You are on page 1of 190

ผลการใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน

สําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2

ภาสันต เพชรสุภา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการการเรียนรู
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
พ.ศ. 2552
ผลการใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
สําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2

ภาสันต เพชรสุภา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการการเรียนรู
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
พ.ศ. 2552
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
บทคัดยอ

หัวขอวิทยานิพนธ ผลการใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
สําหรับนักเรียนระดับชวงชัน้ ที่ 2
ผูวิจัย ภาสันต เพชรสุภา
ระดับการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการเรียนรู
พ.ศ. 2552
อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ผูชวยศาสตราจารย ดร.ทิวัตถ มณีโชติ
อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม รองศาสตราจารยดวงเดือน เทศวานิช

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิภาพชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
เพื่อเปรีย บเที ย บความรูเ รื่ อ งดนตรี ส ากลเบื้ องตน ของนั ก เรี ย นระดั บ ชว งชั้น ที่ 2 กอ นและ
หลังการเรียนรูดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน และศึกษาทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร ของ
นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 หลังเรียนดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน กลุมตัวอยางที่ใชใน
การวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนโชคชัย เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวนนักเรียน 33 คน ไดมาโดยการสมัครใจ เครื่องมือที่ใชใน
การวิจัยครั้งนี้ คือ ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน จํานวน 8 ชุด เครื่องมือรวบรวมขอมูลไดแก
แบบทดสอบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตน แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร วิเคราะหขอมูล
ดวย รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที
ผลการวิจัยพบวา
1. ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑที่ตั้งไว คือ 80/80
2. นักเรียนที่เรียนผานชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีความรูเรื่องดนตรีสากล
เบื้องตนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. นักเรียนที่เรียนผานชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
เปนไปตามเกณฑ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Abstract

The Title The Effect of Music Fundamention Instructional Packages


Development for Level 2 Students
The Author Pasan Phetsupa
Program Master of Education; M.Ed. Field in Management
Acquisition of Knowledge
Year 2009
Principal Thesis Advisor Assist. Professor Dr.Tiwat Maneechote
Associate Thesis Advisor Assoc. Professor Duangdueen Teswanich

This purposes of this research were to study efficiency of music fundamention


Instructional Packages to compare music knowledge achievement between the before learning
and after learning by using Instructional Packages, and to studied Recorder skill after learning by
using Instructional Packages for Level 2 students. Sample of this research were 33 students in
Level 2 in 1st semester of academic year 2008 of Chokchai School Ladprao Bangkok. The tools
of researching are knowledge test and performance test in Playing Recorder. The statistics used in
analyzing were percentile, mean average, standard deviation and t-test dependent.
The research results were as follow :
1. The music fundamention Instructional Packages has efficiency as criteria 80/80
2. The student music knowledge achievement after learning by using Instructional
Packages higher than before significance of .01
3. The student Recorder skill higher than criteria after learning by using Instructional
Packages significance of .01
กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิ พนธ ฉบับนี้ สํา เร็จ ลุลวงไดด วยดี เพราะผูวิจั ย ไดรับความกรุ ณาอยางสูงจาก
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ทิวัตถ มณีโชติ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ที่สละเวลาอันมีคาให
คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า ตรวจแก ไ ขงานวิ จั ย ตลอดจนติด ตามด ว ยความเอาใจใส เ ป น อย า งยิ่ ง ผู วิ จั ย
ขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้เปนอยางสูง
ขอกราบขอบพระคุ ณ รองศาสตราจารยดวงเดือน เทศวานิช อาจารยที่ ปรึ ก ษา
วิทยานิพนธรวม ที่ไดกรุณาตรวจงานวิจัย ใหคําปรึกษาและแนะนําแนวทางการทํางานวิจัยอันเปน
ประโยชนอยางยิ่งจึงทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น
ขอกราบขอบพระคุ ณ ผู อํา นวยการ รองผูอํ า นวยการ และคณะครู โ รงเรีย นโชคชั ย
ที่ใหคําแนะนําและเปนกําลังใจ รวมทั้งนักเรียนทุกคนที่ไดใหความรวมมือในการเก็บรวบรวม
ขอมูลเปนอยางดี
ขอกราบขอบพระคุณ ผูทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ทาน คือ อาจารยภาสินี โสภา รองผูอํานวยการ
โรงเรียนโชคชัย อาจารยพจณี ปางเภา อาจารยประจําวิชาดนตรีโรงเรียนโชคชัย อาจารยธีรยุทธ
กลิ่ นหอม อาจารย ประจํ าวิ ชาดนตรี สากลโรงเรี ยนดนตรี มี ฟ า ที่ ได กรุ ณาตรวจ เครื่ องมื อที่ ใ ช
ในการทดลอง ตลอดจนใหความชวยเหลือแนะนํา ใหขอคิดเห็นและแกไขขอบกพรองตาง ๆ ใน
การสรางเครื่องมือเพื่อใชในการศึกษาครั้งนี้
ขอขอบคุณเพื่อนรวมรุน สาขาการจัดการการเรียนรู รุนที่ 2 เพื่อนรวมงานทุกทาน
พี่ ๆ นอง ๆ ที่เปนกําลังใจและใหความชวยเหลือตลอดมาจนงานวิจัยสําเร็จลุลวงดวยดี
คุณ คา และประโยชน อัน ใดที่เ กิด จากวิท ยานิพ นธฉบั บนี้ ผูวิจัยขอบู ช าพระคุณ บิ ด า
มารดา และ นายเริ่ม เพชรสุภา ที่ไดใหการดูแลและสนับสนุนการศึกษา จนผูวิจัยประสบความสําเร็จ
ในการศึกษาและหนาที่การงาน และขอบูชาแดครู อาจารย ทุกทานที่ไดใหความรูแกผูวิจัย

ภาสันต เพชรสุภา
สารบัญ

หนา
บทคัดยอภาษาไทย…….…………………………………………………………………… ค
บทคัดยอภาษาอังกฤษ……………………………………………………………………… ง
กิตติกรรมประกาศ…….…………………………………………………………………… จ
สารบัญ…………...………………………………………………………………………… ฉ
สารบัญตาราง………….…………………………………………………………………… ฌ
สารบัญภาพ………………………………………………………………………………… ญ

บทที่
1 บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย..……..……………………………… 1
วัตถุประสงคของการวิจัย…………………………………………….………… 5
ประโยชนของการวิจัย………..………………………………..…..………..…. 5
ขอบเขตของการวิจัย…………………………………………….….………….. 6
ตัวแปรที่ใชในการวิจัย…………………………………………….….……….. 6
นิยามศัพทเฉพาะ…………………………………………………….………… 6
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ชุดการสอน………….……………………......………….…………………….. 9
ความหมายของชุดการสอน…..………......………………………….……... 9
ประเภทของชุดการสอน…..………...………………………….…………... 10
องคประกอบของชุดการสอน…..…………………………........…………... 13
คุณคาของชุดการสอน…..………......………….…………………………... 17
แนวคิดที่นาํ ไปสูการผลิตชุดการสอน…..………......………….…………… 19
ทฤษฎีที่เกีย่ วกับการสรางชุดการสอน…..………......………….…………... 22
ขั้นตอนในการสรางชุดการสอน…..………......………….………………… 23
การจัดการเรียนรูกลุมสาระศิลปะ (ดนตรี)..……………………………………. 26
หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ (ดนตรี)..………... 26
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน…..………......………….…………………………… 28
ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องตน…..………......………….……………………… 31

บทที่ หนา
ทฤษฎีการเรียนรูกับการสอนดนตรี…..………......……………………….... 32
แนวการจัดกิจกรรมดนตรี…..………......……………………………...…... 33
การวัดและประเมินผลการเรียนรูดนตรี…..………......………….…………. 37
ทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี………………………………………………………. 39
ความสําคัญของทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี…..………......………….………. 39
องคประกอบของการเรียนการสอนทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี..………... 39
การเตรียมตัวสูภาคปฏิบตั ิ…..………......………….……………………….. 41
การฝกซอมทักษะประจําวัน…..………......………….…………………….. 42
วิธีการฝกทักษะปฏิบัติเครือ่ งดนตรี…..………......………….……………... 43
งานวิจยั ที่เกีย่ วของ...……….…..………………………………………………. 46
กรอบแนวคิดในการวิจัย.…………………..………………….……..……….... 48
สมมติฐานการวิจัย..………………………………………………….………… 48
3 วิธีดําเนินการวิจัย
แบบของการวิจัย.................................................……………............................. 49
ประชากรและกลุมตัวอยาง….....................…….................................................. 49
เครื่องมือที่ใชในการวิจยั ………………...……………………………………... 50
การเก็บรวบรวมขอมูล…………...……………………………...……………... 57
การวิเคราะหขอมูล...………………..…………………….………….………... 57
4 ผลการวิเคราะหขอมูล
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน.…….. 63
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความรูดนตรีสากลเบื้องตน….……………………. 64
ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติขลุยรีคอรเดอรกับเกณฑ..…………... 64
5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย.................................................................................................... 66
อภิปรายผลการวิจัย........................................…………………………….……. 67
ขอเสนอแนะ………............................................................................................ 68
บรรณานุกรม............................................................................................................. 69

บทที่ หนา
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใชในการวิจยั ..……………………………….………. 74
ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห.……..…………………………………………….. 162
ภาคผนวก ค แบบประเมินชุดการสอนดนตรีเบื้องตน………………...……….. 175
ภาคผนวก ง หนังสือขอความอนุเคราะห.……………………………………….. 179
ประวัติผูวิจัย.............................................................................................................. 185

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
3.1 แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร..………………………………………..... 54
4.1 ประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน..…………………………... 63
4.2 ผลการเปรียบเทียบความรูดนตรีสากลเบื้องตนระหวางกอนเรียนและหลัง 64
เรียน…..
4.3 ทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร……………………………………………………. 65

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา
2.1 แนวการจัดกิจกรรมตามประสบการณดนตรี.………….…..…………………... 37
2.2 กรอบแนวคิดในการวิจยั ……………….………………………………………. 48
3.1 ขั้นตอนการสรางชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน……….……………………. 51
3.2 ขั้นตอนการสรางแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตน….………………………. 53
3.3 ขั้นตอนการสรางแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร..………………………. 56
บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย

ดนตรี เ ปน ศิ ล ปะแขนงหนึ่ งที่มี คุณ ค าอย า งมากทางการศึ ก ษา การจั ด ประสบการณ


กิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีไดเหมาะสมกับความถนัดตามความแตกตางของเด็กแตละบุคคล
ยอมชวยสงเสริมใหเด็กเจริญงอกงามทั้งรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา ไดอยางแทจริง
ดนตรีเปนวิชาที่ทําใหผเู รียนไดรับการพัฒนารางกายทุกๆดานของการเติบโตไมวา ความจํา สังคม
ค านิย ม การคิ ด หาเหตุ ผล การสรางสรรค การพั ฒ นากลา มเนื้ อ การแกป ญ หาเฉพาะหน า และ
การพัฒนาตนเองใหเขากับกลุม หรือสภาพแวดลอมของสังคมตาง ๆ ดนตรีนับวาเปนวิชาเดียว
เท า นั้ น ที่ ทํ า ให เ ด็ ก ได ส นุ ก สนานร า เริ ง อย า งเต็ ม ที่ ใ นการแสดงออกทางร า งกายและความคิ ด
ตลอดจนการพัฒนาทางจิตใจ และนอกจากนั้นวิชาดนตรีสามารถนําไปสัมพันธกับวิชาอื่น ๆ ได
ทุกวิชา และทุกกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้นดวย
ดนตรีเปนทั้งศาสตรและศิลปในตัวเอง ในฐานะความเปนศาสตร ดนตรีเปนเรื่องของ
ความรูไมวาจะเปนเรื่องของทฤษฎี ประวัติการดนตรี การปฏิบัติเครื่องดนตรี ตางก็เปนเหตุเปนผล
และเปนความเขาใจ สวนความเปนศิลปดนตรีเปนเรื่องของความรูสึก สุนทรีย หรือความงามยอม
อยูเหนือความหมาย ความซาบซึ้งในความงามอะไรสักอยางหนึ่ง รูวาสวย รูวางาม รูวาไพเราะ
ไมสามารถบรรยายออกมาเปนภาษาเขียนได ถึงบรรยายไดก็ไมถึงซึ่งความสวยงาม ความไพเราะที่
เราซาบซึ้งและความซาบซึ้งในความสวยงาม หรือความไพเราะ ไมสามารถวัดเปนปริมาณในทาง
ศาสตรได (ธนาคาร แพทยวงษ. 2541 : 9)
การใหการศึกษาดานดนตรีนั้นเปนองคประกอบที่สําคัญอีก ดานหนึ่ งในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย พัฒนาประเทศชาติ และพัฒนาสังคมโลก กลาวคือ ดนตรีเปนศาสตรและศิลป
แขนงหนึ่งที่มีความเกี่ยวพันตอมวลมนุษยชาติ ความสําคัญของดนตรีทําใหผูรับรูไดสัมผัสกับ
โสตศิ ลป อั น นํ า ไปสู ค วามรู สึ ก ภายในจิ ต ใจ ทํ า ให เ กิ ด ความอิ่ ม เอิ บ ชื่ น ชม และเห็ น คุณ ค า ใน
ความงามของดนตรี ซึ่งความรูสึกดังกลาวไมไดรับรูหรือสัมผัสไดทุกคน หากแตตองเรียนรูและ
สรา งความเขา ใจ การได รับรู แ ละเกิด ความรู สึก ย อมสงผลต อการพัฒ นาความเป น มนุษ ยใ ห มี
ความสมบูรณยิ่งขึ้น (ณรุทธ สุทธจิตต. 2536 : 38)
ปจจุบันนักการศึกษาไดมองเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรี
มากขึ้นจึงบรรจุวิชาดนตรีเขาไวในหลักสูตรทุกระดับการศึกษา โดยมีนักการศึกษาไดกลาวถึง
ความสําคัญของดนตรีที่มีสวนเกี่ยวของกับการศึกษาไววา ดนตรีสามารถพัฒนาบุคคลไดทั้งทาง
ร า งกาย สติ ป ญ ญา อารมณ สั ง คม เจตคติ แ ละบุ ค ลิ ก ภาพ ดนตรี ช ว ยให บุ ค คลมี พ ฤติ ก รรม
ที่ พึ ง ประสงค จึ ง ได มี ก ารปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รใหม ห ลายครั้ ง ดนตรี เ ข า มามี บ ทบาทสํ า คั ญ ใน
การสรางเสริมลักษณะที่สังคมตองการ เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุข ดนตรีเปน
พื้นฐานสําคัญในการศึกษาตอในระดับสูงและสามารถยึดเปนอาชีพไดทั้งในสังคมเมืองและสังคม
ชนบท
รัฐบาลไดมุงมั่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และขยายการศึกษาใหทั่วถึงคนทุกกลุม
ใหเปนไปตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 6 ที่กลาวถึงการจัดการศึกษา
ว า ต อ งเป น ไปเพื่ อ พั ฒ นาคนไทยให เ ป น มนุ ษ ย ที่ ส มบู ร ณ ทั้ ง ร า งกาย จิ ต ใจ สติ ป ญ ญา ความรู
และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
และมาตรา 22 ไดกลาวถึงแนวทางจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู
และพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมให
ผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ กระทรวงศึกษาธิการ จึงกําหนดใหมีหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ขึ้น โดยไดแบงเนื้อหาสาระออกเปน 8 วิชา ประกอบดวย
ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ การออกแบบและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 5)
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เปนกลุมสาระการเรียนรูที่เนนใหนักเรียนมีความคิดริเริ่ม
สรางสรรค มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณคาซึ่งมีผลตอคุณภาพ
ชีวิตมนุษย สงเสริมใหนักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถคนพบศักยภาพของตนเอง อันเปน
พื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพ สาระการเรียนรูศิลปะแบงออกเปน 3 สาระ คือ ดนตรี
ทัศนศิลป และนาฏศิลป โดยในสวนของสาระดนตรีแบงออกเปน 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ศ 2.1 :
เขาใจ และแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาถายทอดความรูสึก
ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ 2.2: เขาใจ
ความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีที่เปนมรดกทาง
วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 18)
จากการที่ไดศึกษาสาระและมาตรฐานการเรียนรูในกลุมสาระศิลปะแลว พบวานักเรียน
ระดับชวงชั้นที่ 2 เปนวัยที่ควรจะสงเสริมการเรียนการสอนวิชาดนตรีอยางจริงจัง เพราะเด็กในวัยนี้
เปนวัยที่สามารถคิดสิ่งตางๆไดอยางมีเหตุมีผล พื้นฐานทางความคิดจะติดตัวไปจนเปนผูใหญ
พั ฒนาการด า นดนตรี ของเด็ ก ในวั ย นี้ เ ริ่มมีความลึก ซึ้งทั้ ง ในดา นแนวคิ ด และทั ก ษะดา นดนตรี
เด็กสามารถแสดงความรูสึกตามบทเพลงไดมากขึ้น การเนนลีลาของเพลงไมวาจะเปนการรองหรือ
เลนเครื่องดนตรีเปนแนวคิดและทักษะที่เด็กสามารถเขาใจและปฏิบัติได ดังนั้นการใหการศึกษา
ดานดนตรีแกเด็กระดับชวงชั้นที่ 2 จึงถือวาเปนสิ่งที่สําคัญเปนอยางยิ่งทั้งครูผูสอนและโรงเรียน
ถือวามีบทบาทสําคัญตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาดนตรีเพราะผูเรียนจําเปนตอง
ไดรับการวางพื้นฐานทางดานดนตรีอยางถูกตองและถูกวิธีไมวาจะเปนเรื่องของโนตสากลเบื้องตน
และทั กษะการปฏิ บัติเครื่องดนตรี ผูสอนจําเปน ตองมีความรู ทางดานดนตรีมากพอที่ จะนํ า ไป
ถายทอดใหผูเรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม ชัดเจน หากผูสอนไมมีความรู
ทางด า นดนตรี ร วมถึ งด า นการจั ด กระบวนการเรี ย นการสอนก็ จ ะทํ าใหก ารเรี ย นการสอนขาด
ประสิทธิภาพและความสมบูรณ สงผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน แตถาผูสอนมี
การจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ผูเรียนไดรับการถายทอดความรู
และไดรับการฝกฝนอยางถูกวิธีและตอเนื่องก็สามารถที่จะพัฒนาเปนนักดนตรีที่ดีได และอาจจะนํา
ความรูในดานดนตรีที่มีไปใชในการประกอบอาชีพ สามารถดํารงชีวิตในเสนทางของดนตรีไดอยาง
สงางาม (ชูวิทย ยุระยง. 2535 : 19)
จากการศึกษาบทความและงานวิจัยตางๆที่เกี่ ยวของกับการศึกษาดนตรีไดกลาวถึง
สภาพและปญหาในการเรียนการสอนดนตรีวา ครูผูสอนวิชาดนตรีจํานวนหนึ่งไมมีความรูดาน
ดนตรีแตเมื่อไมมีครูสอนดนตรี ผูบริหารก็ตองรับผิดชอบใหครูที่มีความสามารถดานดนตรีเพียง
เล็กนอยมาสอน หรือจางครูดนตรีพิเศษ ครูดนตรีจึงทําหนาที่เปนเพียงพี่เลี้ยงของเด็กเทานั้น (ณรุทธ
สุทธจิตต. 2532 : 6) จากงานวิจัยของขวัญใจ ฮีลีย (2533 : 136) ไดกลาววา ในปจจุบันหลักสูตร
ดนตรีที่มีการเรียนการสอนอยางแพรหลาย แตพื้นฐานดนตรีมาตรฐานในระดับประเทศยังไมสูง
มากนัก โดยสภาพสวนรวมซึ่งมีผลตอแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีเปนอยางมาก
นอกจากนี้ สุนันท สุขเจริญ (2529 : 2) ไดกลาววา ไดพบปญหาหลายประการที่เปนอุปสรรคทําให
การเรียนการสอนวิชาดนตรีไมสามารถดําเนินไปตามที่กําหนดไวในหลักสูตร เชน ครูสอนดนตรี
ไมมีความรูในการอานและเขียนโนตสากล แผนการสอนและสื่อการเรียนบกพรอง ตลอดจนเวลา
และสถานที่ในการเรียนการสอนดนตรีขาดความเหมาะสม
นักการศึกษาและนักวิจัยไดใหความสนใจตอปญหาตางๆที่มีผลตอการศึกษาดนตรี
จากเอกสาร ตํ า รา บทความและงานวิ จัย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การเรี ย นการสอนดนตรี ซึ่ ง ผู วิจั ย ได มี
ความตระหนักถึงความสําคัญของวิชาดนตรี โดยเฉพาะในเรื่องของดนตรีสากลเบื้องตน จึงมุงหวัง
ที่จะเสริมสรางใหการเรียนการสอนดนตรีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สาเหตุในการเลือกทําการวิจัย
ในวิชาดนตรีก็เพราะวา การเรียนการสอนในวิชาดนตรีนั้น จําเปนที่จะตองมีการฝกซอมและฝกฝน
อยูตลอดเวลาเมื่อเกิดปญหาดานครูผูสอนจึงทําใหกระบวนการเรียนการสอนขาดประสิทธิภาพไม
เป น ไปอยา งต อ เนื่ อ ง ผู วิ จั ย ได เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของป ญ หาบุ ค ลากรในการสอนวิ ช าดนตรี ที่ มี
ไมเพียงพอ จึงนําเสนอแนวทางการจัดกระบวนการเรียนการสอนรายวิชาดนตรีสําหรับนักเรียน
ระดับชวงชั้นที่ 2 ซึ่งเปนลักษณะการเรียนการสอนที่เนนทักษะการปฏิบัติควบคูไปกับการเรียน
เนื้ อ หาสาระทางทฤษฎี ด นตรี ส ากลตามหลั ก การและวิ ธี ก ารเรี ย นการสอนดนตรี แ บบต า ง ๆ
ที่จะชวยใหผูเรียนสามารถคิด วิเคราะห และทํากิจกรรมเพื่อการเรียนรูดวยตนเองได สื่อการสอน
หรือกิจกรรมการเรียนการสอนที่ตอบสนองการเรียนรูดนตรีไดดวยตนเอง คือ ชุดการสอน เพราะ
ชุดการสอนเปนสื่อประสมที่ไดจากระบบการผลิตและการนําสื่อการสอนที่สอดคลองกับรายวิชา
และวั ตถุประสงค เพื่อช ว ยใหเ กิ ดการเปลี่ย นแปลงพฤติ กรรมอยางมีป ระสิทธิภ าพ นอกจากนี้
ชุดการสอนยังมีคุณคาในดานที่จะชวยใหผูเรียนและผูสอนมีความมั่นใจในการดําเนินการเรียน
การสอน เพราะลดเวลาในการเตรียมตัวลวงหนา ชวยแกปญหาการขาดแคลนครู เปดโอกาสให
ผูเรียนไดศึกษาดวยตนเองและมีสวนรวมในกิจกรรมอยางแทจริงรวมทั้งชุดการสอนมีสิ่งอํานวย
ความสะดวกในการเรียนรูที่บูรณาการอยางดี จึงทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
โดยชุ ด การสอนที่ ผู วิ จั ย เลื อ กใช เ ป น ชุ ด การสอนประเภทประกอบคํ า บรรยายของครู เพราะ
ชุดการสอนประเภทนี้จะใชสอนผูเรียนเปนกลุมใหญหรือเปนการสอนที่ตองการปูพื้นฐานใหผูเรียน
สวนใหญรูและมีความเขาใจในเวลาเดียวกัน ในดานของความแตกตางของการจัดการเรียนการสอน
โดยนําชุดการสอนมาใชกับการจัดการเรียนการสอนแบบปกตินั้นสามารถสรุปไดดังนี้ การสอนแต
เดิมนั้นจากที่ยึดครูเปนหลัก ก็เปลี่ยนมาเปนการจัดประสบการณใหผูเรียนเรียนเอง โดยการใช
แหลงความรูจากสื่อหรือวิธีการตางๆ การเรียนในลักษณะนี้ผูเรียนจะเรียนจากครูเพียง 1 ใน 4 สวน
สวนที่เหลือผูเรียนจะเรียนจากสื่อดวยตนเอง รวมทั้งปฏิกิริยาสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน
ผูเรียนกับผูเรียนและผูเรียนกับสภาพสิ่งแวดลอม ก็จะเปลี่ยนไป โดยจะมีการเกิดปฏิกิริยาสัมพันธ
กันมากขึ้นกวาการเรียนการสอนแบบปกติ
ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะนําชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครูมาใชใน
การเรียนการสอนวิชาดนตรีของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
ผูเรียน และคาดหวังวาชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนนี้จะสามารถนําไปใชในการเรียนการสอน
ดนตรีและเปนการพัฒนาดนตรีใหมีความกาวหนาอยางมีประสิทธิภาพตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับ
ชวงชั้นที่ 2
2. เพื่อเปรียบเทียบความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2
กอนและหลังการเรียนรูดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร ของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2
หลังเรียนดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน

ประโยชนของการวิจัย

1. ไดชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ใชเปนแนวทาง
ในการเรียนการสอนในเรื่องอื่นๆ ของวิชาดนตรีได
2. นักเรียนเกิดการพัฒนาความรูทั้งดานดนตรีสากลเบื้องตน และทักษะการเปาขลุย
รีคอรเดอร ไปในเวลาเดียวกัน
3. ผลการศึกษาใชเปนขอมูลสําหรับอาจารยผูสอนวิชาดนตรีสําหรับระดับชวงชั้นที่ 2
ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
4. เปนประโยชนในการศึกษาคนควา ซึ่งผลของการศึกษาสามารถใชเปนขอมูลสําหรับ
อาจารยผูสอนวิชาดนตรี หรือผูที่สนใจไดทําการศึกษาคนควาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาดนตรี
ในเรื่องอื่น ๆ ตอไป
ขอบเขตของการวิจัย

เพื่อใหงานวิจัยเปนไปตามวัตถุประสงค ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิจัยไวดังนี้
1. ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัย คือ นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนโชคชัย
เขตลาดพราว ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 469 คน
2. เนื้อหาที่ใชในการเรียนการสอนเกี่ยวกับดนตรีสากลเบื้องตนประกอบดวยเรื่อง
ตัวโนต ตัวหยุด บรรทัด 5 เสน เครื่องหมายเพิ่มอัตราตัวโนต กุญแจประจําหลัก และเครื่องหมาย
กําหนดจังหวะ รวมทั้งการเปาขลุยรีคอรเดอร
3. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย คือ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 รวมระยะเวลา
8 สัปดาห 10 ชั่วโมง

ตัวแปรที่ใชในการวิจัย

1. ตัวแปรอิสระ คือ การจัดการเรียนรูโดยใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน


2. ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน ความรูเรื่องดนตรี
สากลเบื้องตน และทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร

