You are on page 1of 3

SOCIAL EPISTEMOLOGY

Reductionism and anti-reductionism


ใ น บ ท ที่ 5 ข อ ง ห นั ง สื อ เ รื่ อ ง “A Critical Introduction to
Testimony” Axel Gelfert
ได้พูดถึงจุดยืนทางญาณวิทยาเกีย่ วกับการให้เหตุผลสนับสนุนทางคาบอกเล่า
(testimonial justification) ทีแ ่ ตกต่างกัน 2 แบบ คือ
1. แ น ว คิ ด แ บ บ anti-reductionism
เป็ นแนวคิด ที่เ ชื่อ ว่าคาบอกเล่าเป็ นแหล่งที่ม าพื้ นฐานของความรู ้
และเชือ ่ ว่าคาบอกเล่าสามารถทีจ่ ะเป็ นเหตุผลสนับสนุนความรูไ้ ด้1
2. แ น ว คิ ด แ บ บ reductionism
เป็ นแนวคิดทีเ่ ชือ
่ ว่าคาบอกเล่าไม่สามารถเป็ นเหตุผลสนับสนุนควา
มรูไ้ ด้ แต่การจะบอกว่าความเชือ ่ ทีม
่ าจากคาบอกเล่า (testimony-
based belief) นั้ น เ ป็ น ค ว า ม รู ้ ห รื อ ไ ม่
เราจ าเป็ นจะต้ อ งอาศัย เหตุ ผ ลสนับ สนุ นจากแหล่ ง อื่ น (เช่ น
ผ่านการรับรู ้ ผ่านการใช้เหตุผล ฯลฯ)2
ป ร ะ เ ด็ น ดั ง ก ล่ า ว เ ป็ น ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด กั บ ค า บ อ ก เ ล่ า
เนื่ อ งจากค าบอกเล่ า มี ล กั ษณะที่แ ตกต่า งจากแหล่ ง ที่ม าของความรู ้อื่น ๆ
ค ว า ม เ ชื่ อ จ า ก แ ห ล่ ง ค ว า ม รู ้ อื่ น ๆ
สามารถได้รบ ั เหตุผ ลสนับ สนุ นได้จากตัวเราโดยตรง (เช่น การเห็ นว่า P)
แต่ความเชื่อทีเ่ ราได้รบ ั จากคาบอกเล่า กลับเป็ นสิ่งทีเ่ ราไม่ได้ได้มาโดยตรง
ในแง่นี้ ข้อ ถกเถี ย งเรื่อ งเหตุผ ลสนับ สนุ น ทางค าบอกเล่า จึง มี ค วามส าคัญ
และมีความแตกต่างจากเหตุผลสนับสนุนจากแหล่งอืน ่
แ น ว คิ ด แ บ บ anti-reductionism
จะเชื่ อ ว่ า ค าบอกเล่ า สามารถเป็ นเหตุ ผ ลสนับ สนุ น ความรู ้ ไ ด้ Gelfert
ได้ ย ก ตัว อย่ า งหลัก ก ารย อมรับ ของ Burge โดย Burge ได้ เ สนอว่ า
1
“‘Anti-reductionism’, although ostensibly defined in opposition to reductionism, may in fact be understood
as the more basic epistemological position, in that it treats testimony as on a par with perception and
memory. Testimony, thus understood, is one among a number of fundamental sources of knowledge, and it
is not surprising that anti-reductionism is therefore sometimes also referred to as ‘fundamentalism’” pp.99
2
“Reductionists hold that the mere fact that a belief is based on the say-so of others does not, in and of
itself, confer epistemic justification: whatever justification a testimony-based belief has must ultimately be
due to more basic epistemic sources such as perception, memory and reasoning.” Pp.102
SOCIAL EPISTEMOLOGY

“ผู้ ฟั ง มี สิ ท ธิ ที่ จ ะรับ ค าบอกเล่ า นั้น ๆ ว่ า เป็ นจริ ง ถ้ า หากค าบอกเล่ า ๆ


