 + Ca—48 Fusion Reactions. Physical Review C. 2006, 74 (4), 044602.

- 40 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 13:40
ในที่สุด ถาพิจารณาจากแผนภาพการจัดเรียงอิเล็กตรอน จะพบวาเมื่อสังเคราะหธาตุลําดับที่ 119 และ
120 ได ก็จะขึ้นสูคาบที่ 8 ของธาตุ s-block

อธิบายเพิ่มเติม
จากตารางธาตุและแผนภาพการจัดเรียงอิเล็กตรอนนี้จะแสดงใหเห็นวา เมื่อมีการสังเคราะหธาตุขนาด
ใหญขึ้นไปเรื่อยๆ ตารางธาตุก็จะขยายขนาดออก
เมื่อถึงธาตุที่ 119 ถาพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนก็จะพบวา จะตองไปบรรจุอยูที่ระดับพลังงาน 8s
ซึ่งจะมีตําแหนงใต 7s หมายความวาตารางธาตุจะตองขึ้นสูคาบใหม เปนคาบที่ 8

- 41 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 13:48
และถาสังเคราะหธาตุหมายเลข 121 ไดก็จะพิจารณาไดวาการจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกจะลงทายดวย
5g1 ทําใหจะตองเพิ่มแถวของธาตุในตารางธาตุอีกแถวหนึ่งขึ้นมา ดังนั้นตารางธาตุจะยังคงขยายขนาดเพิ่มขึ้น
ตอไป

อธิบายเพิ่มเติม
และเมื่อบรรจุอิเล็กตรอนเต็มระดับชั้นพลังงานยอย 8s แลว ตามแผนภาพการจัดเรียงอิเล็กตรอน
ทางดานขวา จะเห็นไดวาจะตองขึ้นสูระดับชั้นพลังงานยอยตอไป ซึ่งก็คือ 5g นั่นเอง หมายความวาธาตุชนืดใหม
นี้จะตองอยูใน g—block ซึ่งจะมีคาบละ 18 ชนิดธาตุ ตามจํานวนอิเล็กตรอนที่บรรจุไดในระดับพลังงานยอยนี้ ซึ่ง
g—block ก็จะตองอยูแยกออกไปจาก s p d และ f—block ที่มีอยูเดิม จึงจําเปนตองสราง block ใหมขึ้นมาไว
ดานลางของ f—blockนั่นเอง

- 42 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 14:27
นอกจากตารางธาตุแบบที่เรานิยมใชกันแลว ยังมีตารางธาตุแบบอื่นๆ อีกมากมาย เพียงแตวา ตารางธาตุ
ที่คนทั่วไปนิยมใชกันอยางแพรหลายก็ยังเปนตารางที่เราไดพูดกันมาตั้งแตตนนี้อยูดีนั่นเอง

สุดทายนี้ จะเห็นวาตารางธาตุนั้นมีการจัดลําดับธาตุอยางเปนระเบียบตามการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
อะตอม ซึ่งจะสะทอนถึงสมบัติทางเคมีของธาตุตางๆ ตอไป การเขาใจตารางธาตุจะชวยใหเราเห็นแนวโนม
ความสัมพันธ ลักษณะที่เหมือนและแตกตางกันของธาตุชนิดตางๆ ในตารางธาตุได ซึ่งจําเปนตอการศึกษาเคมีใน

บทอื่นๆ ตอไป

อธิบายเพิ่มเติม
นอกจากตารางธาตุแบบที่นิยมใชกันแลว ยังมีตารางธาตุแบบอื่นๆ อีกมากมาย แตก็ไมไดรับความนิยม
แพรหลายเหมือนตารางธาตุที่ใชในสื่อการสอนนี้มาตลอดทั้งตอน
ตัวอยางที่นํามาแสดง 2 แบบนี้เปนเพียงสวนเล็กนอยเทานั้น เชน ตารางธาตุที่มีลักษณะคลายกนหอย
เหรือเกลียวนั้นเปนแบบของ Theodor Benfey ซึ่งบรรจุธาตุ representative ไวบริเวณสวนวงกลม และมี
transition metals อยูในสวนที่ยื่นออกมา โดยกิ่งใหญดานลางเปน d—block กิ่งกลางคือ f—block และ กิ่งเล็กๆ
คือ g—block
ตารางธาตุที่มีรูปรางคลายบันไดดานลางคือ Left Step periodic table ของ Charles Janet ที่คลาย
กับตารางธาตุแบบปกติแตเรียง s, p, d และ f—block จากซายไปขวา
หลังจากหนานี้แลว สื่อการสอนจะยังไมจบ แตจะมีภาคผนวกตอไปดวย