นิยามศัพทเฉพาะ

ชุดการสอน หมายถึง กระบวนการสรางสื่อที่ผูวิจัยสรางขึ้นโดยกําหนดใหในแตละชุดมี


สื่อตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมาปรับใชในการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน หมายถึง สื่อที่ใชในการจัดการเรียนรูเรื่องดนตรีสากล
เบื้องตน ประกอบดวย สื่อการสอน บทเรียน คูมือครู แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ดนตรี ส ากลเบื้ อ งต น หมายถึ ง เนื้ อ หาความรู ขั้ น พื้ น ฐานทางด า นดนตรี ส ากล
ประกอบดวย 7 เรื่อง ไดแก ตัวโนต ตัวหยุด บรรทัด 5 เสน กุญแจประจําหลัก เครื่องหมายเพิ่มอัตรา
ตัวโนต และเครื่องหมายกําหนดจังหวะ
ประสิ ท ธิ ภ าพชุ ด การสอนดนตรี ส ากลเบื้ อ งต น หมายถึ ง คุ ณ ภาพของชุ ด การสอน
สามารถพัฒนาผูเรียนใหมีความรูดนตรีสากลเบื้องตน และทักษะการเปาขลุย พิจารณาจากคะแนน
เฉลี่ยระหวางเรียนและหลังเรียนโดยกําหนดเกณฑไวที่ 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง คาเฉลี่ยรอยละ ของคะแนนที่นักเรียนทําไดถูกตองจากการทดสอบ
ระหวางเรียน
80 ตัวหลัง หมายถึง คาเฉลี่ยรอยละ ของคะแนนที่นักเรียนทําไดถูกตองในแบบทดสอบ
หลังเรียน
ความรู เ รื่ อ งดนตรี ส ากลเบื้ อ งต น หมายถึง ความรู ขั้ น พื้ น ฐานทางด า นดนตรี ส ากล
เบื้องตน วัดดวยแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตนที่ผูวิจัยสรางขึ้น
ทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร หมายถึง ความสามารถทางดานทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
ประเมินเปนคะแนน 0-2 จากแบบประเมินที่ผูวิจัยสรางขึ้น และกําหนดเกณฑไววา นักเรียนที่มี
ทักษะการเปาขลุยตองผานเกณฑที่กําหนดไวคือ มีคาเฉลี่ยทางคะแนนไมต่ํากวา 15.00 คะแนน
บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ โดยนําเสนอ


ตามลําดับหัวขอดังตอไปนี้
1. ชุดการสอน
1.1 ความหมายของชุดการสอน
1.2 ประเภทของชุดการสอน
1.3 องคประกอบของชุดการสอน
1.4 คุณคาของชุดการสอน
1.5 แนวคิดในการผลิตชุดการสอน
1.6 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางชุดการสอน
1.7 ขั้นตอนการสรางชุดการสอน
2. การจัดการเรียนรูกลุมสาระศิลปะ (ดนตรี)
2.1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี)
2.2 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
2.3 ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องตน
2.4 ทฤษฎีการเรียนรูกับการสอนดนตรี
2.5 แนวการจัดกิจกรรมดนตรี
2.6 การวัดและประเมินผลการเรียนรูดนตรี
3. ทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
3.1 ความสําคัญของทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
3.2 องคประกอบของการเรียนการสอนทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
3.3 การเตรียมตัวสูภาคปฏิบัติ
3.4 การฝกซอมทักษะประจําวัน
3.5 วิธีการฝกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี
4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
5. กรอบแนวคิดในการวิจัย
6. สมมติฐานการวิจัย

ชุดการสอน

1. ความหมายของชุดการสอน
ชุดการสอน (Instructional package) เปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่เริ่มมีบทบาท
สําคัญตอวงการศึกษาของไทยเมื่อไดมีการปฏิรูปการศึกษา ชุดการสอนเปนวิธีการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนชนิดหนึ่งที่มีผูใหความสนใจเปนอันมากมีนักการศึกษาไดใหความหมายของ
ชุดการสอนไว ดังนี้
ชัยยงค พรหมวงศ และคนอื่น ๆ (2523 : 113) ไดใหความหมายวา ชุดการสอน
หมายถึ ง ระบบการนํ า สื่ อ ที่ ส อดคล อ งกั บ วิ ช า หน ว ย หั ว เรื่ อ ง และวั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ให เ กิ ด
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ดวงเดือน เทศวานิช (2530 : 214) กลาววา ชุดการเรียนการสอนหมายถึง การ
จัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อหลายๆอยางที่เรียกวา สื่อประสม (Multi media) จัดขึ้นเปนหนวย
การเรียน เพื่อสรางประสบการณในการเรียนรูอยางกวางขวางและเปนไปตามจุดมุงหมายที่วางไว
โดยจัดไวเปนชุดในลักษณะซองหรือกลอง
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2530 : 66 - 67) กลาวถึงความหมายของชุดการสอนไววา
ชุดการสอนนั้นจัดเปนสื่อการสอนชนิดหนึ่ง ที่เปนชุดของสื่อประสม (Multi media) คือ การใช
สื่อการสอนตั้งแตสองชนิดขึ้นไปรวมกันเพื่อใหผูเรียนไดรับความรูตามที่ตองการ โดยจัดไวเปน
ชุด ๆ บรรจุอยูใน ซอง กลอง หรือกระเปา
รุงทิวา จักรกร (2530 : 88) สรุปความหมายของชุดการสอนไววา ชุดการสอนเปน
นวัตกรรมการใชสื่อการสอนแบบประสม (Multi media) ที่จัดขึ้นสําหรับหนวยการเรียน
ให ส อดคล อ งกั บ เนื้ อ หาวิ ช าเพื่ อ ช ว ยให ผู เ รี ย นได เ ปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมการเรี ย นรู อ ย า งมี
ประสิทธิภาพ
ลําพอง บุญชวย (2530 : 198) ไดใหความหมายของชุดการสอน ดังนี้ ชุดการสอน
หมายถึง การวางแผนการเรียนการสอนของครู (Multi media approach) เพื่อสรางประสบการณใน
การเรียนรูใหแกผูเรียนตามจุดประสงคที่วางไว โดยการจัดสื่อตางๆเหลานี้ไวเปนชุดหรือกลอง
เพื่อใหผูเรียนและผูสอนไดใชในการเรียนการสอน
สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2531 : 1) ไดใหความหมายของชุดการสอนวา
ชุดการสอนบางครั้งเรียกวาชุดการเรียน เปนสื่อประเภทหนึ่งที่มีจุดมุงหมายเฉพาะเรื่องที่จะสอน
เทานั้น ชุดการสอนจึงเปนนวัตกรรมการใชสื่อการสอนแบบประสม เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
ตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ
บุญชม ศรีสะอาด (2537 : 95) ไดใหความหมายวา ชุดการสอน (Instructional
package) คือสื่อการเรียนหลายอยางประกอบกัน จัดไวเปนชุด (Package) เรียกวาสื่อประสม (Multi
media) เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ มีเรียกหลายอยาง เชน Learning package,
Instructional package หรือ Instructional Kits นอกจากใชสําหรับผูเรียน เรียนเปนรายบุคคลแลว
ยังใชประกอบการสอนแบบอื่น เชน ประกอบคําบรรยาย ใชสําหรับการเรียนเปนกลุมยอย หรือ
จัดอยูในรูปของศูนยการเรียน
สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา (2545 : 51) ไดใหความหมายของชุดการสอนวา
เปนสื่อการสอนชนิดหนึ่งที่เปนลักษณะของสื่อประสม เปนการใชสื่อตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป เพื่อให
ผู เ รี ย นได รั บ ความรู ที่ ต อ งการ โดยอาจจั ด ขึ้ น สํ า หรั บ หน ว ยการเรี ย นรู ต ามหั ว ข อ เนื้ อ หาและ
ประสบการณ ของแตละหนวยที่ตองการจะใหผูเรียนไดเรียนรู อาจจัดเอาไวเปนชุดๆ บรรจุในกลอง
ซองหรือกระเปา ชุดการสอนแตละชุดประกอบดวยเนื้อหาสาระ บัตรคําสั่ง ใบงาน การทํากิจกรรม
วั ส ดุ อุ ป กรณ เอกสาร ใบความรู เครื่ อ งมื อ หรื อ สื่ อ ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ กิ จ กรรมต า ง ๆ รวมทั้ ง
แบบวัดประเมินผลการเรียนรู
จากความหมายที่นักวิชาการไดใหไวในขางตนพอสรุปไดวาชุดการสอน หมายถึง
สื่อที่ใชประกอบการเรียนการสอน มีเนื้อหาที่สมบูรณ จัดเรียงลําดับขั้นตอนไวอยางเปนระบบ
และมีความยืดหยุนในตัวเอง ประกอบดวย สื่อการสอน บทเรียน คูมือครู รวมทั้งแบบทดสอบ
กอนเรียนและหลังเรียน และมีการกําหนดวัตถุประสงคไวอยางชัดเจน ชวยใหผูเรียนเปลี่ยนแปลง
พฤติ ก รรมการเรี ย นรู ใ ห บ รรลุ จุ ด มุ ง หมายที่ กํ า หนดไว ใ นระยะเวลาอั น สั้ น ใช สื่ อ เทคโนโลยี
ตลอดจนวิธีการสอนหลายรูปแบบ ใชไดทั้งกับการสอนรายบุคคล และรายกลุม

2. ประเภทของชุดการสอน
นักวิชาการหลายทานไดแบงประเภทของชุดการสอนไวดังนี้
ลําพอง บุญชวย (2530 : 198 - 201) ไดแบงประเภทของชุดการสอนไว ดังนี้
1. ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู คือ ชุดการสอนที่ครูสรางขึ้นมาเพื่อใช
สอนหรือเสนอประสบการณในการเรียนรูใหแกนักเรียน ประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ซึ่งบรรจุอยูใน
กลองหรือซอง สิ่งที่สําคัญไดแก
1.1 คูมือครู ในคูมือครูจะเสนอแนะแนวทางในการสอนใหแกครู เปนอยางดี
เพราะในคูมือครูจะประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้
1. จุดมุงหมายของหลักสูตรและจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม
2. รายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหา
3. วิธีดําเนินการสอนเพื่อบรรลุถึงพฤติกรรมขั้นสุดทาย
4. รายการสื่อการสอนที่ใช
5. คําแนะนําการใชสื่อการสอน
6. หนังสืออางอิงประกอบการคนควา
1.2 สื่อการสอน (Instructional media) ที่ใชประกอบการสอน เพื่อใหบรรลุ
จุด มุงหมาย เชน รูปภาพ แผนภูมิ สิ่งของ ฯลฯ เปน ตน สื่ อการสอนตอ งเลือกใหเหมาะสมกับ
กิจกรรมในการเรียนการสอน เพื่อใหการเรียนรูบังเกิดขึ้นไดงายและรวดเร็ว
1.3 แบบฝกหัด
1.4 แบบทดสอบ ซึ่งมีทั้งแบบทดสอบที่ใชทั้งกอนและหลังการเรียน (Pre-test
and Post-test)
อยางไรก็ตาม ชุดการสอนประกอบการบรรยายของครูนี้ เปนชุดการสอนที่ครู
เปนผูใช หรือเปนชุดการสอนที่ครูยึดเปนแนวทางในการสอน บางครั้งจึงมีผูเรียกชื่อชุดการสอน
ประเภทนี้วา “ชุดการสอน” (Teaching package)
2 ชุดการสอนสําหรับกิจกรรมกลุม คือ ชุดการสอนที่เนนกิจกรรมการเรียนที่จะ
เปดโอกาสใหผูเรียนเกิดการเรียนรูจากการทํากิจกรรม ตามที่กําหนดไวใน ชุดการสอนประจําวิชา
ในหมวดตาง ๆ แตละวิชาอาจมีชุดการสอน 20-30 ชุดก็ได และในแตละชุดจะจัดเปนศูนยกิจกรรม
จะมีสื่อหรือบทเรียนครบชุดไวใหตามจํานวนผูเรียน ในศูนยกิจกรรมนั้นๆ สื่อที่ใชในแตละศูนย
กิจกรรม จัดไวในรูปของสื่อผสมอาจใชสื่อสําหรับรายบุคคลหรือสื่อสําหรับกลุมที่ทุกคนใชรวมกัน
ได ผูเรียนที่เรียนจากชุดการสอนประเภทนี้ ตองการความชวยเหลือจากครูไมมากนัก จะตองการ
ความชวยเหลือจากครูมักจะเปนระยะเริ่มเรียนเทานั้น หลังจากเคยชินแลวผูเรียนจะชวยเหลือซึ่งกัน
และกันได ครูคอยเปนผูดูแล ในระหวางผูเรียนทํากิจกรรม ชุดการสอนสําหรับกิจกรรมกลุม บางที
อาจเรียกอีกชื่อวา “ชุดการสอนแบบศูนยการเรียน” (Learning center)
3. ชุดการสอนรายบุคคล คือ ชุดการสอนที่จัดทําขึ้นเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนตาม
ลําพังดวยตนเองได อาจจัดเปนหนวยการเรียน (Module) หรือ บทเรียนสําเร็จรูปเฉพาะเรื่องก็ได
ชัยยงค พรหมวงศ และคนอื่นๆ (2523 : 114) ไดแบงชุดการสอนออกเปน 4
ประเภท ดังนี้
1. ชุดการสอนประกอบคําบรรยาย
เป น ชุ ด การสอนที่ มุ ง ช ว ยขยายเนื้ อ หาสาระการสอนแบบบรรยายให ชั ด เจนขึ้ น
ชวยใหครูผูสอนพูดนอยลง และใหสื่อการสอนทําหนาที่แทน ชุดการสอนประเภทนี้ นิยมใชกับ
การฝกอบรมและการสอนในระดับอุดมศึกษาที่ ยังถือวาการสอนแบบบรรยายยังมีบทบาทสําคัญใน
การถายทอดความรูแกผูเรียน
2. ชุดการสอนแบบกลุมกิจกรรม
เปนชุดการสอนทีม่ ุงเนนใหผูเรียนไดประกอบกิจกรรมกลุม เชน ในการสอน
แบบศูนยการเรียน การสอนแบบกลุมสัมพันธ เปนตน
3. ชุดการสอนแบบเอกัตภาพ
หรือชุดการสอนรายบุคคล เปน ชุดการสอนที่มุง ใหผูเ รียนสามารถศึก ษาหา
ความรูดวยตนเองตามความแตกตางระหวางบุคคล อาจเปนการเรียนในโรงเรียนหรือที่บานก็ได
เพื่อใหผูเรียนกาวไปขางหนาตามความสามารถ ความสนใจและความพรอมของผูเรียน ชุดการสอน
รายบุคคลอาจออกมาในรูปของหนวยการสอนยอยหรือ “โมดุล”
4. ชุดการสอนทางไกล
เปนชุดการสอน ที่ผูสอนกับผูเรียนอยูตางถิ่นตางเวลากัน มุงสอนใหผูเรียนศึกษา
ดวยตนเอง โดยไม ตองมาเขาชั้นเรียน ประกอบดวยสื่อประเภทสิ่งพิมพ รายการวิทยุโทรทัศน
ภาพยนตร และการสอนเสริมตามศูนยบริการการศึกษา
สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545 : 52 - 53) ไดแบงชุดการสอนออกเปน
3 ประเภท คือ
1. ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู
เปนชุดการสอนสําหรับผูเรียนกลุมใหญ หรือเปนการสอนที่มุงเนนการปูพื้นฐาน
ใหทุกคนรับรูและเขาใจในเวลาเดียวกัน มุงใหการขยายเนื้อหาสาระใหชัดเจนยิ่งขึ้น ชุดการสอน
แบบนี้ลดเวลาในการอธิบายของผูสอนใหพูดนอยลง เพิ่มเวลาใหผูเรียนไดปฏิบัติมากขึ้น โดยใช
สื่อที่มีอยูในชุดการสอน ในการนําเสนอเนื้อหาตาง ๆ สิ่งสําคัญ คือ สื่อที่นํามาใชจะตองใหผูเรียน
ไดเห็นชัดเจนทุกคนและมีโอกาสไดใชครบทุกคนหรือทุกกลุม
2. ชุดการสอนแบบกลุมกิจกรรม หรือชุดการสอนสําหรับเรียนเปนกลุมยอย
เปนชุดการสอนสําหรับใหผูเรียนเรียนรวมกันเปนกลุมยอยประมาณกลุมละ
4 - 8 คน โดยใชสื่อการสอนแบบตางๆ ที่บรรจุไวในชุดการสอนแตละชุด มุงที่จะฝกทักษะใน
เนื้อหาวิชาที่เรียนโดยใหผูเรียนมีโอกาสทํางานรวมกัน ชุดการสอนชนิดนี้มักใชในการสอนแบบ
แบงกลุมกิจกรรม
3. ชุดการสอนรายบุคคล
เปนชุดการสอนสําหรับเรียนดวยตนเองเปนรายบุคคล คือ ผูเรียนจะตองศึกษา
หาความรูตามความตองการและความสนใจของตนเองอาจจะเรียนที่โรงเรีย นหรื อที่บานก็ ไ ด
จุดประสงคหลักคือมุงใหทําความเขาใจกับเนื้อหาวิชาเพิ่มเติมผูเรียนสามารถประเมินผลการเรียน
ดวยตนเองได ชุดการสอนชนิดนี้สวนใหญจัดในลักษณะของหนวยการสอนยอย
นอกจากชุ ด การสอนดั ง ที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว ยั ง มี ชุ ด การสอนประเภทอื่ น ๆ อี ก ซึ่ ง
แตกต า งกั น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องการใช เช น ชุ ด การสอนสํ า หรั บ ผู ป กครอง ชุ ด การสอน
ซอมเสริม ชุดการสอนประกอบการผลิตและการใชรายการโทรทัศน เพื่อการศึกษา ฯลฯ เปนตน
จากการแบง ประเภทของชุด การสอน ที่นัก การศึก ษาไดก ลา วมา ผูวิจัย จึง นํา มา
จัด สรางเปนชุดการสอน ประเภทชุดการสอนประกอบคําบรรยาย หรือชุดการสอนสําหรับครู
สําหรับผูสอนใชสอนกับผูเรียนกลุมใหญ ใหมีความรูความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนไปพรอม ๆ กัน
โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลายรูปแบบ เนนการปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยในชุดการสอนที่
ผูวิจัยสรางขึ้นมีสวนประกอบดังนี้ โครงสรางชุดการสอน คูมือครู กําหนดการสอน แผนการสอน
และสวนประกอบทายแผนการสอน
การนํ า ชุ ด การสอนประกอบคํ า บรรยายของครู ม าใช ถื อ ว า มี ค วามเหมาะสมกั บ
กิจกรรมการเรียนการสอน สามารถเขาถึงผูเรียนไดงาย ครูผูสอนจะคอยใหคําปรึกษาผูเรียนอยาง
ใกลชิดทําใหเกิดความเปนกันเองระหวางครูกับผูเรียน เมื่อผูเรียนเกิดความสงสัยก็สามารถที่จะ
สอบถามครู ผู ส อนได ทั น ที ทํ า ให กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนสามารถดํ า เนิ น ไปได อ ย า งมี
ประสิทธิภาพ และลุลวงตามวัตถุประสงคที่ไดวางไว

3. องคประกอบของชุดการสอน
ในการสรางชุดการสอนนั้น องคประกอบเปนสิ่งที่สําคัญมาก เพราะจะเปนแนวทาง
ในการสรางชุดการสอนใหเปนไปอยางมีระบบและสมบูรณในตัวเอง นักวิชาการหลายทานได
กลาวถึงองคประกอบของชุดการสอนไว ดังนี้
ชม ภูมิภาค (2524 : 102) ไดกลาวถึงชุดการสอนวามีองคประกอบทั้งสิ้น
6 องคประกอบ ดังนี้
1. หัวเรื่อง คือ การแบงเนื้อหาออกเปนหนวย แตละหนวยแบงออกเปนสวนยอย ๆ
เพื่อใหผูเรียนรูสึกลึกซึ้งยิ่งขึ้น เพื่อมุงเนนใหเกิดความคิดรวบยอดในการเรียนรู
2. คูมือการใชชุดการสอน เปนสิ่งจําเปนสําหรับผูใชชุดการสอนจะตองศึกษากอนที่
จะใช ชุ ด การสอนจากคู มื อ ให เ ข า ใจเป น สิ่ ง แรก จะทํ า ให ก ารใช ชุ ด การสอนเป น ไปอย า งมี
ประสิทธิภาพ เพราะคูมือครูประกอบไปดวยสวนตางๆ ดังนี้
2.1 คําชี้แจงเกี่ยวกับการใชชุดการสอน เพื่อความสะดวกสําหรับผูที่จะนําชุด การ
สอนไปใชจะตองทําอะไรบาง
2.2 สิ่งที่ครูจะตองเตรียมการสอน สวนมากจะบอกถึงสิ่งที่เปนขนาดใหญเกินกวา
ที่จะบรรจุไวในชุดการสอนไดหรือสิ่งเนาเปอย สิ่งที่เปราะบางหรือสิ่งที่ใชรวมกันกับคนอื่น ๆ ซึ่ง
เปนวัสดุอุปกรณที่มีราคาแพงที่ทางโรงเรียนจัดเก็บไวในศูนยวัสดุอุปกรณของโรงเรียน
2.3 บทบาทของนัก เรีย น ควรเสนอแนะวา นัก เรีย นจะตอ งมีสว นรว มใน
การดําเนินกิจกรรมการเรียนอยางไร
2.4 การจัดชั้นเรียนควรจัดในรูปใดเพื่อความเหมาะสมของการเรียนรูและการรวม
กิจกรรมการสอนนั้น ๆ
2.5 แผนการสอน ซึ่งประกอบดวย
2.5.1 หัวเรื่อง กําหนดเวลาเรียน จํานวนผูเรียน
2.5.2 เนื้อหาสาระ ควรเขียนสั้นๆ กวางๆ ถาตองการรายละเอียดควรนําไป
รวมไวในเอกสารประกอบการเรียน
2.5.3 ความคิดรวบยอดหรือหลักการเรียน ที่มุงเนนเนื้อหาสาระ
2.5.4 จุดประสงคการเรียน หมายถึง จุดประสงคทั่วไปและจุดประสงคเชิง
พฤติกรรม
2.5.5 สื่อการเรียน กิจกรรมการเรียน การประเมินผล
3. วัสดุประกอบการเรียน ไดแก สิ่งของหรือขอมูลตางๆที่จะใหนักเรียนคนควา เชน
เอกสาร ตํารา บทคัดยอ รูปภาพ แผนภูมิ วัสดุ เปนตน
4. บัตรงาน เปนสิ่งจําเปนสําหรับชุดการสอนแบบกลุม บัตรงานเหลานี้อาจจะเปน
กระดาษแข็งหรือออนตามความเหมาะสมกับวัยของผูเรียน สวนสําคัญ 3 สวน คือ
4.1 ชื่อบัตร กลุม หัวเรื่อง
4.2 คําสั่งวาจะใหผูเรียนตองปฏิบัติอะไรบาง
4.3 กิจกรรมที่ผูเรียนตองปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการเรียน
5. กิจกรรมสํารอง สําหรับชุดการสอนแบบกลุม ซึ่งกิจกรรมสํารองนี้จะตองเตรียมไว
สําหรับนักเรียนบางคนหรือทํากิจกรรมเสร็จกอนคนอื่น เพื่อเปนการสงเสริมการเรียนรูไดกวางและ
ลึก ไมเกิดความเบื่อหนาย
6. ขนาดของรูปแบบชุดการสอน ไมควรใหญหรือเล็กเกินไปเพื่อความสะดวกใน
การเรียนการใชงาน สวยงามในการเก็บรักษา
ลําพอง บุญชวย (2530 : 200) กลาววา ชุดการสอนไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม
จะตองประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ดังนี้
1. คําชี้แจง (Prospectus) คือ คําอธิบายถึงขอบขายของชุดการสอน วัตถุประสงค
ความรูพื้นฐานที่ผูเรียนตองมีกอนเรียน และขอบขายของกระบวนการทั้งหมด
2. วัตถุประสงค (Objectives) คือ ขอความที่ระบุไวอยางชัดเจน วาเมื่อเรียนไปแลว
ผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบาง
3. การประเมินผลกอนเรียน (Pre-assesment) การประเมินผลกอนเรียนมีวัตถุประสงค
ที่สําคัญเพื่อทราบวา พื้นความรูของผูเรียนอยูในระดับใด และเพื่อดูวาเมื่อเรียนแลว สัมฤทธิ์ผลตาม
วัตถุประสงคเพียงใด การประเมินผลกอนสอนอาจทดสอบขอเขียน สัมภาษณ การปฏิบัติงาน หรือ
ใหตอบคําถามก็ได
4. การกําหนดกิจกรรม (Enabling activities) คือ การกําหนดแนวทางหรือ วิธกี ารเพือ่
ไปสูวัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมนั้นดวย
5. การประเมินผลหลังการเรียน (Post-test) คือ การประเมินผลหลังจากที่ผูเรียน ได
เรียนจบกระบวนการแลว เพื่อทราบวาบรรลุผลตามวัตถุประสงค หรือไม เพียงใด
บุญชม ศรีสะอาด (2537 : 95) ไดกลาวถึงองคประกอบของชุดการสอนที่สําคัญไว
4 ดาน ดังนี้
1. คูมือการใชชุดการสอน เปนคูมือที่จัดเตรียมขึ้นเพื่อใหผูใชชุดการสอนศึกษา และ
ปฏิบัติตามเพื่อใหบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ อาจประกอบดวยแผนการสอน สิ่งที่ครูตองเตรียม
กอนสอน บทบาทของผูเรียน และการจัดชั้นเรียน
2. บั ตรงาน เป นบั ตรคํ าสั่ งว า จะให ผู เรี ยนปฏิ บั ติ อะไรบ าง โดยระบุ กิ จกรรมตาม
ขั้นตอนของการเรียน
3. แบบทดสอบวัดความกาวหนาของผูเรียน เปนแบบทดสอบที่ใชสาํ หรับตรวจสอบ
วาหลังการเรียนดวยชุดการสอนจบแลว ผูเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคการเรียนรูที่
กําหนดไวหรือไม
4. สื่อการเรียนตางๆ เปนสื่อสําหรับผูเรียนไดศึกษามีหลายชนิดประกอบกัน อาจเปน
ประเภทสิ่ ง พิ ม พ เช น บทความ เนื้ อ หาเฉพาะเรื่ อ ง จุ ล สาร บทเรี ย นโปรแกรม หรื อ ประเภท
โสตทัศนูปกรณ เชน รูปภาพ แผนภูมิตางๆ เทปบันทึกเสียง เปนตน
สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545 : 52) กลาววาชุดการสอนมีองคประกอบที่
สําคัญ 4 ประการ ไดแก
1. คูมือการใชชุดการสอน เปนคูมือ หรือแผนการสอนสําหรับผูสอนใชศึกษา และ
ปฏิบัติตามขั้นตอนตาง ๆ ซึ่งมีรายละเอียดชี้แจงไวอยางชัดเจน เชน การนําเขาสูบทเรียน การจัด
ชั้นเรียน บทบาทผูเรียน เปนตน ลักษณะของคูมืออาจจัดทําเปนเลมหรือเปนแผนพับก็ได
2. บัตรคําสั่งหรือบัตรงาน เปนเอกสารที่บอกใหผูเรียน ประกอบกิจกรรมแตละอยาง
ตามขั้นตอนที่กําหนดไว บรรจุอยูในชุดการสอน บัตรคําสั่งหรือบัตรงานจะมีครบตามจํานวนกลุม
หรื อ จํ า นวนผู เ รี ย น ซึ่ ง จะประกอบด ว ย คํ า อธิ บ ายในเรื่ อ งที่จ ะศึ ก ษา คํ า สั่ ง ให ผู เ รี ย นประกอบ
กิจกรรม และการสรุปบทเรียน การจัดทําบัตรคําสั่งหรือบัตรงาน สวนใหญนิยมใชกระดาษแข็ง
ขนาด 6 x 8 นิ้ว
3. เนื้ อ หาสาระและสื่ อ การเรี ย นประเภทต า ง ๆ เนื้ อ หาสาระและสื่ อ การเรี ย น
การสอนประเภทตาง ๆ นี้ จะจัดไวในรูปของสื่อการสอนที่หลากหลายอาจแบงเปน 2 ประเภท ดังนี้
3.1 ประเภทเอกสารสิ่งพิมพ เชน หนังสือ บทความ ใบความรู (Fact sheet) ของ
เนื้อหาเฉพาะเรื่อง บทเรียนโปรแกรมเปนตน
3.2 ประเภทโสตทัศนูปกรณ เชน รูปภาพ แผนภาพ แผนภูมิ สมุดภาพ เทป
บันทึกเสียง เทปโทรทัศน สไลด วีดิทัศน ซีดีรอม โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน
4. แบบประเมินผล เปนแบบทดสอบที่ใชวัดและประเมินความรูดวยตนเอง ทั้งกอน
และหลังเรียน อาจเปนแบบทดสอบชนิด จับคู เลือกตอบ หรือ กาเครื่องหมายถูกผิดก็ได
จากการศึก ษาองคประกอบของชุดการสอนจากนัก วิชาการหลาย ๆ ทา นดัง กลาว
ขางตน สรุปไดวาชุดการสอนมีองคประกอบสําคัญ ดังนี้ คูมือครู หัวขอเรื่องและเนื้อหาที่เกี่ยวของ
จุดมุงหมายทั่วไป จุดประสงคการเรียนรู กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล
สํ า หรั บ การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ชุ ด การสอนที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น เป น ชุ ด การสอนประกอบ
คําบรรยาย หรือชุดการสอนสําหรับครู ที่มีจุดมุงหมายในการสอนผูเรียนเปนกลุมใหญ ใหมีความรู
ความเขาใจในเนื้อหาไปพรอมๆกัน โดยชุดการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้น ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
1. โครงสรางของชุดการสอน ประกอบดวยหลักการและเหตุผล เปาหมาย จุดประสงค
ทั่วไป และจุดประสงคเฉพาะ ในการจัดทําชุดการสอน
2. คูมือครู เปนคําชี้แจงในการใชชุดการสอน คุณสมบัติของผูสอน ผูเรียนและชี้แจง
เกี่ยวกับการวัดผลและการประเมินผล
3. กําหนดการสอน เปนตารางระบุเวลา เนื้อหาการเรียนการสอน และกิจกรรม
การเรียนการสอนของครูและผูเรียน
4. แผนการสอน ประกอบดวยรายละเอียดในการดําเนินการสอนทุกขั้นตอน รวมทั้ง
สื่อการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล
5. สวนประกอบทายแผนการสอน เปนรายละเอียดของแผนการสอน ที่นําไปใชจริง
ประกอบด ว ย เอกสารและสื่อ การสอนในรูป ของใบความรู แผนภู มิ ใบงาน และเครื่ อ งมื อใน
การวัดผลและประเมินผล ไดแก แบบทดสอบและแบบประเมินตางๆ

