You are on page 1of 8

กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพ สถิตแ

ิ ละข้อมูล โดย
ครูปรวิศ นครชัย

เอกสารประกอบการเรียนกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพ
วันที…
่ …………เดือน………………………………….พ.ศ. …………….………
ภาคเรียนที่ 2/2561
ชือ
่ - สกุล ………………………….…………………ชัน ้ ม.1/…………. เลขที่ …………
ครูผูส
้ อน นาย ปรวิศ นครชัย
1. สถิตแ
ิ ละข้อมู ล
สถิต ิ หมายถึง

1.) ตัวเลขแทนปริมาณจานวนข ้อมูล หรือข ้อเท็จจริงเกียวกั ่ ่


บเรืองใดเรื ่
องหนึ ่ง
เช่น สถิตท ่ี
ิ แสดงปริ มาณน้าฝน สถิตอิ บ ุ ตั เิ หตุ สถิตน
ิ ักเรียน
จานวนผูป้ ่ วยเป็ นเอดส ์ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็ นต ้น
2) ค่าตัวเลขทีเกิ ่ ดจากการคานวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) ห
รือคิดมาจากนิ ยามทางคณิ ตศาสตร ์ เช่นคานวณหาค่าเฉลีย ่ ค่าความแปรปรว
น ค่าทีค่ านวณได ้เรียกว่าค่าสถิติ ( A
Statistic) ส่วนค่าสถิตท ้ั
ิ งหลายเรี ยกว่า ค่าสถิตห ิ ลาย ๆ ค่า (Statistics)
3) วิชาการแขนงหนึ่ งทีจั ่ ดเป็ นวิชาวิทยาศาสตร ์ และเป็ นทังวิ ้ ทยาศาส

ตร ์บริสุทธิและวิ ทยาศาสตร ์ประยุกต ์ และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธก ี ารสถิตอิ น
ั ป
ระกอบไปด ้วยขันตอน ้ ้
4ขันตอนที ่ ้ในการศึกษาได ้แก่
ใช 1.
การเก็บรวบรวมข ้อมูล
2. การนาเสนอข ้อมูล
3. การวิเคราะห ์ข ้อมูล
4. การตีความหมายข ้อมูล
ประเภทของข้อมู ล
1. ข ้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข ้อมูลทีเก็ ่ บรวบรวมจากแหล่งทีมาโดยตรง ่ เช่น
การสัมภาษณ์ การวัดการจดข ้อมูลจากการทดลอง ฯลฯ ซึงท ่ าได ้ 2 วิธ ี คือ
1.1 การสามะโน
คือการเก็บรวบรวมข ้อมูลจากทุกๆหน่ วยของประชากรหรือเรืองที ่ เราต่ ้องการศึ
กษา
1.2 การสารวจจากข ้อมูลตัวอย่าง
เป็ นการเก็บข ้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เช่น
การสารวจความพึงพอใจในการท่ างานของร ัฐบาล
การศึกษาพฤติกรรมของเด็กวัยรุน ่ ของไทย ฯลฯ
เราเพียงสุ่มตัวอย่างให ้มากพอในการศึกษาเท่านั้นไม่ได ้ใหค้ นไทยทังประเทศเป็ ้
นคนตอบคาถาม
หมายเหตุ! การเก็บรวบรวมข ้อมูลปฐมภูมิ นิ ยมใช ้แบบสัมภาษณ์
การสอบถาม การทดลอง การสังเกตุจากแหล่งข ้อมูลโดย ตรง
โดยไม่มผ ี ูใ้ ดรวบรวมไว ้ก่อน
2. ข ้อมูลทุตยิ ภูมิ เป็ นข ้อมูล
่ กรวบรวมไว ้เรียบร ้อยแล ้วตามแหล่งข ้อมูลต่างๆ เช่น รายงานการส่งออก
ทีถู
รายงานจานวนนักเรียนของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย
รายงานอุบต ั เิ หตุบนท ้องถนนของปี 2553 เป็ นต ้น
ลักษณะของข้อมู ล
ลักษณะของข ้อมูลแบ่งเป็ น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ
1. ข ้อมูลเชิงปริมาณ ่ ้แทนขนาดหรือปริมาณ
เป็ นข ้อมูลทีใช

