You are on page 1of 14

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต

Concepts of quality of life


ปิยะวัฒน์ ตรีวทิ ยา*
Piyawat Trevittaya

ภาควิชากิจกรรมบ�าบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่


Department of Occupational Therapy, Faculty of Associated Medical Sciences, Chiang Mai University, Chiang Mai Province, Thailand
* ผูร้ บั ผิดชอบบทความ (Email: piya.trevit@cmu.ac.th)
* Corresponding author (Email: piya.trevit@cmu.ac.th)
Received February 2016
Accepted as revised April 2016

Abstract
Concept of quality of life (QOL) has become a common indicator for evaluating the effectiveness of treatment and
how well clients achieve their treatment goals. However, quality of life has been explained in different ways depended
on concept the therapists use. This article presented concepts of QOL used among medical professions in their
practices. Moreover, classification of QOL assessments was presented in this article, especially the variety of
questionnaires for appropriate and trustable assessment. The application of the concept for occupational therapist
for clinical practice was summarized in the last section of this article.
Bull Chiang Mai Assoc Med Sci 2016; 49(2): 171-184. Doi: 10.14456/jams.2016.27

Keywords: Quality of life, assessment, Occupational Therapy

บทคัดย่อ
แนวคิดเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ได้รบั ความสนใจจากบุคลากรทางการแพทย์ในการประยุกต์ใช้สา� หรับประเมินประสิทธิภาพ
ของโปรแกรมการรักษาและการบรรลุถงึ เป้าประสงค์ของการรักษา อย่างไรก็ตาม แนวคิดคุณภาพชีวติ มีการให้ค�าจ�ากัด
ความทีแ่ ตกต่างกันขึน้ กับการเลือกกรอบแนวคิดของผูบ้ �าบัด บทความนี้น�าเสนอกรอบแนวคิดของคุณภาพชีวติ ทีบ่ ุคลากร
ทางการแพทย์เลือกใช้ในการปฏิบตั งิ าน และการจ�าแนกวิธกี ารประเมินคุณภาพชีวติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การประเมินโดย
ใช้แบบสอบถามที่มหี ลากหลายเพื่อการประเมินที่เหมาะสมและได้ผลการประเมินที่น่าเชื่อถือ ส�าหรับการประยุกต์ใช้
ในการปฏิบตั งิ านทางกิจกรรมบ�าบัดผูน้ ิพนธ์สรุปไว้ในตอนท้ายของบทความ
วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ 2559; 49(2): 171-184 . Doi: 10.14456/jams.2016.27

ค�ารหัส: คุณภาพชีวติ การประเมิน กิจกรรมบ�าบัด

Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 171
บทน�า ในกลุ่มนี้เป็ นทีย่ อมรับกันอย่างกว้างขว้างในการประยุก ต์ใ ช้
คุณภาพชีวติ เป็ นหัวข้อทีไ่ ด้รบั ความสนใจในการศึกษา ทางการแพทย์ซง่ึ สามารถจ�าแนกได้ดงั นี้4,6
วิจยั เพิม่ มากขึน้ ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ ถูกก�าหนดให้เป็ น 1. Normal life
เป้าหมายของหน่วยงานต่างๆ ทีใ่ ห้บริการสุขภาพ นอกจากนี้ ความหมายของคุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้ หมายถึง
รัฐบาลยังได้กา� หนดเป็นแผนพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ การที่บุ ค คลปราศจากข้อ จ�า กัด ทางด้า นร่ า งกายและจิต ใจ
ซึง่ ขณะนี้อยู่ในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 รวมทัง้ มีการ สามารถประกอบกิจ กรรมการด�า เนิ น ชีว ิต ต่ า งๆ ได้ มีอ ายุ
ประกาศใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมคุณภาพชีวติ ที่ ย ื น ยาว สามารถแสวงหาสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ ต นเองต้ อ งการ
คนพิการตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 และฉบับที่ 2 ในปี พ.ศ. 25561 โดยเปรียบเทียบกับประชากรทีม่ อี ายุอยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน หรือ
ในฐานะนั ก กิจ กรรมบ� า บัด ซึ่ง เป็ น วิช าชีพ ที่ใ ห้บ ริก ารด้า น ประชากรกลุม่ ทีม่ สี ขุ ภาพปกติ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ บุคคล
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แก่คนพิการ มีความจ�าเป็น จะมีคุณภาพชีวติ ทีด่ หี รือไม่สามารถตัดสินจากความแตกต่าง
ต้องเข้าใจกรอบแนวคิด วิธกี ารประเมิน และคุณภาพชีวติ ทีถ่ กู ต้อง ของปจจั ั ยทางด้านร่างกายและจิตใจเทียบกับ “มาตรฐาน” ของ
เนื่ อ งจากคุ ณ ภาพชีว ิต เป็ น หัว ข้อ เชิง นามธรรมและยัง คงมี ประชากร หากบุคคลมีขอ้ จ�ากัดในปจจั ั ยด้านใดด้านหนึ่งต�่ากว่า
ความหลากหลายในการวัดและการแปลผล2-4 ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ “มาตรฐาน” มากเท่าไร แสดงว่าบุคคลนัน้ มีระดับคุณภาพชีวติ ที่
จะส่งผลต่อการวางแนวทางในการ “การยกระดับคุณภาพชีวิต” ต�่ากว่าเท่านัน้ จะเห็นได้วา่ คุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้ประเมิน
โดยจะเกิด ความไม่ ส อดคล้ อ งกับ สิ่ง ที่ผู้ร ับ บริก ารมีค วาม จากระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ และ
ต้องการ บทความนี้กล่าวถึงกรอบแนวคิดของ “คุณภาพชีวิต” ภาวะสุขภาพของบุคคลนัน้
ทีม่ คี วามหมายแตกต่างกันตามแนวคิดทีห่ ลากหลาย การประเมิน
ทีน่ ิยมใช้ในการศึกษาเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ และการประยุกต์ 2. Social utility
ใช้แ นวคิด ของคุณ ภาพชีว ิต กับ งานทางด้า นกิจ กรรมบ�า บัด ความหมายของคุณภาพชีวติ ตามแนวคิด นี้ หมายถึง
ผู้เขียนหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าผู้อ่านจะเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับ การที่บุ ค คลสามารถคงไว้ซ่ึง บทบาททางสัง คมและการได้
“คุณภาพชีวิต” เพิม่ มากขึน้ และสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ตอ่ ไป การยอมรับ จากสัง คมจากบทบาทของตน เช่ น บทบาท
ในการปฏิบตั งิ าน ของการเป็ นครู บิดา มารดา การประกอบอาชีพ การจ้างงาน
เป็ น ต้น แนวคิด นี้ ใ ห้ค วามส�า คัญ กับ ผลกระทบของโรคต่ อ
แนวคิ ดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต (Concepts of quality of life) ภาวะการประกอบอาชีพ หรือการมีขอ้ จ�ากัดในการประกอบ
คณะท� า งานทางด้ า นคุ ณ ภาพชีว ิต ที่ส นั บ สนุ น โดย กิจกรรมการด�าเนินชีวติ ตามบทบาททางสังคมภายหลังจาก
องค์การอนามัยโลก5 ได้กล่าวถึงคุณภาพชีวติ ว่ามีความหมาย เจ็บป่ วยหรือพิการ การประเมินคุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้
ทีห่ ลากหลายแตกต่างกันตามบริบทของผูศ้ กึ ษา กล่าวคือ ระดับ นิยมประเมินทีก่ ารมีงานท�า รายได้ทเ่ี กิดจากการท�างาน และ
ผู้ก�าหนดนโยบายทางสัง คม เช่น รัฐ บาล คุณ ภาพชีวติ มี ความสามารถในการคงไว้ ซ่ึ ง บทบาทของตนเองเมื่ อ
ความหมายในด้านหลักประกันแก่ประชาชนในด้านการบริการ เปรียบเทียบกับก่อนการเจ็บป่ วย
หรือการสงเคราะห์ทางสังคมด้านต่างๆ เช่น การให้บริการ
ด้านสาธารณูปโภค การช่วยเหลือด้านสิง่ ของ การยกระดับรายได้ 3. Utility
และการส่งเสริมประชากรทุกคนให้มสี ทิ ธิเท่าเทียมกันในด้าน ความหมายของคุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้ แบ่งได้เป็ น
ต่ า งๆ ในมุม ของนัก เศรษฐศาสตร์ คุณ ภาพชีว ิต หมายถึง สองมุมมอง คือมุมมองด้านเศรษฐศาสตร์และด้านจิตวิทยา
รายได้มวลรวมของประเทศ อัตราเงินเฟ้อ หรือดัชนีผบู้ ริโภค มุมมองทางเศรษฐศาสตร์หมายถึง ระดับสุขภาพของบุคคลนัน้ ๆ
รายได้เฉลีย่ ประชากร หากเป็นทางการแพทย์ เช่น นักกิจกรรมบ�าบัด เปรียบเทียบเกณฑ์อา้ งอิงของประชากรปกติ การเปรียบเทียบ
หรือแพทย์ คุณภาพชีวติ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางบวก ใช้ดชั นีชว้ี ดั ทีม่ คี า่ ระหว่าง 0 ถึง 1 กล่าวคือ หากบุคคลมีคา่ ดัชนี
ของการรั ก ษาหรื อ การฟื้ นฟู ส มรรถภาพที่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร สุขภาพเป็ น 0 หมายถึงการเสียชีวติ ในขณะทีค่ า่ ดัชนีเท่ากับ
ได้รบั ดังนัน้ ความหมายของคุณภาพชีวติ จึงเปลี่ยนแปลง 1 หมายถึงการมีสขุ ภาพสมบรูณ์7 การพิจารณาระดับคุณภาพ
ไปตามบริบทของงาน ซึง่ ส่งผลต่อการวัดและการแปลผลหาก ชีวติ ตามมุมมองนี้ พิจารณาในสุขภาพด้านใดด้านหนึ่งเท่านัน้
วิธีก ารวัด มีค วามแตกต่ า งกัน อย่ า งไรก็ต าม บทความนี้ ไม่พจิ ารณาสุขภาพโดยรวม (holistic perspective) เหมือนกับ
เรียบเรียงเพื่อวัตถุประสงค์ในการน�าแนวคิดเกีย่ วกับคุณภาพ แนวคิด แบบ normal life มุ ม มองนี้ ส ะท้ อ นออกในด้ า น
ชีวติ มาประยุกต์ใช้ในการให้บริการทางการแพทย์ นอกจาก ความคุ้ ม ค่ า ในการรัก ษา (cost-benefit) เมื่อ บุ ค คลเกิด
นี้ ยั ง น� าเสนอเฉพาะแนวคิ ด ของคุ ณ ภาพชีว ิต ในระดับ ความเจ็บป่ วยหรือมีปัญหาทางด้านสุขภาพ8 เนื่องจาก มีพน้ื ฐาน

