You are on page 1of 45

2102391

Electrical Engineering I

Transformers

ดัดแปลงจาก PowerPoint ของ อ. หัสคุณ


บทที 4 หม้อแปลงไฟฟ้า
4.1 บทนํ า
4.2 หลักการทํางานของหม ้อแปลง
4.3 หม ้อแปลงขณะไม่มโี หลด
4.4 หม ้อแปลงขณะจ่ายโหลดโหลด
4.5 วงจรสมมูลของหม ้อแปลง
4.6 พิกด
ั ของหม ้อแปลง
ิ ธิภาพของหม ้อแปลง
4.7 ประสท
ิ ธิภาพสูงสุด
4.8 ประสท
บทที 4 หม้อแปลงไฟฟ้า (ต่อ)
ิ ธิภาพตลอดวัน
4.9 ประสท
4.10 Voltage regulation ของหม ้อแปลง
4.11 การทดสอบหม ้อแปลง
4.12 โครงสร ้างของหม ้อแปลง
4.13 การหาขัวของหม ้อแปลง
4.14 การต่อหม ้อแปลงแบบอนุกรมและแบบขนาน
4.15 หม ้อแปลงสามเฟส
4.16 การต่อหม ้อแปลงสามเฟส
4.1 บทนํา
หม ้อแปลง คือ อุปกรณ์ทใช ้
ี แปลงระดั
บของแรงดันไฟสลับ
จากค่าหนึงเป็ นระดับแรงดันไฟสลับอีกค่าหนึง (โดยผ่านการ

เชอมโยงของสนามแม่
เหล็ก) หม ้อแปลงประกอบด ้วยขดลวด
ตังแต่ 2 ขดหรือมากกว่า พันรอบแกน ferromagnetic

ขดลวดทีต่อกับแหล่งจ่าย เรียกว่า primary winding

ขดลวดทีต่อเข ้ากับโหลด เรียกว่า secondary winding

การสง่ พลังงานจากขดลวด primary ไปยังขดลวด


ั การสง่ พลังงานผ่านสนามแม่เหล็ก
secondary อาศย
Transformers

Electronic transformers

Transformers are a necessary part of all


power supplies.

Power transformers
Transformers raise/lower voltages in electrical
energy distribution.
4.2 หล ักการทํางานของหม้อแปลง

รูปที 1

จาก E Peak  Nf  2fNf


2fNf EP NP
 E rms   4.44 fNf   a
2 ES NS
a  Turn ratio
ได้ E pri  E P  4.44 fN Pfm
E sec  E S  4.44 fN Sfm
4.3 หม้อแปลงขณะไม่มโี หลด
4.3.1 กรณีไม่พจ
ิ ารณา Loss (Ideal)

รูปที 2 รูปที 3

• IO คือ No load current มีหน ้าทีชว่ ยสร ้างสนามแม่เหล็กคล ้อง (fm)


ระหว่า งขดลวด pri กับ ขดลวด sec เพือทํ า การส่ง ถ่า ยพลั ง งานจาก
ขดลวด pri ไปยังขดลวด sec หรือ จากแหล่งจ่ายไปยังโหลด
• IO จะ inphase กับ fm และ ตามหลัง VP เท่ากับ 90o และก่อให ้เกิดแรง
เคลือนเหนียวนํ า EP และ ES
• หม ้อแปลงอุดมคติจะไม่มแ
ี รงดันลด (Voltage drop) ในขดลวด ดังนั น
จึงได ้ E N V
P P P
 
Es NS Vs
4.3.2 กรณีพจ
ิ ารณา Loss (Practical)

รูปที 4

• IO ทีไหลในขดลวดทางด ้านปฐมภูมจ ี ในแกนเหล็ก


ิ ะก่อให ้เกิดกําลังสูญเสย
(Core loss) ค่าหนึง ดังนันในทางปฏิบัต ิ IO จึงไม่ทํามุม 90o กับ VP โดย
แท ้จริง แล ้วสามารถวิเคราะห์ IO ออกเป็ น Ic และ Im
เมือ
ี ในแกนเหล็ก (Core loss current)
Ic คือ กระแสทีทําให ้เกิดกําลังสูญเสย
์ ล ้อง (Magnetizing current)
Im คือ กระแสทีทําให ้เกิดฟลักซค