- 43 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 14:46
เนื่องจากการสังเคราะหธาตุชนิดใหมขึ้นมา จะตองมีการตรวจสอบความถูกตองของผลการทดลอง และ
ตองมีการทดลองซ้ําเพื่อยืนยันวาสามารถสังเคราะหธาตุดังกลาวไดจริง

- 44 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

อธิบายเพิ่มเติม
ภาคผนวกนี้จะอธิบายถึงการตั้งชื่อรหัสของธาตุที่สังเคราะหขึ้นมาใหม ซึ่งจะตองรอการยืนยันผลการ

ทดลอง การพิสูจนและการทําการทดลองซ้ํา หลังจากนั้นจึงจะมีการตั้งชื่อโดยคณะนักวิจัยที่สังเคราะหธาตุชนิด


นั้นๆ ไดตอไป ระหวางนั้นจึงตองมีชื่อรหัสเพื่อเรียกขายธาตุเหลานั้นกอน

- 45 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 15:15
ดังนั้นกอนที่ธาตุชนิดใหมๆ จะถูกตั้งชื่อ IUPAC จึงกําหนดใหมีการใชสัญลักษณและระบบการตั้งชื่อ
รหัสขึ้นมาแทน โดยมีคําและตัวอักษรแทนตัวเลขตางๆ ดังนี้

อธิบายเพิ่มเติม
IUPAC หรือ International Union of Pure and Applied Chemistry ซึ่งเปนหนวยงานสากลที่
รับผิดชอบในการตั้งชื่อ กําหนดคามาตรฐานตางๆ ทางเคมี จึงมีการกําหนดใหใชชื่อรหัสแทน โดยใชรหัสตาม
ตัวเลขที่แสดงในตาราง ซึ่งจะมีตัวอยางใหผูเรียนไดเขาใจงายขึ้นตอไป

- 46 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 15:28
เมื่อมีการสังเคราะหธาตุใหมได ก็จะใชชื่อรหัสตามเลขอะตอมหรือจํานวนโปรตอนของธาตุนั้นๆ แลวลง
ทายชื่อธาตุดวย –ium เชน

107 = Uns = Unnilseptium 110 = Uun = Ununnilium

อธิบายเพิ่มเติม
จากตารางจะเห็นไดวาชื่อของธาตุนั้นจะเอารหัสประจําตัวเลขแตละหลักมาเขียนตอกันแลวลงทายชื่อดวย
—ium ซึ่งปกติใชลงชื่อธาตุโลหะ เนื่องจากธาตุชนิดใหมๆ ที่สังเคราะหขึ้นจะมีสมบัติเปนโลหะทั้งสิ้น เนื่องจากจะ
สูญเสียอิเล็กตรอนไดงายมาก เพราะอิเล็กตรอนบรรจุอยูในระดับพลังงานที่หางจาก nucleus มาก
ในตัวอยางจะมีการเนนสี เพื่อใหเห็นที่มาของรหัสแทนตัวเลขแตละหลักอยางชัดเจนทั้งสองชนิดธาตุ
ผูสอนอาจยกตัวอยางธาตุในหมายเลขอื่นๆ ประกอบเพื่อใหผูเรียนไดลองทํานายชื่อจากตารางขอมูลนี้ก็ได