ปจเจกบุ คคล (individual preference) เนื่องจากกรอบความคิด เศรษฐศาสตร์ จึงให้ความส�าคัญกับความคุม้ ทุน เมือ่ ประยุกต์
172 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559
ใช้ในการเลือกวิธกี ารรักษาผูป้ ่วยเรือ้ รังทีไ่ ม่สามารถรัก ษาให้ อย่างไรก็ตาม แนวคิดนีย้ งั เป็นทีถ่ กเถียงในเรือ่ ง “patient autonomy”
หายขาด (incurable diseases) เช่น โรคมะเร็ง ความพิการ หรือ สิทธิของผูป้ ่ วยในการเลือกวิธกี ารรักษา และจากการศึกษา
ด้ า นการเคลื่ อ นไหว การใช้ คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ตามมุ ม มองนี้ ทีผ่ า่ นมาโดยใช้แนวคิดนีพ้ บว่า ผูป้ ่ วยหลายรายประเมินว่าตนเอง
มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับต้นทุนการรักษา มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ใี นระยะแรกแต่ภายหลังฆ่าตัวตายเมือ่ รูส้ กึ ว่า
ทีต่ อ้ งจ่าย หรืออาจเรียกว่า “จุดคุม้ ทุน” ในกรณีทม่ี ที างเลือก คุณภาพของการมีชวี ติ อยูข่ องตนลดลง11 ข้อสังเกตอีกประการหนึง่
ในการรักษาหลายวิธี ผูใ้ ห้การรักษาต้องเลือกวิธที ใ่ี ห้ประโยชน์ ของแนวคิดนีค้ อื ผูป้ ่ วยมีระดับคุณภาพชีวติ ภายหลังการเจ็บป่ วย
สูงสุดโดยมีคา่ ใช้จา่ ยน้อยทีส่ ดุ (the most cost-benefit treatment) (ค่า Qi) น้อยกว่าระดับคุณภาพก่อนการเจ็บป่ วย ซึง่ สมมติฐานนี้
แนวคิด ทางเศรษฐศาสตร์น้ี ส ามารถอธิบ ายได้ต ามสมการ อาจไม่เ ป็ น ความจริง เสมอไปส�า หรับ ผู้ป่ วยบางราย ดัง นัน้
ต่อไปนี้9 แนวความคิดนีย้ งั มีขอ้ โต้แย้งในการน�ามาใช้ประเมินคุณภาพชีวติ
Vi = (Ni * Qi) –Ci ในระดับปั จเจกบุคคล แม้จะเป็ นการประเมินความพึงพอใจต่อ
เมือ่ Vi Value of treatment ตนเองโดยตัวผูป้ ่ วยเอง นอกจากนี้ตวั เลขทีไ่ ด้จากการค�านวณ
Ni Number of expected life years after the treatment เป็ นผลจากสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาหนึ่งไม่ได้สะท้อนถึงปั จจัย
Qi Quality of those years อื่น ที่ม ีอิท ธิพ ลต่ อ ผู้ป่ ว ยในระยะยาว ดัง นั น้ ดัช นี ท่ีไ ด้จ าก
Ci Cost of treatment การค� า นวณจึง เป็ น เพีย งการประเมิน ผู้ป่ วยในช่ ว งเวลาที่
ได้รบั การรักษาด้วยวิธีการหนึ่ งเท่านัน้ นอกจากนี้ ในด้าน
อย่ า งไรก็ต าม โดยจรรยาบรรณของการให้บ ริก าร จรรยาบรรณของการให้บริการแก่ผปู้ ่ วย ผูใ้ ห้บริการอาจเลือก
ทางการแพทย์ค่า ของ Ci นับเป็ นป จั จัย ที่ไม่ส ามารถน� า มา ปฏิบตั ติ ่อผูป้ ่ วยโดยเลือกให้การรักษาเฉพาะในรายทีม่ คี ่าของ
้ างต้นจึงขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยเพียง 2 ประการคือ
ค�านวณได้ ดังนันสมการข้ QALY สูงเท่านัน้ 12
Vi = Ni * Qi มุมมองแบบ utility แบบทีส่ อง ให้ความส�าคัญต่อปจั จัย
พืน้ ฐานต่างๆ ในการด�ารงชีวติ ทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อคุณภาพ
ตัวอย่างของแนวคิดนี้คอื กรอบแนวคิดคุณภาพชีวติ ที่ ชีวติ เมื่อปจั จัยเหล่านัน้ เปลีย่ นแปลงไปจากเดิม (Figure 1)
เรียกว่า “Quality-Adjusted Life-Years (QALY)”10 ซึง่ มีหลัก กรอบแนวคิด นี้ ใ ห้ค วามส�า คัญ กับ ป จั จัย พื้น ฐานต่ า งๆ ใน
ในการประเมินคุณภาพชีวติ คือ หนึ่งปี ของบุคคลทีม่ สี ุขภาพ การด�ารงชีวติ ดังนัน้ การศึกษาคุณภาพชีวติ ตามกรอบแนวคิดนี้
สมบรูณ์เท่ากับหนึ่งหน่ วยของ Qi ในขณะที่บุคคลที่มภี าวะ จะกระท�าโดยรวบรวมปจั จัยต่างๆ ใน Box A (Figure 1) ที่
เจ็บปว่ ยมีคา่ ของ Qi น้อยกว่าหนึ่งหน่วยเสมอ ดังนัน้ เมือ่ ให้ เป็นการวัดทางวัตถุพสิ ยั (objective evaluation) คุณภาพชีวติ
ผูป้ ่วยจัดอันดับของความพึงพอใจในภาวะสุขภาพของตนเอง จึงเป็ นสิง่ ที่บุคคลได้รบั การตอบสนองในสิง่ ที่ตนเองต้องการ
เป็ นอยู่เทียบกับสิง่ ทีต่ นเองเคยเป็ นก่อนการเจ็บป่วย ค่าของ โดยสะท้อนออกมาในลักษณะของปจั จัยต่างๆ ตัวอย่างเช่น
Qi จะน้ อ ยกว่ า หนึ่ ง เช่ น ผู้ ป่ ว ยที่ไ ด้ ร ับ การฉายรัง สีเ พื่อ แบบประเมินคุณภาพชีวติ ต่ า งๆ ที่พ ัฒ นาขึ้น เพื่อ ใช้ ศึก ษา
การรักษามะเร็งอาจบอกว่า การด�ารงชีวติ อยู่ในหนึ่งวันขณะ เฉพาะในกลุ่ ม ประเทศตะวันตก กรอบแนวคิดแบบนี้มขี อ้
รับการรักษาด้วยรังสีม ี “ค่าความพึงพอใจ (Qi)” เท่ากับ 0.5 วัน จ�ากัด คือ แบบประเมินต่างๆ ถูกพัฒนาขึน้ ใช้ประเมินเฉพาะใน
ของการด�ารงชีวติ ขณะทีย่ งั ไม่เป็นมะเร็งซึง่ เท่ากับหนึ่ง แสดงว่า วัฒนธรรม หรือบริบทใดบริบทหนึ่งทีม่ เี อกลักษณ์ของตนเอง
คุณภาพชีวติ ของผูป้ ่วยรายนี้ลดลง 50% ดังนัน้ หากมีการ เท่านัน้ การน� าแบบประเมินเหล่านี้ไปใช้กบั วัฒนธรรมหรือ
เปรียบเทียบคุณภาพชีวติ ระหว่างผูป้ ว่ ยสองรายทีม่ ี expected สังคมที่มบี ริบทที่แตกต่างออกไปจะท�าให้ผลการศึกษาที่ไ ด้
life (Ni) หลังการรักษาเท่ากับ 10 ปี เทียบกับผูป้ ว่ ยอีกรายที่ ขาดความน่ า เชื่อถือ เนื่ อ งจากแบบประเมินอาจขาดความ
มีค่า expected life (Ni) เท่ากับ 5 ปี โดยที่ผูป้ ่วยทัง้ 2 ราย เทีย่ งตรง (validity) ดังนัน้ ก่อนน� าแบบประเมินเหล่านี้ไป
มีคา่ Qi (quality of those years) เท่ากันคือ 0.5 จะเห็นได้วา่ ใช้งาน ผูว้ จิ ยั ต้องศึกษาทังด้ ้ าน validity และ reliability ให้เป็ นที่
ผูป้ ว่ ยรายแรกจะมีระดับคุณภาพชีวติ เท่ากับ 5 (0.5x10) หรือ ยอมรับในวัฒนธรรมของตนเองก่อน ข้อจ�ากัดประการต่อมา
50% ของคนปกติ ในขณะทีผ่ ปู้ ่ วยอีกรายจะมีคา่ เท่ากับ 2.5 (0.5x5) คือ ค�าถามในแบบประเมินมักเป็ นข้อค�าถามทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้
หรือ 25% ของคนปกติ ดังนัน้ ตามแนวคิดนี้ ผูป้ ่วยรายแรก เอง จึงจัดเป็นการประเมินแบบ “outsider หรือ objective point
จะมีร ะดับ ของคุ ณ ภาพชีว ิต ที่ดีก ว่ า ผู้ ป่ วยรายที่ส อง แต่ of view" ซึง่ หมายถึงการทีผ่ ปู้ ระเมินคาดว่าปจั จัยทีก่ า� หนดไว้
ในความเป็นจริงแล้วระยะเวลาทีเ่ หลืออยูข่ องผูป้ ่ วย (Ni) อาจมี ล่วงหน้าจะมีผลต่อคุณภาพชีวติ ของกลุม่ ตัวอย่าง แต่ในความ
ความคลาดเคลื่อ นเนื่ อ งจากผู้ป่วยรายแรกอาจตอบสนอง เป็ นจริงข้อค�าถามที่ ก� า หนดโดยผู้ ว ิ จ ั ย อาจไม่ ค รอบคลุ ม
ต่ อ การรั ก ษาด้ ว ยรั ง สี ดี ก ว่ า ในช่ ว งที่ ท� า การประเมิ น หรื อ ไม่ ใ ช่ ป จั จัย ที่ส�า คัญ ต่ อ คุณภาพชีวติ ของกลุ่ม ตัวอย่าง
หรื อ ผู้ ป่ วยมี ค วามรู้ ส ึก ด้ า นบวกในขณะรับ การประเมิ น
Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 173
จึง ท� า ให้ ผ ลการศึก ษาที่ไ ด้อ าจไม่ ส อดคล้อ งกับ ความเป็ น ตะวันออก ปจั จัยนี้อาจไม่เป็ นปจั จัยหลักที่มอี ิทธิพลต่อ
จริงในชีวติ ของกลุม่ ตัวอย่าง ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั เจนคือ ข้อ ระดับคุณภาพชีวติ ของกลุ่มตัวอย่าง เห็นได้จากรายงานการ
ค�าถามในแบบประเมินคุณภาพชีวติ ของสังคมตะวันตกส่วน ศึกษาทีผ่ า่ นมาทีพ่ บความแตกต่างของปจั จัยนี้ต่อคุณภาพชีวติ
ใหญ่มขี อ้ ค�าถามทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งเพศสัมพันธ์ แต่ในสังคม ระหว่างวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออก13 17

