You are on page 1of 9

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว 31101 รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน กลุม


่ สาระการเรียนรู ้
วิทยาศาสตร์
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน
จานวน 1.5 หน่ วยกิต
มาตรฐาน
การเรียนรู/้ ตัว น้าห
ชี้วดั /ผลการเรี เวลา
นัก
ที่ ชือ
่ หน่ วย ยนรูข้ อง สาระสาคัญ (ชั่วโ
คะแ
ASEAN มง)
Curriculum
นน
Sourcebook
1 การรักษาดุลยภาพของสิง่ มีชีวต ิ ว.1.1 เข้าใจหน่ วยพื้นฐาน 15 25
1. องค์ประกอบของเซลล์ ม.4-6/1-4 ของสิง่ มีชีวต ิ
2. การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ว.8.1 ความสัมพันธ์ของโ
2.1 การแพร่ ม.4-6/1-12 ครงสร้างและหน้าที่
2.2 Theme 5 ของระบบต่างๆ
การลาเลียงแบบฟาซิลเิ ทต ของสิง่ มีชีวต ิ ทีท
่ างา
2.3 นสัมพันธ์กน ั
การลาเลียงแบบการใช้พลังงาน มีกระบวนการสืบเส
2.4 าะหาความรู ้
การลาเลียงสารขนาดใหญ่ สือ
่ สารสิง่ ทีเ่ รียนรูแ ้
3. กลไกการรักษาดุลยภาพ ละนาความรูไ้ ปใช้ใ
3.1 นการดารงชีวต ิ ของ
การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธา ตนและดูแลสิง่ มีชีวิ
ตุในพืช ตและระบบนิเวศใน
3.2 ภูมภิ าคอาเซียน
การรักษาดุลยภาพของน้าและส
ารต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
3.3
การรักษาดุลยภาพของน้าและแ
ร่ธาตุในสิง่ มีชีวติ อืน
่ ๆ
4. ระบบภูมค ิ ม
ุ้ กันของมนุษย์
2 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุก ว.1.2 เข้าใจกระบวนการ 15 25
รรม ม.4-6/1-2 และความสาคัญของ
1. ลักษณะทางพันธุกรรม ว.8.1 การถ่ายทอดลักษณ
2. ม.4-6/1- ะทางพันธุกรรม
โครงสร้างและส่วนประกอบขอ 12 วิวฒ
ั นาการของสิง่ มี
งDNA Theme 1 ชีวติ
3. มิเทชัน ความหลากหลายทา
4. การแปรผันทางพันธุกรรม งชีวภาพ
5. การใช้เทคโนโลยีชี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชี วภาพทีม่ ีผลกระทบ
วภาพ ต่อมนุษย์และสิง่ แว
6. ดล้อม มีกระบวน
ผลทีเ่ กิดจากการใช้เทคโนโลยีฯ

ที่ ชือ
่ หน่ วย มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา น้าห
การเรียนรู/้ ตั (ชั่วโ นัก
วชี้วดั /ผลการ มง) คะแ
เรียนรูข ้ อง นน
ASEAN
Curriculum
Sourcebook
การสืบเสาะหาควา
มรูแ ้ ละจิตวิทยาวิทย
าศาสตร์สือ ่ สารทีเ่ รีย
นรูแ ้ ละความรูไ้ ปใช้
ประโยชน์ และความ
ร่วมมือด้านวิทยาศา
สตร์และเทคโนโลยี
ช่วยเร่งการพัฒนาท
างเศรษฐกิจของปร
ะเทศสมาชิกอาเซีย