- 47 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นาทีที่ 15:56
ตอเมื่อการสังเคราะหธาตุนั้นไดรับการยืนยันแลว จึงจะใชชื่อที่ตั้งขึ้นเปนทางการอีกครั้งหนึ่ง เชนธาตุ
107Uns เปลี่ยนเปน Br (Bohrium) ซึ่งตั้งเพื่อเปนเกียรติแก Niels Bohr นักฟสิกสชาวเคนมารค และธาตุ

110Uun เปลี่ยนเปน Ds (Darmstadtium) ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อเปนเกียรติแกเมือง Darmstadt ในประเทศเยอรมันที่


เปนที่ตั้งของศูนยวิจัยที่สงัเคราะหธาตุชนิดนี้ขึ้นมาได

อธิบายเพิ่มเติม
ชื่อรหัสเปนเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราวเทานั้น ในปจจุบัน ธาตุที่ยกตัวอยางมาทั้ง 2 ชนิด ไดรับการตั้งชื่อ
และรับรองอยางเปนทางการจาก IUPAC เรียบรอยแลว แตก็ยังมีธาตุหมายเลขอื่นๆ ที่ยังตองรอกระบวนกรพิสูจน

ผลการวิจัยเพื่อรับรอง จึงยังใชชื่อรหัสแทนชื่อธาตุอยู

จบสื่อการสอนที่ นาทีที่ 16:16

- 48 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

6. เอกสารอางอิง

6.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เลม 1, พิมพครั้งที่ 1, สถาบันสงเสริมการสอน


วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, 2548, หนา 45-53.

6.2 โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ, จตุรงค สุภาพพรอม, จุฑาทิพย บุษสาย, หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน


เคมี ม. 4 ชวงชั้นที่ 4, พิมพครั้งที่ 1, สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, กรุงเทพฯ, 2546, หนา 70—76.
6.3 โรจนฤทธิ์ โรจนธเนศ, จตุรงค สุภาพพรอม, วรวิทย บรรพวิจิตร, วิวัฒน วชิรวงศกวิน, หนังสือเรียน

สาระการเรียนรูพื้นฐาน เคมี ม. 5 ชวงชั้นที่ 4, พิมพครั้งที่ 1, สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, กรุงเทพฯ,


2547, หนา 36—40.

- 49 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

8. ภาคผนวก (รายชื่อสื่อการสอนวิชาเคมีจํานวนทั้งหมด 92 ตอน)


ประจําปงบประมาณ 2555

ชื่อบทเรียน ตอนที่ ชื่อตอน

บทที่ 1 1 แบบจําลองอะตอมของโบร และแบบจําลองอะตอมแบบกลุม


อะตอมและตารางธาตุ 2 หมอก
3 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
4 วิวัฒนาการของการสรางตารางธาตุ
5 ตารางธาตุในปจจุบัน
ขนาดอะตอมและรัศมีไอออน

บทที่ 2 6 แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลโคเวเลนต
พันธะเคมี 7 พันธะไฮโดรเจน

8 สารโคเวเลนตโครงผลึกรางตาขาย
9 พันธะไอออนิก: การเกิดพันธะไอออนิก
10 โครงสรางของสารไอออนิก
11 การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

บทที่ 3 12 ธาตุไฮโดรเจน
สมบัติของธาตุและสารประกอบ 13 สมบัติของธาตุแทรนซิชันและสารประกอบ
14 สารประกอบเชิงซอน
15 สมบัติของธาตุกึ่งโลหะและสารประกอบ
16 การทํานายตําแหนงของธาตุในตารางธาตุ

บทที่ 4 17 การเตรียมสารละลายและการเจือจาง
ปริมาณสัมพันธ 18 สมบัติจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลาย

19 สมการเคมีและการดุลสมการเคมี
20 มวลสารสัมพันธ กฎทรงมวล และ กฎสัดสวนคงที่
21 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาที่เกี่ยวของกับแกส

22 สารกําหนดปริมาณ
23 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
24 ผลผลิตเปนรอยละ

- 50 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ชื่อบทเรียน ตอนที่ ชื่อตอน

บทที่ 5 25 ผลึกของแข็งและของแข็งอสัณฐาน
ของแข็ง ของเหลว และกาซ 26 การหลอมเหลวและการระเหิด
27 ทฤษฎีจลนของแกส