Figure 1 Concepts of quality of life: Utility approach: From: Dijkers M. Quality of life of indvidual with spinal cors injury: A review of conceptualization,
meassurement, and research findings. Journal of Rehabilitation Research & Development. 2005;42(3, Supplement 1): 87-110.
Figure 1 Concepts of quality of life: Utility approach
From: Dijkers M. Quality of life of indvidual with spinal cors injury: A review of conceptualization, meassurement, and
research
4. Life findings.
satisfactionJournal
หรือofSubjective
Rehabilitation Research & Development.
well-being 2005;42(3,
จากการเปรี ยบเทีSupplement
ยบระหว่างสิ1):ง่ ที87-110.
ต่ อ้ งการและสิง่ ทีไ่ ด้รบั โดย
กรอบแนวคิดมีพน้ื ฐานจากความเชื่อทีว่ า่ บุคคลมีสทิ ธิ มีบริบทของสังคมและวัฒนธรรมนัน้ ๆ เป็นตัวก�าหนดความต้องการ
และอิสระที่จะเลือกในสิง่ ที่ตนเองชอบและสามารถจัดล�าดับ ของบุ ค คล คุ ณ ภาพชีว ิต จึง เป็ น สิ่ง ที่บุ ค คลต้ อ งจัด อัน ดับ
ความส�าคัญของสิง่ เหล่านัน้ (Box D, Figure 1) ส่วนประกอบย่อย ความส�าคัญขององค์ประกอบต่างๆ และบ่งบอกความพึงพอใจ
ั ยจ�าเป็นพืน้ ฐานของการด�ารงชีวติ ของมนุษย์
ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ ปจจั ด้วยตัวบุคคลเอง ข้อค�านึงในการใช้กรอบคิดนี้สา� หรับอธิบาย
5 ประการตามทฤษฎีข อง Maslow จากนั น้ ปรับ เปลี่ย น
14
คุณภาพชีวติ คือ ผูท้ ส่ี นใจในเรื่องของคุณภาพชีวติ ส่วนใหญ่
ความต้องการเหล่านี้ใน Box A ตามวัฒนธรรม และค่านิยม สนใจศึกษาเฉพาะผลลัพธ์สดุ ท้ายของการได้รบั การตอบสนอง
ของสังคมทีบ่ ุคคลนัน้ เป็ นสมาชิกอยู่ ดังนัน้ แต่ละบุคคลจะมี (Box C) แต่ละเลยในการศึกษาล�าดับความส�าคัญของปจจั ั ยต่างๆ
ระดับมาตรฐานส�าหรับการเปรียบเทียบกับสิง่ ที่ตนเองได้ร บั (Box D) ทังที้ ใ่ นความเป็นจริงแล้ว ปจจั ั ยทังสองส่
้ วนใน Box C
การตอบสนอง (achievement) (Box C. Figure 1) โดย และ D มีความส�าคัญเท่าเทียมกันส�าหรับบุคคลในการทีต่ ดั สิน

บุคคลเปรียบเทียบปจจัยย่อยต่างๆ ระหว่าง Box D ซึง่ เป็นสิง่ ระดับ คุ ณ ภาพชีว ิต ของตนเอง สิ่ง ส� า คัญ อีก ประการหนึ่ ง
ที่ได้รบั การตอบสนองตามมาตรฐานของสังคมกับสิง่ ที่ได้รบั ในการน� าแนวคิดนี้ไปใช้งาน คือ การจัดระดับคุณภาพชีวติ
ตามความเป็นจริง (Box C) ความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ หรืออีกนัยหนึ่ง ของบุคคล ต้องเป็ นการจัดระดับด้วยตนเองโดยใช้การรับรู้
คือ ช่ อ งว่ า งของการได้ร ับ กับ สิ่ง ที่ค าดหวัง จะถู ก ตัด สิน ให้ และอารมณ์ (cognition and emotion) ดังนัน้ กรอบแนวคิดนี้
เป็ นองค์ป ระกอบ (domain) ของคุณ ภาพชีวติ ตาม Box E จึงเป็ นการศึกษาคุณภาพชีวติ แบบ “insider or subjective

ดังนัน้ ตามแนวคิดนี้ คุณภาพชีวติ ของปจเจกบุคคลคือผลลัพธ์ aspect” ปจจุั บนั คุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้ได้รบั การยอมรับว่า
174 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559

เหมาะสมทีส่ ุดในการศึกษาคุณภาพชีวติ ของปจเจกบุ คคล4,15,16 ทางการแพทย์ของการบาดเจ็บของไขสันหลัง จะทราบว่าผูป้ ่ วย
กรอบแนวคิดนี้สามารถแบ่งออกเป็ นแนวคิดย่อยดังนี้ ไม่สามารถกลับมาเดินได้เหมือนเดิมและมีความจ�าเป็ นต้องใช้
4.1 Need-based approach รถนั ง่ คนพิก ารไปตลอดชีว ิต ซึ่ง เป็ น “สิ่ง ที่เ ป็ น ไปได้จ ริง ”
ให้ ค วามส� า คัญ กับ ความต้ อ งการป จั จัย พื้น ฐานที่ม ี (realistic) ดังนัน้ เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยมีคณ
ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ผูบ้ า� บัดจ�าเป็น
ความจ�าเป็ นต่อการด�ารงชีวติ (need-based approach) มี ต้องให้ความรูเ้ กีย่ วกับการบาดเจ็บไขสันหลังทีถ่ กู ต้องแก่ผปู้ ว่ ย
พืน้ ฐานจากแนวคิดของ Thomas More ทีก่ ล่าวว่า คุณภาพชีวติ เพื่อการลดความคาดหวัง (expectation) ให้อยู่ในสิง่ ที่เป็ น
เป็ นความพึงพอใจของบุคคลทีม่ ตี ่อปจั จัยพืน้ ฐานในการด�ารง ความเป็นจริง (realistic) เพือ่ ให้ผปู้ ่ วยยอมรับสภาพความพิการ
ชีวติ เช่น ทีอ่ ยูอ่ าศัย สุขภาพทีแ่ ข็งแรง การปราศจากโรค17 แนวคิด ของตน ลดความคาดหวังในการเดินซึง่ เป็นไปไม่ได้ เมือ่ ผูป้ ่ วย
นี้ ย ัง คงใช้ ก ัน อยู่ อ ย่ า งแพร่ ห ลายในวงการแพทย์ ท่ีศึก ษา ยอมรับ ความเป็ น จริง ว่ า เขาจะไม่ ส ามารถกลับ มาเดิน ได้
คุณภาพชีวติ ในด้านความแข็งแรงของสุขภาพ (การปราศจากโรค) อีก และยอมรับ การฝึ ก ใช้ร ถนั ง่ คนพิก าร ผู้ป่ วยจะรู้ส ึก ว่ า
หรือ ผลของการรักษาต่ออาการของโรค ข้อจ�ากัดของแนวคิด ตนเองมีคุณภาพชีวติ ที่ดขี น้ึ ปั ญหาส�าคัญของแนวคิดนี้ คือ
แบบ “need-based approach” คือ การมองความต้องการของ บุคคลมีความคาดหวังแตกต่างกัน ดังนัน้ ค�าถามทีม่ กั เกิดขึน้ เสมอ
บุคคลเพียงด้านวัตถุ (objective or physical aspects) เพือ่ คือระหว่างผูป้ ว่ ยหรือผูบ้ า� บัด ใครเป็ นผูก้ า� หนดความคาดหวัง
สนองตอบต่อความต้องการโดยไม่ค�านึงถึงจิตวิญญาณและ ทีเ่ ป็ นจริง (realistic expectation) ดังนัน้ การน�าแนวคิดนี้ไป
สังคม เนื่องจากเชือ่ ว่ามนุษย์ทกุ คนมีความต้องการปจจั ั ยพืน้ ฐาน ใช้ในทางปฏิบตั ิ ทัง้ ผูป้ ่ วยและผูบ้ �าบัดต้องมีความยืดหยุ่นใน
ในการด�ารงชีวติ ทีเ่ หมือนกัน ตามทฤษฎีของ Maslow ในเรือ่ ง แนวคิดของตน สามารถปรับเปลีย่ นและยอมรับความเป็ นจริง
ความต้องการปจจั ั ยพืน้ ฐาน (basic needs) แต่ในความเป็นจริง ที่เกิดขึน้ ทัง้ สองฝ่ายโดยผ่านวิธกี ารต่างๆ เช่น การปรับตัว
แม้บุคคลจะได้รบั การตอบสนองปจั จัยสีอ่ ย่างพอเพียง กลับยัง (adaptation) มีมุมมองทางด้านบวกของทัง้ ตนและบุคคลอื่น
มีความรูส้ กึ ว่าชีวติ ไม่มคี วามสุขเท่าทีค่ าดหวัง หรือ กล่าวอีก (optimistic personality) เป็ นต้น
นัยหนึ่งคือยังมีระดับคุณภาพชีวติ ทีต่ ่า� อยู9่ ดังนัน้ แนวคิดนี้จงึ 4.3 Global concept approach
ไม่สามารถอธิบายคุณภาพชีวติ ได้อย่างครอบคลุมเนื่องจาก เมื่อองค์ความรู้ด้านสุขภาพเปลี่ยนแปลงจากแนวคิด
การขาดความสนใจในด้านจิตใจ อารมณ์ และการเป็ นสมาชิก ระดับปัจเจกบุคคลซึง่ เป็นมุมมองแบบแยกส่วน (reductionism)
ของสังคม ตัวอย่างของข้อจ�ากัดนี้ ได้แก่ บุคคลทีม่ ฐี านะทาง เป็นมุมมองแบบองค์รวม (holism) ท�าให้แนวคิดของคุณภาพชีวติ
สังคมระดับสูง มีปจั จัยพืน้ ฐานมากจนเกินพอ แต่ยงั รูส้ กึ ว่า มีการเปลีย่ นแปลงเช่นเดียวกัน ดังเช่นการทีอ่ งค์การอนามัยโลก
ตนเองไม่มคี วามสุขจนต้องแสวงหาทางออกอืน่ ๆ เช่น การปฏิบตั ธิ รรม ได้พฒั นากรอบคิดเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ทีใ่ ช้ชอ่ื ว่า “global concept
หรือ การท�างานเพือ่ สาธารณกุศลโดยไม่หวังผลตอบแทน เป็นต้น of quality of life”5 โดยได้ให้คา� จ�ากัดความของคุณภาพชีวติ ว่า
4.2 Want-based approach “คุณภาพชีวติ คือการรับรูข้ องแต่ละบุคคลต่อสถานะในชีวติ
พัฒนาจากความคิดพืน้ ฐานว่า บุคคลมีความต้องการ (want) ของตน ภายใต้บริบทของวัฒนธรรมและความหมายของระบบ
ในชีวติ ทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ องค์ประกอบทีม่ ผี ลต่อคุณภาพชีวติ ในสั ง คมที พ่ วกเขาอาศั ย อยู่ แ ละสั ม พั น ธ์ ก ั บ เป้ าหมาย
ของแต่ ล ะบุ ค คลจึง ขึ้น กับ พื้น ฐานความต้อ งการ (want) ที่ ความคาดหวัง มาตรฐานของสังคม และสิง่ อืนๆ ่ ทีเกี ่ ยวข้
่ อง
แตกต่างกัน ระดับของคุณภาพชีวติ คือช่องว่างของสิง่ ทีแ่ ต่ละบุคคล เป็ นแนวความคิดทีก่ ว้างเต็มไปด้วยความซับซ้อน ครอบคลุม
คาดว่าจะได้รบั กับสิง่ ทีบ่ คุ คลนัน้ ได้รบั จริงในช่วงเวลาหนึง่ ของชีวติ ในประเด็นสุขภาพร่างกายของแต่ละคน สภาพจิตใจ ระดับของ
(a gap between expectation and achievement in certain ความอิสระ สัมพันธภาพทางสังคม ความเชือ่ และความสัมพันธ์
period of life)18 อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขส�าคัญในแนวคิดนี้คอื ทีม่ ตี ่อสภาพแวดล้อม”19
สิง่ ทีบ่ ุคคลต้องการ (expectation) ต้องเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นไปได้จริง
จะเห็น ได้ว่ า องค์ ก ารอนามัย โลกได้ใ ห้ค วามส� า คัญ
(realistic) ตามสถานะของบุคคลในขณะนัน้ จึงจะท�าให้ชอ่ งว่าง
ต่ อ กรอบแนวคิด แบบองค์รวมและได้พ ฒ ั นากรอบความคิด
ของความคาดหวังกับสิง่ ทีไ่ ด้รบั แคบลง หรือกล่าวอีกนัยหนึง่ คือ
ของคุณภาพชีวติ ให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบย่อย (domain)
บุคคลจะมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ตัวอย่างเช่น ในผูป้ ่ วยอัมพาตแขนขา
ของความเป็นมนุษย์ ทังด้ ้ านกายภาพ จิตใจ สังคม สิง่ แวดล้อม
แบบสมบูรณ์ (complete tetraplegia) เมื่อผูบ้ �าบัดสอบถาม
และความเชือ่ ส่วนบุคคล ซึง่ สะท้อนให้เห็นได้จากค�าจ�ากัดความนี้
ความต้องการหรือเป้าประสงค์ในการฟื้นฟูซง่ึ เป็นการใช้หลักการ
คุณภาพชีวติ จะมีลกั ษณะทีเ่ ป็น “global and dynamic concept”
ของ client center ผูป้ ว่ ยมักให้คา� ตอบ (การคาดหวัง) ว่าต้องการเดิน
นอกจากนี้ หลังจากองค์การอนามัยโลกได้พฒ ั นาแนวคิดใน
ได้เหมือนก่อนการรับการบาดเจ็บ ซึง่ ถือว่าเป็น “ความต้องการ
การศึกษาผลกระทบของโรค หรือความเจ็บป่ วยต่อภาวะสุขภาพ
ทีค่ าดหวัง” (expectation) แต่ในฐานะของผูบ้ �าบัดทีม่ คี วามรู้
Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 175
ที่เรีย กว่า International Classification of Functioning, ความพึง พอใจในชีว ิต หรือ คุ ณ ภาพชีว ิต ที่ส ะท้ อ นออก
Disability and Health: ICF20 มีผนู้ �ากรอบอ้างอิง ICF มาใช้ใน ในรูปขององค์ประกอบด้านสุขภาพตามกรอบอ้างอิง ICF รวมทั18ง้
การประเมินคุณภาพชีวติ ในผูป้ ่ วยกลุม่ ต่างๆ เช่น กรอบแนวคิดที่ ผลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพชีว ิต ของบุ ค คลเมื่อ มีค วามปั ญ หาใน
พัฒนาโดย Post และ Noreau21 (Figure 2) ซึง่ ประเมินระดับ แต่ละองค์ประกอบของ ICF