3 ความหลากหลายทางชีวภาพ ว.1.2 เข้าใจกระบวนการ 10 20
1. ม.4-6/3-4 และความสาคัญของ
ความหลากหลายของสิง่ มีชีวต
ิ ว.8.1 การถ่ายทอดลักษณ
1.1 ม.4-6/1- ะทางพันธุกรรม
ความหลากหลายทางพันธุกรร 12 วิวฒ
ั นาการของสิง่ มี
ม Theme 1 , ชีวต ิ
1.2 2 ความหลากหลายทา
ความหลากหลายของสปี ชีส์ งชีวภาพ
2. การใช้เทคโนโลยีชี
การคัดเลือกตามธรรมชาติแล วภาพทีม ่ ีผลกระทบ
ะการเกิดสปี ชีส์ใหม่ ต่อมนุษย์และสิง่ แว
ดล้อม
มีกระบวนการสืบเส
าะหาความรูแ ้ ละจิต
วิทยาวิทยาศาสตร์สื่
อสารทีเ่ รียนรูแ ้ ละค
วามรูไ้ ปใช้ประโยช
น์ และประชาชนสา
มารถวัดความหลาก
หลายทางชีวภาพแล
ะผลกระทบของการ
สูญเสียความหลากห
ลายในภูมภ ิ าคอาเซี
ยน
4 ระบบนิเวศ ว.2.1 เข้าใจสิง่ แวดล้อมใ 10 15
1. ความสมดุลของระบบนิเวศ ม.4-6/1-3 นท้องถิน ่
2. ว.8.1 ความสัมพันธ์ระหว่
การเปลีย่ นแปลงแทนทีข่ องสิง่ ม.4-6/1- างสิง่ แวดล้อมกับสิง่
มีชีวต
ิ 12 มีชีวต ิ
3. Theme 2 , ความสัมพันธ์ระหว่
ผลกระทบทีเ่ กิดจากการเปลีย่ 5 างสิง่ มีชีวต
ิ ต่าง
นแปลงของระบบนิเวศ ๆในระบบนิเวศ
มีกระบวนการสืบเส
าะหาความรู ้
จิตวิทยาศาสตร์
สือ
่ สารสิง่ ทีเ่ รียนรู ้
และนาความรูไ้ ปใช้
ประโยชน์ และประช
าชนสามารถวัดควา
มหลากหลายทางชีว
ภาพและผลกระทบ
ของการสูญเสียควา
มหลากหลายในภูมิ
ภาคอาเซียน

ที่ ชือ
่ หน่ วย มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา น้าห
การเรียนรู/้ ตัว (ชั่วโ นัก
ชี้วดั /ผลการเรี มง) คะแ
ยนรู ้ นน
5 มนุษย์กบ
ั ทรัพยากรธรรม ว.2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ 10 15
ชาติและสิง่ แวดล้อม ม.4-6/1-3 ของทรัพยากรธรร
1. ว.8.1 มชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มี ม.4-6/1- การใช้ทรัพยากรธร
ชีวต ิ กับสิง่ มีชีวต ิ 12 รมชาติในระบบท้อ
2. Theme 1, งถิน่
ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มี 3 ,4 ,5 ประเทศและโลก
ชีวต ิ กับสิง่ แวดล้อม นาความรูไ้ ปใช้ใน
3. การจัดการทรัพยาก
การเพิม ่ จานวนประชากร รธรรมชาติและสิง่ แ
มนุษย์กบ ั การใช้ทรัพยากร วดล้อมในท้องถิน ่ อ
ธรรมชาติ ย่างยั่งยืนและความ
4. ร่วมมือด้านวิทยาศ
ปัญหาและผลทีเ่ กิดขึน ้ กับ าสตร์และเทคโนโล
สิง่ แวดล้อมและทรัพยากร ยีชว่ ยเร่ง
ธรรมชาติ การพัฒนาทางเศร
5. ษฐกิจของประเทศส
การใช้ทรัพยากรธรรมชา มาชิกอาเซียน
ติทม ี่ ีอยูอ
่ ย่างจากัด ระบบธรรมชาตินน ้ั
6. เชือ
่ มโยงกันทั่วโลก
แนวทางการป้ องกันแก้ไข และข้ามผ่านพรมแ
ฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมทีเ่ สือ ่ ดนการเมืองระหว่า
มโทรม งชาติ
7. ภูมอ ิ ากาศและธรณี
การอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรร วิทยามีอท ิ ธิพลต่อป
มชาติอย่างยั่งยืน ริมาณน้าทีม ่ ีอยูใ่ นภู
มิภาคอาเซียน