ี ในแกนเหล็ก: Pc  VP I C  VP I Ocosα (W)


กําลังสูญเสย
4.4 หม้อแปลงขณะจ่ายโหลดโหลด

รูปที 5 รูปที 6

I 'P คือกระแสทีไหลเข ้าขดลวดปฐมภูม ิ เพือสร ้าง MMF มาต ้านหรือหักล ้างกับ


IS และทํามุมกับ IS = 180o

กระแสทังหมดทีไหลเข ้าขดลวดทางด ้านปฐมภูมท


ิ งหมดคื
ั อ
I 'P N P  IS NS I P  I O  I 'P
I 'P NS 1 • ในทางปฏิบต
ั ิ IO จะมีคา่ น ้อยมาก ดังนั น
  I P NS 1
IS N P a I P N P  IS N S  
IS N P a
ตัวอย่าง หม้อแปลง 200 kVA 6600/400 V 50 Hz ขดลวดทุตยิ ภูมมิ ี 80 รอบ จงคํานวณ
ก) จํานวนรอบของขดลวดปฐมภูม ิ
ข) กระแสเต็มทีทางด้านปฐมภูมแิ ละทุตยิ ภูม ิ
ค) ค่าฟลักซ์แม่เหล็กสูงสุด
4.5 วงจรสมมูลของหม้อแปลง

รูปที 7
รูปที 8

รูปที 9: Refer to Primary circuit รูปที 10


Z P E P / I P E P IS
    a2
ZS E S / I S E S I P
 Z P  a 2 ZS    Z S ทีจะ refer ไปทางฝัง Primary ต้องคูณด้วย a2
รูปที 11

รูปที 12

รูปที 13 Approximate Equivalent circuit:


วงจรสมมูลแบบประมาณ
ต ัวอย่างที 4.1
หม ้อแปลงขนาด 10 kVA 1000V/1,00V 50 Hz มีคา่ ความต ้านทาน
RLV = 0.025 , XLV = 0.05 , RHV = 0.25 , XHV = 0.5 
RC = 4,000 , Xm = 8,500 
ต่อกับแหล่งจ่ายไฟทางด ้านแรงสูง และมีโหลดขนาด 1+j0.75  ต่ออยู่
ขดลวดทางด ้านแรงตําจงเขียนวงจรสมมูล / หา P,Q,S ของแหล่งจ่าย
ก) อ ้างไปทางด ้านแรงสูง
ข) อ ้างไปทางด ้านแรงตํา
วิธท
ี ํา
ได ้ขดลวดทางด ้านแรงสูงเป็ น ขดลวด Primary
ได ้ขดลวดทางด ้านแรงตําเป็ น ขดลวด Secondary
ดังนัน
VP 1,000
a   10
VS 100
ก) R P  0.25 Ω, X P  0.5 Ω, R c  4,000 Ω, X m  8,500 Ω
a 2 R S  10 2  0.025  2.5 , a 2 X S  10 2  0.05  5 
R eP  0.25  2.5  2.75 Ω, X eP  0.5  5  5.5 Ω
a 2 R L  10 2  1  100 , a 2 X L  10 2  0.75  75 

รูปที 14 –a)
ZS E S / IS E S I P 1
    2
ข) R S  0.025 Ω, XS  0.05 Ω Z p E P / I P E P IS a
Rc 4,000 X m 8,500 1
  40 Ω,   85 Ω  Z S  2
Z P    Z P  Eq
a2 100 a2 100 a
R P 0.25 X 0.5
  2.5  10 3 , P   5  10 3 
a2 100 a 2 100
R eS  0.025  2.5  10 3  0.0275 Ω, X eS  0.05  5  10 3  0.055 Ω
R L  1 , X L  0.75 

รูปที 14 –b)
4.6 พิก ัดของหม้อแปลง
• การกําหนดพิกด
ั ของหม ้อแปลงจะต ้องระบุคา่ ต่างๆ อย่างน ้อย ดังนี

