You are on page 1of 4

เรียบเรียงโดย Eye Rinsai

ตัวบทย่อ วิชาวิธีพิจารณาความแพ่ง 2

มาตรา 224 คดีต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง


►ราคาทรัพย์สิน
ว.1 ที่พิพาทในชั้นอุทธรณ์ไม่เกิน 50,000 บาท ห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง เว้นแต่
►ทุนทรัพย์
► ผู้พิพากษาที่นงั่ พิจารณาทาความเห็นแย้ง/รับรองว่ามีเหตุอันสมควรที่อทุ ธรณ์ได้
►ได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์เป็นหนังสือจากอธิบดีผู้พพิ ากษาศาลชั้นต้น/ภาค
ว.2 ตาม ว.1 ห้ามมิให้ใช้บังคับคดี
☺เกี่ยวกับสภาพแห่งบุคคล/สิทธิในครอบครัวและ
☺คดีที่ไม่มีทุนทรัพย์
เว้นแต่คดีฟ้องขับไล่บุคคลออกจากอสังหาฯ อันมีค่าเช่า/อาจให้เช่าขณะยื่นคาฟ้องเดือนละไม่เกิน 4,000 บาท
ว.3 การขอให้ผพู้ ิพากษาที่นงั่ พิจารณารับรองว่ามีเหตุอันควร►ให้ผู้อุทธรณ์ยื่นคาร้องถึงผู้พิพากษานั้นพร้อมกับคาฟ้อง
อุทธรณ์ต่อศาลชั้นต้น

มาตรา 225 แบบคาฟ้องอุทธรณ์


ว.1 ข้อเท็จจริง/ข้อกฎหมาย จะยกขึ้นอ้างในการยื่นอุทธรณ์คู่ความต้อง
►กล่าวโดยชัดแจ้งในอุทธรณ์และ
►เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชั้นต้น
►ทั้งต้องเป็นสาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัยด้วย
ว.2 ถ้าคู่ความฝ่ายใด
►มิได้ยกปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขั้นกล่าวในศาลชั้นต้น
►ไม่ยกปัญหาข้อกฎหมายขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้น เพราะพฤติการณ์ไม่เปิดช่องให้กระทาได้/ เพราะเป็นเรื่องที่ไม่ปฏิบัติ
ตามกระบวนการพิจารณาชั้นอุทธรณ์
คู่ความมีสิทธิยกขึ้นอ้างได้
มาตรา 226 คาสั่งระหว่างพิจารณา
ว.1 ก่อนศาลชั้นต้นมีคาพิพากษา/คาสั่งชี้ขาดตัดสินคดี ถ้าศาลนั้นมีคาสัง่ นอกจาก ม.227 และ 228
(1) ห้ามอุทธรณ์คาสั่งในระหว่างพิจารณา
(2) คู่ความฝ่ายใดโต้แย้งคาสั่ง ให้ศาลจดข้อโต้แย้งลงในรายงาน คู่ความที่โต้แย้งจะอุทธรณ์คาสัง่ ได้ภายในกาหนด 1 เดือน
นับแต่มีคาพิพากษา (ต้องโต้แย้งก่อน แล้วถึงจะอุทธรณ์ได้ภายในกาหนด 1เดือน นับแต่วันที่ศาลพิพากษา)
ว.2 ไม่ว่าศาลจะรับฟ้องไว้หรือไม่ ถือว่าคาสั่งของศาลนับแต่วันที่มีการยื่นคาฟ้อง นอกจากม.227 และ 228 เป็นคั่ง
ระหว่างพิจารณา

มาตรา 227 คาสั่งที่ไม่ถือว่าเป็นคาสั่งระหว่างพิจารณา


คาสั่งของศาลชั้นต้นที่
☺ไม่รับ/คืนคาคู่ความตามม. 18
☺วินิจฉัยชี้ขาดตาม ม. 24
ซึ่งทาให้คดีเสร็จไปทั้งเรือ่ ง ►มิให้ถือว่าเป็นคาสัง่ ระหว่างพิจารณาและให้อยู่ในบังคับของการอุทธรณ์