4. คุณคาของชุดการสอน
ไดมีการกลาวถึงคุณคาของชุดการสอนจากนักวิชาการหลายๆทานไว ดังนี้
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2530 : 110 - 111) ไดกลาวถึงคุณคาของชุดการสอนดังนี้
1. สงเสริมการเรียนแบบรายบุคคล ผูเรียนเรียนไดตามความสามารถความสนใจ ตาม
เวลาและโอกาสที่เหมาะสมของแตละบุคคล
2 ชวยขจัดปญหาการขาดแคลนครู เพราะชุดการสอนชวยใหผูเรียนเรียนไดดว ย
ตนเอง หรือตองการความชวยเหลือจากผูส อนเพียงเล็กนอย
3. ชวยในการศึกษานอกระบบโรงเรียน เพราะผูเรียนสามารถนําเอาชุดการสอนไป
ใชไดทุกสถานที่และทุกเวลา
4. ชวยลดภาระและชวยสรางความพรอมและความมั่นใจใหแกครูเพราะชุดการสอน
ผลิตไวเปนหมวดหมู สามารถนําไปใชไดทันที
5. เปนประโยชนในการสอนแบบศูนยการเรียน
6. ชวยใหครูวัดผลผูเรียนไดตรงตามความมุงหมาย
7. เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น ฝกการตัดสินใจแสวงหาความรูดว ย
ตนเอง และมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
8. ชวยใหผูเรียนจํานวนมากไดรับความรูแนวเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพ
9. ชวยฝกใหผูเรียนรูจักเคารพ นับถือ ความคิดเห็นของผูอื่น
รุงทิวา จักรกร (2530 : 24 - 25) ไดกลาวถึงคุณคาของชุดการสอนดังนี้
1. ชวยอํานวยความสะดวกในการสอนของครู ทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
2. แกปญหาความแตกตางระหวางบุคคล สงเสริมการศึกษาเปนรายบุคคลและ
ความสนใจตามเวลาและโอกาสที่เอื้ออํานวยตอผูเรียน
3. ชวยขจัดปญหาการขาดแคลนครู โดยชุดการสอน ทําใหผูเรียนสามารถเรียนได
โดยอาศัยความชวยเหลือจากครูเพียงเล็กนอย สวนใหญจะเรียนดวยตนเอง ครูคนหนึ่งสามารถสอน
นักเรียนไดจํานวนมากขึ้น
4. ชวยในการจัดการศึกษานอกระบบ เพราะชุดการสอนสามารถนําไปใชเรียนไดทุก
เวลาและสถานที่
5. ชวยใหผูสอนและผูเรียนมีความมัน่ ใจในการเรียนการสอน เพราะลดเวลาใน
การเตรียมการสอนลวงหนา
6. สามารถถายทอดประสบการณไดอยางมีประสิทธิภาพ
7. เปนประโยชนในการสอนแบบศูนยการเรียน
8. ชวยใหครูวัดผลผูเรียนไดตรงตามมุงหมาย
9. เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น ฝกการตัดสินใจ แสวงหาความรูดว ย
ตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
10. ชวยใหผูเรียนรูจักเคารพ นับถือ ความคิดเห็นของผูอื่น
11. ชวยเราความสนใจของผูเรียนไดมากขึ้นจากสื่อที่ไดจัดทําไวอยางมีประสิทธิภาพ
12. ชวยใหผูสอนถายทอดเนื้อหาและประสบการณที่ซับซอนและมีลักษณะ เปน
นามธรรม
13. ใชไดทุกวิชาเรียน
14. เป น ประโยชน ใ นการบริ ห ารการศึ ก ษา ทํา ให ก ารศึ ก ษาเป น กระบวนการ
ที่ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและการปฏิบัติหนาที่ของครูได
15. การสอนเปน กระบวนการที่ค รบทั้ง ระบบ เริ่ ม ตั้ ง แตจุด มุง หมายกระบวน
การสอนและประเมินผล
16. ผลการเรียนรูนั้นตองการผลในทุกพิสัย คือ พุทธพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย ชุดการสอน
ที่ดีนั้ นต องพิจารณาในเรื่ องนี้และบรรดาสื่อการสอนนั้น ก็จ ะตองมีห ลายประเภทเป น ลัก ษณะ
ที่เรียกวา สื่อประสมหลายอยาง (Multimedia approach) ยอมจะสนองความแตกตางของบุคคลและ
เพิ่มพูนความสมบูรณใหแกการรับรู
17. ชุดการสอนเกิดจากการนําเอาระบบเขามาใช ยอมจะมีประสิทธิภาพ เพราะได
ผานการหาประสิทธิภาพมาแลว โดยมีผูมีความชํานาญทั้งในดานเนื้อหาและวิธีการเพื่อสรางเปน
แมบทและสามารถจะขยายออกไปได
จากที่นกั วิชาการหลายๆทานไดกลาวถึงคุณคาของชุดการสอนสามารถนํามาสรุปได
ดังนี้
1. ชุดการสอนสามารถชวยลดปญหาของการขาดแคลนครู
2. ผูเรียนสามารถไดรับความรูในทิศทางเดียวกันไดทีละเปนจํานวนมาก
3. ชวยสรางความพรอม และความมั่นใจแกผูสอน เพราะชุดการสอนผลิตไว
เปนหมวดหมู สามารถหยิบใชไดทันที
4. ชวยใหผูสอนและผูเรียน มีความมั่นใจในการดําเนินการเรียนการสอน เพราะ
เปนการลดเวลาในการเตรียมตัวลวงหนา
5. สิ่งอํา นวยความสะดวกในการเรี ย นมีมาก บูร ณาการเป นอย างดี จึงทํา ให
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งชุดการสอนสามารถนําไปใชในการจัดการเรียน
การสอนไดทุกสถานที่ทําใหเกิดความสะดวกที่จะดําเนินการสอนที่ใด และในเวลาใดก็ไดและ
ประการที่สําคัญก็คือ หากชุดการสอนไดสรางขึ้นถูกหลักวิธีและมีประสิทธิภาพเพียงพอก็จะทํา
ผู เ รี ย นให เ กิ ด ความสนใจในการเรี ย น ทํ า ให ก ารดํ า เนิ น การเรี ย นการสอนในวิ ช านั้ น ๆ เกิ ด
ประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

5. แนวคิดที่นําไปสูการผลิตชุดการสอน
ชัยยงค พรหมวงศ (2523 : 119 - 120) ไดเสนอความคิดในการผลิตชุดการสอนดังนี้
แนวคิด ที่ 1 เปน แนวคิด ตามหลัก จิตวิท ยาเกี่ย วกับ ความแตกตา งระหวางบุคคล
นักการศึกษาไดนําแนวคิดนี้มาจัดการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงความตองการ ความถนัดและความ
สนใจของผูเรียนเปนสําคัญ
แนวคิดที่ 2 เปนแนวคิดที่พยายามจะเปลี่ยนการเรียนการสอน จากเดิมที่ยึดครูเปน
แหลงความรูกลับมาเปนการจัดประสบการณใหผูเรียนดวยการใชแหลงความรูใหแกความรูเพียง
หนึ่งในสามของเนื้อหาทั้งหมด อีกสองในสามผูเรียนจะศึกษาดวยตนเองจากชุดการสอน
แนวคิดที่ 3 เปนแนวคิดในการใชโสตทัศนูปกรณท่ีไดเปลี่ยนและขยายตัวออกเปน
สื่อการสอน ซึ่งครอบคลุมถึงการใชวัสดุสิ้นเปลือง เครื่องมือตางๆ กระบวนการสาธิ ตทดลอง
รวมทั้งกิจกรรมตาง ๆ แตเดิมนั้นการผลิตและการใชสื่อการสอนมักออกมาในรูปตางคนตางผลิต
ตางคนตางใชสื่อเดียวมิไดมีการจัดระบบการใชสื่อหลายอยาง บูรณาการใหเหมาะสมและใชแหลง
ความรูสําหรับนักเรียนแทนการใชครูเปนผูถายทอดความรูแกนักเรียนตลอดเวลา แนวโนมใหมจึง
เปนการผลิตสื่อการสอนแบบประสมใหเปนชุดการเรียนอันมีผลตอการใชสื่อของครู คือ เปลี่ยน
จากการใชสื่อ “เพื่อชวยครูสอน” มาเปน “เพื่อชวยนักเรียนเรียน”
แนวคิดที่ 4 เปนแนวคิดที่พยายามสรางปฏิกิริยาสัมพันธใหเกิดขึ้นระหวางครูกับ
นักเรียน นักเรียนกับนักเรียนและนักเรียนกับสภาพแวดลอม โดยการนําสื่อการสอนและทฤษฎี
กระบวนการกลุมมาใชในการประกอบกิจกรรมรวมกันของนักเรียน
แนวคิดที่ 5 เปนแนวคิดที่ยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรูมาจัดประสบการณของการเรียนรู
เพื่อใหการเรียนมีประสิทธิภาพโดยเปดโอกาสใหผูเรียน
1. ไดเขารวมกิจกรรมการเรียนดวยตนเอง
2. มีทางทราบวา การตัดสินใจหรือการทํางานของตนผิดหรือถูกไดทันที
3. มีการเสริมแรงทางบวกที่ทําใหผูเรียนภาคภูมิใจที่ไดทําถูกหรือคิดถูกอันจะทําให
กระทําพฤติกรรมนั้นซ้ําอีกในอนาคต
4. ไดเรียนรูไปทีละขั้นตามความสามารถและความสนใจของผูเรียนเองโดยมิตองมี
ใครบังคับ
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2530 : 92 - 94) ไดสรุปแนวคิดและหลักการในการนําไปสู
การผลิตชุดการสอน สรุปได 5 ประการ ดังนี้
1. การประยุกตทฤษฎีความแตกตางระหวางบุคคล การเรียนการสอนจะตองคํานึงถึง
ความตองการ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนเปนสําคัญ วิธีการสอนที่เหมาะสมที่สุด คือ
การจัดการสอนรายบุคคลหรือการศึกษาตามเอกัตภาพและการศึกษาดวยตนเอง ซึ่งจะเปดโอกาสให
ผูเรียนมีอิสระในการเรียนตามระดับสติปญญา ความสามารถและความสนใจ โดยมีครูคอยแนะนํา
ชวยเหลือตามความเหมาะสม
2. ความพยายามที่จะเปลี่ยนแนวการเรียนการสอนไปจากเดิม การจัดการเรียนการสอน
แตเดิมนั้น เรายึดครูเปนหลัก เปลี่ยนมาเปนการจัดประสบการณใหผูเรียนเรียนเอง โดยการใชแหลง
ความรู จ ากสื่ อ หรื อ วิ ธี ก ารต า ง ๆ การนํ า สื่ อ การสอนมาใช จ ะต อ งจั ด ให ต รงกั บ เนื้ อ หาและ
ประสบการณตามหนวยการสอนของวิชาตาง ๆ โดยนิยมจัดในรูปของชุดการสอน การเรียนใน
ลักษณะนี้ ผูเรียนจะเรียนจากครูเพียงประมาณ 1 ใน 4 สวน สวนที่เหลือผูเรียนจะเรียนจากสื่อดวย
ตนเอง
3. การใช สื่ อ การสอนได เ ปลี่ ย นแปลงและขยายตั ว ออกไป การใช สื่ อ การสอนใน
ปจจุบันไดคลุมไปถึงการใชวัสดุสิ้นเปลือง เครื่องมือตางๆรวมทั้งกระบวนการและกิจกรรมตาง ๆ
แตเดิมนั้นการผลิตและการใชมักจะออกมาในรูปแบบตางคนตางผลิต ตางคนตางใชเปนสื่อเดี่ยว ๆ
มิไดมีการจัดระบบการใชสื่อหลายอยางมาผสมผสานกันใหเหมาะสมและใชเปนแหลงความรู
สําหรับผูเรียนแทนการใชครูเปนผูถายทอดความรูใหกับผูเรียนตลอดเวลา แนวโนมใหมจึงเปน
การผลิตสื่อการสอนแบบประสมใหเปนชุดการสอน อันจะมีผลตอการใชของครู คือ เปลี่ยนจาก
การใชส่ือเพื่อชวยครูสอน คือ ครูเปนผูหยิบใชอุปกรณตางๆมาเปนใชสื่อการสอนเพื่อชวยผูเรียน
เรียน คือ ใหผูเรียนหยิบและใชสื่อการสอนตางๆดวยตนเองโดยอยูในรูปของชุดการสอน
4. ปฏิ กิ ริ ย าสั ม พั น ธ ร ะหว า งผู ส อนกั บ ผู เ รี ย น ผู เ รี ย นกั บ ผู เ รี ย น และผู เ รี ย นกั บ
สภาพแวดลอม แตกอนความสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียนในหองเรียน มีลักษณะเปนทางเดียว
คือ ผูสอนเปนผูนําและผูเรียนเปนผูตาม ผูสอนมิไดเปดโอกาสให ผูเรียนจะมีโอกาสไดพูดก็ตอเมื่อ
ผูสอนใหพูด การตัดสินใจของผูเรียนสวนใหญมักจะตามผูสอน ผูเรียนเปนฝายเอาใจผูสอนมากกวา
ผูสอนเอาใจผูเรียน ผูสอนวิจารณผูเรียนหรือพูดเยาะเยยผูเรียนในชั้น โดยเฉพาะในกรณีที่ผูเรียน
ตอบไมถูกตองตามที่ผูสอนชอบ หรือกระทําอะไรผิดพลาด แตถาผูเรียนทําอะไรดีควรแกการชมเชย
ผูสอนจะนิ่งเฉยเสีย เพราะถาหากชมแลวกลัวผูเรียนจะเหลิงตัว ดังนั้นผูเรียนไทยสวนใหญจึงพกเอา
ประสบการณที่ไมนาพึงพอใจเมื่อเติบใหญขึ้น ในสวนที่เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางผูเรียนกับ
ผูเรียนนั้นแทบจะไมมีเอาเลยเพราะผูสอนสวนใหญไมชอบใหผูเรียนคุยกัน ผูเรียนจึงไมมีโอกาส
ฝกฝนทํางานรวมกันเปนหมูคณะ เชื่อฟงและเคารพความคิดเห็นของผูอื่น เมื่อเติบโตจึงทํางาน
รวมกันไมได นอกจากนี้ปฏิกิริยาสัมพันธระหวางผูเรียนกับสภาพแวดลอม ก็มักอยูเพียงกับชอลก
กระดานดําและแบบเรียน ในหองสี่เหลี่ยมแคบๆ หรือในสนามหญาซึ่งสวนใหญถูกปลอยใหรกราง
เฉอะแฉะตามฤดูกาล ผูสอนไมเคยพาผูเรียนออกไปสูสภาพนอกโรงเรียน การเรียนการสอนจึงจัด
อยูเพียงในหองเรียนเปนสวนใหญ แนวโนมในปจจุบันและอนาคตของกระบวนการเรียนรูจึงตอง
นําเอากระบวนการกลุมสัมพันธมาใชในการเปดโอกาสใหผูเรียนประกอบกิจกรรมรวมกัน ทฤษฎี
กระบวนการกลุมจึงเปนแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตรซึ่งนํามาสูการจัดระบบการผลิตสื่อออกมาใน
รูปของ “ชุดการสอน”
5. การจั ดสภาพสิ่ งแวดล อมการเรี ยนรู ไ ด ยึ ด หลั ก จิ ตวิ ทยาการเรี ยนมาใช โดยจั ด
สภาพการณออกมาเปนการสอนแบบโปรแกรม หมายถึง ระบบการเรียนการสอนที่เปดโอกาสให
ผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนดวยตนเอง มีทางทราบวาการตัดสินใจหรือการทํางานของ
ตนถูกหรือผิดอยางไร มีการเสริมแรงบวกที่ทําใหผูเรียนภาคภูมิใจที่ไดทําถูกหรือคิดถูก อันจะทําให
กระทําพฤติกรรมนั้นซ้ําอีกในอนาคต และใหคอยเรียนรูไปทีละขั้นตอนตามความสามารถและ
ความสนใจของผูเรียนเองโดยไมมีใครบังคับ การจัดสภาพการณที่จะเอื้ออํานวยตอการเรียนรูตาม
นัย ดังกล าวขางตน จะมีเครื่องมือชว ยใหบรรลุจุดมุงหมายปลายทาง โดยการจัดการสอนแบบ
โปรแกรมและชุดการสอนเปนเครื่องมือสําคัญ
เมื่อไดศึกษาถึงแนวคิดของนักวิชาการหลายๆทานทําใหพอที่จะสรุปถึง
แนวคิดที่นําไปสูการผลิตชุดการสอนไดดังนี้ ตองการที่จะเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีอิสระในการ
เรียนตามความสามารถและความสนใจของผูเรียนโดยมีผูสอนคอยใหคําแนะนําใหความชวยเหลือ
ตามความเหมาะสม ตองการที่จะเปลี่ยนแนวการเรียนการสอนจากที่ยึดผูสอนเปนหลักเปลี่ยนมา
เปนการเนนการจัดประสบการณใหผูเรียนไดเรียนดวยตนเองไมวาจะเปนการศึกษาจากสื่อการสอน
หรือจากวิธีการตางๆ รวมทั้งตองการใหผูเรียนไดทํากิจกรรมรวมกันโดยการเปลี่ยนบทบาทของ
ผูสอนใหนอยลงและเปดโอกาสใหนักเรียนไดรวมกิจกรรมการเรียนมากขึ้น

6. ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางชุดการสอน
ในการสรางชุดการสอน ผูสรางจะตองคํานึงถึงทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางชุดการสอน
โดยมีหลักการที่สําคัญหลายประการ ดังที่ เสาวนีย สิกขาบัณฑิต (2528 : 292-293) ไดสรุปทฤษฎีที่
เกี่ยวกับการสรางชุดการสอน ดังนี้ ความแตกตางระหวางบุคคล (Individual differences) นักศึกษา
ไดนําหลักจิตวิทยาในดานความแตกตางระหวางบุคคลมาใช เพราะผูเรียนแตละคนจะเรียนรูตาม
วิถีทางของเขา และใชเวลาเรียนในเรื่องหนึ่งๆที่แตกตางกันไป ความแตกตางเหลานี้มีความแตกตาง
ในดานความสามารถ (Ability) สติปญญา (Intelligence) ความตองการ (Need) ความสนใจ
(Interest) รางกาย (Physical) อารมณ (Emotion) และสังคม (Social) ผูสรางชุดการสอนจึงพยายามที่
จะหาวิธีการที่เหมาะสมในการที่จะทําใหผูเรียนไดเรียนอยางบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่วาง
ไวในชุดการสอนนั้น ๆ
การนําสื่อประสมมาใช (Multi media approach) เปนการนําสื่อในการสอนหลาย
ประเภทมาใชสัมพันธกันอยางมีระบบ ความพยายามอันนี้ก็เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอน
จากเดิมที่เคยยึดครูเปนแหลงใหความรูหลักมาเปนการจัดประสบการณใหผูเรียนเรียนดวยการใช
แหลงความรูจากสื่อประเภทตาง ๆ
ทฤษฎีการเรียนรู (Learning theory) จิตวิทยาการเรียนรูที่เปดโอกาสใหผูเรียนได
กระทําดังนี้
1. เขารวมกิจกรรมการเรียนดวนตนเอง
2. ตรวจสอบผลการเรียนของตนเองวาถูกหรือผิดไดทันที
3. มีการเสริมแรง คือ ผูเรียนจะเกิดความภาคภูมิใจ ดีใจที่ตนเองทําไดถูกตองเปน
การใหกําลังใจที่จะเรียนตอไป
4. เรียนรูไปทีละขั้น ตามความสามารถและความสนใจของตนเอง
การใชวิธีวิเคราะหระบบ (System analysis) โดยจัดเนื้อหาวิชาใหสอดคลองกับ
สภาพแวดลอมและวัย ของผูเ รียนทุก สิ่งทุกอยางที่จัดไวในชุดการสอนจะสรางขึ้ นอยางมีระบบ
มีการตรวจสอบทุกขั้นตอน มีการทดลองปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพอยูในเกณฑมาตรฐานเปน
ที่เชื่อถือได จึงนําออกมาใช
จากหลั ก การและทฤษฎี เ บื้ อ งต น พอจะสรุ ป ได ว า การสร า งชุ ด การสอนจะต อ ง
คํานึงถึงความแตกตางของผูเรียนในดานความสามารถ สติปญญา เพื่อใหเกิดการเรียนรูใหมากที่สุด
และเปน ไปตามลํ าดั บ ขั้ น ตอน ซึ่ ง จะตองมี ก ารนําสื่อ การสอนหลายประเภทมาใช ผู วิ จัย จึงนํ า
หลักการเหลานี้มาสรางชุดการสอนเพื่อใหผูเรียนไดบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