1 2 3 4
พิก ัด kVA / ระด ับแรงด ันด้าน HV และ LV / ความถี

่ หม ้อแปลงขนาด 100 kVA 10 kV/500 V 50 Hz ดังนันได ้กระแสพิกด


• เชน ั

100,000
I rate (HV)   10 A
10,000
100,000
I rate (LV)   200 A
500
ิ ธิภาพของหม้อแปลง
4.7 ประสท

รูปที 15
ิ ธิภาพของหม ้อแปลง เท่ากับ
• ประสท
Pout Pout Pin  Plosses
η 100%   100%   100%
Pin Pout  Plosses Pin

1) ี ในขดลวดทองแดง (Pcu) เกิดขึนเนืองจากการไหล


กําล ังสูญเสย
ของกระแสผ่านขดลวดปฐมภูม ิ (RP)และขดลวดทุตย
ิ ภูม ิ (RS)

Pcu  I 2P R P  IS2 R S  I 2P R eP  IS2 R eS (W)


ี ในแกนเหล็ก (Pcore) ประกอบด ้วย
2) กําล ังสูญเสย

ี ทีเกิดจากการกลับทิศ
2.1) Hysteresis loss (Ph) คือ พลังงานสูญเสย
ขัวแม่เหล็ก N-S ของโดเมนแม่เหล็กภายในแกนเหล็กอยูต ่ ลอดเวลา ขณะทีหม ้อ
แปลงกําลังทํางาน

2.2) Eddy current loss (Pe) เกิดจากการเหนียวนํ าของสนามแม่เหล็ก ในแกน


เหล็ก ทําให ้เกิดกระแสไหลวน (Eddy current) ในแกนเหล็กนั น

โดยทัวไปกําลังสูญเสยี ในแกนเหล็กจะสม
ั พันธ์กับความถีและแรงดันขณะใชงานของ

หม ้อแปลงเป็ นหลัก ดังนั นจึงสามารถประมาณให ้มีค่าคงทีทุกค่ากระแสโหลดได ้ (ตังแต่
INL จนถึง IFL)
VP2
Pcore   I C2 R C (W)
RC

รูปที 16 Core Losses


ิ ธิภาพของหม ้อแปลง เท่ากับ
• ดังนันประสท

VL I L cosθ L
η  100%
VL I L cosθ L  Pcu  Pcore
ิ ธิภาพสูงสุด
4.8 ประสท (ทีต ัวประกอบกําล ังค่าหนึง หรือ เมือ
กําหนดค่า cosqL มาให้)

0
dI L
d  VL I L cosθ L 
  2

dI L  VL I L cosθ L  I L Res  Pcore 


 
VL I L cosθ L  I 2L Res  Pcore  VL cosθ L  VL I L cosθ L   VL cosθ L  2I L Res 
V I cosθ
L L
2
L  I L Res  Pcore 
2

ถ้า I 2L Res  Pcore แล้ว ηmax

ิ ธิภาพสูงสุดเกิดขึนเมือ
• ประสท
ี ในขดลวดทองแดง = กําลังสูญเสย
กําลังสูญเสย ี ในแกนเหล็ก
หรืออาจกล่าวได ้ว่าเมือ Variable losses = Fix losses
ิ ธิภาพตลอดว ัน
4.9 ประสท

รูปที 17 รูปที 18


• เนืองจากโหลดแต่ละชวโมงในหนึ ิ ธิภาพของ
งวันมีคา่ ไม่คงที ดังนันประสท

หม ้อแปลงในแต่ละชวโมงในหนึ
งวันจึงมีคา่ ไม่เท่ากันด ้วย
• ดังนั นการหาประส ทิ ธิภาพโดยรวมของหม ้อแปลงในวันหนึงๆ จึงคํ านวณ
จาก ค่าประสท ิ ธิภาพตลอดวัน (All day Efficiency)

ข้อสงเกต ี เนืองจากแกนเหล็กมีคา่ คงที ไม่ขนกั
กําลังสูญเสย ึ บสภาวะการ
จ่ายโหลด
24
 Energy Out
All-day
  Pout,i  Ti 
i 1
ηAll day   24
 100%
 Energy In   Pout,i  Pcu,i  Pcore,i   Ti 
All-day
i 1
4.10 Voltage regulation ของหม้อแปลง
• คือ ดัชนีชวัี ดเชงิ คุณภาพ (สมรรถนะ) ของหม ้อแปลงทีบ่งบอกถึงความสามารถในการ
คุมค่าแรงดัน