มาตรา 228 คาสั่งศาลที่ไม่ใช่คาสั่งระหว่างพิจารณา


ว.1 ก่อนศาลชี้ขาดตัดสินคดี ถ้ามีคาสั่ง
(1) กักขัง / ปรับไหม / จาขัง
(2) มีคาสั่งเกี่ยวด้วยคาขอคุ้มครองระหว่างพิจารณา/บังคับคดีตามคาพิพากษา
ว.2 คดีที่ลูกหนี้ตามคาพิพากษา
ขาดนัดยื่นคาให้การ/ ขาดนัดพิจารณา และ
ลูกหนี้ตามคาพิพากษา/ ทนายความไม่ได้อยู่ในเวลาที่ออกคาบังคับ
ให้บังคับตามม. 199 ทวิ/ 207
การขอบังคับคดี

มาตรา 274 การของบังคับคดีแก่ลูกหนี้ตามคาพิพากษา


ว.1 ถ้า
คู่ความ
บุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดี/ศาลมีคาพิพากษาให้ชาระหนี้ (ลูกหนี้ตามคาพิพากษา)
มิได้ปฏิบัติตามคาบังคับ คู่ความ / บุคคลซึ่งเป็นฝ่ายชนะคดี/ ศาลมีคาพิพากษาให้ได้รับชาระหนี้ (เจ้าหนี้ตามคา
พิพากษา) ขอให้บงั คับคดีโดยยึด / อายัด / วิธีอื่น ภายใน 10 ปีนับแต่วันที่มีคาพิพากษา / คาสั่ง และ
ถ้าเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดียึด / อายัด / วิธีอื่นภายในเวลาดังกล่าว►ให้บังคับคดีแก่
ทรัพย์สิน / สิทธิเรียกร้องนั้นต่อไปจนเสร็จ
ว.2 คาพิพากษา / คาสั่งให้ชาระหนี้
►เป็นงวด
►อย่างใดอย่างหนึง่
ให้นับระยะเวลา 10 ปีตาม ว.1 ตั้งแต่วันที่หนี้ตามคาพิพากษา / คาสั่งนั้นอาจบังคับให้ชาระได้
ว.3 สิทธิเรียกร้องตามคาพิพากษา/คาสัง่ ให้
►ชาระเงิน
►ส่งคืน / ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิง่
บุคคลได้รับโอน / รับช่วงสิทธิตามคาพิพากษา/ คาสั่ง ►มีอานาจบังคับคดีตามหมวด2/3 โดยขอต่อศาลเพื่อเข้าสวม
สิทธิเป็นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาต่อไป