28 กฎรวมแกส
29 กฎแกสสมบูรณ

บทที่ 6 30 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 31 ปฏิกิริยาระหวาง Mg กับกรด HCl


32 อัตราการเกิดปฏิกิริยาการสลายตัวของแกส N2O5
33 พลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาเคมี

บทที่ 7 34 กราฟการเปลี่ยนแปลงความเขมขนตอเวลาของปฏิกิริยาที่ผันกลับ
สมดุลเคมี 35 ได
36 ความสัมพันธระหวางความเขมขนและสารตาง ๆ ณ ภาวะสมดุล
37 คาคงที่สมดุลกับสมการเคมี
38 การคํานวณเกี่ยวกับคาคงที่สมดุล 1
การคํานวณเกี่ยวกับคาคงที่สมดุล 2

บทที่ 8 39 สารละลายอิเล็กโทรไลตและนอนอิเล็กโทรไลต
กรด—เบส 40 สารละลายกรดและสารละลายเบส:ไอออนในสารละลาย

41 คูกรด-เบส ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-เลารี
42 การไทเทรตกรด-เบส: กรดแกกับเบสแก
43 การไทเทรตกรด-เบส: กรดออนกับเบสแก

44 การไทเทรตกรด-เบส: กรดแกกับเบสออน
45 การเลือกอินดิเคเตอรในการไทเทรตกรด-เบส

บทที่ 9 46 ประเภทของเซลลกัลวานิก:ถานไฟฉาย
ไฟฟาเคมี 47 เซลลแอลคาไลน เซลลปรอทและเซลลเงิน
48 เซลลทุติยภูมิ:เซลลสะสมไฟฟาแบบตะกั่ว

49 เซลลอิเล็กโทรไลต:การแยกน้ําดวยกระแสไฟฟา
50 การแยกสารละลาย CuSO4 และ KI ดวยกระแสไฟฟา
51 การแยกสารที่หลอมเหลวดวยกระแสไฟฟา

52 การผุกรอนของโลหะและการปองกัน
53 การปองกันการผุกรอนโดยวิธีอะโนไดซ การรมดําโลหะ และการ
ปองกันการผุกรอนของโลหะในระบบหลอเย็นแบบปด

- 51 -
คูมือสื่อการสอนวิชาเคมี โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ชื่อบทเรียน ตอนที่ ชื่อตอน

บทที่ 10 54 ทองแดง
ธาตุและสารประกอบอุตสาหกรรม 55 สังกะสี-แคดเมียม
56 แรรัตนชาติ 2

57 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับโซเดียมคลอไรด เกลือ
58 โซเดียมไฮดรอกไซดและแกสคลอรีน 1
59 โซเดียมไฮดรอกไซดและแกสคลอรีน 2

บทที่ 11 60 สารประกอบอะโรมาติก
เคมีอินทรีย 61 สารประกอบแอลกอฮอล
62 สารประกอบฟนอล

63 สารประกอบอีเทอร
64 สารประกอบแอลดีไฮด
65 สารประกอบคีโตน

บทที่ 12 66 พอลิเมอร
เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพและ 67 โครงสรางและสมบัติของพอลิเมอร

ผลิตภัณฑปโตรเคมี 68 ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
69 การนําพอลิเมอรไปใช
70 ความกาวหนาทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑพอลิเมอรสังเคราะห

บทที่ 13 71 ชนิดและโครงสรางของคารโบไฮเดรต
สารชีวโมเลกุล 72 สมบัติและปฏิกิริยาของคารโบไฮเดรต 1 – มอนอแซคคาไรด
73 สมบัติและปฏิกิริยาของคารโบไฮเดรต 2 – ไดแซคคาไรด

74 สมบัติและปฏิกิริยาของคารโบไฮเดรต 3 – พอลิแซคคาไรด
75 ลิพิด
76 ไขมันและน้ํามัน

77 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของไขมันและน้ํามัน – สบูและผงซักฟอก

- 52 -

You might also like