7. ขั้นตอนในการสรางชุดการสอน
นักวิชาการไดกลาวถึงขั้นตอนในการสรางชุดการสอนไวดังตอไปนี้
ชัยยงค พรหมวงศ (2523 : 123) ไดเสนอขั้นตอนในการผลิตชุดการสอน โดย
การนําเอาวิธีระบบในการผลิตแผนจุฬาฯ ซึ่งเปนแผนแบบกลุมกิจกรรมเขามาใช มี 10 ขั้นตอน
สรุปไดดังนี้
1. กําหนดหมวดหมูเนื้อหาและประสบการณ อาจเปนหมวดวิชา หรือบูรณาการเปน
แบบสหวิทยาการ ตามที่เห็นเหมาะสม
2. กําหนดหนวยการสอน แบงเนื้อหาวิชาออกเปนหนวยการสอน โดยประมาณ
เนื้อหาวิชาที่ครูสามารถถายทอดความรูแกนักเรียนไดใน 1 สัปดาห หรือ 1 ครั้ง
3. กําหนดหัวเรื่อง โดยกําหนดประสบการณในหนวยการเรียนแตละหนวยเปนเรื่องๆ
4. กําหนดความคิดรวบยอดและหลักการ ตองใหสอดคลองกับหนวยการเรียนและ
หัวเรื่อง โดยสรุปแนวคิด สาระ และหลักเกณฑสําคัญไว เพื่อเปนแนวทางในการจัดเนื้อหาที่สอน
ใหสอดคลองกัน
5. กําหนดวัตถุประสงคใหสอดคลองกับหัวเรื่อง เปนจุดประสงคทั่วไปกอนแลว
เปลี่ยนเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ที่ตองมีเงื่อนไขและเกณฑพฤติกรรมไวทุกครั้ง
6. กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ซึ่ง
เปน แนวทางในการเลื อกและการผลิ ตสื่อ การสอน และกิจ กรรมการเรีย น ที่ห มายถึงกิ จ กรรม
ทุกอยางที่ผูเรียนปฏิบัติ เชน การอานบัตรคําสั่ง ตอบคําถาม เขียนภาพ ทําการทดลองวิทยาศาสตร ฯลฯ
7. กําหนดแบบประเมินผล ตองออกแบบการประเมินผลใหตรงกับวัตถุประสงคเชิง
พฤติกรรมโดยใชการสอบแบบอิงเกณฑ เพื่อใหผูสอนทราบวา หลังจากผานกิจกรรมเรียบรอยแลว
ผูเรียนไดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคที่ตั้งไวหรือไม
8. เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุ อุปกรณ และวิธีการที่ครูใช ถือเปนสื่อการสอน
ทั้งสิ้น เมื่อผลิตสื่อการสอนแตละหัวเรื่องแลว ก็จัดสื่อการสอนนั้นไวเปนหมวดหมูในกลองที่เตรียม
ไว กอนนําไปทดลองหาประสิทธิภาพ
9. การหาประสิทธิภาพของชุดการสอน เพื่อเปนการประกันวาชุดการสอนที่สราง
ขึ้นมีประสิทธิภาพในการสอน ผูสรางตองกําหนดเกณฑขึ้นลวงหนา โดยคํานึงถึงหลักการที่วา
การเรียนรูเปนการชวยใหการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบรรลุผล
10. การใชชุดการสอน ชุดการสอนที่ไดปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ
ที่ ไ ด ตั้ ง ไว แ ลว สามารถนํ า ไปสอนผูเ รี ย นได ต ามประเภทของชุ ด การสอนและระดั บ การศึก ษา
โดยกําหนดขั้นตอนการใช ดังนี้
ขั้นที่ 1 ใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อพิจารณาพื้นฐานความรูเดิม
ขั้นที่ 2 ขั้นนําเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 3 ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน (ขั้นสอน) ผูสอนบรรยาย หรือแบงกลุม
ประกอบกิจกรรมการเรียน
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปผลการสอน เพื่อสรุปความคิดรวบยอด และหลักการที่สําคัญ
ขั้นที่ 5 ทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินพฤติกรรมการเรียนรูที่เปลี่ยนไป
รุงทิวา จักรกร (2530 : 82 - 83) ไดอธิบายขั้นตอนในการสรางชุดการสอนไวดังนี้
1. กําหนดหมวดหมูเนื้อหาและประสบการณ อาจจะกําหนดเปนหมวดวิชาหรือบูรณา
การเปนสหวิทยาการตามที่เหมาะสม
2. กําหนดหนวยการสอน โดยแบงเนื้อหาวิชาออกเปนหนวยการสอน ประมาณ
เนื้อหาที่ใหครูสามารถถายทอดความรูแกนักเรียนไดในหนึ่งสัปดาหหรือสอนไดหนวย ละครั้ง
3. กําหนดเนื้อเรื่อง ในการสอนแตละหนวยควรใหประสบการณอะไรแกผูเรียนบาง
แลวกําหนดหัวเรื่องออกมาเปนหนวยการสอนยอย
4. กําหนดหลักการและความคิดรวบยอดจะตองสอดคลองกับหนวยหรือหัวขอเรื่อง
โดยสรุปแนวคิด สาระและหลักเกณฑที่สําคัญไวเพื่อเปนแนวทางจัดเนื้อหามาสอนใหสอดคลองกัน
5. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู ตองสอดคลองกับความคิดรวบยอดจุดมุงหมายเชิง
พฤติกรรมที่ระบุใหชดั เจนมากเทาใดก็จะประสบความสําเร็จในการสอนมาก ดังนั้นจึงควรใชเวลา
ตรวจสอบจุดประสงคการเรียนรูแตละขอใหถูกตองและครอบคลุมเนื้อหาสาระของการเรียนรู
6. การเรียงลําดับกิจกรรมการเรียน ภายหลังจากที่เรานําจุดประสงคการเรียนแตละขอ
มาวิ เ คราะห ห รื อ เรี ย งลํ า ดั บ กิ จ กรรมของแต ล ะข อ ให เ กิ ด การประสานกลมกลื น ของการเรี ย น
การสอนตองนํากิจกรรมการเรียนการสอนแตละขอที่ทําการวิเคราะหงานแลวมาเรียงลําดับไว
โดยรวบรวมเปนกิจกรรมขั้นสําคัญที่สุดในอันที่จะไมใหเกิดการซ้ําซอนในการเรียน โดยคํานึงถึง
พฤติกรรมพื้นฐานของผูเรียน วิธีดําเนินการเพื่อใหมีการเรียนการสอนขึ้น รวมทั้งการติดตามและ
ประเมินผลพฤติกรรมการเรียนการสอนดวย
7. การประเมินผล คือ การตรวจสอบว า หลั งจากการเรีย นการสอนแล ว ได มี
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามที่จุดประสงคการเรียนรูกําหนดไวหรือไม การประเมินผลตอง
สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรูที่ตั้งไวเพราะถาไมตรงจะทําใหเสียเวลาและขาดคุณภาพ
8. การผลิตสื่อการสอน เมื่อผลิตสื่อการสอนของแตละหัวขอเรื่องแลว ควรจัด
สื่อการสอนเหลานั้นไวเปนหมวดหมูในกลองที่เตรียมไวสําหรับนําไปทดลองหาประสิทธิภาพตาม
เกณฑที่ตั้งไว
9. การหาประสิทธิภาพของชุดการสอน เพื่อเปนการประกันวาชุดการสอนที่สราง
ขึ้นมามีประสิทธิภาพในการสอน จึงตองกําหนดเกณฑขึ้นโดยคํานึงถึงหลักการเรียนรูที่ชวยให
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนบรรลุผล
10. การทดลองใชชุดการสอนเพื่อหาประสิทธิภาพ โดยพิจารณาถึงรูปแบบของ
ชุดการสอนวาจะผลิตออกมาในขนาดใดแลวแตความสะดวกแกการหาประสิทธิภาพ ควรนําไป
ทดลองกับกลุมอื่น ๆ กอน เพื่อตรวจสอบหาขอบกพรองโดยกําหนดดังนี้
10.1 ชุดการสอนตองมีความรูเดิมของผูเรียนหรือไม
10.2 การนําเขาสูบทเรียนของชุดการสอนเหมาะสมหรือไม
10.3 การประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนมีความมุงหมายและดําเนิน
ไปตามขั้นตอนหรือไม
10.4 การสรุปผลการเรียนเพื่อเปนแนวทางไปสูความคิดรวบยอดหรือหลักการ
10.5 สําคัญ ๆ ของการเรียนในหนวยนั้นๆดีหรือไมและตองปรับปรุงเพิ่มเติม
อยางไร
10.6 การประเมินผลหลังการเรียนเพื่อดูพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงวามี
ความเชื่อมั่นขนาดไหน
จากการศึกษาและคนควาเกี่ยวกับขั้นตอนในการสรางชุดการสอน สรุปไดวา
การสรางชุดการสอนนั้นเปนการวางโครงสราง และวางแผนงานในการจัดกระบวนการเรียนรูของ
ครูผูสอนใหมีขั้นตอนในการสอนอยางเปนระบบ ดังนี้
1. ศึกษาหลักสูตร
2. ศึกษาเอกสาร งานวิชาการเกี่ยวกับการสรางชุดการสอน
3. วิเคราะหเนื้อหา เรื่องที่จะนํามาสรางชุดการสอน
4. จัดลําดับเนื้อหาความยากงาย
5. กําหนดองคประกอบของชุดการสอน
6. นําชุดการสอนใหผูเชี่ยวชาญตรวจ พิจารณาในเรื่องของเนื้อหา สาระสําคัญ
จุดประสงคการเรียนรู
7. นําชุดการสอนไปทดลองกับใชกับกลุมนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง
8. นําชุดการสอนมาปรับปรุงแกไข
9. ไดชุดการสอนฉบับสมบูรณ
ชุดการสอนที่ถูกสรางขึ้นอยางมีระบบและมีคุณคา ชวยลดภาระของผูสอน และ
ผูเรียน ไดรับความรูในแนวทางเดียวกัน เนื่องจากชุดการสอนมีจุดมุงหมายที่ชัดเจน มีขอเสนอแนะ
ในการทํากิจกรรม การใชสื่อการสอน และมีการประเมินผลผูเรียนอยางครบถวน

การจัดการเรียนรูกลุมสาระศิลปะ (ดนตรี)

1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี)
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑใน
การกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปน
สํ า หรั บ เป น พื้ น ฐานในการดํ า รงชี วิ ต ให มี คุ ณ ภาพ สํ า หรั บ สาระและมาตรฐานการเรี ย นรู ต าม
ความสามารถ ความถนั ด และความสนใจของผู เ รี ย น สถานศึ ก ษาสามารถพั ฒ นาเพิ่ ม เติ ม ได
โดยสาระการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี) มีรายละเอียด
ดังตอไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 12)
1.1 มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2
ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 การศึกษาระดับนี้เปนชวงแรกของการศึกษาภาคบังคับ
หลักสูตรที่จัดขึ้น มุงเนนใหผูเรียนพัฒนาคุณภาพชีวิต กระบวนการเรียนรูทางสังคม ทักษะพื้นฐาน
ดานการอาน การเขียน การคิดคํานวณ การคิดวิเคราะห การติดตอสื่อสาร และพื้นฐานความเปน
มนุษย เนนการบูรณาการอยางสมดุลทั้งในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคมและวัฒนธรรม
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 9)
1.2 สาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี) ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห
วิพากษวิจารณคุณคา ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวัน
มาตรฐานการเรียนรูชวงชัน้ ที่ 2 สาระการเรียนรูชวงชั้นที่ 2
1. เขาใจเสียงที่บรรเลงเครื่องดนตรีชนิดตาง ๆ การฟงเสียงเครื่องดนตรีจากการบรรเลงเดี่ยว
ทั้งการบรรเลงเดี่ยวและบรรเลงเปนวงระบุ บรรเลงกลุม บรรเลงเปนวง และการสื่อ
ไดวา พื้นฐานทางดนตรีสามารถใชในการ ความรูสึกโดยใชดนตรี
สื่อความรูสึก
2. ขับรองและบรรเลงดนตรีโดยใช การขับรองและบรรเลงจากประสบการณและ
ประสบการณ จินตนาการจากการสังเกต จินตนาการโดยใชองคประกอบและเทคนิค
องคประกอบดนตรีและเทคนิคเบื้องตนให เบื้องตนทางดนตรี
ไดตามความตองการ
3. ใชและเก็บรักษาเครื่องดนตรีไดอยางถูกตอง วิธีการใชและเก็บรักษาเครื่องดนตรีอยางถูกตอง
และปลอดภัย และปลอดภัย
4. แสดงออกถึงความรูสึกในการรับรู การรับรูความไพเราะของเสียงดนตรี
ความไพเราะของดนตรีดวยวิธีการตาง ๆ
ตามความสนใจ
5. แสดงความคิดเห็นเรื่ององคประกอบดนตรี องคประกอบและหลักการทางดนตรี เกี่ยวกับ
จังหวะ ทํานองและลักษณะของเสียงดนตรี
6. สรางสรรคทางดนตรีใชกับกลุมสาระ การนําความรูและหลักการทางดนตรีมาใชกับ
การเรียนรูอื่น ๆ และชีวิตประจําวัน กลุมสาระการเรียนรูอื่น ๆ และชีวิตประจําวันได
มาตรฐาน ศ 2.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และ
วัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรี ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและ
สากล

มาตรฐานการเรียนรูชวงชัน้ ที่ 2 สาระการเรียนรูชวงชั้นที่ 2


1. รูวาดนตรีสะทอนใหเห็นถึงแหลงที่มา ความเปนมา และวิวัฒนาการของดนตรีพื้นบาน
ดนตรีไทย และดนตรีสากล
2. พึงพอใจและยอมรับในภูมิปญญาของ ภูมิปญญาทางดนตรีทองถิ่น ดนตรีไทย ดนตรี
การสรางงานดนตรี การสืบทอดงานดนตรีที่ สากล และการสืบทอดงานดนตรีที่เกี่ยวของกับ
เกี่ยวของกับวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรมและสังคีตกวี
ภูมิปญญาไทยและสากล

จากตารางหลักสูตรมาตรฐานกลุมสาระศิลปะ (ดนตรี) ในชวงชั้นที่ 2 (ป.4-6)


สรุ ป ได ว า สาระการเรี ย นรู มุ ง เน น ให นั ก เรี ย นได เ รี ย นเกี่ ย วกั บ เนื้ อ หาของดนตรี ใ นหลายด า น
ประกอบไปดวย องคประกอบของดนตรี พื้นฐานดนตรีเบื้องตน การขับรอง รวมถึงการบรรเลง
ดนตรีโดยใชเทคนิคทางดนตรี วิธีการใช การดูแลรักษาเครื่องดนตรี ความเปนมาและวิวัฒนาการ
ของดนตรีพื้นบาน ดนตรีไทย และดนตรีสากล ดังนั้นเพื่อใหสอดคลองกับหลักสูตร ผูวิจัยจึงเลือกที่
จะนําเนื้ อหาเกี่ ยวกับพื้นฐานดนตรีเบื้องตน รวมทั้ งการบรรเลงดนตรีมาใชในการจัด กิจกรรม
การเรียนการสอน โดยเครื่องดนตรีที่ผูวิจัยเลือกที่จะนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนนั้น คือ
ขลุยรีคอรเดอร เพราะถือวาเปนเครื่องดนตรีที่สามารถบรรเลงไดงายและมีราคาที่ไมแพงจนเกินไป

2. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ (2545 : 6) ไดกลาวถึงความหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
ไว ดังนี้
เปนกิจกรรมที่จัดใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุงเนน
เพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ไดจัดใหเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม การเขารวมและปฏิบัติ
กิจกรรมที่เหมาะสมรวมกับผูอื่นอยางมีความสุขกับกิจกรรมที่เลือกดวยตนเองตามความถนัดและ
ความสนใจอยางแทจริง การพัฒนาที่สําคัญ ไดแก การพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบ
ทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม โดยอาจจัดเปนแนวทางหนึ่งที่จะสนองนโยบาย
ในการสรางเยาวชนของชาติใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพ เพื่อพัฒนา
องครวมของความเปนมนุษยที่สมบูรณ ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม
ซึ่งสถานศึกษาจะตองดําเนินการอยางมีเปาหมาย มีรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม กิจกรรมพัฒนา
ผูเรียนแบงเปน 2 ลักษณะ คือ
1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียน
ให เ หมาะสมตามความแตกต า งระหว า งบุ ค คล สามารถค น พบและพั ฒ นาศั ก ยภาพของตน
เสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพ
ที่ดีซึ่งผูสอนทุกคนตองทําหนาที่แนะแนวใหคําปรึกษาดานชีวิต การศึกษาตอและการพัฒนาตนเอง
สูโลกอาชีพและการมีงานทํา
2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่ผูเรียนเปนผูปฏิบัติดวยตนเองอยางครบวงจร
ตั้ ง แต ศึ ก ษา วิ เ คราะห วางแผน ปฏิ บั ติ ต ามแผน ประเมิ น และปรั บ ปรุ ง การทํ า งาน โดยเน น
การทํางานรวมกันเปนกลุม เชน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน เปนตน
2.1 ความสําคัญของการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
โรงเรียนโชคชัย (2549 : 32) ไดกลาวถึง ความสําคัญของการจัดกิจกรรม
พัฒนาผูเรียนไว ดังนี้
การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีความสําคัญ และมีความจําเปนอยางยิ่งที่
ตองจัดใหแกผูเรียน เพราะเปนการสงเสริมพัฒนาการดานตางๆใหแกนักเรียนรอบดาน ทั้งดาน
รางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ทั้งยังชวยเสริมสรางใหการเรียนรูตามหลักสูตรสมบูรณยิ่งขึ้น
การเรียนการสอนในหองเรียน สวนใหญมุงเนนเนื้อหาวิชาหรือการพัฒนาดานสติปญญาเปนสําคัญ
แตก ารดํ ารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุขนั้น ผูเรียนจําเปน ตองไดรับการพัฒนาด านสั งคม
และดานอื่นๆควบคูกันไปดวย เพื่อใหผลผลิตจากระบบโรงเรียนไดพัฒนารอบดานเปนกําลังคน
ที่สมบูรณและมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปนสุข จึงจําเปนตองจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเพื่อเสริม
หลักสูตรในสถานศึกษา โรงเรียนโชคชัยไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยแบงออกเปน 3 กลุม ดังนี้
1. กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี เปนกิจกรรมที่พัฒนาผูเรียนเปนพลเมืองที่
ดีของสังคมและประเทศชาติ โดยมุงเนนปลูกฝงความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตยสุจริต เคารพกฎ
กติกาของสังคม มีความเปนผูนําและผูตามที่ดี ตลอดจนอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
2. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาใหผูเรียนสามารถ
คนพบและพัฒนาศักยภาพของตนเองอยางเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล เสริมสราง
ทักษะชีวิต การสรางสัมพันธภาพที่ดี
3. กิจกรรมตามความถนัดและความสนใจของผูเรียน เปนกิจกรรมที่จัดขึ้น
เพื่อสนองความตองการของผูเรียน พัฒนาศักยภาพของผูเรียนความสามารถพิเศษไปสูความเปนเลิศ
ในดานตาง ๆ เชน นักกีฬา นักดนตรี วิชาการ เปนตน
ฉะนั้นสรุปไดวา กิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีประโยชนตอนักเรียนในดาน
ส ง เสริ ม ความรู ท างวิ ช าการ ช ว ยแก ป ญ หาด า นปกครอง ช ว ยให นั ก เรี ย นได ค น พบความถนั ด
ความสนใจ ความสามารถของตน สามมารถแกปญหาของตนเอง และชวยสังคมไดดวย สราง
ความเปนผูนํา และผูตาม มีความเชื่อมั่นในตนเอง เปนการเตรียมเด็กออกไปเปนพลเมืองดีตอสังคม
สรางความสัมพันธระหวางครูกับนักเรียน โดยใหนักเรียนไดมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม
2.2 หลักการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโรงเรียนโชคชัย
โรงเรียนโชคชัย (2549 : 33) ไดกลาวถึง หลักในการจัดกิจกรรมพัฒนา
ผูเรียนโดยมีการกําหนดวัตถุประสงค และแนวปฏิบัติ ดังนี้
1. จั ด ให เ หมาะสมกั บ วั ย วุ ฒิ ภ าวะ ความสนใจ ความถนั ด และ
ความสามารถของผูเรียนและวัฒนธรรมที่ดีงาม
2. บูรณาการวิชาการกับชีวิตจริงใหผูเรียนไดตระหนักถึงความสําคัญของ
การเรียนรูตลอดชีวิต และรูสึกสนุกกับการใฝรูใฝเรียน
3. ใชกระบวนการกลุมในการจัดประสบการณการเรียนรู ฝกใหคิด
วิเคราะห สรางสรรคจินตนาการที่เปนประโยชน และสัมพันธกับชีวิตในแตละชวงวัยอยางตอเนื่อง
4. จํานวนสมาชิกมีความเหมาะสมกับลักษณะของกิจกรรม
5. มี ก ารกํา หนดเวลาในการจั ด กิ จ กรรมให เ หมาะสมสอดคล อ งกั บ
วิสัยทัศน และเปาหมายของสถานศึกษา
6. ผูเรียนเปนผูดําเนินการ มีครูเปนที่ปรึกษา ถือเปนหนาที่และงานประจํา
โดยคํานึงถึงความปลอดภัย
7. ยึดหลักการมีสวนรวม โดยเปดโอกาสใหครู พอแม ผูปกครอง ชุมชน
องคกรทั้งภาครัฐและเอกชนมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม
8. มีการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ
สอดคลองกับกิจกรรมอยางเปนระบบและตอเนื่อง
กลาวโดยสรุปไดวา กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมในสถานศึกษาอีก
ประเภทหนึ่งที่มีความสําคัญตอผูเรียน หากมีการวางแผนในการจัดกิจกรรม และหลักการในการจัด
กิจกรรมที่มีคุณภาพ ก็จะชวยใหการเรียนการสอนในกิจกรรมเกิดประสิทธิภาพอยางสูงสุด
3. ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องตน
นักวิชาการไดกลาวเกี่ยวกับทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องตนไวดังนี้
ชูวิทย ยุระยง (2535 : 159) กลาวถึงวิชาทางทฤษฎีดนตรีตะวันตกเปนอีกวิชาหนึ่ง
ซึ่งถือไดวาเปนพื้นฐานที่สําคัญในการศึกษาดนตรี เพราะเปนการที่เราจะทําความเขาใจกับบทเพลง
ตาง ๆ ที่ไดรับการบันทึกและถายทอดออกมาเปนภาษาหรือสัญลักษณที่เราเรียกวา ตัวโนต
ตรอง ทิพยวัฒน (ม.ป.ป. : 1 - 23) ไดกลาวถึงเนื้อหาความรูขั้นพื้นฐานทางดาน
ดนตรีสากลเฉพาะในสวนที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวยเรื่อง ตัวโนต ตัวหยุด บรรทัด 5 เสน
เสนนอย เครื่องหมายเพิ่มอัตราตัวโนต กุญแจประจําหลัก และเครื่องหมายกําหนดจังหวะ
1. ตัวโนตเปนเครื่องหมายชนิดหนึ่งที่ใชบันทึกแทนเสียงดนตรีและเสียงขับรอง
2. ตัวหยุดเปนเครื่องหมายบันทึกใหเสียงดนตรีหรือเสียงขับรองเงียบเสียงลง
ชั่วขณะหนึ่งตามอัตราของตัวหยุดที่มีคาเทียบเทาตัวโนต
3. บรรทัด 5 เสน มีไวสําหรับบันทึกตัวโนตและตัวหยุด เพื่อบอกระดับเสียงสูง-ต่าํ
ของตัวโนต
4. เสนนอย มีไวสําหรับบันทึกโนตที่อยูใตและเหนือบรรทัด 5 เสน
5. เครื่องหมายเพิ่มอัตราตัวโนตเปนเครื่องหมายที่ใชเมื่อตองการจะเพิ่มอัตรา
ตัวโนตใหมีเสียงยาวมากกวาปกติ
6. กุญแจประจําหลัก หรือ กุญแจประจําเสียง มีความสําคัญในการกําหนดชื่อ
ตัวโนต
7. เครื่องหมายกําหนดจังหวะ คือ เลข 2 ตัวที่บันทึกซอนกันอยูในตอนตนของบท
เพลงถัดจากกุญแจประจําหลัก เลข 2 ตัวที่เขียนซอนกันมีความหมายแตกตางกัน เลขตัวลางหมายถึง
ลักษณะโนตที่ยึดเปนเกณฑตัวละ 1 จังหวะ เลขตัวบนหมายถึง จังหวะภายในหองจะตองมีจํานวน
จังหวะเทากับเลขตัวบนและบอกใหรูโนตตัวละ 1 จังหวะภายในหองตองมีจํานวนเทากับเลขตัวบน
สรุปไดวา กอนที่ผูเรียนสามารถอานและเขียนโนตที่เปนสัญลั กษณ สากล ผู เรีย น
ควรมีโอกาสไดรับรู มีประสบการณดานดนตรีในลักษณะแงมุมตาง ๆ เพื่อใหเกิดแนวคิดดาน
องคประกอบดนตรีรวมทั้งความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ซึ่งสิ่งเหลานี้ชวยใหผูเรียนอาน
และเขียนโนตดนตรีไดอยางมีความหมาย ประสบการณดานการอานและเขียนโนตซึ่งมีความเขาใจ
เปนพื้นฐานนี้เปนผลเนื่องมาจากการพัฒนาประสบการณเกี่ยวกับการรับรูเรื่องเสียงจากการฟง
การรอง การเลน การเคลื่อนไหว และการสรางสรรคดานดนตรี ดังนั้นการอานและเขียนจึงเปน
ทักษะที่ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาได มิใชเปนเรื่องเฉพาะสําหรับนักดนตรี หรือนักประพันธ
เพลงเทานั้น
4. ทฤษฎีการเรียนรูกับการสอนดนตรี
ในทางจิตวิทยา ทฤษฎีการเรียนรูสามารถแบงออกไดเปน 2 กลุมใหญ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรูของกลุมพฤติกรรมนิยมไดอธิบายการเรียนรูโดยใชความสัมพันธ
ระหวางสิ่งเราและการตอบสนองเปนหลัก ซึ่งเปนไปในหลายลักษณะโดยอธิบายการเรียนรูเกิดขึ้น
เมื่อใชสิ่งเราเปนตัวชี้นําหรือจูงใจใหผูเรียนแสดงพฤติกรรมที่ตองการออกมา การเรียนรูเกิดขึ้นใน
สภาวะของการวางเงื่ อ นไข โดยมีก ารเสริม แรงหรื อ การให ร างวัล และการลงโทษโดยเป น ตั ว
กําหนดใหผูเรียนแสดงพฤติกรรม ซึ่งเปนสิ่งที่เห็นไดชัดทั้งพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปและตัวเสริมแรงที่
นํามาชวยใหเกิดการเรียนรู
2. ทฤษฎีการเรียนรูกลุมแนวคิดนิยม
ทฤษฎีการเรียนรูของกลุมแนวคิดนิยมไดอธิบายการเรียนรูวาเปนกระบวนการที่
เกี่ ย วข อ งกั บ เรื่ อ งของการสร า งแนวคิ ด หรื อ ความเข า ใจเพื่ อ ที่ จ ะใช ป ระสบการณ ห รื อ สภาวะ
แวดลอมที่ตนไดประสบมา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความคิด กระบวนการคิดหาเหตุผลรวมไปถึง
ตัวแปรอื่น ๆ เชน การจูงใจ พันธุกรรมและประสบการณการเรียนรูที่มีมากอน ดังนั้นการเรียนรูที่
เกิดขึ้นเปนผลเนื่องมาจากประสบการณเดิมและความสามารถในการคิดหาเหตุผลของบุคคลนั้น
สาระสําคัญของทฤษฎีการเรียนรูในกลุมแนวคิดนิยม คือ
1. การเรียนรูจะเกิดขึ้นเมื่อผูเรียนมีโอกาสรับรูสิ่งนั้นอยางชัดเจน เนื่องจากผูเรียน
แต ล ะคนมี ป ระสบการณ เ ดิ ม ที่ แ ตกต า งกั น การรั บ รู ส่ิง ใหม อ าจไม เ ป น ไปในลั ก ษณะที่ ผู ส อน
ตองการ ดังนั้นผูเรียนและผูสอนควรมีความเขาใจตรงกันในสิ่งที่ตองการเรียนรู รวมไปถึงการจัด
สภาพการเรียนการสอนที่เอื้ออํานวยตอการเรียนรูในสิ่งที่มุงหวังไว
2. การเรียนรูใหมที่เกิดขึ้นเปนผลรวมของประสบการณเดิมและประสบการณใหม
ของผูเรียน ดังนั้น การจัดสภาพการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงประสบการณเดิมของผูเรียนและใช
ประสบการณ เ ดิ ม ของผู เ รี ย นเป น จุ ด เริ่ ม ต น ชี้ ใ ห เ ห็ น ความคล า ยคลึ ง หรื อ ความเหมื อ นของ
ประสบการณเดิมกับประสบการณใหม
3. การเรียนรูเปนกระบวนการตอเนื่องสัมพันธ ผูเรียนจะเรียนรูสิ่งใหม ๆ ไดโดย
การเชื่อมโยงกับสิ่งที่ตนมีประสบการณมาแลว ดังนั้นผูสอนควรทราบประสบการณเดิมของผูเรียน
และใชประสบการณเดิมนั้นเชื่อมโยงกับประสบการณใหมที่จะเรียนรูทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
สิ่งใหม ๆ
4. เนื่องจากการเรียนรูเปนกระบวนการตอเนื่อง ในบางครั้งประสบการณใหมอาจ
ไมสมบูรณแบบ แตผูเรียนสามารถเรียนรูจากประสบการณนั้นไดเมื่อนําประสบการณเดิมที่มีอยูมา
ชวยทําใหประสบการณใหมสมบูรณแบบและเกิดการเรียนรูขึ้นได
นอกจากนี้ บรูเนอร (Bruner. 1966 : 10 – 11, อางถึงใน ณรุทธ สุทธจิตต. 2532 :
57 - 60) ไดเสนอหลักการเกี่ยวกับลําดับขั้นของการรับรูทางจิตวิทยาดานดนตรีไวดังนี้
การรับรูเปนกระบวนการที่แบงได 3 ระดับ คือ
1. ขั้นการเรียนรูการกระทํา (Enactive representation) ไดแก กระบวนการรับรูที่
ผานทางการกระทําซึ่งในทางดนตรีการรับรูในขั้นนี้ เชน การเรียนที่ผูเรียนไดฟงเสียงหรือปรบมือ
ตามจังหวะของตัวโนตตาง ๆ เปนตน
2. ขั้นการเรียนรูจากความคิด (Iconic representation) ไดแก กระบวนการรับรู
ที่เกี่ยวข องกับการใชสัญลักษณแทนสิ่งที่ตองการเรียนรูในลัก ษณะของภาพในทางดนตรี เชน
การใชภาพที่สื่อความหมายแทนตัวโนตหรือใชความสั้นยาวของเสนสื่อความหมายแทนจังหวะสั้น
ยาวของอัตราตัวโนต
3. ขั้นการเรียนรูสัญลักษณและนามธรรม (Symbolic representation) ไดแก
กระบวนการรับรูที่เกี่ยวของกับการใชสัญลักษณทางดานภาษาที่ทุกคนยอมรับ เชน ภาษาเขียนหรือ
ตัวโนตสากล ในขั้นนี้คือ การเรียนสัญลักษณจากขั้นที่สองมาเปนสัญลักษณที่เปนลักษณะสากล
ในทางดนตรี ไดแก การรับรูเกี่ยวกับเรื่องตัวโนตหรือเครื่องหมายตางๆทางทฤษฎีดนตรี