Figure 2 Comparison between QOL and ICF concepts: Adapted from: Post M & Noreau L. Quality of life after spinal cord injury. J Neurol Rehabil.
2005; 29(3):139-46.

4.4 Meta-theory approach (domain) หรือ ปจั จัยย่อย (aspect) ใช้ทฤษฎีอน่ื ร่วมอธิบาย
ตามแนวคิดเชือ่ ว่า คุณภาพชีวติ ประกอบขึน้ ด้วยองค์ประกอบ และเชื่อ ว่า คุณ ภาพชีว ิต ไม่ส ามารถอธิบ ายได้โ ดยใช้ทฤษฎี
แบบวัต ถุ พ ิ ส ัย (objective domain) และแบบจิ ต พิ ส ัย ใดเพียงทฤษฎีเดียว ตัวอย่างของการเป็น “meta-theory” ของ
(subjective domain) แต่ ล ะองค์ ป ระกอบมีป จ จัย ย่ อ ย ั คุ ณ ภาพชีว ิต ได้ แ ก่ ก รอบแนวคิด ที่เ รีย กว่ า “Integrative
(aspects) เป็นพืน้ ฐานทีส่ า� คัญ ปจจุ ั บนั Figure
เรียกกรอบคิ ดเกีย่ วกับbetween
2 Comparison Quality-of-Life
QOL and ICF meta-theory:
concepts IQL” ซึง่ พัฒนาโดย Ventegodt
คุณภาพชีวติ แบบนี
Adapted ว้ า่ “meta-theory”
from: เนือ่ งจากในแต่
Post M & Noreau ละองค์
L. Quality ประกอบ
of life after spinalและคณะ 2
(Figure
cord injury. 3) Rehabil. 2005; 29(3):139-146.
J Neurol

176 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559


Figure 3 Concept of “Integrative Quality-of-Life meta-theory: IQL”: Adapted from: Ventegodt S, Hilden J, J. M. Measuring the Quality of Life I: A
methodological framework. Scientifi World Journal. 2003; 13(3): 950-61.

จากรูปที่ 3 จะเห็นได้วา่ กรอบคิ ด IQL


Figure ในแต่ละองค์
3 Concept ประกอบ Quality-of-Life
of “Integrative meta-theory ได้แก่IQL”
meta-theory: กรอบแนวคิดทีน่ �าเสนอโดย Ferrans22 ที่
และปจั from:
(domain)Adapted จัยย่อVentegodt
ย (aspects) ขององค์
S, Hilden J, J. M.ประกอบต่
Measuringางๆthe QualityเรีofยLife
กว่าI: A“Quality of Lifeframework.
methodological Index: QLI
Scientifi(Figure 4) ซึ่ง แบ่ ง
สามารถอธิWorld Journal.ท2003;13(3):950-61.
บายโดยใช้ ฤษฎีตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น objective องค์ประกอบของคุณภาพชีวติ เป็ น 4 ด้านคือ องค์ประกอบทาง
factor สามารถอธิบ ายด้วยทฤษฎีของ Maslow ในขณะที่ สุขภาพกายและความสามารถในการประกอบกิจกรรม องค์ประกอบ
expression of self ใช้ทฤษฎีของ self-efficacy, self-empowerment ทางสุข ภาพจิต ใจและความเชื่อ สถานะทางเศรษฐกิจ และ
และ self-esteem อธิบายได้
2
สังคม และครอบครัว ซึง่ ต้องพิจารณาทังด้ ้ านความพึงพอใจและ
อีก หนึ่ ง ตัว อย่า งของกรอบแนวคิด คุณ ภาพชีว ิต แบบ ความส�าคัญขององค์ประกอบย่อยเหล่านัน้ พร้อมกัน