ซึงสามารถออกมาเป็ นตัวเลขได ้เลย เช่น จานวนนักเรียนระดับ ปวช.1 - ปวช.
3 มีจานวน 950 คน ปริมาณการผลิตมันสาปะหลังของปี 2549
คะแนนสูงสุดของการสอบวิชาสถิตข ิ องนักศึกษาระดับ ปวส.
2. ข ้อมูลเชิงคุณภาพ
เป็ นข ้อมูลทีไม่ ่ สามารถวัดออกมาเป็ นตัวเลขได ้โดยตรง เช่น เพศ
สถานภาพการสมรส วุฒก ิ ารศึกษา ความคิดเห็น เช่น ชอบมากทีสุ ่ ด
ชอบปานกลาง ไม่ชอบ เป็ นต ้น

คำศ ัพท ์ทีเกี่ ยวข้


่ องก ับ สถิต ิ
1. ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มทีมี ่ ลก ่
ั ษณะทีเราสนใจ

หรือกลุ่มทีเราต ่ ยวข
้องการจะศึกษาหาข ้อมูลทีเกี ่ ้อง
เปรียบเหมือนเอกภพสัมพัทธ ์ในเรืองเซต่
2. กลุ่มตัวอย่าง (sample) หมายถึง ส่วนหนึ่ งของกลุ่มประชากรทีเราสนใจ

่ี ่มประชากรทีจะศึ
ในกรณี ทกลุ ่ กษานั้นเป็ นกลุ่มขนาดใหญ่
เกินความสามารถหรือความจาเป็ นทีต ่ ้องการหรือเพือประหยั
่ ดในด ้านงบประมา
ณและเวลา สามารถศึกษาข ้อมูลเพียงบางส่วนของกลุ่มประชากรได ้
3. ค่าพารามิเตอร ์ หมายถึง ค่าต่างๆทีค ่ านวณมาจากกลุ่มประชากร
จะถือเป็ นค่าคงตัว กล่าวคือ คานวณกีคร ่ งๆก็
้ั จะไม่เปลียนแปลง

4. ค่าสถิต หมายถึง ค่าต่างๆทีค ่ านวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง
่ ยนแปลงได
จะเป็ นค่าทีเปลี ่ ่ อกสุ่มมา
้ตามกลุ่มตัวอย่างทีเลื
จึงถือว่าเป็ นค่าตัวแปรสุ่ม
5. ตัวแปร ในทางสถิติ หมายถึง ลักษณะบางอย่างทีเราสนใจ ่ ค่าของตัวแปร
อาจอยู่ในรูปข ้อความ หรือตัวเลขก็ได ้
่ นไปได ้ หมายถึง ค่าของตัวแปรทีอาจจะเกิ
6. ค่าทีเป็ ่ ้
ดขึนได ้จริง
7. ค่าจากการสังเกต หมายถึง ค่าทีเก็ ่ บรวบรวมได ้มาจริงๆ
ประเภทของสถิต ิ
นักคณิ ตศาสตร ์ได ้แบ่งสถิตใิ นฐานะทีเป็ ่ นศาสตร ์ออกเป็ นสาขาใหญ่
ๆ 2 สาขาด ้วยกัน คือ สถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive
Statistics)และการอนุ มานเชิงสถิตห ิ รือสถิตเิ ชิงอนุ มาน(Inferential
Statistics)ซึงแต่ ่ ละสาขามีรายละเอียดดังนี ้
1. พรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง
การบรรยายลักษณะของข ้อมูล (Data)
่ ว้ จิ ยั เก็บรวบรวมจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างทีสนใจ
ทีผู ่ ่
ซึงอาจจะแสดงในรูป
ค่าเฉลีย ่ มัธยฐาน ฐานนิ ยม ร ้อยละ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ่ ความแปรปรวน
เป็ นต ้น
2. สถิตเิ ชิงอนุ มาน(Inferential Statistics)หมายถึง
สถิตท ิ ว่่ี าด ้วยการวิเคราะห ์ข ้อมูลทีรวบรวมมาจากกลุ
่ ่มตัวอย่าง