นั้ น ถู ก น า เ ส น อ ว่ า เ ป็ น จ ริ ง แ ล ะ เ ป็ น ค า บ อ ก เ ล่ า ที่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ ไ ด้
(intelligible) จนกว่าผูฟ ้ งั จะมีเหตุผลทีด ่ ก
ี ว่าทีจ่ ะไม่รบ ั คาบอกเล่านัน ้ ”
ห ลั ก ก า ร ดั ง ก ล่ า ว จ ะ ส นั บ ส นุ น presumptive right
ที่ ม องว่ า เราสามารถรับ ค าบอกเล่ า ว่ า เป็ นจริ ง และมี เ หตุ ผ ลสนับ สนุ น ได้
หากเราไม่มีเหตุผลอะไรโต้แย้ง
ส า ห รั บ จุ ด ยื น แ บ บ reductionism จ ะ เ ชื่ อ ว่ า
เราจาเป็ นจะต้อ งพิจารณาจากปัจจัย อื่นๆ นอกเหนื อ จากคาบอกเล่านั้นเอง
ความเชือ ่ ทีม
่ าจากคาบอกเล่าจึงจะมีเหตุผลสนับสนุนได้ โดยปัจจัยอืน ่ ๆ ก็ เช่น
ไ ด้ รั บ ก า ร ยี น ยั น จ า ก ก า ร รั บ รู ้ ค ว า ม ท ร ง จ า ก า ร ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล
ห รื อ ห า ก เ ร า ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม เ ชื่ อ ไ ด้ ด้ ว ย ตั ว เ ร า เ อ ง
เราก็ ต้อ งอาศัย หลัก ฐานบางอย่า งเพื่อ ประเมิน ความน่ า เชื่อ ของผู้พู ด หรื อ
ความน่ าเชือ ่ ของคาบอกเล่านัน ้ ๆ
ส าหรับ การถกเถี ย งเรื่อ งเหตุ ผ ลสนับ สนุ น ทางค าบอกเล่ า Gelfert
ได้แ บ่ง การถกเถี ย งออกเป็ น 2 ระดับ คือ ในระดับ global justification
ซึ่งจะถกเถียงเกีย่ วกับคาบอกเล่าทัง้ หมด ในขณะทีก ่ ารถกเถียงระดับ local
justification จะเป็ นการถกเถียงเกีย่ วกับคาบอกเล่าเป็ นกรณีๆ
Gelfert ไ ด้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง แ น ว คิ ด แ บ บ global reductionism
ซึ่ ง ปฏิ เ สธว่ า ค าบอกเล่ า ไม่ ส ามารถเป็ นเหตุ ผ ลสนับ สนุ นความเชื่ อ ได้
แ น ว คิ ด ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ ชื่ อ ว่ า ก า ร ใ ช้ ค า บ อ ก เ ล่ า ใ น ที่ นี้
แท้จริงแล้วเป็ นเพียงการอนุมานหรือใช้หลักฐานจากอดีตทีเ่ รามี
อย่ า งไรก็ ต าม Coady (1992) ได้ โ ต้ แ ย้ ง ว่ า ค าบอกเล่ า หนึ่ ง ๆ
โ ด ย ตั ว ข อ ง มั น เ อ ง ไ ม่ ไ ด้ มี ก า ร ก า ห น ด ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ป ร ะ โ ย ค
การทีค่ าบอกเล่าไม่ได้กาหนดประเภทของประโยคทาให้เราสามารถทีจ่ ะอ้าง
ข้ อ มู ล ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ส า ห รั บ น า ม า ยื น ยั น ค า บ อ ก เ ล่ า ไ ด้
แต่จะเห็นว่าเราไม่สามารถลดทอนคาบอกเล่านั้นไปสูข ้ มูลใดข้อมูลหนึ่ งได้
่ อ
ในแง่นี้ แนวคิดแบบ global reductionism จึงเป็ นเท็จ
SOCIAL EPISTEMOLOGY