HEALTH AND SOCIAL AND PSYCHOLOGICAL/ FAMILY


FUNCTIONING ECONOMICAL SPIRITUAL (5 items)
(13 items) (8 items*) (7 items)
1. health 13. friends 27. peace of mind 8. family health
2. health carc 15. emotional support 28. faith in God 9. children
3. pain from people other 29. achievement of 10. family happiness
4. energy (fatigue) than your family personal goals 12. spouse, lover,
5. ability to take care of 19. neighborhood 30. happiness in general or partner
yourself without help 20. home 31. life satisfaction in general 14. emotional support
6. control over life 21/22. job/not having a job 32. personal appearance from family
7. chances for living as 23. education 33. self
long as you would like 24.financial needs
11. sex life
16. ability to take care of * items 21 and 22 are
family responsabilities mutually excluding
17. usefulness to others
18.worries
25. things for fun
26. chances for a happy future
Figure 4 “Quality of Life Index: QLI” and its domains: From: Ferrans CE. Development of a conceptual model of quality of life. Schol Inquiry
Nurs Pract. 1996; 10(3): 293-304.
Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 177
5. Happiness/Affect และจิตพิสยั (subjective measurement)
แนวคิดนี้ให้ความส�าคัญกับภาวะทางอารมณ์ของบุคคล 4. ต้องจัดล�าดับของความส�าคัญของแต่ละองค์ประกอบ
ต่ อ สถานการณ์ ใ ดๆ ในช่วงเวลาหนึ่ ง ตามแนวคิดนี้ บุค คล โดยผูถ้ กู ประเมิน
จะให้ความส�าคัญต่อสมดุลระหว่างความรูส้ กึ ทางบวก (ความสุข) 5. กรอบแนวคิด และวิธีก ารประเมิน ควรสอดคล้อ งกับ
กับความรูส้ กึ ทางลบ (ความทุกข์ ความซึมเศร้า) สมดุลนี้ ปรัชญาวิชาชีพของผูป้ ระเมิน เพือ่ ให้สามารถใช้ขอ้ มูล
เป็ นสภาวการณ์ ชวคราวที
ั่ ่ได้รบั อิทธิพลจากปจั จัยภายนอก ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
และปจั จัยภายในของแต่ละบุคคล ดังนัน้ ระดับคุณภาพชีวติ ปั จ จุ บ ัน มีก ารแบ่ ง การประเมิน คุ ณ ภาพชีว ิต เป็ น
ตามแนวคิ ด นี้ จ ะเปลี่ ย นแปลงตลอดเวลา และบางครัง้ 2 ประเภท ตามลักษณะของข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษา ดังนี้7
มี ความแตกต่างกันในแต่ละวันแม้จะอยู่ในสถานการณ์ หรือ
สิง่ แวดล้อมเดิม คุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้สามารถประเมิน 1. การประเมิ นเชิ งคุณภาพ (Qualitative measurement)
ด้วยแบบประเมินระดับความซึมเศร้าและอารมณ์ ของบุคคล เหมาะส� า หรับ ศึก ษาคุ ณ ภาพชีว ิต ในกลุ่ ม ตัว อย่ า ง
โดยเชือ่ ว่าบุคคลทีม่ คี วามซึมเศร้าในระดับสูงจะมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีย่ งั ไม่เคยท�าการศึกษามาก่อน นอกจากนี้ ยังเป็ นการศึกษา
ทีไ่ ม่ดี
4 จากสิง่ ที่เรีย กว่า “insider perspective” หรือ มุม มองของ
กลุ่มตัวอย่างทีส่ นใจศึกษา ด้วยการสัมภาษณ์เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูล
6. Natural capacity จากความคิด ความรูส้ กึ ของกลุ่มตัวอย่างโดยไม่มกี ารชี้แนะ
กรอบแนวคิด นี้ ใ ห้ค วามส� า คัญ กับ การเปรีย บเทีย บ จากผูศ้ กึ ษา ข้อมูลทีไ่ ด้สามารถพัฒนาเป็ นกรอบแนวคิดใหม่
ระหว่างศักยภาพของบุคคลทัง้ ทางด้านร่างกายและจิตใจทีม่ ี ที่ใช้อธิบายคุณภาพชีวติ หากมีปัจจัยบางประการที่ผูศ้ กึ ษา
อยู่ก่อนการเจ็บป่ วยกับศักยภาพทีเ่ หลืออยู่หลังการเจ็บป่ วย คิด ว่ า จะส่ ง ผลให้ เ กิด ความแตกต่ า งในองค์ ป ระกอบของ
โดยมีสมมุตฐิ านว่า คุณภาพชีวติ ของบุคคลจะลดลงเมื่อเกิด คุณภาพชีวติ จากกลุม่ ตัวอย่างทีเ่ คยท�าการศึกษามาแล้ว หรือ
โรคหรือภาวะเจ็บป่ วย คุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้จงึ ประเมิน ใช้ขอ้ มูลที่ได้เป็ นพื้นฐานในการพัฒนาการประเมินคุณภาพ
โดยพิจารณาระดับของการเปลีย่ นแปลงทางศักยภาพดังกล่าว ชีว ติ ครัง้ ต่ อไป ตัวอย่า งของการประเมินคุณภาพชีวติ ด้วย
ว่ า ลดลงมากน้ อ ยเพีย งใด และการลดลงนั น้ มีอิท ธิพ ลต่ อ วิธกี ารนี้ ได้แก่ การศึกษาของ ลัดดาวัลย์24 และธัญพร25
บุคคลมากน้อยเพียงใด แนวคิดสะท้อนออกในรูปของค�าถามทีว่ า่ ที่ศึก ษาองค์ ป ระกอบของคุ ณ ภาพชีว ิต ในผู้ บ าดเจ็ บ ของ
“ชีวติ มีคณ ุ ค่าพอเพียงทีจ่ ะอยูต่ อ่ ไปหรือไม่?” ดังนัน้ การประเมิน ไขสันหลังในประเทศไทย โดยให้ความส�าคัญต่อบริบทของ
คุณภาพชีวติ ตามแนวคิดนี้สามารถประเมินจากตัวผูป้ ่ วยเอง สังคมไทยทีจ่ ดั เป็ นประเด็นหลักในการศึกษา
หรือประเมินจากมุมมองของผูด้ แู ลและผูใ้ ห้การรักษาซึ่ ง ใกล้ ชิด
กั บ ผู้ ป่ วยมากพอที่ จ ะให้ ค วามเห็ น หรื อ ตระหนั ก ถึ ง 2. การประเมินเชิ งคุณลักษณะ (Quantitative measurement)
การเปลีย่ นแปลงเกีย่ วกับสุขภาพ หรือผลกระทบจากการเจ็บป่ วย เป็ นการวัดองค์ประกอบของคุณภาพชีวติ ด้านต่างๆ
หรือโรคทีม่ ตี ่อศักยภาพของผูป้ ่ วย4,22 ทีผ่ ู้สนใจศึกษาก�าหนดไว้ล่วงหน้ าและเลือกการวัดด้วยการ
ใช้แ บบประเมิน ที่ส อดคล้อ งกับ กรอบแนวคิด การประเมิน
การประเมิ นคุณภาพชีวิต ลัก ษณะนี้ ใ ช้ก บั การศึก ษากลุ่ม ตัว อย่า งที่ม ีจ�า นวนมากและ
เป็ นทีย่ อมรับว่าการประเมินคุณภาพชีวติ ต้องประเมิน ต้อ งการศึก ษาผลกระทบของคุ ณ ภาพชีว ิต จากป จั จัย หรือ
ตามกรอบแนวคิดความพึงพอใจในชีวติ หรือภาวะสุขสมบรูณ์ สถานการณ์ หนึ่งๆ ที่เกิดขึน้ เช่น การเป็ นโรค ความพิการ
ของชีวติ (life satisfaction or well-being)4,6,7,12 ซึง่ เป็ นการ หรือ ภัย พิบ ตั ิ เป็ นต้น แบบประเมินที่ใ ช้ใ นการศึกษามีทงั ้
ประเมิน ที่ค รอบคลุ ม มิติต่ า งๆ ที่ม ีผ ลต่ อ คุ ณ ภาพชีว ิต ของ การประเมินแบบวัตถุพสิ ยั (objective measurement) ซึ่ง
บุคคลมากทีส่ ุด อย่างไรก็ตาม การประเมินคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ประเมินผลกระทบของความพิการในระดับของความบกพร่อง
และได้ขอ้ มูลทีเ่ ชือ่ ถือมากทีส่ ดุ ผูศ้ กึ ษาต้องค�านึงถึงข้อควรระวัง ทางร่างกาย (impairment) และความสามารถในการประกอบ
ก่อนประเมิน โดยมีขอ้ ค�านึง ดังนี้23 กิจกรรม (activity) และการประเมินทางด้านจิตพิสยั (subjective
1. ต้องก�าหนดขอบเขต หรือ ค�าจ�ากัดความของ “คุณภาพ measurement) ทีป่ ระเมินผลกระทบของความพิการต่อการ
ชีวติ ” ก่อนเริม่ ประเมิน มีส่ ว นร่ ว มทางสัง คม (participation) 7 แม้ก ารศึก ษาต่ า งๆ
2. ต้องก�าหนดองค์ประกอบ (domains) และ ปจั จัยย่อย ที่ผ่า นมาพบความสัม พัน ธ์ข ององค์ป ระกอบด้า นวัต ถุ พ ิส ยั
(aspects) ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อค�าจ�ากัดความของ “คุณภาพ กับระดับความบกพร่องทางร่างกายและระดับความสามารถใน
ชีวติ ” ตามข้อที่ 1 อย่างชัดเจน การประกอบกิจกรรมอย่างชัดเจนก็ตาม ผูว้ จิ ยั ควรค�านึงเสมอว่า
3. ต้องวัดทัง้ ด้านวัตถุพสิ ยั (objective measurement) ปั จจัยด้านวัตถุพสิ ยั เป็ นเพียงปจั จัยที่มผี ลต่อระดับคุณภาพ
178 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559
ชีว ิต เท่ า นั น้ ไม่ ใ ช่ ต ัว ชี้ว ัด (indicator) ของคุ ณ ภาพชีว ิต สนใจ โดยที่ผู้วจิ ยั ไม่ไ ด้ส นใจต่ อองค์ป ระกอบอื่น
อย่างแท้จริง เนื่องจากคุณภาพชีวติ ต้องเกิดจากการรับรูข้ อง ที่มคี วามส�าคัญและอาจส่งผลต่อคุณภาพชีวติ โดย
ผูถ้ กู ประเมินในช่วงเวลาหนึ่งและมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา รวมของผูป้ ่ วย29 ตัวอย่างของแบบประเมินชนิดนี้
แม้ว่า ความบกพร่อ งทางร่า งกายและความสามารถในการ ได้แก่ Asthma Quality of Life Questionnaire
ประกอบกิจ กรรมจะไม่ ม ีก ารเปลี่ย นแปลงก็ ต าม 27 เป็ น ที่ (AQLQ),30 The spinal cord injury quality-of-life
ยอมรับในวงกว้างของกลุม่ สนใจศึกษาเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ว่า questionnaire (SCIQL-23),31 the Rheumatoid
คุณภาพชีวติ เป็ นผลจากองค์ประกอบทัง้ ด้า นความบกพร่อง Arthritis Quality of Life questionnaire (RAQoL)32
ของร่างกาย ความสามารถในการประกอบกิจกรรม และการ และ Stroke-Specific Quality of Life Scale (SSQL)33
มีส่ ว นร่ ว มทางสัง คมตามกรอบอ้ า งอิง ของ ICF อีก ทัง้ ยัง เป็ น ต้ น นอกจากนี้ การน� า ผลการศึก ษาไปใช้
เป็ นผลลั พ ธ์ ข องปฏิ ส ั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งองค์ ป ระกอบด้ า น กับกลุ่ ม ตัว อย่ า งอื่ น ที่ม ีค วามแตกต่ า งจากกลุ่ ม
วัตถุ พ สิ ยั และจิต พิส ยั ที่ม ผี ลต่ อคุณ ภาพชีวติ โดยร ว ม ข อ ง ที่แ บบประเมิน ถู ก ออกแบบมาใช้ง าน เนื่ อ งจาก
กลุม่ ตัวอย่าง4,7,21,26 ความแตกต่างของโรค อีกทัง้ การใช้แบบประเมินใน
วัฒ นธรรม หรือ ใช้ภ าษาที่แ ตกต่ า งกันจะท�าให้ม ี
แบบประเมิ นคุณภาพชีวิต
ข้อผิดพลาดในการแปลผลจากแบบประเมิน
การใช้ แ บบประเมิ น คุ ณ ภาพชี ว ิ ต เป็ นการศึ ก ษา
เชิ ง คุ ณ ลัก ษณะ (quantitative assessment) ที่ ใ ช้ ก ัน 1.2 แบบประเมิ น HRQOL แบบทัว่ ไป (Generic
อย่ า งแพร่ ห ลาย แบบประเมิน คุ ณ ภาพที่นิ ย มใช้ แบ่ ง เป็ น HRQOL questionnaire)
2 กลุม่ คือ4 เป็ นแบบประเมิ น ที่ ศึ ก ษาผลกระทบของโรค
ห รื อ ค ว า ม เ จ็ บ ป่ ว ย ที่ ม ี ผ ล ต่ อ คุ ณ ภ า พ ชี ว ิ ต
1. แบบประเมิ นคุณภาพชีวิตแบบ Health -related quality
ของกลุ่มตัวอย่างเหมือนกลุ่มทีผ่ ่านมา แต่เป็ นการ
of life (HRQOL)
ประเมิน ในองค์ป ระกอบหลายด้า นที่เ ป็ น ปั จ จัย ที่
แบบประเมินคุณภาพชีวติ ในกลุ่มนี้ประเมินผลกระทบ
มีอิท ธิพ ลต่ อ คุ ณ ภาพชีว ิต จากกรอบแนวคิด แบบ
ของสุขภาพที่ผดิ ปกติ เช่น ภาวะเป็ นโรค หรือความพิการ
meta-approach แบบประเมินในกลุ่มนี้จงึ สามารถ
ทีม่ ตี ่อองค์ประกอบของคุณภาพชีวติ ทีผ่ ปู้ ระเมินเลือกมาศึกษา
น� า ไปใช้ป ระเมิน คุ ณ ภาพชีว ิต ในกลุ่ ม ตัว อย่ า งที่
อาจกล่าวได้วา่ เป็นการประเมินผลกระทบของโรคต่อโครงสร้าง
มีโรคหรือความพิการทีแ่ ตกต่างกัน จุดมุง่ หมายหลัก
การท�างานของร่างกาย (body structure and body function)
ข อ ง แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ใ น ก ลุ่ ม นี้ คื อ ก า ร ศึ ก ษ า
และการประกอบกิจกรรม (activity) แบบประเมินในกลุ่มนี้
ผลกระทบของโรค หรื อ ความเจ็ บ ป่ วยที่ ม ี ต่ อ
สามารถแบ่งออกเป็ นสองกลุม่ ย่อยคือ7
องค์ ป ระกอบย่ อ ยที่ ผู้ ว ิ จ ัย ก� า หนดไว้ ตั ว อย่ า ง
1.1 แบบประเมิน HRQOL แบบเฉพาะเจาะจง (specific ของแบบประเมิ น ในกลุ่ ม นี้ ท่ี ไ ด้ ร ั บ ความนิ ย ม
HRQOL questionnaire) อย่างสูงในการศึกษาคุณภาพชีวติ ได้แก่ Medical
แบบประเมิ น ในกลุ่ ม นี้ จ ะเป็ นแบบประเมิ น ที่ Outcomes Study Short Form 36: SF-36, 34
พัฒ นาขึ้น เพื่อ ใช้ส�า หรับ เฉพาะกลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ม ี Nottingham medical outcome questionnaire35
ปั ญ หาสุ ข ภาพเหมือ นกัน หรือ ได้ร ับ การวินิ จ ฉัย แบบประเมินในกลุม่ นี้สามารถใช้ประเมินกลุม่ ผูป้ ่ วย
ว่ า เป็ น โรคเดี ย วกัน แบบประเมิน มีข้ อ ค� า ถาม ทีห่ ลากหลายกว่าแบบเฉพาะเจาะจง