5. แนวการจัดกิจกรรมดนตรี
ในกระบวนการเรียนการสอนที่เกี่ยวของกับผูเรียน (ณรุทธ สุทธจิตต. 2537 : 151 -
160) ไดกลาวถึงสาระดนตรีและการเรียนรูเปนกระบวนการสรางประสบการณดนตรีซึ่งมี
ความลึกซึ้ง ดังนั้น ครูผูสอนควรทําความเขาใจกับประสบการณดนตรีเพื่อใชเปนแนวทางในการจัด
กิจกรรมดนตรีหรือควรคํานึงในการเรียนการสอนดนตรีเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูดนตรีได
อยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
ประสบการณดนตรี
ประสบการณดนตรีเปนสาระที่เกี่ยวของกับผูเรียนดนตรี การเรียนดนตรี สาระดนตรี
และสุนทรียศาสตร
สาระดนตรี (Music subject-matter) เนื่องจากสาระดนตรีเปนแกนสารเนื้อหาสาระ
ของวิชาการโดยเฉพาะ ดังนั้นการจัดกิจกรรมโดยใชหลักของสาระดนตรีจะชวยใหผูเรียนสามารถ
เรียนรูดนตรีไดตรงตามสาระเนื้อหาของดนตรี สาระดนตรีสามารถแบงออกเปน 2 สวน คือ เนื้อหา
ดนตรีและทักษะดนตรี
1. เนื้อหาดนตรี (Music content) ประกอบดวยสิ่งสําคัญ 2 สวน คือ องคประกอบ
ดนตรีและวรรณคดีดนตรี
1.1 องคประกอบดนตรี (Music elements) ประกอบดวยจังหวะ (Rhythm)
ทํานอง (Melody) เสียงประสาน (Harmony) ฉันทลักษณ (Form) สีสัน (Tone colorหรือTimbre)
และอารมณเพลง (Expressions)
1.2 วรรณคดีดนตรี (Music literature) ประกอบดวย บทเพลง (Repertoire) หรือ
เพลงประเภทตาง ๆ และประวัติศาสตรดนตรี (Music history)
2. ทักษะดนตรี (Music skills) เปนสวนชวยใหเกิดความเขาใจสาระดนตรีไดและ
จัดเปนหัวใจของการศึกษาดนตรี ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีควรเสนอทักษะ
ดนตรีตาง ๆ อยางครบถวนสมบูรณ ทักษะดนตรีประกอบดวย การฟง (Listening) การรอง
(Singing) การเลน (Playing) การเคลื่อนไหว(Moving) การสรางสรรค (Creating) และการอาน
(Reading)
สุนทรียศาสตร (Aesthetics) สาระเกี่ยวของสุนทรียศาสตร เปนเนื้อหาสวนหนึ่งที่
เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมหรือการศึกษาดนตรี เนื่องจากดนตรีเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความงาม
โดยตรง สุนทรียศาสตรจึงเปนรากฐานสําคัญดานหนึ่ง ทั้งนี้เปนเพราะการที่ผูเรียนดนตรีจะเกิด
ความซาบซึ้งในดนตรีไดนั้น ดนตรีที่ผูเรียนมีประสบการณหรือไดสัมผัสตองเปนดนตรีที่เปน
สุนทรียวัตถุคือเปนดนตรีที่มีสุนทรียรส
การจัด กิ จกรรมดนตรี ในการจัด กิ จกรรมดนตรีเกี่ ยวของกับประสบการณดนตรี
แบงเปน 2 สวนใหญ ๆ คือ
1. การเรียนรูดนตรี เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนการสอนดนตรีและผูเรียนดวย
ตนเอง การสอนดนตรี การประเมินผลดนตรีและสภาพแวดลอมในหองเรียน กระบวนการเรียน
การสอนดนตรี ไดแก เนื้อหาเกี่ยวกับหลักสูตรดนตรี วิธีสอนดนตรี สวนการเรียนรูดวยตนเอง
ไดแก การเรียนรูนอกหองเรียนหรือการเรียนรูที่ระบบการศึกษามิไดจัดใหแตผูเรียนหาโอกาสศึกษา
ดวยตนเอง ซึ่งเปนการเรียนรูจากสภาพแวดลอมในสังคมเชน สภาพทางบาน สื่อมวลชน การไปชม
การแสดงตาง ๆ
2. ผูเรียนดนตรี เปนสวนสําคัญในประสบการณดนตรีและเปนหัวใจของการจัด
กิจกรรมดนตรีที่ควรคํานึงถึง ในสวนที่เกี่ยวของกับผูเรียนดนตรีมี 2 สวนคือ
2.1 ความสามารถในการเรีย นรู ที่เ กี่ย วของกับสติปญญา ไดแ ก ความคิด ที่
เกี่ยวของกับความถนัดดนตรี ไดแก พรสวรรคหรือความสามารถเฉพาะตัวที่ติดตัวมาแตกาํ เนิด
2.2 ทั ศ นคติ ด นตรี ได แ ก ความรู สึ ก และอารมณ ซึ่ ง เป น ส ว นที่ นํา ไปสู
ความซาบซึ้งในสุนทรียรสของดนตรีแตเปนสิ่งที่ไมสามารถสอนกันไดโดยตรงผูเรียนจะเกิดไดใน
ความรูสึกของตนเองจากการเรียนรู
ณรุทธ สุทธจิตต (2536 : 100 - 122) ไดสรุปหลักการสอนดนตรีประเภทตาง ๆ
ไวดังนี้
1. หลักการสอนดนตรีของหมอมดุษฎี บริพัตร
หลั ก การที่ สํ า คั ญ ในการสอนดนตรี คื อ มุ ง พั ฒ นาความรู ค วามสามารถ
ทางดานดนตรีของผูเรียนตามความถนัดของแตละบุคคล โดยเนนใหผูเรียนใชความคิดของตนเอง
เปนหลัก เนนใหสรางสรรคมิใชเปนการเลียนแบบเพียงอยางเดียว โดยการบูรณาการทักษะดนตรี
และการเคลื่อนไหว ผูเรียนเรียนรูเกี่ยวกับแนวคิดทางดนตรีโดยใชพื้นฐานทางการเคลื่อนไหวและ
ทักษะเปนสื่อใหมีสวนรวมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนเปนหลักสําคัญ ผูเรียนจะคิด วิเคราะห วิจารณ
สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกันและแสดงในระหวางกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อรับรู
และเกิดประสบการณทางดนตรีโดยใชการเคลื่อนไหวเปนสื่อประกอบดวยทักษะการเคลื่อนไหว
พื้นฐานไปสูการเคลื่อนไหวที่มีแบบแผน 3 ระดับ คือ ทักษะพื้นฐานเบื้องตนทักษะพื้นฐานขั้นกลาง
และทั ก ษะในระดั บ สู ง ผู เ รี ย นจะพั ฒ นาทั ก ษะขั้ น พื้ น ฐานจากระดั บ หนึ่ ง ไปสู อี ก ระดั บ หนึ่ ง
พรอม ๆไปกับทักษะตาง ๆ และความรูความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดทางดนตรี
2. หลักการสอนดนตรีของอรวรรณ บรรจงศิลป
หลักการสอนดนตรี คือ การมุงพัฒนาการรับรูดานดนตรีและความเขาใจ
ในเรื่องโครงสรางหรือองคประกอบดนตรี เพื่อนําไปสูความซาบซึ้งในดนตรีและความสามารถใน
การประยุกตใชความรูและทักษะดนตรีในชีวิตประจําวัน ทักษะดนตรีที่กลาวถึง ไดแก การฟง
การรอง การเลน การเคลื่อนไหว การสรางสรรคและการอาน สวนโครงสรางหรือองคประกอบ
ดนตรี ไดแก จังหวะ ทํานอง รูปแบบ เสียงประสาน อารมณเพลงและลีลาโดยใชกิจกรรมดนตรี
เปนสื่อ
3. หลักการสอนดนตรีของดาลโครซ (Emile Jaques-Dalcroze)
สาระสําคัญในการสอนดนตรีของดาลโครซ คือ การพัฒนาความรูความเขาใจ
เกี่ยวกับดนตรี ซึ่งเนนเรื่องเสียงเปนสําคัญ โดยใชหลักการเคลื่อนไหวเปนสื่อนําไปสูความเขาใจ
เรื่องดนตรี หลักการพื้นฐานของวิธีนี้เปนการเคลื่อนไหวเกี่ยวของกับจังหวะที่เรียกวา ยูริธึมมิก
(Eurhythmic) จุดเริ่มตนของยูริธึมมิก คือ การสอนใหเด็กรูจักเคลื่อนไหวใหเขากับจังหวะดนตรี
หรือใชความเคลื่อนไหวสนองตอบตอดนตรีซึ่งเกี่ยวของกับการบังคับกลามเนื้อในสามลักษณะคือ
3.1 การเคลื่อนไหวใหเขากับเวลา (เกี่ยวของกับความเร็วของจังหวะ หรือ
Tempo)
3.2 การเคลื่อนไหวใหเขากับที่วาง (เกี่ยวของกับระยะหรืออัตราตัวโนต หรือ
Duration)
3.3 การเคลื่อนไหวที่ใหแรงที่เหมาะสม (เกี่ยวของกับความดังคอยของเสียง
หรือ Dynamics)
4. หลักการสอนดนตรีแบบคอมพรี เฮนซี ฟ มิว ซิเ ชิ่นชิ ฟ (Comprehensive
musicianship)
หลักการสอนดนตรีแบบคอมพรีเฮนซีฟ มิวซิเชิ่นชิฟ เริ่มตนจากการไดเห็น
ขอบกพรองของการเรียนการสอนดนตรีในลักษณะของการแบงแยกดนตรีเปนวิชาตาง ๆ ทําให
ผูเรียนไมสามารถเกิดแนวคิดเกี่ยวกับดนตรีเปนภาพรวมที่ไมครบถวนไดสงผลทําใหการพัฒนา
ดานดนตรีไมครบถวนสมบูรณจึงไดปรับปรุงการเรียนการสอน โดยมุงพัฒนาใหผูเรียนมีความเปน
นักดนตรีอยางครบถวนสมบูรณ วิธีการสอนดังกลาว ยังครอบคลุมไปถึงการเรียนการสอนดนตรี
ในทุกลักษณะตั้งแตดนตรีศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยม ซึ่งมุงเนนใหความรูทางดนตรี
อยางครบถวน ดังนั้นหลักการที่สําคัญของวิธีนี้คือ ผูเรียนสามารถรูและเขาใจดนตรีในลักษณะของ
ศิลปะ ทั้งสามารถซาบซึ้งในดนตรี ใหความสําคัญกับดนตรีไมวาจะอยูในฐานะใดของสังคม
หลั ก การสํ า คั ญ ของกระบวนการนี้ คื อ การจั ด ประสบการณ ใ ห ผู เ รี ย นมี
บทบาทเปนทั้งผูฟง ผูแสดงและผูสรางสรรค กลาวคือ
ในฐานะผูฟง ผูเรียนไดรู คิด วิเคราะห โดยอาศัยสื่อทั้งทางเสียงและภาพ เขา
มาชวยเพื่อให ผูเรียนมีประสบการณเกี่ยวกับสาระดนตรีอยางถองแทลึกซึ้ง
ในฐานะผูแสดง ผูเรียนไดรับประสบการณและฝกทักษะดนตรีตาง ๆ ทําให
ผูเรียนเกิดความเขาใจในดนตรีอีกมิติที่นอกเหนือจากฐานะผูฟง
ในฐานะผู สร า งสรรค ผู เ รี ย นมี โอกาสสรา งสรรค ด นตรี ตั้ ง แต ร ะดั บง า ย ๆ
จนถึงระดับการประพันธเพลง ซึ่งการเรียนรูดนตรีโดยการสรางสรรคเปนสื่อ สิ่งนี้เปนประสบการณ
สรางเสริมใหผูเรียนเขาใจและเห็นคุณคาของดนตรีไดเปนอยางดี
การเรียนการสอนแบบดังกลาว มีวิธีการที่ใชประกอบดังนี้
4.1 การมีสว นรวมในกิจกรรมดนตรีของผูเรียน
4.2 การมีประสบการณดนตรีทั้ง 3 ดานไปพรอมๆกัน
4.3 การคนพบดวยตนเอง
4.4 การใชวรรณคดีดนตรีทั่วโลกในการสอน

สาระดนตรี

การเรียนรู แนวการจัดกิจกรรมดนตรี สุนทรียศาสตร

ผูเรียนดนตรี

ภาพที่ 2.1 แนวการจัดกิจกรรมตามประสบการณดนตรี


ที่มา : ณรุทธ สุทธจิตต. 2536 : 153

6. การวัดและประเมินผลการเรียนรูดนตรี
นักวิชาการหลายทานไดกลาวถึงการวัดผลและประเมินผลการเรียนรูดนตรีไวดังนี้
ณรุทธ สุทธจิตต (2536 : 150) ไดกลาวถึงการวัดผลและการประเมินผลดนตรี ดังนี้
การวัดผลและการประเมินผลดนตรีแ บงออกเปน 2 ส ว น คื อ การประเมินผล
เกี่ยวกับเนื้อหาดนตรี ซึ่งเนนไปทางเรื่องการสรางแบบทดสอบลักษณะตาง ๆ และการประเมินผล
เกี่ยวกับทักษะดนตรี ไดแกเรื่องของการปฏิบัติ ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับการประเมินคาอิงขอมูลทั้งเชิง
ปริมาณและคุณภาพ
การประเมินผลการเรียนรูดนตรี
แบงออกไดเปน 2 สวน คือ (ณรุทธ สุทธจิตต. 2536: 151)
1. การประเมินเนื้อหาดนตรี เนื้อหาดนตรี ไดแก องคประกอบดนตรี (จังหวะ
ทํานอง เสียงประสาน รูปแบบ สีสัน และลักษณะของเสียง) และวรรณคดีดนตรี (บทเพลง และ
ประวัติด นตรี) ซึ่ง เปน เรื่อ งเกี่ย วกับ ทฤษฎีด นตรี สามารถประเมิน ผลโดยใชก ารทดสอบใน
รูปแบบของขอสอบลักษณะตางๆได เนื่องจากเปนการประเมินผลทางดานเนื้อหา แนวคิด มิได
เกี่ยวของกับทักษะปฏิบัติ
2. การประเมินผลทักษะดนตรี การประเมินผลทักษะดนตรีเกี่ยวของโดยตรงกับ
การปฏิบัติ สามารถกระทําไดในสองลักษณะตามประเภทของการปฏิบัติดนตรี คือ การปฏิบัติเดี่ยว
และการปฏิบัติกลุมโดยการวัดทั้งสองลักษณะ คือ ความสามารถในการปฏิบัติทักษะ และคุณภาพ
ของการปฏิบัติ
สุเทพ เมยไธสง (2534 : 21) ไดกลาวถึงการวัดผลและประเมินผลการเรียนรูดนตรี ไว
ดังนี้
การวัด และการประเมิน ผล เปน กระบวนการที ่มุ ง กํ า หนดปริม าณคุณ ภาพของ
พฤติกรรมและความสามารถของบุคคล โดยใชเครื่องมือวัดเปนตัวเรา ใหบุคคลแสดงพฤติกรรม
ความสามารถเหลานั้นออกมา เพื่อกําหนดจํานวนหรือระดับ ผลการวัดที่ไดแตละครั้งยอมขึ้นอยูกับ
เครื่องมือวัดเปนสําคัญ ครูจึงเปนผูที่จะตองรูลักษณะของเครื่องมือวัด เพื่อที่จะนําผลของการวัดไป
พัฒนาความสามารถของผูเรียนตอไป
สายันต บุญใบ (2543 : 49) ไดกลาวถึงความหมายของการวัดผลและประเมินผล
การเรียนรูดนตรีไวดังนี้
ในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรูดนตรีนั้น ควรจะมีการประเมินทั้งดานความรู
และความสามารถทางทักษะปฏิบัติ ในการวัดความรูควรใชคําถามหรือแบบสอบถามเพื่อประเมิน
ถึงความรูความเขาใจที่ผูเรียนไดรับ สวนในดานของการวัดความสามารถทางทักษะปฏิบัติ นิยมใช
แบบสังเกตทักษะปฏิบัติ
สําหรับการวิจัย ในครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการวัด ผลและประเมินผลทั้งดานความรู และ
ดานความสามารถทางทักษะปฏิบัติ โดยในการวัดดานความรูผูวิจัยไดใชแบบทดสอบเปนแบบ
ปรนัย 4 ตัวเลือก สวนดานความสามารถดานทักษะปฏิบัติ ผูวิจัยจะใชแบบสังเกตทักษะปฏิบัติเพื่อ
ประเมินคะแนนตามเกณฑการใหคะแนนตามที่ไดกําหนดไว
ทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี

1. ความสําคัญของทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี
ความสําคัญของทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี มีนักวิชาการหลายทานไดกลาวไว
ดังนี้
ไพฑูรย สินลารัตน (2524 : 95) กลาววา ความสําคัญของทักษะการปฏิบัติเครื่อง
ดนตรีมีความสําคัญ 2 ลักษณะ คือ ความสําคัญในแงของการศึกษา เพราะทักษะการปฏิบัติเครื่อง
ดนตรีทําใหการศึกษาวิชาดนตรี เปนการศึกษาที่สมบูรณ และความสําคัญในแงของผูเรียนผูสอน
ทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีชวยใหผูเรียนเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุจุดประสงคใน
ลักษณะของการนําไปใช สวนทางดานผูสอนไดมีโอกาสเห็นผลของการสอนของตนในทันทีทันใด
ณรุทธ สุทธจิตต (2536 : 8 - 9) กลาววา สวนสําคัญอีกสวนหนึ่งของสาระดนตรี คือ
ทักษะดนตรี ซึ่งเปนสวนที่ชวยใหเกิดความเขาใจสาระดนตรีได และจัดเปนหัวใจของการศึกษา
ดนตรีสําหรับผูที่จะเปนนักดนตรี (Musician และ Performer) ตอไป ทักษะดนตรีแตละประเภทยอม
มีความสําคัญเทาเทียมกัน ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรี ควรมีทักษะดนตรี
ตาง ๆ อยางครบถวน
ศักดิ์ชัย หิรัญรักษ (2539 : 12 - 17) กลาววาทักษะปฏิบัติเปนธรรมชาติของการเรียน
การสอนในวิชาดนตรี การปฏิบัติในวิชาจะถูกเรียกวาการฝกทักษะดนตรีปฏิบัติ (Musical skill)
เนื้อหาสาระทางดนตรีจะถูกสอนผานทักษะเสมอ
จากที่ นั ก วิ ช าการทางด า นดนตรี ห ลายท า น ได ก ล า วถึ ง ความสํ า คั ญ ของทั ก ษะ
การปฏิ บั ติ เ ครื่ อ งดนตรี ไ ว ข า งต น สามารถสรุป ใจความสํ า คั ญ ได ว า ทั ก ษะดนตรี แ ต ล ะทั ก ษะ
มีความสําคัญเทาเทียมกันดังนั้นเพื่อใหการจัดกิจกรรมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ควรมีการให
ความสําคัญเกี่ยวกับการฝกทักษะปฏิบัติเพราะเมื่อผูเรียนมีทักษะในดานปฏิบัติอยางดีแลวก็จะ
นําไปสูการเรียนรูในเรื่องอื่นๆไดเปนอยางดีเชนกันเพราะจะทําใหการเรียนการสอนสามารถดําเนิน
ไปอยางลุลวงและเกิดประโยชนตอทั้งตัวของผูเรียนและผูสอนดวยเชนกัน

2. องคประกอบของการเรียนการสอนทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
ในการเรียนการสอนทั กษะการปฏิบัติเ ครื่องดนตรีในรายวิชาดนตรีศึกษานั้น มี
องคประกอบหลายประการ ซึ่งผูสอนควรพิจารณาใครครวญ และวางแผนการสอนใหรอบคอบ
ไมวาจะเปนดานเนื้อหาวิชา หรือในดานเกี่ยวกับเรื่องสวนตัวของผูเรียน องคประกอบสําคัญที่ควร
คํานึงถึง มีนักวิชาการกลาวไว ดังนี้
กมลรัตน หลาสุวงษ (2523 : 271) กลาววา องคประกอบที่จําเปนในการเรียนการสอน
ทักษะการปฏิบัติ ควรคํานึงถึงองคประกอบตางๆ ดังตอไปนี้
1. ผูเรียน ไดแก วุฒิภาวะ ประสบการณเดิม ความพรอม แรงจูงใจ เปนตน
2. อาจารยผูส อน ไดแ ก วิเ คราะหทัก ษะที่จ ะสอน การศึก ษาภูมิห ลัง ของผูเ รีย น
ฝกฝนทักษะที่ยังขาดอยูใหสมบูรณ และสงเสริมทักษะที่มีอยูแลวใหมีความชํานาญมากขึ้น อธิบาย
และสาธิตทักษะที่จะฝกอยางชาๆใหเขาใจ และชัดเจนตามลําดับทุกขั้นตอน พยายามแจงผลการฝก
กลับไปยังผูเรียนบอย ๆ หรือทันทีที่ฝกสําเร็จในแตละขั้น
ชม ภูมิภาค (2524 : 296) กลาววา การเรียนทักษะการปฏิบัติ มีองคประกอบที่สําคัญ
3 สวน คือ
1. ความรู
2. การกระทําเพื่อใหถูกตอง
3. การปฏิบัติจนเปนอัตโนมัติถึงขั้นเชี่ยวชาญ
การสอนทักษะ ประกอบดวยขั้นตาง ๆ ดังนี้
ขั้นที่1 วิเคราะหทักษะ ตองพิจารณาแยกแยะรายละเอียดของทักษะนั้นออกมา
ขั้นที่ 2 ตรวจสอบความสามารถเบื้องตนที่เกี่ยวกับทักษะของนักเรียน
ขั้นที่ 3 จัดการฝกหนวยตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในหนวยที่ขาดหายไป
ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบายและสาธิตทักษะใหนักเรียนดู
ขั้นที่ 5 จัดภาวะสิ่งเรา กําหนดเวลาการปฏิบัติ และการใหรูผลปฏิบัติ
ไพฑูรย สินลารัตน (2524 : 97) กลาววา องคประกอบที่สําคัญในการเรียนการสอน
ทักษะการปฏิบตั ิเครื่องดนตรี มีดังตอไปนี้
1. สถานที่ฝกปฏิบัติตองมีความเหมาะสม สอดคลองกับจุดมุงหมายและเนื้อหาวิชา
2. การฝกปฏิบัติเปนการลงมือทํางานจริง ปฏิบัติงานจริงในสภาพที่ใกลเคียงหรือ
เปนสภาพจริงใหมากที่สุด
3. เอกสารการฝกปฏิบัติ เชน คูมือการฝกปฏิบัติ แบบฝกปฏิบัติ
4. การเตรียมตัวของผูเรียนและผูสอน เชนตองกําหนดจุดมุงหมายของการฝก
กําหนดเนื้อหา เตรียมเอกสาร อุปกรณ สถานที่ และกําหนดเวลา ผูเรียน จําเปนตองมีความรู มีทกั ษะ
ขั้นพื้นฐาน มีความเขาใจขั้นตอนและสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการปฏิบัติ
ณรุทธ สุทธจิตต (2536 : 62) ไดกลาววา องคประกอบของการเรียนการสอนทักษะ
การปฏิบัติเครื่องดนตรีที่ควรคํานึงถึง มีดังตอไปนี้
1. ผูเรียนทุกคนควรไดปฏิบัติเครื่องดนตรีในการประกอบกิจกรรม
2. เครื่องดนตรีควรอยูในสภาพดี
3. การเก็บรักษาเครื่องดนตรี
4. วิธีปฏิบัติเครื่องดนตรี
5. การปฏิบัติดนตรีทั้งแบบกลุมและแบบเปนวง
6. การปฏิบัติดนตรีโดยการอานและการสรางสรรค
7. การฟงการปฏิบัติของตนเอง
8. ราคาเครื่องดนตรี
จากองคประกอบของการเรียนการสอนทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีที่นักวิชาการ
กลาวไวขางตน สรุปไดวา ทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี เปนทักษะดนตรีที่สําคัญอีกทักษะหนึ่งที่
ผูเรียนดนตรีทุกระดับชั้นควรมีประสบการณ ประโยชนที่ไดจากการปฏิบัติเครื่องดนตรีทําใหผเู รียน
พัฒนาเนื้อหาดนตรีไดอยางดี เนื่องจากผูเรียนตองเขาใจจดจําจังหวะ ทํานอง และตองอานโนต
นอกจากนี้การปฏิบัติเครื่องดนตรีทําใหผูเรียนเกิดความสนุกสนาน โดยเฉพาะการปฏิบัติในลักษณะ
ประสมวง และทําใหผูเรียนเกิดความซาบซึ้งในสุนทรียรสของดนตรี