VNL  VFL  Vin  Vout 


%VR   100%    100%
VFL  Vout  @FL
เมือ VNL คือ แรงดันของหม ้อแปลงขณะไม่จา่ ยโหลด
VFL คือ แรงดันตกคร่อมโหลด ขณะจ่ายโหลดเต็มที (Full Load)

รูปที 19
ตัวอย่าง หม้อแปลง 500 kVA 6600/400 V 50 Hz มี R1 = 0.142  (ปฐมภูม)ิ R2 = 0.0011 
(ทุตยิ ภูม)ิ กําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก = 2.9 kW
ก) ประสิทธิภาพที Full-load ที PF = 0.8
ข) ประสิทธิภาพที Half-load ที PF = 0.8
ค) ประสิทธิภาพสูงสุด ที PF = 0.8
ง) ประสิทธิภาพตลอดวัน เมือจ่ายโหลด
40% ของ Full load ที PF = 0.8 Leading เป็ นเวลา 6 ชม.
80% ของ Full load ที PF = 0.75 Lagging เป็ นเวลา 8 ชม.
100% ของ Full load ที PF = Unity เป็ นเวลา 6 ชม.
ไม่จา่ ยโหลด เป็ นเวลา 4 ชม.
4.11 การทดสอบหม้อแปลง
4.11.1 การทดสอบเปิ ดวงจร

รูปที 22 การทดสอบเปิ ดวงจร (Open circuit test)

หล ักเกณฑ์ทนิ
ี ยม คือ
ทดสอบทางด ้านแรงดันตํา และ เปิ ดวงจรทางด ้านแรงดันสูง
วิธก
ี ารทดสอบ
1) ต่อวงจรตามรูป โดยทําการทดสอบทางด ้านแรงตํา และ เปิ ดวงจรทางด ้าน
แรงสูง
2) ป้ อนแรงดันพิกด
ั ทางด ้านแรงดันตํา
ี (POC)
3) บันทึกค่ากระแส (IOC) แรงดัน (VOC) และ กําลังสูญเสย
4) จากนันนํ าค่าทีได ้มาคํานวณตามขันตอนดังนี

Pin  POC  Pout  Pcore  Pcu I c  I O cosα  I OC cosα 


 Pcore  VOC I OC cosα 
I m  I O sinα  I OCsinα 
Sin  VOC I OC V P POC 
R c  OC  core 
 cosα 
Pin

POC Ic I c2 I c2 
Sin VOC I OC  Base on LS
V 
X m  OC
Im 
4.11.2 การทดสอบล ัดวงจร

รูปที 23 การทดสอบล ัดวงจร (Short circuit test)

หล ักเกณฑ์ทนิ
ี ยม คือ
ทําการทดสอบทางด ้านแรงดันสูง และลัดวงจรทางด ้านแรงดันตํา
ตัวอย่าง หม้อแปลง 50 kVA 2400/240 V ให้คา่ ต่างๆ จากการทดสอบดังนี คือ
ทดสอบเปิดวงจร: 300 W 240 V 8 A (ทดสอบทาง LV)
ทดสอบลัดวงจร: 433 W 78 V 20.8 A (ทดสอบทาง HV)
ก) วงจรสมมูลย์ทางด้าน HV
ข) voltage regulation ที PF = 0.8 lagging
ค) voltage regulation ที PF = 0.8 leading
ง) ประสิทธิภาพที Full load และ PF = 0.8
4.12 โครงสร้างของหม้อแปลง

รูปที 25 โครงสร้างของหม้อแปลง

• โครงสร ้างของหม ้อแปลงมี 2 แบบ คือ


• แบบ Core type (รูป a)
• แบบ Shell type (รูป b)
4.13 การหาขวของหม้
ั อแปลง
 การนํ าหม ้อแปลงมาต่ออนุกรม ขนาน หรือ ต่อแบบสามเฟส จําเป็ นจะต ้อง
ทราบขัว (Polarity) ของหม ้อแปลงเสย ี ก่อน เพือป้ องกันความเสย
ี หายที
อาจเกิดขึนได ้
 ขัวของขดลวดของหม ้อแปลงมี 2 แบบ คือ
 แบบ Subtractive คือ ปลายด ้านทีกระแสไหลเข ้ากับปลายด ้านที
กระแสไหลออกจะอยูด ่ ้านเดียวกัน (กรณี a)
 แบบ Additive คือ ปลายด ้านทีกระแสไหลเข ้ากับปลายด ้านทีกระแส
ไหลออกจะอยูต ่ รงข ้ามกัน (กรณี b)

a) b)