ที่ เ กี่ ย วกั บ อาการของโรค อาการแทรกซ้ อ น
2. แบบประเมินคุณภาพชีวิตแบบองค์รวม (Holistic quality
ผลกระทบที่ เ กิ ด จากโรค ผลการประเมิ น ที่ ไ ด้
of life)
จึง มีค วามไว (sensitivity) ในการแสดงให้เ ห็น
เป็ น การประเมิน ที่ค รอบคลุ ม ป จั จัย พื้น ฐานส�า คัญ ที่
การเปลี่ย นแปลงของคุ ณ ภาพชีว ิต ที่เ ป็ น ผลจาก
มีอทิ ธิพลต่อคุณภาพชีวติ ตามที่ผู้ศกึ ษาได้ให้ค�าจ�ากัดความ
การรักษา28 ข้อค�านึงถึงในการใช้แบบประเมินกลุม่ นี้
ไว้กอ่ นการศึกษา ประกอบด้วยองค์ประกอบด้านร่างกาย จิตใจ
คือ แบบประเมิ น ถู ก ออกแบบมาใช้ เ ฉพาะใน
ความสามารถในการท�า กิจ กรรม การมีส่ว นร่ว มทางสัง คม
กลุ่ ม ตัว อย่ า งใดกลุ่ ม ตัว อย่ า งหนึ่ ง ดัง นั น้ ข้อ มู ล
ฐานทางเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สิง่ แวดล้อม
ที่ ไ ด้ อ า จ ไ ม่ ค ร อ บ ค ลุ ม ใ น มิ ติ อ่ื น ที่ มี ผ ล ต่ อ
ทางสัง คม ความเชื่อ ทางศาสนาจิต วิญ ญาณ เป็ น ต้ น 4,7
คุณภาพชีวติ รวมทัง้ อาจเป็ นการประเมินเฉพาะ
เป็นการประเมินองค์ประกอบต่างๆ ทีค่ รอบคลุมมากกว่าแบบแรก
ผลการรัก ษาที่ม ีต่ อ อาการทางร่ า งกายที่ผู้ ว ิจ ัย
จุ ด เด่ น ของแบบประเมิ น คื อ การศึ ก ษาผลกระทบของ
Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 179
การเปลีย่ นแปลงขององค์ประกอบต่างๆ ทีม่ ตี ่อคุณภาพชีวติ ในระยะกลับสู่สงั คมหลังการฟื้ นฟูในสถานพยาบาล ควรเป็ น
โดยไม่สนใจต่ออาการของโรค ความเจ็บปว่ ย หรือการเปลีย่ นแปลง แบบประเมิน ที่ใ ห้ ค วามส� า คัญ ด้ า นการประกอบกิจ กรรม
ทางคลิ นิ ก อัน เนื่ อ งมาจากได้ ร ับ การรัก ษาด้ ว ยวิ ธี ต่ า งๆ การด� า เนิ น ชีว ิต และการมีส่ ว นร่ ว มทางสัง คม ซึ่ง บ่ ง บอก
แบบประเมิ น ในกลุ่ ม นี้ ม ี ก ารพัฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ปญั หาด้านนี้ทม่ี ผี ลกระทบต่อผูใ้ ช้บริการ ประเด็นส�าคัญในการ
จ�านวนมาก ตัวอย่างแบบประเมินทีไ่ ด้รบั ความนิยมได้แก่ Health ทีน่ กั กิจกรรมบ�าบัดต้องน�ากรอบแนวคิดคุณภาพชีวติ ทีช่ ดั เจน
Organization Quality of Life Questionnaire-100: มาใช้ในขัน้ ตอนนี้คอื เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับคุณภาพชีวติ
WHOQOL-100,36 World Health Organization Quality of ทีถ่ กู ต้องและสอดคล้องกับผูใ้ ช้บริการแต่ละคน เนือ่ งจากผูใ้ ช้บริการ
Life Questionnaire-BREF: WHOQOL-BREF,37,38 Integrative แต่ละรายมีมมุ มองต่อคุณภาพชีวติ แตกต่างกัน
Quality-of-Life meta-theory: IQL,2 Quality of Well Being
2. การน�ามาใช้เป็นแนวทางในการก�าหนดทิศทางของการให้บริการ
Scale: QWB,39 The European QoL measure: EuroQoL,40
ผลจากการประเมินในข้อที่ 1 จะท�าให้นกั กิจกรรมบ�าบัด
The Life Satisfaction Index: LSI,41 The Satisfaction with
ทราบว่ า องค์ ป ระกอบหรือ ป จั จัย ใดที่ผู้ใ ช้บ ริก ารให้ค วาม
Life Scale: SWLS,42 และ Comprehensive Quality of Life
ส�าคัญและมีผลต่อคุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้บริการ ข้อมูลดังกล่าว
Inventory: ComQOL43
สามารถน�ามาใช้เพือ่ วางแผนและให้การฟื้ นฟูได้สอดคล้องกับ
ผูส้ นใจแบบประเมินคุณภาพชีวติ สามารถศึกษาเพิม่ เติม
ล�าดับความส�าคัญของปญั หา โดยทีแ่ นวทางการน�าข้อมูลมาใช้
ได้จากหนังสือทีเ่ รียบเรียงโดย Bowling44 ซึง่ รวบรวมแบบประเมิน
จะคล้ายคลึงกับการใช้แบบประเมิน Canadian occupational
ที่ใ ช้ใ นการประเมิน คุณ ภาพชีว ิต ที่ไ ด้ร บั ผลกระทบจากโรค
performance measure: COPM45 ทีน่ กั กิจกรรมบ�าบัดมีความ
หรือความเจ็บปว่ ยกลุม่ ต่างๆ หรือ ค้นหาแบบประเมินต่างๆ
คุน้ เคยในการใช้งานแต่มขี อ้ จ�ากัดด้านลิขสิทธิของคณะผู
์ พ้ ฒ
ั นา
เพิม่ เติมได้ท่ี www.rehabmeasures.org/default.aspx โดยใช้
ตัวอย่างการน� าข้อมูลของคุณภาพชีวติ มาประยุกต์ใช้ในขัน้
ค�าสืบค้น "Quality of life” ซึง่ มีรายละเอียดของแบบประเมิน
ตอนของการฟื้นฟู ได้แก่ การศึกษาของ Hammell46 ทีช่ ใ้ี ห้เห็น
กลุ่ ม ประชากรที่เ หมาะสมในการน� า ไปใช้ และคุ ณ สมบัติ
ประเด็นการมีส่วนร่วมของสังคม (social participation) ว่ามี
ทางการวัดของแบบประเมินนัน้ ๆ
ความส�าคัญอย่างสูงในการให้บริการทางกิจกรรมบ�าบัด Hammell46
แนะน� าให้นักกิจกรรมบ�าบัดค�านึงถึง “สิทธิ (rights)” ของ
การประยุก ต์ก รอบแนวคิ ด คุณ ภาพชี วิ ต ใช้ ก บั งานทาง
ผูพ้ กิ ารทีจ่ ะต้องมีอสิ ระในการประกอบกิจกรรมการด�าเนินชีวติ
กิ จกรรมบ�าบัด
ด้านต่างๆ และผูพ้ กิ ารต้องการกระท�า ทัง้ นี้ นักกิจกรรมบ�าบัด
กรอบอ้างอิงต่างๆ ของวิชาชีพกิจกรรมบ�าบัดจัดล�าดับ
ต้องส่งเสริมหรือแสวงหาโอกาสให้ผูพ้ กิ ารได้มปี ระสบการณ์
ให้ “คุณภาพชีวติ ” เป็ นเป้าหมายสูงสุดในการให้บริการทาง
ในการลงมื อ กระท� า กิ จ กรรมการด� า เนิ น ชี ว ิ ต เหล่ า นั ้น
กิจกรรมบ�าบัด ดังนัน้ ในการน�าแนวคิดเกีย่ วกับประเด็นนี้มาใช้
นักกิจกรรมบ�าบัดต้องค�านึงถึงข้อจ�ากัดต่างๆ ทางด้านสิง่ แวดล้อม
กับการปฏิบตั งิ านจึงมีแนวทางพิจารณาด้งนี้
ด้านร่างกาย และทัศนคติของสังคม ที่ส่งผลในลักษณะเป็ น
1. การน�ามาใช้เป็ นแนวทางประเมินปญั หาของผูใ้ ช้บริการ “อุ ป สรรค (barrier)” ต่ อ ผู้พ ิก ารในการประกอบกิจ กรรม
การประเมิ น คุ ณ ภาพชี ว ิ ต สามารถเลือ กวิธีก าร การด�าเนินชีวติ ทีต่ นเองต้องการ สิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ ทีน่ กั กิจกรรมบ�าบัด
ประเมินได้ทงั ้ แบบเฉพาะกลุม่ โรค หรือประเมินโดยวิธี holistic ต้องค�านึงถึงในขันตอนนี
้ ้คอื การกระตุน้ และการสร้างแรงจูงใจ
การเลือ กใช้แ บบประเมิน ที่เ หมาะสมจะช่ว ยให้นัก กิจ กรรม ที่เ หมาะสมแก่ ผู้ใ ช้บ ริก าร ส่ง เสริม ให้ม ีก ารเผชิญ หน้ า และ
บ�าบัดทราบถึงปญั หาในระดับต่างๆ ของผูใ้ ช้บริการ เช่น ใน การจัดการกับปญั หาต่างๆ (coping process) อย่างถูกต้อง
กรณี ท่ีผู้ใ ช้บ ริก ารยัง คงได้ร ับ ผลกระทบจากภาวะของโรค เหมาะสม ปั จ จัย ที่ก ล่ า วมาทัง้ หมดเป็ น องค์ป ระกอบของ
หรือความเจ็บปว่ ย นักกิจกรรมบ�าบัดควรเลือกใช้แบบประเมิน คุณภาพชีวติ ทัง้ ด้านวัตถุพสิ ยั และจิตพิสยั ซึง่ นักกิจกรรมบ�าบัด
ทีส่ อดคล้องกับโรคและการด�าเนินของโรค ผลจากการประเมิน สามารถประเมินได้โดยใช้กรอบอ้างอิงคุณภาพชีวติ ทีเ่ หมาะสม
จะท�าให้ทราบถึงปจั จัยด้านร่างกายทีส่ า� คัญทีน่ กั กิจกรรมบ�าบัด กับผูใ้ ช้บริการแต่ละคน
สามารถให้การฟื้นฟูได้ อย่างไรก็ตาม เมือ่ การด�าเนินของโรค
3. การน�ามาใช้เป็ นแนวทางในการประเมินผลสัมฤทธิข์ องการ
ไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงหรือ คงที่แล้ว นักกิจกรรมบ�าบัดควร
ให้บริการ
เลือ กประเมิน ผลกระทบด้ า นความสามารถทางร่ า งกาย
การประเมิน ผลสัม ฤทธิก์ ารให้บ ริก ารโดยใช้ก รอบ
ด้านการประกอบกิจกรรม ซึง่ จะท�าให้นกั กิจกรรมบ�าบัดทราบถึง
แนวคิ ด คุ ณ ภาพชี ว ิ ต จะเป็ นการประเมิ น ที่ ค รอบคลุ ม
ปญั หาที่ผู้ใช้บริการให้ความส�าคัญและคิดว่ามีผลกระทบต่อ
ทั ง้ ด้ า นผลกระทบของโรคหรือภาวะเจ็บป่วยที่มตี ่อร่างกาย
คุณภาพชีวติ ส่วนแบบประเมินทีเ่ หมาะสมส�าหรับผูใ้ ช้บริการ
ด้านการประกอบกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วมทางสังคม
180 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559
เป็ นกรอบการประเมินผลสัมฤทธิของการให้ ์ บริการทีอ่ งค์การ ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้โดยการใช้ทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง แต่
อนามัยโลกได้ให้คา� แนะน�าไว้ เช่นเดียวกับประเด็นส�าคัญใน
20
ต้องใช้หลายทฤษฎีสา� หรับการอธิบายปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้
ข้อทีผ่ า่ นมาคือ นักกิจกรรมบ�าบัดต้องเลือกใช้วธิ กี ารรวบรวม จากผลการศึกษาถึงคุณภาพชีวติ และการรับรู้ภาวะสุ ข ภาพ
ข้อมูลให้เหมาะสม อาจเลือกวิธกี ารรวบรวมข้อมูลแบบเชิงคุณภาพ ในผู้ ท่ีไ ด้ ร ับ บาดเจ็ บ ของไขสัน หลัง 26 ที่พ บว่ า ระดับ ของ
เชิงคุณลักษณะ หรือ แบบผสมผสานด้วยการสัมภาษณ์แบบ คุ ณ ภาพชีว ิต ของผู้บ าดเจ็บ ไขสัน หลัง ไม่ ม ีค วามแตกต่ า ง
กึง่ โครงสร้าง เนื่องจากกรอบแนวคิดคุณภาพชีวติ เป็ นกรอบที่ จากระดับคุณภาพชีวติ ของคนปกติ รวมทัง้ พบว่าความพึงพอใจ
ยืดหยุน่ ขึน้ อยูก่ บั ผูศ้ กึ ษาจะเลือกค�านิยาม การก�าหนดขัน้ ตอน ด้ า นสุ ข ภาพที่ป ระเมิน ด้ ว ย HRQOL มีค วามสัม พัน ธ์ ก ับ
ในการเก็บข้อมูลและการแปลผล ดังนัน้ นักกิจกรรมบ�าบัด ระดับคุณภาพชีวติ โดยรวมทีป่ ระเมินโดย WHOQOL-BREF
จึงสามารถน� าไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของ ในระดับต�่า ผูเ้ ขียนเสนอแนะถึงสิง่ ทีผ่ สู้ นใจด้านนี้ตอ้ งให้ความ
แต่ ล ะหน่ ว ยงานและเหมาะสมกับผู้ใ ช้บริการแต่ล ะรายหรือ สนใจในการศึกษาเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ คือ การก�าหนดกรอบ
แต่ละหน่วยงานทีอ่ าจมีบริบททีแ่ ตกต่างกัน แนวคิด การจัดล�าดับความส�าคัญขององค์ประกอบทีจ่ ะประเมิน
การเลือ กใช้แ บบประเมิน ที่ต้อ งการประเมิน องค์ป ระกอบ
4. การวิจยั และการเปรียบเทียบข้อมูลระดับประเทศและระดับ
เพีย งบางส่วนหรือ ทัง้ หมด กลุ่ม ตัวอย่า งที่ต้อ งการประเมิน
นานาชาติ
การวางแผนน� าข้อมูลทีไ่ ด้ไปประยุกต์ใช้ เพราะการเลือกวิธี
การใช้แ บบประเมิน คุ ณ ภาพชีว ิต ในการปฏิบ ัติง าน
การประเมิ น ที่ ไ ม่ เ หมาะสมส่ ง ผลให้ ข้ อ มู ล คลาดเคลื่ อ น
นักกิจกรรมบ�าบัดสามารถน� าข้อมูลที่ได้จากการประเมินมา
จากความเป็ นจริง สิง่ ส�าคัญมากทีส่ ดุ และผูศ้ กึ ษาต้องค�านึงถึง
เปรีย บเที ย บทัง้ ด้ า นผลกระทบของความเจ็ บ ป่ วย หรือ
เสมอคือ คุณภาพชีวติ เป็ นการตัดสินของปจั เจกบุคคลโดยใช้
โรคที่ม ีต่ อ ผู้ใ ช้บ ริก าร และผลสัม ฤทธิข์ องวิธีก ารฟื้ น ฟู ท ัง้
การรับรูต้ ่อสถานการณ์หนึ่งๆ เปรียบเทียบกับประสบการณ์
ในระดับ ประเทศและระดับ นานาชาติ เนื่ อ งจากปั จ จุ บ ัน มี
ทีเ่ คยได้รบั ดังนัน้ คุณภาพชีวติ ของแต่ละบุคคลจึงมีองค์ประกอบ
การแปลแบบประเมิน คุ ณ ภาพชีว ิต ฉบับ ภาษาอัง กฤษเป็ น
และล�าดับความส�าคัญขององค์ประกอบเหล่านัน้ แตกต่างกัน
ภาษาไทยและภาษาอื่ น ๆ ทั ว่ โลก เช่ น แบบประเมิ น
รวมทังข้้ อมูลจะมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาตามการเปลีย่ นแปลง
WHOQOL-BREF ฉบับภาษาไทย47 และแบบประเมิน SF-36
ของสถานการณ์ทบ่ี ุคคลนัน้ เผชิญอยู่
ฉบับภาษาไทย48 ดังนัน้ ด้วยความเป็ นมาตรฐานและความ
เป็นสากลของแบบประเมินคุณภาพชีวติ จึงท�าให้นกั กิจกรรมบ�าบัด
ในประเทศไทยสามารถน� าข้อมูลที่ได้เปรียบเทียบกับการให้
บริการในระดับประเทศและระดับนานาชาติอย่างมันใจและ ่
ได้ก ารยอมรับ ในระดับ นานาชาติ ตัว อย่า งของงานวิจ ยั ใน
ประเทศไทยทีไ่ ด้ศกึ ษาระดับคุณภาพชีวติ ในผูป้ ่ วยกลุ่มต่างๆ
ได้แก่ การศึกษาของ Trevittaya and Wattanavittawat26
Dajpratham and Kongkasuwan49 และ Choochart และคณะ50
ที่ ศึ ก ษาคุ ณ ภาพชี ว ิ ต ในกลุ่ ม ผู้ บ าดเจ็ บ ไขสั น หลั ง ใน
ประเทศไทย เป็ นต้น