3. การเตรียมตัวสูภาคปฏิบัติ
ไดมีนักวิชาการกลาวถึงการเตรียมตัวสูภาคปฏิบัติ ไวดังนี้
ดุษฎี พนมยงค บุญทัศนกุล (2539 : 56 - 57) กลาววา การฝกทักษะอยางไดผล ควรมี
ความพรอมดังตอไปนี้
1. มีความตั้งใจอยางจริงจังที่จะฝกฝน โดยจัดเวลาใหตนเอง อยางนอยวันละ 20 - 30
นาที สัปดาหละ 5-6 วัน
2. มีสถานที่ที่ผูฝกสามารถจะปฏิบัติการฝกซอมได เชน เปนหองฝกซอมเฉพาะ
ไมมีผูมารบกวน มีอากาศถายเทไดสะดวก และขอใหคํานึงดวยวาไมควรใหเสียงจากการฝกซอมไป
รบกวนชาวบาน
3. มีเครื่องเทียบเสียง (Pitch pipe) หรือมีเครื่องดนตรีอื่น
4. รับประทานอาหารพอสมควร ไมควรทองวางหรือทองอิ่มจนเกินไป
5. สวมเสื้อผาที่ไมคับจนเกินไป ขณะฝกควรงดใชเข็มขัดรัดเอว
6. ไมมีโรคภัยไขเจ็บ สุขภาพสมบูรณ
7. ทําจิตใจใหแจมใสและสงบ
8. เดินสายกลางในการฝก ไมตึงจนเกินไป และไมหยอนจนเกินไป
การกําหนดเวลาฝกแบบฝกหัดในแตละบทนั้น สามารถปรับปรุงใหเหมาะสมกับ
สภาพของแตละบุคคลโดยมุงไปที่ผลของการฝกเปนหลัก

4. การฝกซอมทักษะประจําวัน
ไดมีนักวิชาการกลาวถึงการฝกซอมทักษะประจําวัน ไวดังนี้
ชูชาติ พิทักษาการ (2535 : 141 - 143) กลาววา การฝกซอมประจําวันเปนสิ่งที่จําเปน
ที่สุดในการฝกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี ผูฝกตองวางแผนใหรอบคอบ และเหมาะสมกับเวลาที่
ตนเองมีอยู การฝกซอมควรแบงออกเปน 3 ชวง ดังนี้
1. การฝกซอมเทคนิค แบงเปน 2 ตอน คือ
1.1 การแกไขขอบกพรองทางเทคนิคของแตละบุคคล ผูฝกจะตองสํารวจตัวเองอยาง
ละเอี ย ดว า มี จุ ด ที่ จ ะต อ งแก ไ ขที่ ไ หนบ า ง จะต อ งแก ไ ขอย า งไร จะต อ งใช แ บบฝ ก หั ด บทไหน
การแกไขขอบกพรองควรเปนสิ่งแรกที่พึงกระทําในการฝกซอมประจําวัน หากไมรีบแกไขจะเปน
อุปสรรคที่สําคัญอยางยิ่งในการพัฒนากาวหนา
1.2 การพัฒนาเทคนิค พิจารณาหาความเรงดวนของเทคนิคที่จะพัฒนาดําเนินการ
ฝกใหถูกวิธี วิเคราะหอวัยวะที่ตองใชสําหรับเทคนิคแตละอยาง แลวฝกชา ๆ มีสติทุกครั้งที่ฝกและ
ควรฝกใหถูกตองเสมอ การพัฒนาเทคนิค แบงออกเปน 3 อยาง คือ
1.2.1 Scales and arpeggios
1.2.2 Pure exercises
1.2.3 Applied exercises
2. การฝ ก ซ อ มบทเพลง ควรวิ เ คราะห เ พลงในแง ข องดนตรี แ ละในแง ข องเทคนิ ค
พยายามตี ค วามหมายของบทเพลงให เ ข า ใจก อ นที่ จ ะลงมื อ ฝ ก ซ อ มจะเป น การดี เ ยี่ ย มถ า ผู ฝ ก
จะพยายามไดยินเพลงนั้นในใจกอนที่จะเริ่มทําการฝกซอม พยายามหาวิธีการที่จะทําใหเพลงนั้น
ถูกตองตามความประสงคของผูประพันธใหมากที่สุด และฝกซอมจนมั่นใจวาสามารถจะเลนได
อยางถูกตองทุกครั้ง
3. ฝ ก การแสดงจริ ง การฝ ก แสดงจริ ง ควรเล น ไปตามโปรแกรมที่ ไ ด จั ด ไว หากมี
การผิดพลาดเกิดขึ้นอยาหยุดเลนเพราะในการแสดงจริงๆจะหยุดเลนไมได ควรบันทึกเสียงไว เพื่อ
นํามาแกไขขอบกพรองตาง ๆ หลังจากที่เลนเพลงตามโปรแกรมนั้นจบลง
การฝกซอมขั้นสุดทาย คือการฝกแสดงจริง เชนการเลนคูกับเปยโนหรือแผนเสียง
ประเภท Music minus one การฝกแสดงจริงควรจะเลนไปตามโปรแกรมที่ไดจัดไวหากมี
การผิ ด พลาดเกิ ด ขึ้ น อย า หยุ ด เล น เพราะในการแสดงจริ ง ๆ จะหยุ ด เล น ไม ไ ด ควรใช เ ครื่ อ ง
บันทึกเสียงอัดไวเพื่อนํามาแกไขขอบกพรองตางๆ หลังจากที่เลนเพลงตามโปรแกรมนั้นจบลง
โปรดจําไววา เพียงแตฝกซอมเพื่อใหเลนไดถูกตองเทานั้นยังไมพอ แตจะตองซอม
จนเลนไมผิดจึงจะใชได (เรียกไดวา “ผิดไมเปน”)

5. วิธีการฝกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี
มีนักวิชาการหลายทาน ไดกลาวถึงวิธีการฝกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีไว ดังนี้
กมลรัตน หลาสุวงษ (2523 - 274) กลาววา การฝกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
จะไดผลดีมีประสิทธิภาพเพียงใดยอมขึ้นอยูกับวิธีการตางๆ ดังนี้
1. การจัดเวลาฝก ควรฝกโดยใชระยะเวลาสั้นๆ ดีกวาฝกโดยใชระยะเวลานานๆ
2. เนนการฝกสวนยอยแลวจึงฝกสวนรวม
3. เนนการฝกความแมนยํากอนความรวดเร็ว
4. การวัดความกาวหนาของทักษะเปนระยะๆ แลวสะทอนกลับใหผูเรียนรับรู
5. ควรฝกในสภาพที่เปนจริงใหมากที่สุด
6. การเชื่อมโยงทักษะเดิมใหสอดคลองกับทักษะใหม โดยการถายโยงการเรียนรู
7. การใชความคิดริเริ่มสรางสรรคมาปรับปรุงวิธีการเรียนทักษะใหทันสมัย
สุกรี เจริญสุข (2529 : 76 - 78) กลาวถึงวิธีการฝกปฏิบัติเครื่องดนตรีไว ดังนี้
1. ปรัชญาของการฝก “ฝกทําใหทุกอยางสมบูรณเพราะการฝกที่ผิดเปนเหตุใหปฏิบัติ
ผิด” ทําไมตองฝก เพราะการฝกคือ การพัฒนาวิทยายุทธไปสูความเกง พัฒนาทักษะกลามเนื้อ และ
พรสวรรคทางดนตรีใหเจริญไปในทางที่ถูกตอง จุดประสงคของการฝก เปนการเรียนรูทักษะ
การควบคุ ม กล า มเนื้ อ ไม ว า จะเป น ริ ม ฝ ป าก ระบบหายใจ นิ้ ว สมาธิ ฝ ก ระบบประสาทให
ตอบสนองตอดนตรี ฝกหูใหเคยชินกับเสียงที่ถูกตอง แกไขขอบกพรองใหสมบูรณ
2. สถานที่ฝก ควรเปนสถานที่ที่สงบ สามารถสรางสมาธิในการฝกโดยไมมีสิ่งใด มา
รบกวนหรือไมรบกวนบุคคลอื่น หองฝกควรเปนหองสวนบุคคล อากาศถายเทไดสะดวก อุณหภูมิ
เหมาะสมคือประมาณ 75ºF ในหองควรมีกระจกเพื่อตรวจสอบการวางปาก และทาทางในการเปา
ถาเปนไปไดควรมีเปยโนสําหรับบรรเลงประกอบ
3. การฝกควรปฏิบัติใหเปนกิจวัตรประจําวันควรฝกอยางนอยวันละ 2 ชั่วโมง
การฝกควรอยางยิ่งที่ จะฝกอยางสม่ําเสมอ ในขณะที่ฝกเมื่อรูสึกเหนื่อยควรหยุ ดพักเพราะไม มี
ประโยชนที่จะฝนเมื่อรางกายออนเพลียไมสามารถควบคุมไดทําใหการเรียนรูไดผลนอย นอกจาก
จะทําใหเหนื่อยมากขึ้นแลวยังทําใหจิตใจเบื่อหนายตอการฝกอีกทอดหนึ่ง พึงระลึกเสมอวา การฝก
จะสมบูรณก็ตอเมื่อรางกายและจิตใจสมบูรณ
4. ลักษณะนิสัยที่ดีในการฝก
4.1 การฝกที่ดีตองคํานึงถึงคุณภาพของการฝกเปนสําคัญ ระยะเวลาที่ใชฝกควร
ขึ้นอยูกับสมาธิ ใชเวลาสั้นแตมีสมาธิฝกยอมดีกวาใชเวลานานแตไมมีสมาธิ
4.2 ฝกดวยอัตราจังหวะชา ถือวาเปนหัวใจของการฝก เพราะการฝกชา ๆ มีโอกาส
แกไขขอบกพรอง สามารถฟงเสียงที่เปาไดชัดเจน สามารถสรางสมาธิในการฝกได
4.3 ฝกจุดออน วลีที่ยาก กระสวนจังหวะที่ปฏิบัติไมถูก
4.4 ใชเครื่องเคาะจังหวะและเครื่องตั้งเสียงในการฝก ตองมีเครื่องเคาะจังหวะ
ควบคูการฝกตลอดเวลาเพื่อสรางความแมนยําของจังหวะนอกจากนี้ควรมีเครื่องตั้งเสียง เพื่อฝกให
เคยชินกับเสียงที่ถูกตอง
4.5 ทุกครั้งที่ฝกควรมีก ระจก เพราะกระจกเปน ครู ที่ จ ะบอกใหเ ราทราบวา
การวางปากหรือทาทางในการฝกปฏิบัติถูกตองหรือไม
4.6 มีทัศนคติที่ดีตอการฝก นอกจากสรางสมาธิในการฝกแลว ควรสรางทัศนคติ
ดีตอการฝก ฝกเพื่อดนตรี ไมควรฝกเพราะถูกบังคับ หรือฝกดนตรีเพราะสรางฐานะทางสังคม
4.7 บันทึกเทปทุกครั้งที่ฝก เพื่อฟงและแกไขขอบกพรองในการฝกครั้งตอไป
4.8 ฝกความจําโดยฝกวลีสั้นๆ 10 เที่ยว (ดูโนต 10 เที่ยว อาศัยความจํา 10 เที่ยว
และอีก 10 เที่ยวดูโนตครั้งหนึ่ง)
5. การฝกทุกครั้ง ควรจัดตารางวาฝกอะไรบาง นานเทาใด ไมควรฝกอยางหนึ่งอยาง
เดียวจนเบื่อหนายตอการฝก
จากที่นักวิชาการไดกลาวถึงทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีมาแลวขางตนสรุปไดวา
ทักษะเปนเรื่องการเกิดความชํานาญที่อยูในรูปการกระทํา เปนลักษณะของพฤติกรรมที่แสดงถึง
ความสามารถของการประกอบกิจกรรมเพื่อตอบสนองตอสิ่งเรา
ทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี เปนทักษะที่มีความสําคัญมากของผูศึกษาดนตรีเปน
วิช าเอก ทั ก ษะการปฏิ บั ติ เ ครื่ อ งดนตรี มิ ไ ด มี จุ ด มุ ง หมายเพี ย งเพื่ อ ให ผู เ รี ย นมี ค วามชํา นาญใน
การปฏิบัติเครื่องดนตรี แตใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการปฏิบัติเครื่องดนตรีบางประเภท
เพื่อใหมีประสบการณทางดนตรีครบถวน และเปนการสรางความเขาใจในดนตรีใหมากขึ้น การ
ปฏิบัติเครื่องดนตรีตองใชเวลาในการฝกซอมมากเพื่อใหมีความชํานาญเฉพาะ
ทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี เปนทักษะที่มีความสําคัญอยางยิ่งทักษะหนึ่ง เพื่อใหผูเรียน
ไดมีประสบการณดนตรีอยางครบถวน ในการฝกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี ผูเรียนตองเรียนรูและทํา
ความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบของดนตรี ฉะนั้นอาจกลาวไดวา ทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
เปนทักษะที่เชื่อมโยงทักษะดานตางๆใหมีความสัมพันธกัน
การฝกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีที่มีคุณภาพนั้น ตองมีกระบวนการในการฝก
ดังตอไปนี้
1. การเตรียมตัว
1.1 ทําจิตใจใหแจมใส สดชื่น เบิกบาน
1.2 มีความตั้งใจในการฝกฝน
1.3 รับประทานอาหารพอสมควร ไมควรทองวางหรือทองอิ่มจนเกินไป
1.4 มีสถานที่ที่เหมาะสมในการฝกซอม
1.5 มีเครื่องดนตรีที่ดีมีคุณภาพในการใชฝกทักษะปฏิบัติ นอกจากนีแ้ ลว ควรมี
เครื่องเคาะจังหวะ และเครื่องเทียบเสียง
1.6 มีสุขภาพที่สมบูรณ แข็งแรง
1.7 มีทัศนคติที่ดีตอการฝกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรี
2. วิธีการฝกปฏิบัติ
2.1 ฝกดวยอัตราจังหวะชา เพราะสามารถแกไขขอบกพรองได
2.2 ฝกสวนยอยไปหาสวนรวม
2.3 ฝกวลีที่ยาก ฝกกระสวนจังหวะที่ปฏิบัติยังไมถูกใหมีความถูกตอง อยาฝก
อยางผิด ๆ จนเคยชินตอความผิดนั้น
2.4 บันทึกเทปทุกครั้งเพื่อแกไขขอบกพรองในการฝก
2.5 ใชเครื่องเคาะจังหวะตลอดเวลาที่มีการฝก
2.6 เนนการฝกความแมนยํากอนความรวดเร็ว
2.7 ควรฝกในสภาพที่เปนจริงใหมากที่สุด
2.8 ควรฝกใหเปนกิจวัตรประจําวัน
2.9 การฝกที่ดีตองคํานึงถึงคุณภาพของการฝกเปนสําคัญ
2.10 ประเมินความกาวหนาของการฝกเปนระยะๆ เพื่อใหเกิดแรงจูงใจในการฝก
ครั้งตอไป
สรุปไดวาเทคนิคการฝกซอม การฝกดนตรีแตละกลุม แตละคณะยอมแตกตางกัน
ตั ว โน ต ดนตรี เ ป น ทฤษฎี ผู เ รี ย นย อ มเรี ย นรู จ ากทฤษฎี เ ดี ย วกั น ทุ ก คน แต เ ทคนิ ค การนํ า ไปใช
ไมเหมือนกัน เชนเดียวกับการเรียนวิชาที่ผูสอนเรียนมาจากตําราและครูผูสอนคนเดียวกัน แตเมื่อ
ลงมือสอนนักเรียน ยอมพบกับปญหาและสิ่งแวดลอมตางๆที่ไมเหมือนกัน จึงตองใชเทคนิคใน
การสอนใหเหมาะสม และปรับสภาพใหเขากับสิ่งแวดลอม การฝกซอมดนตรีก็เชนเดียวกัน ครู
ผูสอนจําเปนตองใชเทคนิคพิเศษในการฝกซอมที่แตกตางกันออกไปตามความเหมาะสม เพื่อให
การฝกซอมไดเกิดประโยชนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับชุดการสอน การเรียนการสอนวิชาดนตรี มีดังนี้


วิเชียร วรินทรเวช (2527) ทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลการเรียนความคงทนในการจํา
และทัศนคติที่มีตอการเรียนในวิชาดนตรี จากการเรียนโดยใชเทปในการสอนของนักเรียน ชั้น
ประถมศึก ษาป ที่ 4 ผลการวิ จัย พบว า การสอนดนตรีด านการจํ า เสีย งแบบสากลและเรื่อ ง
มาตรฐาน โดยใชเทปบันทึกเสียงเครื่องดนตรีตามโปรแกรมการสอนที่วางขั้นตอนใหเหมาะสมกับ
พัฒนาการของเด็กนั้นสามารถใชสอนไดอยางดีเชนเดียวกับการสอนโดยใชเครื่องดนตรี
สุนันท สุขเจริญ (2529) ทําการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
การสอนโนตสากลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จากการสอนที่ใชเปยโนกับการสอนที่ใช
บัตรคียบอรด ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนโนตสากลของนักเรียนกลุมที่เรียนจาก
การสอนที่ ใ ช เ ป ย โนกั บ กลุ ม ที่ เ รี ย นจากการสอนที่ ใ ช บั ต รคี ย บ อร ด นั้ น ไม แ ตกต า งกั น ที่ ร ะดั บ
ความนัยสําคัญ.05 ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐานที่กําหนดไวและผลที่ไดจากการศึกษา การผลิตและ
การใชบัตรคียบอรดในการสอนโนตสากลใหแกนักเรียนปรากฏวา นักเรียนยอมรับรอยละ 83.75
สวนที่เหลือรอยละ16.25ไมยอมรับ
เพชรสุดา ภูมิพันธ (2533) ทําการวิจัยโดยดําเนินการสรางชุดการสอนจุลบทเรื่อง
การสีซอดวงวิชาปฏิบัติเครื่องสายไทย สําหรับนักศึกษาโปรแกรมวิชาเอกดนตรีศึกษาในวิทยาลัยครู
บุรีรัมย ผลการวิจัยพบวา ชุดการสอนจุลบทที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด
คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคทฤษฎีรอยละ81.35 ภาคปฏิบัติรอยละ75.06 และพบวาชุดการสอน
จุลบทที่สรางขึ้นมีเนื้อหาเหมาะสม กิจกรรมการเรียนนาสนใจและนักศึกษามีความสามารถตามที่
กําหนดไวในจุดประสงค
สุดารัตน ชาญเลขา (2535) ทําการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาขับรองเพลงไทยของนักศึกษาวิทยาลัยครูที่เรียนโดยใชชุดการสอนจุลบทกับการสอนแบบปกติ
ผลการวิจัยพบวา นักศึกษากลุมทดลองที่เรียนขับรองเพลงไทยดวยชุดการสอนจุลบทมีพัฒนาการ
ดานเนื้อหา พัฒนาการดานการปฏิบัติขับรองเพลงไทยและมีเจตคติที่ดีตอชุดการสอนจุลบทสูงกวา
นักศึกษากลุมควบคุมที่เรียนดวยการสอนแบบปกติ
ดวงเดือน คุปตคาร (2541) ทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอน
เรื่องสาระของทํานองเพลงไทยผานทักษะการขับรอง สําหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5
ผลการวิจัยพบวาชุดการสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนด ผลการเรียนกอนเรียน
และหลังเรียนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ทักษะการขับรองเพลงไทยที่
กําหนดมีคาเฉลี่ยรอยละ 78.09 แบบวัดเจตคติมีคาเฉลี่ยรอยละ87.92 และพบวาเนื้อหาของ
ชุดการสอนที่สรางขึ้นทําใหผูเรียนไดเรียนรูสาระของทํานองเพลงไทยใหเกิดความรู ความเขาใจ
นําไปสูการพัฒนาทักษะทางดนตรีอื่น ๆ และชุดการสอนดังกลาวสามารถนําไปใชสอนนักเรียนใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 - 6 ในโรงเรียนประถมศึกษาทั่วไปไดโดยไมตองมีขอสงสัย
ประโมทย พอคา (2542) ไดทําการวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดการสอนทฤษฎีดนตรีสากล
เบื้องตนโดยผานทักษะปฏิบัติขลุยรีคอรเดอรในรายวิชาดนตรีสําหรับครูประถมศึกษาของสถาบัน
ราชภั ฏ ผลการวิ จั ย พบว า ชุ ด การสอนเรื่ อ งทฤษฎี ด นตรี ส ากลเบื้ อ งต น ในรายวิ ช าสํ า หรั บ ครู
ประถมศึกษามีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนด ผลการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนมีความ
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงวา ผูเรียนกลุมตัวอยางมีพัฒนาการดาน
ความรู ความเขาใจสูงกวากอนเรียน ผลคะแนนจากแบบสังเกตภาคปฏิบัติขลุยรีคอรเดอร มีคาเฉลี่ย
รอยละ77.80 แสดงวาผูเรียนกลุมตัวอยางที่เรียนการปฏิบัติขลุยรีคอรเดอรดวยชุดการสอนเรื่อง
ทฤษฎีดนตรีสากลเบื่องตนในรายวิชาดนตรีสําหรับครูประถมศึกษา มีทักษะการปฏิบัติขลุยรีคอร
เดอร ตามเกณฑที่กําหนดคือ ไมต่ํากวารอยละ70 แสดงวาการทดลองครั้งนี้เปนไปตามสมมติฐาน
ที่คาดไวทุกประเด็น
สุมาลี ขจรดํารงกิจ (2547) ทําการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
ดนตรีสากลขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชขลุยรีคอรเดอร และใชการขับรอง
ผลการวิ จั ย พบวา การเปรีย บเทียบผลสัมฤทธิ์ใ นการเรีย นดนตรีสากลขั้น พื้ นฐานของนัก เรี ย น
ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ไมแตกตางกันและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนดนตรีสากลขั้นพื้นฐานเรื่องชื่อ
และอัตราสวนตัวโนตของนักเรียนกลุมที่เรียนโดยใชการขับรองสูงกวานักเรียนกลุมที่เรียนโดยใช
ขลุยรีคอรเดอร
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของสรุปไดวา การเรียนการสอนดนตรีโดยมี
การสรางและวางขั้นตอนอยางเหมาะสมตลอดจนการใชเทคโนโลยี หรือ นวัตกรรมการศึกษา
ในรูปแบบตางๆมาใชในกิจกรรมการเรียนการสอน ทําใหการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
และทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกวาการเรียนการสอนในรูปแบบเดิม

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง มีการผลิตชุดการสอนโดยใชแบบแผนและ
แนวคิ ด จากนั ก วิ ช าการหลายท า น ผู วิ จั ย ได นํ า มาประยุก ต เมื่ อ ผู เ รีย นได เ รี ย นตามแผนการจั ด
การเรียนรูที่กําหนดไวแลวทําใหทราบวาชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนมีประสิทธิภาพตามที่ได
กําหนดไว และสงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเรื่องของดนตรีสากลเบื้องตน และ
ทักษะในการเปาขลุยรีคอรเดอรสูงขึ้น จึงสรุปเปนกรอบแนวคิด ดังนี้

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

1. ประสิทธิภาพชุดการสอน
การเรียนรูโดยใช
ดนตรีสากลเบื้องตน
ชุดการสอน
2. ความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตน
ดนตรีสากลเบือ้ งตน
3. ทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร

ภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดในการวิจยั

สมมติฐานการวิจัย

1. ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑที่ตั้งไว คือ 80/80
2. นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ที่เรียนโดยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีความรูเรื่อง
ดนตรีสากลเบื้องตนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน
3. นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ที่เรียนโดยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีคะแนน
เฉลี่ยทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร ไมต่ํากวาเกณฑที่กําหนด
บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิ จั ย เรื่ อ งการพั ฒ นาชุ ด การสอนดนตรี ส ากลเบื้ อ งต น สํ า หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ
ชวงชั้นที่ 2 ผูวิจัยไดดําเนินการดังตอไปนี้
1. แบบของการวิจัย
2. ประชากรและกลุมตัวอยาง
3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมขอมูล
5. การวิเคราะหขอมูล

แบบของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง การพัฒนา
ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 โดยใชชุดการสอนที่ผูวิจัยสราง
ขึ้นและในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยในลักษณะของการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental design)
ทดลองกลุมเดียว โดยมีการทดสอบกอน (Pre-test) และหลัง (Post-test) การทดลอง

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1. ประชากร
ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปนนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนโชคชัย
เขตลาดพราว ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 469 คน
2. กลุมตัวอยาง
กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้เปน นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนโชคชัย
เขตลาดพราว ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวนนักเรียน 33 คน โดยเจาะจงจากนักเรียน
ที่สมัครเขาชุมนุมดนตรีสากล
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบดวย
1. ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2
2. แบบวัดความรูด นตรีสากลเบือ้ งตน
3. แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
วิธีการดําเนินการสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือ
1. ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 มีขั้นตอน
การสรางดังนี้
1.1 ศึก ษาหลั ก สูต รการศึก ษาขั้น พื้น ฐานกลุม สาระการเรีย นรูศิล ปะ (ดนตรี)
ชวงชั้น ที่ 2 เพื่อวิเคราะหเ ปาหมาย วัตถุประสงค และเนื้อหาเพื่อเปน ขอมูลในการนํามาสราง
ชุดการสอน
1.2 ศึกษาวิธีการสรางชุดการสอน องคประกอบชุดการสอน ลําดับขั้นการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอนจากเอกสาร หนังสือและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษา
1.3 วิเคราะหเนื้อหาเรื่อง ดนตรีสากลเบื้องตนจากเอกสาร หนังสือที่เกี่ยวของกับ
การเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล และขอคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญในเรื่องของดนตรีสากลเบื้องตน
แลวจึงแบงเนื้อหาออกเปนเรื่องยอยๆประกอบดวย ตัวโนต ตัวหยุด บรรทัด 5 เสน เครื่องหมายเพิ่ม
อัตราตัวโนต กุญแจประจําหลัก เครื่องหมายกําหนดจังหวะ
1.4 ดําเนินการสรางชุดการสอนจํานวน 8 ชุด แบงตามเนื้อหาที่วิเคราะหไวโดยแต
ละชุดใชเวลาในการสอน ชุดละ 1-2 คาบ คาบละ 60 นาที โดยในแตละชุดมีองคประกอบ ดังนี้
1.4.1 ชื่อเรื่อง
1.4.2 สาระสําคัญ
1.4.3 จุดประสงคการเรียนรู
1.4.4 คูมือการใชชุดการสอน ซึ่งประกอบไปดวย
1. ขอแนะนําในการใชชุดการสอน
2. คําชี้แจงเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
3. แผนการจัดการเรียนรู
4. แบบการประเมินผล
1.4.5 สื่อการเรียนการสอน
1.5 นําชุดการสอนใหผูเชี่ยวชาญตรวจ พิจารณาในเรื่องของความถูกตองของเนื้อหา
สาระสําคัญ จุดประสงคการเรียนรูในเรื่องดนตรีสากลเบื้องตน ความเหมาะสมของกิจกรรม
การสอน สถานการณการเรียนที่กําหนด ปริมาณเนื้อหาและกิจกรรมการเรียน
1.6 นําชุดการสอนมาปรับปรุงแกไข
1.7 ไดชุดการสอนฉบับสมบูรณ

การสรางชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน ผูวิจัยไดดําเนินการสรางตามภาพที่ 3.1


ตามขั้นตอน ดังนี้

ศึกษาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ดนตรี)

ศึกษาวิธกี ารสรางชุดการสอน

วิเคราะหเนื้อหาเรื่องทฤษฎีดนตรีสากล

สรางชุดการสอน

นําชุดการสอนใหผูเชีย่ วชาญตรวจพิจารณา

นําชุดการสอนมาปรับปรุงแกไช

ชุดการสอนฉบับสมบูรณ

ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการสรางชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน


2. แบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตน มีขั้นตอนการสราง ดังนี้
2.1 วิเคราะหเนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรู เพื่อกําหนดคุณลักษณะแบบวัด
ที่จะสราง
2.2 นําผลการวิเคราะหเนื้อหาและจุดประสงคจากขั้นตอนที่หนึ่งไปสรางแบบวัดผล
การเรียนรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ โดย
กระจายสัดสวนจํานวนขอทดสอบใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงคของชุดการสอนทั้ง 8 ชุด
2.3 นําแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตนที่สรางขึ้นใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบพิจารณา
ในเรื่องของ คุณลักษณะโครงสรางภาษา สํานวน ตัวเลือก ผลการวิเคราะหไดคาความตรงเชิง
เนื้อหา (IOC) ตั้งแต 0.67 – 1.00 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ IOC ≥ .50 แสดงวาแบบวัดมี
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาทุกขอ
2.4 นําไปทดลองใช (Try out) โดยทดสอบกับนักเรียนที่เคยเรียนเรื่องดนตรีสากล
เบื้องตน แลวคะแนนผลการสอบมาหาคาความยากและคาอํานาจจําแนกรายขอ ไดคาความยาก
รายขออยูในเกณฑ .20 ถึง .80 และคาอํานาจจําแนกรายขออยูในเกณฑ .20 ขึ้นไป
2.5 นําคะแนนมาหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใชสูตร KR-20 ไดคา 0.86
2.6 ไดแบบวัดความรูฉบับสมบูรณ
การสรางแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตน ผูวิจัยไดดําเนินการสรางตามภาพที่ 3.2
ตามขั้นตอน ดังนี้

วิเคราะหเนื้อหา และจุดประสงคการเรียนรู

สรางแบบวัดความรูเปนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก

นําแบบวัดความรูที่สรางขึ้นใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรง

นําแบบวัดความรูไปทดลองกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง

นําแบบวัดความรูมาหาคาอํานาจจําแนก

นําคะแนนมาหาคาความเชือ่ มั่น โดยใชสตู ร KR-20

ไดแบบวัดความรูฉบับสมบูรณ

ภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการสรางแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตน


3. แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร สรางขึ้นเพื่อวัดความรู ความสามารถทาง
ภาคปฏิบัติ ซึ่งผูวิจัยดําเนินการสรางตามขั้นตอนดังตอไปนี้
3.1 ศึกษาวิธีการประเมินผลดานทักษะปฏิบัติจากเนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรู
3.2 ดําเนินการสรางแบบสังเกตภาคปฏิบัติและคูมือใหคะแนน โดยใชมาตราสวน
ประมาณคา (Rating scale) แบงเปน 3 อันดับคุณภาพ คือ
ปฏิบัติไดระดับดี ใหคาน้ําหนักเปน 2 คะแนน
ปฏิบัติไดระดับปานกลาง ใหคาน้ําหนักเปน 1 คะแนน
ปฏิบัติไมไดตองปรับปรุง ใหคาน้ําหนักเปน 0 คะแนน
รายละเอียดดังตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร

ระดับคุณภาพ
หัวขอการประเมิน
ดี ปานกลาง ตองปรับปรุง
1. ทานั่งถูกลักษณะ
2. การจับขลุย
3. การเปาไลเสียง
4. การเปาเรียงนิ้วและการเปาขามนิ้ว
5. จังหวะเพลง
6. ทํานองเพลง
7. คุณภาพเสียง
8. การสรางสรรค
9. ลักษณะการใชมือ
10. การดูแลรักษาขลุย
รวม
3.3 นําแบบวัดภาคปฏิบัติและคูมือการใหคะแนน ไปใหผูเชี่ยวชาญดานทักษะ
การปฏิบัติเครื่องดนตรีตรวจสอบความเที่ยงตรง ผลการวิเคราะหไดคาความตรงเชิงเนื้อหา (IOC)
ตั้งแต 0.67 – 1.00 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ IOC ≥ .50 แสดงวาแบบวัดมีความเที่ยงตรง
เชิงเนื้อหาทุกขอ
3.4 นําแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรไปทดลองใชกับนักเรียนที่เปาขลุยรีคอร
เดอรเปน โดยเลือกนักเรียนที่มีทักษะการเปาขลุย นอย ปานกลาง และดี อยางละ 3 คน เพื่อทดสอบ
การเปาขลุยคนละ 2 ครั้ง
3.5 นําคะแนนที่ไดจากแบบวัดทักษะการเปาขลุยทั้ง 2 ครั้งมาหาคาความสัมพันธ
ซึ่งเปนคาที่แสดงถึง ความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบวัด โดยวิธีทดสอบ 2 ครั้ง (test-retest) ได
คาความสัมพันธ 0.82
3.6 ปรับปรุงแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
3.7 แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรฉบับสมบูรณ
การสรางแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร ผูวิจัยไดดําเนินการสรางตามภาพที่ 3.3
ตามขั้นตอน ดังนี้

ศึกษาวิธกี ารประเมินผลดานทักษะปฏิบัติ

สรางแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร

นําแบบวัดทักษะการเปาขลุย รีคอรเดอรใหผูเชี่ยวชาญ พิจารณาตรวจสอบ

นําแบบวัดทักษะปฏิบัติไปทดลองกับนักเรียน

นําคะแนนที่ไดจากแบบวัดมาหาคาความสัมพันธ

ปรับปรุงแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร

แบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรฉบับสมบูรณ

ภาพที่ 3.3 ขั้นตอนการสรางแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร


การเก็บรวบรวมขอมูล

ในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน
ดังตอไปนี้
1. ในขั้นเริ่มดําเนินการทดลอง ผูวิจัยทําการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) ดวยแบบวัด
ความรูดนตรีสากลเบื้องตนกับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 33 คน แลว
บันทึกคะแนนของกลุมตัวอยางที่ไดจากการทดสอบในครั้งนี้เปนคะแนน กอนการทดลอง
2. ผูวิจัยดําเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูที่ระบุไวในชุดการสอนดนตรีสากล
เบื้องตน
3. เมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนการสอนที่ทําการทดลองกับนักเรียนกลุมประชากร
ตามเวลาเรียนที่ไดกําหนดไว ใหทําการทดสอบดวยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ดวยแบบวัด
ความรูดนตรีสากลเบื้องตน แลวบันทึกคะแนนที่ไดเพื่อเปนคะแนนหลังการทดลอง
4. วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคปฏิบัติ ดวยแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
แลวทําการบันทึกทึกผล เปนคะแนนหลังการทดลอง
5. นําผลการทดลองทั้งหมดมาทําการวิเคราะห แลวจึงสรุปผลการวิจัย

การวิเคราะหขอมูล

1. ขอมูลที่นํามาวิเคราะห ใชสถิติที่เกี่ยวของดังนี้
1.1 หาประสิทธิภาพของชุดการสอน ดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวง
ชั้นที่ 2 กําหนดเกณฑมาตรฐาน 80/80 โดยที่ 80 ตัวแรก หมายถึง คาเฉลี่ย รอยละ 80 ของ
คําตอบที่นักเรียนทําไดถูกตองในแบบฝกหัดหรือกิจกรรมของชุดการสอน 80 ตัวหลัง หมายถึง
คาเฉลี่ยรอยละ 80 ของคําตอบที่นักเรียนทําไดถูกตองในแบบทดสอบหลังเรียน
1.2 หาคาความเที่ยงตรงของแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตนใชคาดัชนีความ
สอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง (IOC)
1.3 เปรียบเทียบความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน
ที่เรียนดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ดวยการทดสอบ
คาสถิติ t-test dependent
1.4 ประเมินทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร ที่กําหนดในชุดการสอนตามแบบสังเกต
ภาคปฏิบัติขลุยรีคอรเดอร โดยใชคาเฉลี่ย กําหนดเกณฑคาเฉลี่ยไวไมต่ํากวาระดับดี คือ 15 คะแนน
2. สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลในการสรางเครื่องมือและผลที่ไดจากการทดลอง ผูวิจัยใชวิธีการ
ทางสถิติ ดังตอไปนี้
2.1 การประเมินคุณภาพของชุดการสอน สถิติที่ใชคือ คาเฉลี่ย
2.1.1 คาเฉลี่ย (Mean) คํานวณจากสูตร (พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2547 : 267)

สูตร X = ∑X
N

เมื่อ X แทน คาเฉลี่ยของคะแนน


∑X แทน ผลรวมของขอมูลทั้งหมด
N แทน จํานวนของขอมูล

2.1.2 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) คํานวณจากสูตร (สมนึก


ภัททิยธนี. 2544 : 280)

N∑ X 2 − (∑ X)2
สูตร SD =
N ( N − 1)

เมื่อ SD แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


∑X แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน
∑X 2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนยกกําลังสอง
N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง

2.2 การหาคาความเที่ยงตรงของแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตน ใชคาดัชนี


ความสอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543 : 117)

สูตร IOC = ∑R
N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบ
กับผลการเรียนรูที่คาดหวัง
∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็น
ของผูเชี่ยวชาญ
N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ

2.3 คาความยาก (Difficulty) สูตร (p) โดยคํานวณจากสูตร (ทิวัตถ มณีโชติ. 2547 :


54 - 55)

p = H+L
N
เมื่อ p แทน คาความยากของขอสอบ
H แทน จํานวนคนในกลุมสูงที่ตอบถูกในขอสอบ
นั้น
L แทน จํานวนคนในกลุมต่าํ ที่ตอบถูกในขอสอบ
นั้น
N แทน จํานวนคนทั้งหมดในกลุมสูงและกลุมต่ํา

2.4 คาอํานาจจําแนก (Discrimination) สูตร (r) โดยคํานวณจากสูตร (ทิวัตถ


มณีโชติ. 2547 : 55)

H−L
r =
N/2

เมื่อ r แทน คาอํานาจจําแนก


H แทน จํานวนคนในกลุมสูงที่ตอบถูก
ในขอสอบขอนั้น
L แทน จํานวนคนในกลุมต่ําที่ตอบถูก
ในขอสอบขอนั้น
N แทน จํานวนคนทั้งหมดในกลุมสูงและกลุมต่ํา
2.5 หาความเชื่อมั่นของแบบวัดความรูดนตรีสากลเบื้องตนโดยคํานวณจากสูตร
KR–20 คูเดอร – ริชารสัน (Kuder Richardson) (พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2547 : 247)

rtt =
n ⎡1 − ∑ pq ⎤
n −1 ⎢⎣ S 2 ⎥⎦

เมื่อ rtt แทน สัมประสิทธิ์ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ


n แทน จํานวนขอคําถาม
S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ
p แทน สัดสวนของคนทําถูกแตละขอ
q แทน สัดสวนของคนทําผิดแตละขอ
(q = 1 – p)

2.6 หาความสัมพันธของแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร โดยคํานวณจาก


สูตรหาสัมประสิทธิ์ความเชือ่ มั่นแบบสอบซ้ํา (ทิวัตถ มณีโชติ. 2547 : 83)

N ∑ xy − (∑ x)(∑ y )
rtt =
[N ∑ x 2 − (∑ x) 2 ][N ∑ Y 2 − (∑ Y ) 2 ]

เมื่อ rtt แทน คาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมัน่ แบบสอบซ้ํา


N แทน จํานวนคูของคะแนน
∑ XY แทน ผลรวมของผลคูณระหวางคะแนนสอบ
ครั้งที่ 1 กับคะแนนสอบครั้งที่ 2
∑X แทน ผลรวมของคะแนนสอบครั้งที่ 1
∑X 2
แทน ผลรวมของคะแนนสอบครั้งที่ 1 ยกกําลัง
สอง
( ∑ X )2 แทน ผลรวมของคะแนนสอบครั้งที่ 1
ทั้งหมดยกกําลังสอง
( ∑ Y ) 2 แทน ผลรวมของคะแนนสอบครั้งที่ 2
ทั้งหมดยกกําลังสอง
2.7 การหาประสิทธิภาพของชุดการสอนตามเกณฑที่กําหนด 80/80 โดยใชสูตร
E1/E2 (พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2545 : 83)

⎡∑ x / N ⎤
E1 = ⎢⎣ A ⎥⎦ × 100
⎡∑ F / N ⎤
E2 = ⎢⎣ B ⎥⎦ × 100

เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรี


สากลเบื้องตนซึ่งเปนคารอยละ
ของคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบ
ระหวางเรียน
E2 แทน ประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากล
เบื้องตนซึ่งเปนคารอยละของคะแนนเฉลี่ย
ที่นักเรียนทําการทดสอบหลังเรียน
∑X แทน ผลรวมของคะแนนสอบแบบฝกหัดหรือ
กิจกรรมของผูเรียนทุกคน
∑F แทน ผลรวมของคะแนนสอบหลังเรียน
ของผูเรียนทุกคน
A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัดหรือกิจกรรม
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
N แทน จํานวนนักเรียน

2.8 เปรียบเทียบความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตนของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 กอน


และหลังการเรียนรูดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ใชสถิติ
Two dependent Samples test (t-test) ดังนี้ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2547 : 307)

สูตร t
t =
∑D
N ∑ D 2 − (∑ D) 2
N −1
เมื่อ t แทน การตรวจสอบความแตกตางของ
คะแนนกอนการทดลองและหลังการทดลอง
D แทน ความแตกตางของคะแนนกอนการทดลอง
และหลั งการทดลองของนั กเรี ยนแต ละ
คน
ΣD แทน ผลรวมของความแตกตางของคะแนน
กอนการทดลอง และหลังการทดลอง
ของนักเรียนทุกคน
D2 แทน ความแตกตางของคะแนนกอนการทดลอง
และหลังการทดลองของนักเรียน
แตละคนยกกําลังสอง
ΣD2 แทน ผลรวมของความแตกตางของคะแนน
กอนการทดลองและหลังการทดลอง
ของนักเรียนแตละคนยกกําลังสอง
(ΣD2) แทน ผลรวมของความแตกตางของคะแนน
กอนการทดลองและหลังการทดลอง
ของนักเรียนทุกคนยกกําลังสอง
NΣD2 แทน จํานวนนักเรียนคูณผลรวมของความ
แตกตาง
ของคะแนนกอนการทดลองและ
หลังการทดลองของนักเรียนแตละคน
ยกกําลังสอง
N แทน จํานวนนักเรียน

2.9 เพื่อวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรของนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 หลังเรียนดวย


ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 สถิติที่ใชคือคาเฉลี่ยแลวเทียบกับ
เกณฑที่กําหนดไว
บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ในการนํ า เสนอการวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นาชุ ด การสอน ดนตรี ส ากลเบื้ อ งต น สํ า หรั บ
นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ขอเสนอเปน 3 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอน
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความรูเรื่อง ดนตรีสากลเบื้องตน
ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรกับเกณฑ

ตอนที่ 1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน

ผูวิจัยทําการทดลองนักเรียนกับนักเรียนซึ่งเปนกลุมตัวอยาง ไดผลการวิเคราะหคะแนน
จากการเรียนโดยใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน ดังตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 ประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน

คาเฉลี่
จํานวน คะแนน
ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน ผลรวม ยรอย
นักเรียน เต็ม
ละ
คะแนนระหวางเรียน 33 1335 50 80.91
คะแนนหลังเรียน 33 1084 40 82.13

จากตารางที่ 4.1 แสดงประสิทธิภาพของชุดการสอน พบวา ประสิทธิภาพตัวแรก คือ


คาเฉลี่ยรอยละของคะแนนของนักเรียนที่ไดจากการทดสอบระหวางเรียน ดวยชุดการสอนดนตรี
สากลเบื้องตน มีคาเทากับ 80.91 และประสิทธิภาพตัวหลังคือ คาเฉลี่ยรอยละของคะแนนของ
นักเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบความรูและแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร มีคาเทากับ
82.13 แสดงวาชุดการสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไวคือ 80/80
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความรูดนตรีสากลเบื้องตน กอนและหลังการใช
ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน

ผูวิจัยนําผลคะแนนจากแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียนมาทําการวิเคราะห เพื่อ


ตองการทราบวา เมื่อนักเรียนเรียนดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน ที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นแลว
นักเรียนมีพัฒนาการเปนอยางไร ดังตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 ผลการเปรียบเทียบความรูดนตรีสากลเบื้องตนระหวางกอนเรียนและหลังเรียน

คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย
ΣD Σ D2 t Sig.
กอนเรียน หลังเรียน
18.12 32.85 486 7542 24.41 .00

จากตารางที่ 4.2 ผลการเปรียบเทียบความรูดนตรีสากลเบื้องตนของนักเรียนระดับ


ชวงชั้นที่ 2 พบวานักเรียนมีความรูเกี่ยวกับ ดนตรีสากลเบื้องตน กอนการใชชุดการสอน 18.12
สวนความรูเกี่ยวกับ ดนตรีสากลเบื้องตน หลังการใชชุดการสอนโดยเฉลี่ย 32.85 และเมื่อคํานวณ
คาสถิติ t มีคาเทากับ 24.41 ซึ่งสามารถสรุปไดวา นักเรียนมีความรูเกี่ยวกับดนตรีสากลเบื้องตนหลัง
การใชชุดการสอน สูงกวา กอนการใชชุดการสอน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .01

ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรกับเกณฑ

ผูวิจัยไดนําผลคะแนนของการสอบทักษะการเปาขลุย รี คอรเดอร มาวิ เคราะห


เพื่อตองการทราบวาหลังจากนักเรียนเรียนดวยชุดการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นแลว นักเรียนมีทักษะ
การเปาขลุยรีคอรเดอรอยูในระดับใด ดังตารางที่ 4.3
ตารางที่ 4.3 ทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร

ทักษะปฏิบัติขลุยของนักเรียน คะแนนเฉลี่ย
N t Sig.
X S.D. ของเกณฑ
33 15.79 1.87 15.00 2.43 .010

จากตารางที่ 4.3 สามารถอธิบายไดวา นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 จํานวนทั้งหมด 33 คน


มีคาเฉลี่ยทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร เทากับ 15.79 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ 15.00 คะแนน
ปรากฏวาคา t = 2.43 ซึ่งสามารถสรุปไดวา นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 มีทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
ในระดับสูงกวาเกณฑอยางนัยทางสถิติที่ระดับ .01
บทที่ 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยนี้เปนการศึกษาผลการใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับ
ชวงชั้นที่ 2 โรงเรียนโชคชัย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากล
เบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 เปรียบเทียบความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตนของนักเรียน
ระดับชวงชั้นที่ 2 กอนและหลังการเรียนรูดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน กลุมตัวอยาง คือ
นักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 โรงเรียนโชคชัย จํานวน 33 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน สําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2
แบบวัด ความรู ด นตรีส ากลเบื ้อ งตน แบบวัด ทัก ษะการเปา ขลุ ย รีค อรเ ดอร สถิต ิที่ใ ชใ นการ
วิเคราะหขอมูล ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย ( X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบ
ที (t – test dependent)

สรุปผลการวิจัย

1. ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2 มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑที่ตั้งไว คือ 80/80 และเปนไปตามสมมติฐานขอที่ 1
2. นักเรียนที่เรียนผานชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีความรูเรื่องดนตรีสากล
หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอที่ 2
ที่ตั้งไว
3. นักเรียนที่เรียนผานชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีคะแนนเฉลี่ยทักษะการเปา
ขลุยรีคอรเดอร อยูในเกณฑระดับดี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐาน
ขอที่ 3 ที่ตั้งไว
อภิปรายผลการวิจัย

ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลเกี่ย วกับผลการใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้ องต น สําหรั บ


นักเรียนชวงชั้นที่ 2 ไดผลสรุปดังนี้
1. จากผลการหาประสิทธิภาพของชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียน
ระดับชวงชั้นที่ 2 ผลจากการวิจัยครั้งนี้พบวา ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีประสิทธิภาพ
เปนไปตามเกณฑที่ตั้งไว คือ 80/80 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่กําหนดไว และสอดคลองกับ
ผลงานการวิจัยของ ประโมทย พอคา (2542 : 57) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดการสอนทฤษฎี
ดนตรีสากลเบื้องตนโดยผานทักษะปฏิบัติขลุยรีคอรเดอร ในรายวิชาดนตรีสําหรับครูประถมศึกษา
ของสถาบันราชภัฏ ผลการวิจัยพบวาชุดการสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.65/80.18 สูงกวา
เกณฑที่กําหนด 80/80
2. จากผลการเปรียบเทียบความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตนกอนการใชชุดการสอนและ
หลังการใชชุดการสอน พบวา นักเรียนที่ใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีความรูความเขาใจ
หลั ง เรี ย นสู ง กว า ก อ นเรี ย นอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ .01 แสดงว า นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นโดยใช
ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีความกาวหนาในการเรียน ซึ่งสอดคลองกับผลงานการวิจัยของ
บุญเลิศ มั่นปาน (2543 : 55) ไดทําการวิจัยเรื่อง การสรางชุดการสอนกิจกรรมเสริมหลักสูตรเรื่อง
การเปาขลุยไทยสําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ผลการวิจัยพบวา ชุดการสอนกิจกรรมเสริม
หลักสูตรเรื่อง การเปาขลุยไทยสําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียนมีพัฒนาการดานความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระของขลุยไทยสูงกวากอนเรียน ระดับ
ความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01
3. จากผลการเปรียบเทียบทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรกับเกณฑ พบวา นักเรียนที่เรียน
โดยใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน มีทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอรอยูในระดับสูงกวาเกณฑที่
กําหนดอยางนัยทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งกอนเรียนดวยชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน นักเรียน
สวนใหญมีทักษะในการเปาขลุยนอยมาก ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ ดวงเดือน คุปตคาร
(2541 : 56) ไดทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่อง สาระของทํานอง
เพลงไทยผานทักษะการขับรอง สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวานักเรียน
ที่เปนกลุมตัวอยางตัวอยางมีพัฒนาการดานทักษะการขับรอง สูงกวาเกณฑที่กําหนด
ขอเสนอแนะ

1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
1.1 ในการใชชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน ตองใหนักเรียนไดเรียนรูในทุก
แผนการเรียนรูตามลําดับ
1.2 จากการทดลอง ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน การจะใชชุดการสอนใหได
ประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ครูผูสอนจะตองศึกษาคูมือลวงหนาเพื่อเปนการเตรียมความพรอมของครู
รวมทั้งความพรอมของวัสดุ อุปกรณและสถานที่
1.3 การวิจัยครั้งนี้ในการใชชุดการสอน ผูสอนอาจปรับรูปแบบและกิจกรรม
การเรียนการสอนตามความเหมาะสมไดแตใหคงไวตามเนื้อหาตางๆในแผนการสอน
2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป
2.1 ควรสรางชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน สําหรับนักเรียนในกลุมชวงชั้นอื่น
เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นและนํามาเปนขอมูลในการพัฒนาและสรางชุดการสอนใหดียิ่งขึ้น
2.2 ควรทําการวิจัยโดยการสรางชุดการสอนวิชาดนตรีในเรื่องอื่น เพื่อนําไปใช
ประโยชนในการสอนวิชาดนตรีใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2.3 ควรวิจัยโดยเปรียบเทียบความรูและทักษะดนตรีสากล ระหวางกลุมที่ใชกับ
ไมใชชุดการสอน เพื่อความชัดเจนของสัมฤทธิผลของการสอนโดยใชชุดการสอน
2.4 ควรศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนโดยใชชุดการสอนของครู
บรรณานุกรม

กมลรัตน หลาสุวงษ. (2523). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย.