รวม 60 100

หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 2
รหัสวิชา ว 33101 ชือ ่ รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 เวลา 4 ชั่วโมง
……………………………………………….
1. หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 2 ชือ
่ หน่ วย เทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู ้
มาตรฐานการเรียนรู ้
ว 1.2
เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมวิว ั
ฒนาการของสิง่ มีชีวต ิ ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพทีม ่ ีผลกระทบต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ ้ ละจิตวิทยาศาสตร์ สือ
่ สาร สิง่ ทีเ่ รียนรู ้
และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั
ม.4-6/2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพทีม
่ ีตอ
่ มนุษย์และสิง่ แวดล้อ
มและนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู ้ ASEAN
ความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชว่ ยเร่งการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ของประเทศสมาชิกอาเซียน (THEME 1)
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การนาความรูท ้ างเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ทางด้านต่างๆ นัน

ส่งผลกระทบทัง้ ด้านทีเ่ ป็ นประโยชน์และโทษต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อม
และความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชว่ ยเร่งการพัฒนาทางเศรษฐกิจขอ
งประเทศสมาชิกอาเซียน

สาระการเรียนรู ้
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
1. มนุษย์นาความรูท ้ างเทคโนโลยีชีวภาพด้านพันธุวศ ิ วกรรม การโคลน
และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ
่ มาใช้ในการพัฒนาให้เกิดความก้าวหน้าในด้านต่างๆ
้ และแพร่หลาย
มากขึน
2.
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพทีส ่ ร้างสิง่ มีชีวต ้ หรือสิง่ มีชีวต
ิ ใหม่เกิดขึน ิ ทีม
่ ีการดัดแปรพัน
ธุกรรมส่งผลกระทบทัง้ ทางด้านทีเ่ ป็ นประโยชน์ และโทษต่อสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ
และสังคม
สาระการเรียนรูA
้ SEAN
- ความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศสมาชิกอาเซียน
4. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการคิดอย่างเป็ นระบบ
- ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล
4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวต ิ
- กระบวนการทางานกลุม ่
- กระบวนการอภิปราย
- กระบวนการสืบค้น
- กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- กระบวนการทดลอง
4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- กระบวนการทางานกลุม ่
- กระบวนการอภิปราย
- กระบวนการสืบค้น
- กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- กระบวนการทดลอง
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความรับผิดชอบ 2.ใฝ่ เรียนรู ้ 3.มุง่ มั่นในการทางาน
6. ชิ้นงาน/ภาระงานระหว่างเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- ชีววิทยากับเทคโนโลยีชีวภาพ
- ความสาคัญเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
- ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ผังความคิด ความสาคัญเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
- ผังความคิด ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
- แบบทดสอบหลังเรียน

7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 2 เรือ
่ ง
เทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ
ิ าคอาเซียน
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ใบงานที่ 1.1 เรือ
่ ง ความสาคัญเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ
ิ าคอาเซียน
2. ใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง ชีววิทยากับเทคโนโลยีชีวภาพ
3. ใบงานที่ 1.3 เรือ ่ ง ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ
ิ าคอาเซียน
4. สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม ่
6 สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.3 การประเมินหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 2
เรือ
่ งเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ
ิ าพอาเซียน
7.4 การประเมินชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจแผนผังความคิด ความสาคัญเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภิ าคอาเซียน
- ตรวจผังความคิด ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ
ิ าคอาเซียน