บทสรุป
บทความนี้มวี ตั ถุประสงค์ให้ผสู้ นใจด้านคุณภาพชีวติ ได้
ทราบถึงกรอบคิดของคุณภาพชีวติ ในบทความกล่าวถึงการ
จ�าแนกประเภทของกรอบคิดเป็นด้านต่างๆ ตามหลักการพืน้ ฐาน
ทีใ่ ช้อธิบายคุณภาพชีวติ เนื่องจากกรอบแนวคิดนี้ถกู พัฒนาขึน้
ในสังคมตะวันตกทีม่ บี ริบท ค่านิยม และมาตรฐานต่างๆ ของสังคม
แตกต่างจากสังคมตะวันออก ดังนัน้ ผูท้ ส่ี นใจศึกษาเรือ่ งของ
คุณภาพชีวติ ควรศึกษาและท�าความเข้าใจในพื้นฐานทฤษฎี
ของกรอบคิดนี้อย่างละเอียด อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั กรอบคิด
ของคุณภาพชีวติ ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวาง คือ กรอบคิด
ทีม่ ลี กั ษณะ “life satisfaction หรือ subjective well-being”
Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 181
เอกสารอ้างอิง
1. Department of Empowerment of Persons with Disabilities. The 4th National Plan on the Empowerment of
Persons with Disabilities B.E. 2555-2559 [cited 2016 January, 12] Available from: www.nep.go.th/th/law/แผน
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติฉบับที่-4-พศ-2555-2559_eng.pdf. (in Thai).
2. Ventegodt S, Hilden, J. Measuring the Quality of Life I: A methodological framework. Scientific World Journal
2003; 13(3): 950-61.
3. The special interest research group on quality of life. Quality of life: Its conceptualization, measurement, and
application. A consensus document. Geneva: WHO-IASSID Plan; 2000.
4. Moons P, Budts W, De Geest S. Critique on the conceptualisation of quality of life: A review and evaluation of
different conceptual approaches. Int J Psychiatr Nurs Res 2006; 43: 891-901.
5. The WHO Group. The World Health Organization quality of life assessment (WHOQOL): Position paper from
the World Health Organization. Social Science and Medicine 1995; 41: 1403-9.
6. Kinney MR. Quality of life research: Rigor or rigor mortis. Cardiovasc Nurs 1996; 31: 25-8.
7. Liddle J, McKenna K. Quality of life: An overview of issues for use in occupational therapy outcome measurement.
Aust Occup Ther J 2000; 47: 77-85.
8. Dolan P, Gudex C, Kind P, Williams A. Valuing health status: A comparision of methods. J Health Econ 1996;
15(2): 209-31.
9. Hairy M. Measuring the quality of life: Why, how and what? In: Joyce CRB, McGee H, O'Boyle CA, editors.
Individual quality of life: Approached to conceptualisation and assessment. Amsterdam: Harwood Academic
Publishers; 1999. p. 22.
10. Carr-Hill RA. Assumptions of the QALY procedure. Soc Sci Med. 1989; 29: 469-77.
11. Ventegodt S. Measuring the Quality of life: From theory to practice 1995 [cited 2015 December, 12] Available
from: http://home2.inet.tele.dk/fclk/mqo_eng.htm.
12. Dijkers M. Quality of life of indvidual with spinal cord injury: A review of conceptualization, meassurement, and
research findings. J Rehabil Res Dev 2005; 42(3), Supplement 1: 87-110.
13. Kongsakorn R, Silpakit C, Udomsubpayakul U. Thailand normative data for SF-36 health survey: Bangkok
metropolitan. The ASEAN Journal of Psychiatry 2007; 8(2): 85-103. (in Thai).
14. Maslow AH. Motivation and personality. 3rd ed. New York: Harper & Row Publishers; 1987.
15. Zhan L. Quality of life: Conceptual and measurement issues. J Adv Nurs 1992; 17(7): 795-800.
16. Ferrans CE. Development of a conceptual model of quality of life. Sch Inq Nurs Pract 1996; 10(3): 293-304.
17. Stephen P, Lynda C. The needs-based approach to quality of life assessment. Value Health 2004; 7(S1): S1-S3.
18. Calman KC. Quality of life in cancer patients: An hypothesis. J Med Ethics 1984; 10: 124-7.
19. Mahatnirankul S, Silpakit P, Pumpaisalchai W. The quality of life during the economic crisis in Thailand. Journal
of Mental Health of Thailand 2000; 8: 112-23. (in Thai).
20. World Health Organization. International classification of functioning, disability, and health. Geneva; 2001.
21. Post M, Noreau L. Quality of life after spinal cord injury. J Neurol Phys Ther 2005; 29(3): 139-46.
22. Ferrans CE. Development of a conceptual model of quality of life. Schol Inquiry Nurs Pract 1996; 10(3): 293-304.
23. Velde BP. Quality of life in community occupational therapy practice. Occup Ther Health Care 2001; 13: 149-55.