มาตรา 323 การร้องขัดทรัพย์


ว.1 ภายใต้ ม. 55 บุคคลใดอ้างว่า
►จาเลย/ลูกหนี้ตามคาพิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีได้ยึดไว้
►ตนเป็นเจ้าชองรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์/สิทธิครอบครองในทรัพย์สินซึง่ เป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ได้แบ่งการครอบครองเป็น
สัดส่วน
►ตนเป็นเจ้าของรวมอยู่ในทรัพย์สินซึ่งเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่แบ่งได้
►ตนเป็นผู้อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิของตนได้ก่อน
บุคคลนั้นร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินทั้งหมด /บางส่วน/เฉพาะส่วนของตน ต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีภายใน 60 วันนับ
แต่ที่มีการยึดทรัพย์
ถ้าไม่สามารถยื่นคาร้องขอภายในระยะเวลาดังกล่าวยื่นคาร้องขอเมือ่ พ้นระยะเวลาได้ต่อเมื่อ
►มีพฤติการณ์พเิ ศษและ
►ยื่นคาร้องขอไม่ช้ากว่า 7 วันก่อนวันที่เจ้าพนักงานบังคับคดีกาหนด
เพื่อขาดทอดตลาด/จาหน่ายโดยวิธีอื่นเป็นครัง้ แรก
เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัย ►ยื่นภายหลังก็ได้ แต่ต้องยื่นก่อนขายทอดตลาด/จาหน่ายโดยวิธีอื่น
ว.2 กรณีเป็นทรัพย์สินตามม.332 ผู้กล่าวอ้างอาจยื่นคาร้องต่อศาลภายใน 60 วันนับแต่ที่ได้มีการยึดทรัพย์สิน
ถ้าไม่สามารถยืน่ คาร้องขอภายในระยะเวลาดังกล่าวจะยื่นคาร้องขอเมื่อพ้นระยะเวลาได้ต่อเมื่อมีพฤติการณ์พิเศษ แต่
ต้องยื่น
-ก่อนเจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินทีได้จากการขายแก่เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา ม.339
-ก่อนบัญชีส่วนเฉลี่ยแสดงจานวนเงินที่ขายเป็นทีส่ ุดตาม ม.340
ให้ถือว่าเงินสุทธิที่ได้จากการขายเป็นเสมือนทรัพย์สินที่ขอให้ปล่อย
ว.3 ศาลสั่งรับคาขอแล้ว ให้ส่งสาเนาคาร้องแก่
- โจทก์/เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา
- จาเลย / ลูกหนี้ตามคาพิพากษา
- เจ้าพนักงานบังคับคดี
เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้รับคาร้องขอ ถ้าทรัพย์สินที่ยึดไม่ใช่ทรัพย์สินตาม ม. 332 ให้
-งดการขายทอดตลาด
-จาหน่าย
ในระหว่างรอคาวินิจฉัยและให้ศาลพิจารณาและชี้ขาดคดีอย่างธรรมดา
ว.4 โจทก์ / เจ้าหนี้ตามคาพิพากษายื่นคาร้องว่าคาร้องขอ
* ไม่มีมูลและ ยื่นมาเพื่อประวิงการบังคับคดี
เมื่อปรากฏพยานหลักฐานเบือ้ งต้นว่าคาร้องฟังได้ ศาลสัง่ ให้ผู้กล่าวอ้าง
-วางเงิน
-หาประกัน
ต่อศาลตามจานวนและภายในระยะเวลาที่ศาลเห็นควร เพื่อเป็นประกันการชาระค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์/ เจ้าหนี้
ตามคาพิพากษาที่อาจได้รับการยื่นคาร้องขอ
ถ้าผู้กล่าวอ้างไม่ปฏิบัตติ ามคาสั่งศาล ให้มีคาสั่งจาหน่ายคดี
เงิน/ประกันที่วาง เมื่อศาลเห็นว่าไม่มีความจาเป็น
-ส่งคืน
-ยกเลิกประกัน
**คาสั่งศาลว.นี้เป็นทีส่ ุด
ว.5 กรณีศาลสัง่ ยกคาร้องตาม ว.1 / ว.2 ถ้าโจทก์/เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาได้รับความเสียหายเนื่องจากยื่นคาร้องเห็นว่า
-คาร้องขอไม่มีมลู และ
-ยื่นเข้ามาเพื่อประวิงการบังคับคดี
บุคคลดังกล่าวอาจยื่นคาร้องขอต่อศาลภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอเพื่อศาลสัง่ ให้ผู้กล่าวอ้างชดใช้
ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนได้
ศาลไต่สวนแล้วเห็นว่าคาร้องฟังได้ สั่งให้ผู้กล่าวอ้างชดใช้ค่าสินไหมตามสมควร
ถ้าบุคคลดังกล่าวไม่ปฏิบัตติ ามคาสัง่ ศาล
-โจทก์, เจ้าหนี้ตามคาพิพากษา ร้องขอให้ศาลบังคับบุคคลภายนอกเสมือนเป็นลูกหนี้ตามคาพิพากษา

You might also like