เพืออธิ บายสรุปลักษณะบางประการของประชากรโดยมีการนาทฤษฎีความน่ าจ
ะเป็ นมาประยุกต ์ใช ้สถิตส ิ าขานี ้ ได ้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ
การทดสอบสมมุตฐิ านทางสถิติ การวิเคราะห ์การถดถอยและสหสัมพันธ ์
เป็ นต ้น

ประโยชน์ของสถิต
ประโยชน์ของสถิตม ่ อในการช่วยตัดสินใจ
ิ ใิ ช่เพียงแต่ใช ้เป็ นเครืองมื
และกาหนดนโยบายต่างๆให ้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น
่ จารณาอีกด ้านหนึ่ งจะเห็นวา
เมือพิ
่ อทีทรงคุ
สถิตเิ ป็ นเครืองมื ่ ่
ณประโยชน์อย่างยิงในการประเมิ นผลงานโครงการต่า
งๆทีจั ่ ดทาไปแล ้วว่าได ้ผลตามเป้ าหมายทีวางไว ่ ้เพียงไรสมควรทีจะต่ ้องปร ับปรุง
หรือแก ้ไขโครงการนั้น ๆ หรือไม่อย่างไรอีกด ้วย
เนื่ องจากสถิตม ิ ข
ี อบข่ายกว ้างขวาง
ได ้ร ับการนาไปใช ้ประโยชน์แทบทุกแขนงวิชาการ ดังนั้น นักบริหาร
นักวิชาการ หรือแมแ้ ต่สามัญชนทัวไป ่ จึงควรมีความรู ้ทางสถิตต ิ ามสมควร
หรือตามความจาเป็ น กล่าวคือ อย่างน้อยก็สามารถอ่านข ้อมูลจากตาราง
จากแผนภูมิ หรือจากแผนภาพต่าง ๆ ใหเ้ ข ้าใจได ้ถูกต ้อง
ประโยชน์ของสถิตส ิ รุปได ้ คือ
1. ด ้านการวางแผนเพือพั ่ ฒนา เศรษฐกิจของประเทศ
2. ด ้านธุรกิจ
3. ด ้านการเกษตรกรรม
่ อทีส
4. สถิตเิ ป็ นเครืองมื ่ าคัญยิงส
่ าหร ับการวิจยั


ค่ำสถิต ิ ค่ำกลำง และกำรเบียงเบนที
น ่ ำมำประยุกต ์ในกำรทำโครงงำน

่ คิดจากผลรวมของค่าทังหมดหารด
Mean หรือ ค่ำเฉลีย ้ ้วยจานวนข ้อมูล
เช่น

่ (เอ็กซ ์บาร ์) คือ ค่าเฉลียเลขคณิ


เมือ ่ ต

fi คือ ความถีของข ้อมูลในแต่ละอันตรภาคชัน้

xi คือ จุดกึงกลางของอั นตรภาคชัน ้
n คือ ผลรวมของข ้อมูลทังหมด ้
ต ัวอย่ำงเช่น 9, 3, 1, 8, 3, 6
่ = (9 + 3 + 1 + 8 + 3 + 6) / 6 = 5
ค่าเฉลีย