182 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559


24. Singkumfu L. Managing everyday life among Thai men with paraplegia: A grounded theory study: Chiang Mai
University; 2000. (in Thai).
25. Chuenklin T. Life experiences as being paraplegic patients. Journal of Sonklanakarin Nursing College 2000;
20: 230-47. (in Thai).
26. Trevittaya P, Wattanavittawat P. Quality of life and perceived health status among people with spinal cord
injury. Bull Chiang Mai Assoc Med Sci 2016; 49(2): 185-196. (in Thai).
27. Pain K, Dunn M, Anderson G, Darrah J, Kratochvil M. Quality of life: What does it mean in rehabilitation? J
Rehabil 1998; 64: 5-11.
28. Guyatt C. Understanding concepts related to the quality of life. In: Yusef S, Cairens JA, Camm AJ, Fallen EL,
Gersh BJ, editors. Evidence Based Cardiology. London: BMJ Books;1998. p 65-75.
29. Romney DM, Brown RI, Fry PS. Improving the quality of life: Prescriptions for change. Soc Indic Res 1994; 45:
165-71.
30. Juniper EF, Buist AS, Cox FM, Ferrie PJ, DR.. K. Validation of a standardised version of the Asthma Quality
of Life Questionnaire. Chest 1999; 115: 1265-70.
31. Lundqvist C, Siösteen A, Sullivan L, Blomstrand C, Lind B, M. S. Spinal cord injuries: A shortened measure of
function and mood. Spinal Cord 1997; 35: 17-21.
32. Tijhuis GJ, Jong Z, Zuijderduin WM, Jansen LM, Hazes JM, et al. The validity of the Rheumatoid Arthritis
Quality of Life (RAQoL) questionnaire. Rheumatology 2001; 40: 1112-9.
33. Williams LS, Weinberger M, Harris LE, Clark D, José Biller J. Development of a Stroke-Specific Quality of Life
Scale. Stroke 1999; 30: 1362-69.
34. Ware JE, Sherbourne CD. The MOS 36-Item Short-Form Health Survey (SF-36®) I: Conceptual framework and
item selection. Med Care 1992; 30(6): 473-83.
35. Anderson RT, Aaronson NK, Wilkin D. Critical review of the international assessments of health-related quality
of life. Qual Life Res 1993; 2: 369-95.
36. Power M, Harper A, Bullinger M. The World Health Organization WHOQOL-100: tests of the universality of
Quality of Life in 15 different cultural groups worldwide. Health Psychol 1999; 18(5): 495-505.
37. World Health Organization. WHOQOL-BREF: Introduction, administration, scoring and generic version of the
assessment, field trial version. Geneva:; 1996.
38. Kuyken W, Orley. The World Health Organization quality of life assessment (WHOQOL): Position paper from
the World Health Organization. Soc sci med 1995; 41(10): 1403-9.
39. Kaplan RM, Bush JW. Health status index: Category rating versus magnitude estimation for measuring levels
of well-being. . Med Care 1979; 17: 501-25.
40. The EuroQoL group. EuroQol: A new facility for the measurement of health-related quality of life. Health Policy
1990; 16(3): 199-208.
41. Neugarten BL, Havighurst RJ. The measurement of life satisfaction. J Gerontol 1961; 16: 134-43.
42. Diener E, Emmons RA, Larsen RJ. The satisfaction with life scale. J Pers Assess 1985; 49: 71-5.
43. Cummins RA, Mccabe MP, Romeo Y, Gullone E. Validity studies the Comprehensive Quality of Life Scale
(ComQol): Instrument development and psychometric evaluation on college staff and students. Educ Psychol
Meas 1994; 54(2): 372-82.

Bull Chiang Mai Assoc Med Sci Vol. 49 No. 2 May 2016 183
44. Bowling A. Measuring Disease: A review of disease specific quality of life measurement scales. 2nd ed.
Buckingham: Open University Press; 2001.
45. Law M, Baptiste S, McColl M, Opzoomer A, Polatajko H, Pollock N. The Canadian occupational performance
measure: an outcome measure for occupational therapy. Can J Occup Ther 1990; 57(2): 82-7.
46. Hammell KW. Quality of life, participation and occupational rights: A capabilities perspective. Aust Occup Ther J
2015; 62: 78-85.
47. Department of Mental Health. World Health Organization Quality of Life Questionnaire – BREF: Thai version
(WHOQOL–BREF: THAI). 2009 [cited 2009 June, 5 ]. Available from: http://www.dmh.moph.go.th/test/whoqol/.
(in Thai).
48. Jirarathanaphochai K, Sumanon C, Sangnipankun S. Rlability of SF-36 V2: Thai version evaluation among
people with back pain. Department of Orthopedic: Faculty of Medicine, Khonkan University; 2005. (in Thai).
49. Dajpratham P, Kongkasuwan R. Quality of life among traumatic spinal cord injuried patients. J Med Assoc Thai
2011; 94(10): 1252-58.
50. Chuchart N, Vichiansiri R, Arayawitchanon P, Manimmanakorn N. Quality of life of traumatic spinal cord injuried
patients in North-East Region of Thailand. J Thai Rehabil Med 2015; 25(1): 15-21. (in Thai).

184 วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ ปีท่ี 49 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2559

You might also like