รูปที 26
• การทดสอบหาขัวของหม ้อแปลง
1) ต่อวงจรตามรูป
2) วัดแรงดัน V1, V2 และ V12
3) พิจารณา

ถ ้า V12  V1  V2 รูปที 27

แล ้วหม ้อแปลงเป็ นแบบ Subtractive และ

ถ ้า V12  V1  V2

แล ้วหม ้อแปลงเป็ นแบบ Additive


4.14 การต่อหม้อแปลงแบบอนุกรมและแบบขนาน
สมมติให ้หม ้อแปลงทัง 2 ตัวมีความสมมาตรกัน

รูปที 28 รูปที 29
การต่อหม้อแปลงแบบอนุกรม การต่อหม้อแปลงแบบขนาน
• ชว่ ยให ้สามารถจ่ายแรงดันออก • ชว่ ยให ้สามารถจ่ายกระแสได ้เป็ น 2
ได ้เป็ น 2 เท่า เท่าของกระแสทีจ่ายได ้จากขดลวดแต่
• กระแสทีจ่ายยังคงเท่ากับพิกดั ละขดลวด
เดิม • แรงดันจะยังคงเท่าเดิม
• ถ ้าต่อขดลวดผิดสลับขัว จะทํา • ถ ้าหากต่อผิดขัว จะทําให ้เกิดการ
ให ้ไม่มแ ี รงดันออก ลัดวงจร และเป็ นอันตรายอย่างมากต่อ
หม ้อแปลงและอุปกรณ์ไฟฟ้ าอืนๆ
4.15 หม้อแปลงสามเฟส

b)
a)
รูปที 30
4.16 การต่อหม้อแปลงสามเฟส
การต่อหม ้อแปลง 3 เฟส มี 4 รูปแบบ หลักๆ ดังนี
1) การต่อแบบ Wye-wye (Y-Y)
2) การต่อแบบ Wye-Delta (Y-D)
3) การต่อแบบ Delta-wye (D-Y)
4) การต่อแบบ Delta-Delta (D-D)

รูปที 31
ต ัวอย่างที 4.4
โหลดสามเฟสขนาด 450 kW, 0.8 PF lagging, ประสท ิ ธิภาพ 75% ใชกั้ บไฟ 12 kV
(Line-to-line) ต่อกับแหล่งจ่ายไฟ 220/380 V 50 Hz โดยต่อผ่านหม ้อแปลงสามเฟส

ซงประกอบขึ นจากหม ้อแปลงหนึงเฟส 3 ลูก
จงคํานวณหาขนาดพิกัดของหม ้อแปลงหนึงเฟสดังกล่าว โดยให ้ระบุคา่ พิกด ั ต่างๆ
ของหม ้อแปลงดังต่อไปนี S (kVA), Vpri/Vsec (V), Ipri/Isec (A), 50 Hz
ในทีนีให ้ทําการเผือขนาดพิกัดของหม ้อแปลงสามเฟสเป็ น 120% ของค่าโหลดสาม
เฟสทีพิกด ั ด ้วย เมือกําหนดให ้หม ้อแปลงทําการต่อแบบ
1) แบบ Delta - Delta 2) แบบ Delta – Wye
3) แบบ Wye – Delta 4) แบบ Wye – Wye

คําตอบ
1) (300 kVA, 380V/12kV, 789.47A/25A, 50Hz)
2) (300 kVA, 380V/6.93kV, 789.47A/43.3A, 50Hz)
3) (300 kVA, 220V/12kV, 1363.64A/25A, 50 Hz)
4) (300 kVA, 220V/6.93kVA, 1363.64A/43.3A, 50 Hz)

You might also like