Coady ไ ด้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ป ร ะ โ ย ค ว่ า “ There is a sick lion in


Taronga Park Zoo” ส า ห รั บ ป ร ะ โ ย ค ดั ง ก ล่ า ว Coady
อ้างว่าเราไม่สามารถกาหนดประเภทได้วา่ เป็ นประโยครายงานทางการแพท
ย์ เ ป็ น ร า ย ง า น ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ร า ย ง า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ กั น แ น่
การที่คาบอกเล่า นั้น ไม่ส ามารถก าหนดประเภทได้ (underdetermined)
ส่งผลให้การอนุมานยืนยันคาบอกเล่าดังกล่าวมีลกั ษณะที่ arbitrary
จากการอ้ า งเหตุ ผ ล และตัว อย่ า งดัง กล่ า ว แนวคิ ด แบบ global
reductionism จึ ง เ ป็ น เ ท็ จ
เพราะคาบอกเล่าโดยทั่วไปไม่สามารถลดทอนไปสูห ่ ลักฐานอืน
่ ได้
อย่างไรก็ตาม แนวคิดแบบ local reductionism ก็อาจจะยังเป็ นจริง
เ พ ร า ะ แ น ว คิ ด ดั ง ก ล่ า ว เ ชื่ อ ว่ า
มีคาบอกเล่าในบางกรณีทเี่ ราสามารถลดทอนไปอาศัยเหตุผลสนับสนุนความเ
ชื่ อ อื่ น ๆ ไ ด้ Gelfert ไ ด้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง แ น ว คิ ด ข อ ง Fricker ที่ เ ชื่ อ ว่ า
“แม้วา่ โดยทั่วไปเราจะยอมรับคาบอกเล่าบางอย่างแม้วา่ จะไม่สามารถตรวจส
อ บ ไ ด้ แ ต่ ส า ห รั บ ผู้ รั บ ส า ร ที่ เ ป็ น ผู้ ใ ห ญ่
ผูร้ บ
ั สารดังกล่าวควรจะเชือ ่ คาบอกเล่าเฉพาะในกรณี ทีม ่ ีหลักฐานสนับสนุ นว่
า ผู้ พู ด น่ า เ ชื่ อ เ ท่ า นั้ น ” อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม Gelfert ม อ ง ว่ า
เราอาจจะไม่สามารถหาเส้นแบ่งทีช ่ ดั เจนระหว่างการรับคาบอกเล่าในตอนเด็
ก กั บ ก า ร รั บ ค า บ อ ก เ ล่ า ใ น ต อ น เ ป็ น ผู้ ใ ห ญ่ ไ ด้
ข้อโต้แย้งดังกล่าวส่งผลให้แนวคิดแบบ local reductionism มีปญ ั หา
ใ น ส่ ว น สุ ด ท้ า ย ข อ ง บ ท ค ว า ม Gelfert
ได้ชี้ให้เห็นเรือ ่ งทีเ่ ข้าใจผิดเกีย่ วกับความเข้าใจเรือ ่ งคาบอกเล่าในมุมมองขอ
ง David Hume โดย Hume มักจะถูกอ้างเพือ ่ นาไปสนับสนุ นแนวคิดแบบ
reductionism อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม Gelfert ไ ด้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า Hume
ไ ด้ มี ก า ร อ้ า ง ถึ ง ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ มี แ น ว โ น้ ม จ ะ ไ ม่ โ ก ห ก
แ ล ะ จ า ก แ น ว โ น้ ม ดั ง ก ล่ า ว
เราจึงสามารถที่จะได้รบ ั เหตุผ ลสนับ สนุ นความเชื่อ จากคาบอกเล่าในแบบ
anti-reductionism ได้

You might also like