8. กิจกรรมการเรียนรู ้
นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 2
เรือ
่ งเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ
ิ าพอาเซียน
เรือ่ งที่ 1 ความสาคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ เวลา
1 ชั่วโมง
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็ นกลุม ่ กลุม่ ละ 5 คน ตามความสมัครใจ
แต่ละคนจะมีหมายเลขประจาตัว (หมายเลข 1, 2, 3, 4, 5) เรียกว่า
กลุม่ บ้าน
2. สมาชิกในกลุม ่ บ้านแยกย้ายไปหากลุม ่ ใหม่ทมี่ ีหมายเลขเดียวกัน เรียกว่า
กลุม ่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ
แล้วให้ศก ึ ษาหาความรูแ้ ละทากิจกรรมร่วมกันตามทีก ่ าหนด
3. กลุม ่ ผูเ้ ชีย่ วชาญนาความรูท ้ ไี่ ด้รบ
ั กลับไปยังกลุม ่ บ้าน (กลุม
่ เดิม)
และผลัดกันอธิบายความรูใ้ นประเด็นทีต ่ นรับผิดชอบให้สมาชิกคนอืน ่ เข้าใจ
4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสาระสาคัญเกีย่ วกับความสาคัญของ
เทคโนโลยีชีวภาพในใบงานที่ 1.1 เรือ ่ ง
ความสาคัญเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
เรือ
่ งที่ 2 ความรูท ้ างเทคโนโลยีชีวภาพ
เวลา 1-3 ชั่วโมง
1. ครูเล่ากรณีตวั อย่างเทคโนโลยีชีวภาพทีเ่ หมือนกันในอาเซียนเช่น
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ
่ พันธุวศิ วกรรม การโคลนนิง
การถ่ายฝากตัวอ่อนฯลฯ ให้นกั เรียนฟัง
แล้วให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับความสาคัญของเทคโนโล
ยีชีวภาพดังกล่าวและถามว่ามีอะไรบ้าง นักเรียนช่วยกันตอบ
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็ นกลุม ่ กลุม ่ ละ 3 คน
เพือ
่ ทบทวนสาระสาคัญของพันธุวศ ิ วกรรม การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่
การโคลน โดยสมาชิกทุกคนเขียนแล้วส่งต่อทีละคน
3. นักเรียนแต่ละคนในกลุม ่ เลือกศึกษาเพียง 1 ประเด็น ในหนังสือเรียน
4. นักเรียนแต่ละกลุม ่ ร่วมกันอภิปราย สรุปความรูท ้ ไี่ ด้จากการศึกษา
5. นักเรียนทาใบงานที่ 1.2 เรือ ่ ง ชีววิทยากับเทคโนโลยีชีวภาพ
6. นักเรียนแต่ละกลุม ่ ร่วมกันอภิปรายคาตอบจากใบงานที่ 1.2
นาความรูเ้ ดิมเชือ
่ มโยงกับความรูใ้ หม่
7. นักเรียนเขียนสาระสาคัญทีไ่ ด้ลงในสมุด หรือกระดาษ
8. นักเรียนแต่ละกลุม ่ นาเสนอผลงานหน้าชัน ้ เรียน

เรือ
่ งที่ 3 ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
เวลา 2 ชั่วโมง
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็ นกลุม ่ กลุม ่ ละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง
ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน
แล้วให้นกั เรียนแต่ละคนสนทนากันในกลุม ่ โดยใช้เวลาคนละ 2 นาที
2. นักเรียนอ่อนเลือกเรือ ่ งทีจ่ ะพูดก่อน โดยประเด็นทีจ่ ะพูด คือ
- การใช้เทคโนโลยีชีวภาพของไทยกับภูมภ ิ าคอาเซียน
- ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
3. ให้ตวั แทนนักเรียนในกลุม ่ ทาหน้าทีจ่ ดบันทึกข้อมูลทีเ่ พือ ่ นๆ พูด จะเหลือ 3
คน ทีเ่ ป็ นคนพูด
คนที่ 4 ทาหน้าทีจ่ ดบันทึก และอ่านข้อมูลทัง้ หมดให้เพือ ่ นในกลุม่ ฟัง
4. สมาชิกทุกคนในกลุม ่ ร่วมกันสรุปข้อความทีไ่ ด้จากการเล่าเรื่องรอบวง
5. นักเรียนทาใบงานที่ 1.3 เรือ ่ ง
ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรูท ้ ี่ 2
เรือ
่ งเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าพอาเซียน
9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู ้
9.1 สือ่ การเรียนรู ้
1. หนังสือเรียน ชีวต ิ กับสิง่ แวดล้อม สิง่ มีชีวติ กับกระบวนการดารงชีวต ิ
ม.4-ม.6
2. ใบความรู ้
3. ใบงานที่ 1.1 เรือ ่ ง ความสาคัญเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
4. ใบงานที่ 1.2 เรือ ่ ง ชีววิทยากับเทคโนโลยีชีวภาพ
5. ใบงานที่ 1.3 เรือ ่ ง ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพในภูมภ ิ าคอาเซียน
9.2 แหล่งการเรียนรู ้
1. ห้องสมุด
2. ห้องปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์
3. สือ
่ ต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์

You might also like