Median หรือ มัธยฐำน คือ ตัวอย่างทีอยู่ ่ตาแหน่ งกลางของชุดข ้อมูล


่ การเรียงข ้อมูลจากน้อยไปมาก เช่น
เมือมี

9, 3, 1, 8, 3, 6

จัดเรียงเป็ น 1, 3, 3, 6, 8, 9 มีมธั ยฐานคือค่าระหว่าง 3 กับ 6 ได ้แก่ 4.5


่ ดมาทีสุ
Mode หรือ ฐำนนิ ยม คือ ตัวเลขทีเกิ ่ ดในชุดจานวน เช่น

9, 3, 1, 8, 3, 6

ฐานนิ ยม คือ 3

Range หรือ พิสย ่ คา่ สูงสุด และ ต่าสุด


ั คือความแตกต่างระหว่างข ้อมูลทีมี
เข่น

9, 3, 1, 8, 3, 6

พิสยั คือ 9–1 =8


กำรแจกแจงควำมถี่ (Frequency distribution
table) จาแนกออกเป็ น 2
ลักษณะ คือ
5.1 ่ จานวนไม่ม
แจกแจงข ้อมูลเป็ นตัว ๆ ไป ใช ้กับข ้อมูลดิบทีมี
ากนัก
5.2 แจกแจงข ้อมูลเป็ นช่วงคะแนน (อันตรภาคชัน) ้ เช่น

คะแนน จานวนนักเรียน
20-29 8
30-39 12
40-49 17
50-59 10
60-69 8
รวม 55

Standard Deviation หรือ ส่วนเบียงเบนมำตรฐำน ่



การวัดการกระจายของข ้อมูลโดยใช ้ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
เป็ นวิธท ่ี กสถิตยิ อมร ับว่าเป็ นวิธท
ี นั ่ี ้การวัดการกระจายข ้อมูลได ้ดีทสุ
ี ใช ่ี ด โดย
การวัดการกระจายวิธน ้ าให ้ค่าการกระจายมีความละเอียดถูกต ้อง และน่ าเ
ี ี จะท
่ อได ้มากทีสุ
ชือถื ่ ด

การหาส่วนเบียงเบนมาตรฐาน(S.D.) ่ี ้อมูลแจกแจงความถี่
ในกรณี ทข
สามารถหาได ้จากสูตร

่ S.D. คือ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน


เมือ ่

(เอ็กซ ์บาร ์) คือ ค่าเฉลียเลขคณิ ต
fi คือ

ความถีของข ้อมูลในแต่ละอันตรภาคชัน้

xi คือ จุดกึงกลางของอั นตรภาคชัน้
n คือ ผลรวมของข ้อมูลทังหมด ้

ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ใช ้บอกความน่ าเชือถื่ อของข ้อมูล
่ SD มีคา่ มากแสดงว่าชุดข ้อมูลมีคา่ แตกต่างกันสูง
เมือ
่ SD มีคา่ น้อย หรือเท่ากับ0 แสดงว่าข ้อมูลมีคา่ แตกต่างกัน น้อย
เมือ
หรือไม่แตกต่างกันเลย

ขันตอนในกำรหำค่
ำ S.D.
กลุ่มข ้อมูล
x1=28 x2=29 x3=30 x4=32 x5=34 x6=36
x7=37 x8=38 x9=38 x10=38

ขันแรก ่ x̅ จากข ้อมูลต่อไปนี ้
หาค่าเฉลีย
จากนั้นนาข ้อมูลทีโจทย
่ ์ให ้มา

ไปเขียนลงในตารางรูปแบบการหาส่วนเบียงเบนมาตรฐานแล ้วกันคร ับ
(xi + x̅)2
Xi xi + x̅
(ข ้อมูลแต่ละ (นาข ้อมูลแต่ละตัวลบออกด ้วย ่
่ (นาข ้อมูลในสดมภ ์ทีสองมายก
ตัว) ค่า เฉลี
ย)
กาลังสอง)

n
รวม ∑i (xi + x̅)2 =142


นาค่าในตารางส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ไปแทนใน

สูตรการหาค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน นี ้

You might also like