โกวิทย ประวาลพฤกษ และสมศักดิ์ สินธุระเวชญ. (2523). การประเมินในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพวัฒนาพานิช.
ขวัญใจ ฮีลีย. (2533). สภาพและปญหาของดนตรีศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธปริญญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชารัตถศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
คณะกรรมการศึกษาแหงชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542.
กรุงเทพฯ : องคการคาคุรุสภา.
โครงการบัณฑิตศึกษา, สํานักงาน. (2546). คูมือการทําวิทยานิพนธและภาคนิพนธ. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
ชม ภูมิภาค. (2524). เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ.
ชูชาติ พิทักษากร. (2535). การฝกซอมทักษะประจําวันในสาระดนตรีศึกษา : แนวคิดสูแนวปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ชูวิทย ยุระยง. (2535). สาระดนตรีศึกษา : แนวคิดสูแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
โชคชัย, โรงเรียน. (2549). แผนพัฒนาการศึกษา ปการศึกษา 2549. กรุงเทพฯ : โรงเรียนโชคชัย.
ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ. (2523). เอกสารชุดวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษาเลมที่ 5
หนวยที่ 11-15.กรุงเทพฯ : สํานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ณรุทธ สุทธจิตต. (2532). จิตวิทยาการสอนดนตรี. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
-------. (2536). พฤติกรรมการสอนดนตรี. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
-------. (2537). กิจกรรมดนตรีสําหรับครู. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ดวงเดือน คุปตคาร. (2541). การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอน เรื่องสาระของทํานองเพลง
ไทย ผานทักษะการขับรอง สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
ดวงเดือน เทศวานิช. (2530). หลักการสอนและการเตรียมประสบการณวิชาชีพภาคปฏิบัติ. ภาควิชา
หลักสูตรและการสอน คณะวิชาครุศาสตร วิทยาลัยครูพระนคร.
-------. (2531). หลักการสอนทั่วไป. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะวิชาครุศาสตร
วิทยาลัยครูพระนคร.
ดุษฎี พนมยงค. (2539). ลมหายใจ ดนตรี ชีวิต การฝกดนตรีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพฯ :
บานเพลง.
เดชาชัย สุจริตจันทร. (2549). การเปรียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดนตรี เรื่องการอานโนตสากล
เบื้องตนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนตามวิธีสอนของโคดายกับวิธีสอน
ปกติ. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ตรอง ทิพยวัฒน. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงเรียนดนตรีสยามกลการ.
ทิวัตถ มณีโชติ. (2547). วิทยาการวิจัย. เอกสารประกอบการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนคร.
เทวราช ปงลังกา. (2543). การพัฒนาแบบฝกโนตสากลขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปที่ 3. งานวิจัยเงินทุนอุดหนุนการวิจัยในชั้นเรียน สํานักงานคณะกรรมการการ
ประถมศึกษาแหงชาติ.
ธนาคาร แพทยวงษ. (2541). การศึกษาแผนการฝกและการคัดเลือกนักดนตรีสําหรับวงโยธวาฑิต ใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. (2539). ความเปนมาของหลักสูตรดนตรีศึกษาในประเทศไทย.
นครปฐม : สํานักงานสงเสริมและพัฒนาวิชาการดนตรี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.
-------.(2537). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน.
บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2530). นวัตกรรมการศึกษา. แกไขปรับปรุงใหม ครั้งที่ 4. ภาควิชาเทคโนโลยี
ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : หจก. SR
Printing.
บุญเลิศ มั่นปาน. (2543). การสรางชุดการสอนกิจกรรมเสริมหลักสูตรเรื่อง การเปาขลุยไทยสําหรับ
นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษา . ปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าดนตรี .
มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประโมทย พอคา. (2542). การพัฒนาชุดการสอนทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องตนโดยผานทักษะปฏิบัติ
ขลุ ย รี ค อร เ ดอร ใ นรายวิ ช าดนตรี สํ า หรั บ ครู ป ระถมศึ ก ษาของสถาบั น ราชภั ฏ .
วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปยมาภรณ สบายแท. (2545). การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากล
พื้นฐานผานทักษะขับรองประสานเสียง. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ดนตรี มหาวิทยาลัยมหิดล.
พงษลดา ธรรมพิทักษกุล. (2542). ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนดนตรีสากลขั้นพื้นฐานตามแนวคิดของ
Kodaly ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ฝายประถม. กรุงเทพฯ : รายงานการวิจัยคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พระเจนดุริยางค. (2527). แบบเรียนดุริยางคศาสตรสากล ฉบับทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรมแผนที่ทหาร.
พวงรัตน ทวีรัตน. (2543). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ :
ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
-------. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : เฮาส ออฟ เดอรมีสท.
เพชรสุดา ภูมิพันธุ. (2533). การสรางชุดจุลบท เรื่องการสีซอดวง วิชาปฏิบัติเครื่องสายไทย 1
สําหรับนักศึกษาวิชาเอกดนตรีศึกษา ในวิทยาลัยครูบุรีรัมย. วิทยานิพนธการศึกษา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ไพฑูรย สินลารัตน. (2524). หลักและวิธีการสอนอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช.
รุงทิวา จักรกร. (2530). วิธีสอนทั่วไป. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ลําพอง บุญชวย. (2530). การสอนเชิงระบบ. วิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ ปทุมธานี.
วิเชียร วรินทรเวช. (2527). การศึกษาผลการเรียนความคงทนในการจําและทัศนคติที่มีตอการเรียน
ในวิ ช าดนตรี จากการเรี ย นโดยใช เ ทปสอนของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 4.
วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
วิชัย วงษใหญ. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ :
สุวีริยาสาสน.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด.
ศักดิ์ชัย หิรัญรักษ. (2539). ทฤษฎีและกระบวนการเรียนวิชาดนตรี. นครปฐม : สํานักงานสงเสริม
และพัฒนาวิชาการดนตรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
สมนึก ภัททิยธนี. (2544). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ : ประสานการพิมพ.
สุกรี เจริญสุข. (2529). ศิลปการเปาแซกโซโฟน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.
-------. (2530). วิธีการเลนทรัมเปต. กรุงเทพฯ : ยูไนเต็ดบุคส.
สุดารัตน ชาญเลขา. (2535). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาขับรองเพลงไทยของ
นั ก ศึ ก ษาวิ ท ยาลั ย ครู ที่ เ รี ย น โดยการใช ชุ ด การสอนจุ ล บทกั บ การเรี ย นแบบปกติ .
วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2535). การผลิตชุดการสอน และชุดการสอนภาษาไทยเรื่อง “คําพอง”.
กรุงเทพฯ : ประสานการพิมพ.
สุนันท สุขเจริญ. (2530). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนโนตสากลของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 จากการสอนที่ใชเปยโนกับการสอนที่ใชคียบอรด. วิทยานิพนธ
ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประถมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุพรรณี เหลือบุญชู. (2534). สังคีตนิยม. มหาสารคาม : ภาควิชาดุริยางคศาสตร คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
สุมาลี ขจรดํารงกิจ. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนดนตรีสากลขั้นพื้นฐานของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชขลุยรีคอรเดอรและใชการขับรอง. วิทยานิพนธ
การศึกษามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุเทพ บรรลือสินธุ. (2538). พื้นฐานการดนตรีสําหรับครูประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.
สุเทพ เมยไธสง. (2534). การวัดผลและการประเมินผล. มหาสารคาม : ม.ป.ท.
สํานักการศึกษา. (2546). แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2544. เอกสารฝายทดสอบและประเมินผล.
เสาวนีย สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลาพระนครเหนือ.
เอกรินทร สี่มหาศาล และคณะ. แมบทมาตรฐาน ศิลปะ ป.5. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน อจท.
จํากัด.
อรนุชา อัฏฏะวัชระ. (2544). การนําเสนอแบบฝกทักษะการเปารีคอรเดอรโดยใชโนตสากลดวยวิธี
ผสมผสานการอานโนตกับการรองโนต สําหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฝายประถม. รายงานการวิจัยคณะครุศาสตร.
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก

เครื่องมือทีใ่ ชในการวิจัย
ชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตนสําหรับนักเรียนระดับชวงชั้นที่ 2
ชุดการสอน

ชุดการสอนนี้สรางขึ้นสําหรับครูผูสอนวิชาดนตรี เพื่อใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ในวิ ช าดนตรี เรื่ อ ง ดนตรี ส ากลเบื้ อ งต น ซึ่ ง ประกอบด ว ย หลั ก การและเหตุ ผ ล เป า หมาย
จุดประสงคทั่วไป จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา กิจกรรมการสอน การประเมินผล ซึ่งเปนการ
อํานวยความสะดวกใหกับผูสอน ชุดการสอนประกอบดวย 8 ชุดดังนี้
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต (เวลา 1 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง จังหวะและตัวหยุด (เวลา 1 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล (เวลา 1 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง (เวลา 1 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 5 เรื่อง การอานโนตตามจังหวะและทํานอง (เวลา 1 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร (เวลา 1 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 7 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอร ในบันไดเสียง C เมเจอร (เวลา 2 ชั่วโมง)
ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอร ตามเพลงที่กําหนด (เวลา 2 ชั่วโมง)
ชุดการสอนประกอบคําบรรยายนี้ เหมาะสมกับนักเรียนที่ไมเคยเรียน เรื่องดนตรีสากล
เบื้องตน สามารถใชชุดการสอนประกอบการสอนใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามที่กําหนดใน
ระยะเวลา 8 สัปดาห 10 ชั่วโมง
1. สวนประกอบของชุดการสอน
1.1 สวนประกอบของคูมือครู
1.1.1 คําชี้แจงสําหรับครู
1.1.2 แผนการจัดการเรียนรู
1.1.3 แบบทดสอบกอน – หลังเรียน
1.1.4 สื่อ / อุปกรณ
1.2 สวนประกอบที่ใชสําหรับนักเรียน
1.2.1 แบบทดสอบกอน – หลังเรียน
1.2.2 สื่อ / อุปกรณ
2. คําชี้แจงในการใชชุดการสอน
3. แผนการจัดการเรียนรู
4. แบบทดสอบกอน – หลังเรียน
คําชี้แจงสําหรับครู

ขอแนะนําในการใชชุดการสอน
ครูผูสอนควรศึกษารายละเอียดดังนี้
1. ศึกษาโครงสราง จุดประสงคทั่วไป จุดประสงคการเรียนรูของชุดการสอน ใหเขาใจ
อยางละเอียด
2. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู การดําเนินกิจกรรม และการใชเวลาในแตละชุดการสอน
3. ตรวจสอบเอกสารประกอบการสอน สื่ อ การสอนทุ ก ชนิ ด ที่ ร ะบุ ไ ว ใ นแผนการจั ด
การเรียนรู
4. กอนการเรียนการสอนใหทดสอบนักเรียน โดยการใหทําแบบทดสอบกอนเรียน
5. ทําการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู
6. ทําการทดสอบหลังเรียนโดยใชแบบทดสอบชุดเดิม
7. ทําการเฉลยและตรวจแบบทดสอบ
บัตรคําสัง่ ของนักเรียน

ผูสอนชี้แจงใหนักเรียนทราบบทบาทของตนเอง

1. ใหนักเรียนอานบัตรคําสั่งและการปฏิบัติกิจกรรมที่กําหนดไวในแตละชุด
2. ใหนักเรียนทุกคนรวมกันประกอบกิจกรรมตามที่กําหนดไว
3. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดตามใบงาน และตรวจสอบจากบัตรคําตอบ
4. หลั ง จากปฏิ บั ติ กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนแล ว ให นั ก เรี ย นจั ด เก็ บ วั ส ดุ อุ ป กรณ
ใหเรียบรอย
5. ในการประกอบกิจกรรมทุกครั้งนักเรียนควรมีความซื่อสัตย ไมดูบัตรเฉลย

คําชี้แจงเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล

ชุดการสอนประกอบคําบรรยายนี้ สรางขึ้นมีจุดมุงหมายเพื่อใชในกิจกรรมการเรียน
การสอนดนตรีสากลเบื้องตน เพื่อใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจ ในเรื่อง ลักษณะและคาของ
ตัวโนต จังหวะและตัวหยุด บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง
การอานโนตตามจังหวะและทํานอง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง
C เมเจอร การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด ฉะนั้นในการวัดผลและประเมินผล จึงได
กําหนดใหครอบคลุมทั้ง ดานพุทธิพิสัย ดานทักษะพิสัย ดังนี้
1. ดานพุทธิพิสัย (ดานความรู) ไดเลือกใชแบบทดสอบแบบปรนัยแบบเลือกตอบ จํานวน
40 ขอ เพื่อใชวัดความรูเรื่องดนตรีสากลเบื้องตน
2. ดานทักษะพิสัย (ดานการปฏิบัติ) ไดเลือกแบบวัดทักษะการเปาขลุยรีคอรเดอร
เปนแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในการเปาขลุยรีคอรเดอรเปนการใชเครื่องมือวัดโดยใชมาตรา
สวนประมาณคา (Rating scale) 3 ระดับ
ชุดการสอน
ดนตรีสากลเบือ้ งตน

วิชา ดนตรี ระดับชวงชั้นที่ 2


เวลา 10 ชั่วโมง จํานวน 8 สัปดาห
.............................................................................................................................................................
หลักการและเหตุผล
ดนตรีคือวัฒนธรรมที่มนุษยคิดสรางขึ้นมา ถาไดมีการสืบทอดตอๆกันไปก็จะดํารงอยู
ได แตถาขาดการสืบตอก็ตองสูญสิ้นไป ดังจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะประกอบดวย ทัศนศิลป ดนตรี นาฏศิลป กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
(ดนตรี) ชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ในสาระดนตรี ทางโรงเรียนโชคชัย ไดกําหนด
และจัดทําหลักสูตรประกอบการเรียนการสอน ประกอบดวยมาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออก
ทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพ ากษ วิ จารณ คุ ณ ค าทางดนตรี ถ ายทอดความรู สึก
ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ 2.2 : เขาใจ
ความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรี ที่เปนมรดกทาง
วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

เปาหมาย
ชุดการสอนประกอบคําบรรยายนี้ ใชในการเรียนการสอน เรื่องดนตรีสากลเบื้องตน
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไดจัดเนื้อหาในเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต จังหวะและตัว
หยุด บรรทัด 5 เสนและกุญแจซอล การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง การอานโนตตาม
จังหวะและทํานอง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร
การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด เปนชุดการสอนสําหรับครูผูสอน ใชสอนนักเรียนใน
ระดับชวงชั้นที่ 2 ระยะเวลาในการสอน 10 ชั่วโมง จํานวน 8 สัปดาห เพื่อเปนการสราง
ประสบการณใหม อันนําไปสูความรูความเขาใจ การพัฒนาทักษะปฏิบัติและสงเสริมใหผูเรียน
สนใจดนตรีมากขึ้น
จุดประสงคทั่วไป
1. เพื่อใหนักเรียนรูจักลักษณะและคาของโนตสากล
2. เพื่อใหนักเรียนออกเสียงตามคาของตัวโนตได
3. เพื่อใหนักเรียนอานโนตตามจังหวะและทํานองเพลงได
4. เพื่อใหนักเรียนเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียงได
5. เพื่อใหนักเรียนเปาขลุยรีคอรเดอรตามบทเพลงที่กําหนดได

จุดประสงคเฉพาะ
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนโดยการใชชุดการสอนทั้ง 8 ชุดแลว นักเรียนควรมีความรู
ความสามารถ ดังนี้
ชุดการสอนที่ 1 ลักษณะและคาของตัวโนต เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกลักษณะของโนตสากลไดถูกตอง
2. บอกคาของโนตสากลไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 2 จังหวะและตัวหยุด เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
3. บอกลักษณะของตัวหยุดไดถูกตอง
4. ระบุจังหวะของตัวหยุดไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 3 บรรทัด 5 เสน และ กุญแจซอล เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
5. อานโนตในบรรทัด 5 เสนไดถูกตอง
6. บอกประโยชนของกุญแจซอลไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 4 การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
7. อานโนตตามระดับเสียง สูง – ต่ํา ไดถูกตอง
8. อานโนตตามอัตราความ สั้น – ยาว ของตัวโนต ไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 5 การอานโนตตามจังหวะและทํานอง เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
9. อานโนตตามจังหวะและทํานองไดถูกตอง
10. รองโนตตามจังหวะและทํานองไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 6 วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร เวลา 1 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
11.บอกวิธีการจับขลุยรีคอรเดอรไดถูกตอง
12.บอกวิธีการนั่งเปาขลุยรีคอรเดอรไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 7 การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร เวลา 2 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
13.เปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร ขาขึ้นไดถูกตอง
14.เปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร ขาลงไดถูกตอง
ชุดการสอนที่ 8 การเปาขลุย รีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด เวลา 2 ชั่วโมง
จุดประสงคการเรียนรู
15.บอกอัตราจังหวะเพลงที่กําหนดไดถูกตอง
16.อานโนตเพลงที่กําหนดไดถกู ตองตามทํานองและจังหวะ
17. เปาขลุยรีคอรเดอรจากเพลงที่กําหนดไดถกู ตองตามทํานองและจังหวะ
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 1 ลักษณะและคาของตัวโนต เวลา 1 ชั่วโมง


วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกลักษณะของโนตสากลได
2. บอกคาของโนตสากลได
สาระการเรียนรู
1. ลักษณะของโนตสากล
2. คาของโนตสากล
กิจกรรมการเรียนรู
1. ใหนักเรียนเลนเกมทายภาพของตัวโนตสากลแตละภาพวาเปนโนตสากลที่มีชื่อวา
อะไร
2.. ครูแจกบัตรคําสั่งใหนักเรียนปฏิบัติตามคําสั่งดังนี้
2.1 ใหนักเรียนแบงกลุม จํานวนกลุมละ 4 – 5 คน
2.2 ใหแตละกลุมทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต
จํานวน 5 ขอ
2.3 ครูแจกใบความรูเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต ใหแตละกลุมศึกษาอยาง
ละเอียดและใหเขาใจ
3. ครูแจกใบงานเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต และใหแตละกลุมปฏิบัติตามใบงาน
ใบงานชุดที่ 1 ใหนักเรียนตอบคําถามใหถูกตองจํานวน 10 ขอ
ใบงานชุดที่ 2 ใหนักเรียนวาดรูปลักษณะของโนตสากลแตละตัวใหถูกตอง
4. ใหตัวแทนแตละกลุมนําใบงานมาสง ครูอธิบายเรื่อง คาของตัวโนตโดยใหนักเรียน
รูจักลักษณะของโนตตัวกลม ตัวขาว ตัวดํา พรอมทั้งสาธิตและใหนักเรียนฝกตบจังหวะตามคา
ของโนต แตละตัว
5. ใหนักเรียนแตละกลุมตรวจใบงานชุดที่ 1 จากใบเฉลยเรื่อง ลักษณะและคาของ
ตัวโนตที่ครูแจกให
6. ใหตัวแทนกลุมนําใบงานชุดที่ 2 สงครูผูสอน
7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต โดยมีครูชวย
แนะนําและเสริมความรูใหกับนักเรียน
8. ใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนตจํานวน
5 ขอ
สื่อการเรียนรู
1. ใบความรูเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต
2. ใบงานเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต
3. ใบเฉลยเรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต
4. ภาพตัวโนตดนตรีสากล
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................
ผูบันทึก
(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 1

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหแตละกลุมทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต
3. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลวใหตัวแทนกลุมนําสงครู
4. ใหนกั เรียนแตละกลุมศึกษาใบความรู เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต
ที่ครูแจกให
5. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงาน
6. นักเรียนแตละกลุมตรวจใบงานชุดที่ 1 และนําใบงานชุดที่ 2 สงครู
7. นักเรียนทุกกลุมอภิปรายและชวยสรุปการเรียน เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต
8. นักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต
ใบงานชุดที่ 1 เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนเติมคําตอบใหถูกตอง

1. มีชื่อเรียกวา........................................................................................................................
2. มีชื่อเรียกวา.......................................................................................................................
3. มีชื่อเรียกวา.........................................................................................................................
4. โนตตัว มีคา...............................จังหวะ
5. โนตตัว มีคา...............................จังหวะ
6. โนตตัว มีคา...............................จังหวะ
7. โนตตัว มีคามากกวาโนตตัว .......................จังหวะ
8. โนตตัว มีคามากกวาโนตตัว .......................จังหวะ
9. โนตตัว มีคามากกวาโนตตัว .......................จังหวะ
10. โนตตัว 2 ตัว กับโนตตัว 1 ตัว มีคารวมกันเปน........................จังหวะ
ใบเฉลยชุดที่ 1 เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนเติมคําตอบใหถูกตอง

1. มีชื่อเรียกวา ตัวดํา
2. มีชื่อเรียกวา ตัวขาว
3. มีชื่อเรียกวา ตัวกลม
4. โนตตัว มีคา 1 จังหวะ
5. โนตตัว มีคา 2 จังหวะ
6. โนตตัว มีคา 4 จังหวะ
7. โนตตัว มีคามากกวาโนตตัว 2 จังหวะ
8. โนตตัว มีคามากกวาโนตตัว 3 จังหวะ
9. โนตตัว มีคามากกวาโนตตัว 1 จังหวะ
10. โนตตัว 2 ตัว กับโนตตัว 1 ตัว มีคารวมกันเปน 5 จังหวะ
ใบงานที่ 2
ชื่อกลุม.......................................
ใหนักเรียนวาดรูปตัวโนตสากล พรอมทั้งบอกคาของตัวโนตแตละตัว

ดี พอใช ปรับปรุง

ลงชื่อ............................................ผูประเมิน
ใบความรู
ชุดที่ 1 เรื่อง ลักษณะและคาของตัวโนต

สัญลักษณทางดนตรีที่ใชแทนเสียงเรียกวา ตัวโนต (Note) เปนเครื่องหมายที่ใชแทนเสียงและ


บอกระดับเสียงตางๆ โดยมีชื่อเรียกตามลักษณะดังนี้
คาความสัมพันธของตัวโนต

ผังเทียบคาสัมพันธของตัวโนต

1 ตัว = 2 ตัว = 4 ตัว = 8 ตัว

1 ตัว = 2 ตัว = 4 ตัว

1 ตัว = 2 ตัว
แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

ชุดการสอนที่ 1 เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

จงเลือกคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. โนตตัวกลมมีคากี่จังหวะ
ก. 1 จังหวะ ข. 2 จังหวะ
ค. 3 จังหวะ ง. 4 จังหวะ

2. โนตตัวใดมีคา 2 จังหวะ
ก. ตัวดํา ข. ตัวขาว
ค. ตัวกลม ง. ตัวหยุด

3. อัตราจังหวะของโนตตัวดํา 2 ตัว และโนตตัวกลม 1 ตัว รวมกันมีคากี่จังหวะ


ก. 2 จังหวะ ข. 4 จังหวะ
ค. 6 จังหวะ ง. 8 จังหวะ

4. ขอใดมีคารวมกันเทากับ 8 จังหวะ
ก. ตัวดํา 4 ตัว ตัวขาว 2 ตัว
ข. ตัวขาว 1 ตัว ตัวกลม 1 ตัว
ค. ตัวกลม 1 ตัว ตัวดํา 4 ตัว
ง. ตัวดํา 2 ตัว ตัว ขาว 2 ตัว

5. จากกลุมโนต ( ) รวมกันมีคาเทาไร
ก. 6 จังหวะ ข. 7 จังหวะ
ค. 8 จังหวะ ง. 9 จังหวะ
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 2 จังหวะและตัวหยุด เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกลักษณะของตัวหยุดได
2. ระบุจังหวะของตัวหยุด
สาระการเรียนรู
1. ลักษณะของตัวหยุด
2. จังหวะของตัวหยุด
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกับลักษณะและคาของตัว
โนต
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน ใหแตละกลุมอานบัตร
คําสั่ง เรื่องจังหวะและตัวหยุด ที่ครูแจกให
3. หลังจากที่นักเรียนอานบัตรคําสั่งแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
เรื่องจังหวะและตัวหยุด
4. ครูแจกใบความรู เรื่องจังหวะและตัวหยุด ใหแตละกลุมศึกษาอยางละเอียด
5. ครูแจกใบงาน เรื่องจังหวะและตัวหยุด และใหแตละกลุมปฏิบัติตามใบงาน
6. ครูนําแผนผังเปรียบเทียบตัวโนตสากลและตัวหยุดใหนักเรียนดู
7. ครูนํารูปแบบตางๆที่ประกอบดวยตัวโนตและตัวหยุดใหนักเรียนชวยกันอาน
และปฏิบัติโดยการปรบมือ
8. ใหนกั เรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานจากใบงานหนาชัน้ เรียน เมื่อเสร็จ
การเสนอผลงานแลวใหตวั แทนกลุมนําใบงานมาสงครู
9. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายเกี่ยวกับจังหวะและตัวหยุด พรอมกับ
ชวยกันสรุปเรื่อง จังหวะและตัวหยุด โดยมีครูชวยแนะนํา
10. ใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องจังหวะและตัวหยุด
สื่อการเรียนรู
1. แผนผังเปรียบเทียบตัวโนตและโนตตัวหยุด
2. ใบความรู เรื่องคาของตัวหยุด
3. ใบงาน เรื่องจังหวะและตัวหยุด 1,2
4. แบบประเมินการเคาะจังหวะ
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2.. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบนั ทึก

(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 2

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหแตละกลุมทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่องจังหวะและตัวหยุด
3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรู เรื่องคาของตัวหยุด
4. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงานที่ครูแจกให
5. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานจากใบงานหนาชั้นเรียน
6. นักเรียนแตละกลุมอภิปรายและชวยกันสรุปการเรียน เรื่องจังหวะ
และตัวหยุด
7. นักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องจังหวะและตัวหยุด
ใบความรู
ชุดที่ 2 เรื่อง คาของตัวหยุด

ตัวหยุด ( Rest )
ตัวหยุดหรือเครื่องหมายแปลงเสียง เปนเครื่องหมายสําหรับบันทึกใหการเลนเพลงหยุดลง
เพื่อหยุดเสียงชั่วขณะ แตจะนานเทาใดขึน้ อยูกับลักษณะของตัวหยุดแตละตัว ( ตรงกันขามกับตัว
โนต ซึ่งเปนเครื่องหมายบันทึกใหเกิดเสียงหรือเปลงเสียง)

ลักษณะของตัวหยุดมีคาเทียบเทากับตัวโนต
ใบงานชุดที่ 2 เรื่องจังหวะและตัวหยุด วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนรองทํานองและเคาะจังหวะตามรูปแบบจังหวะที่กําหนดใหตอไปนี้

1. แบบฝกหัดที่ 1

2. แบบฝกหัดที่ 2
ใบงานชุดที่ 2 เรื่องจังหวะและตัวหยุด วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้

1. สร า งรู ป แบบขึ้ น ตามความคิ ด ของกลุ ม และบั น ทึ ก ลงใบงาน (ให มี ทั้ ง ตั ว โน ต และ
ตัวหยุด)
2. สมาชิกภายในกลุมฝกเคาะจังหวะตามรูปแบบที่สรางขึ้น
3. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน

รูปแบบจังหวะ

ชื่อกลุม ..........................................................

สมาชิกในกลุม
1.............................................................
3..............................................................
2.............................................................
4..............................................................
5...............................................................
แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

ชุดการสอนที่ 2 เรื่องจังหวะและตัวหยุด วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

จงเลือกคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขอใดคือเครื่องหมายหยุดของโนต ตัวดํา
ก. ข.
ค. ง.

2. จากภาพ มีคาการหยุดกี่จังหวะ
ก. 4 จังหวะ ข. 3 จังหวะ
ค. 2 จังหวะ ง. 1 จังหวะ

3. โนตตัวกลม มีเครื่องหมายหยุดตรงกับขอใด
ก. ข.
ค. ง.

4. ขอใดมีคารวมกันเทากับ 8 จังหวะ
ก. ข.
ค. ง.

5. จากโนต มีคารวมกันเทากับกีจ่ ังหวะ


ก. 5 จังหวะ ข. 6 จังหวะ
ค. 7 จังหวะ ง. 8 จังหวะ

.............................................................................................................................................................
แบบประเมินการเคาะจังหวะ

ชุดการสอนที่ 2 เรื่องจังหวะและตัวหยุด วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

กลุมที่................. สมาชิกภายในกลุม 1........................................................................


2........................................................................
3.........................................................................
4.........................................................................
5.........................................................................

รายละเอียด คะแนนที่ได สรุปการประเมิน ขอคิดเห็น

1. การเคาะจังหวะ (3 คะแนน)
2. การรองทํานอง (3 คะแนน)
3. ความมั่นใจ (2 คะแนน)
4. ลีลา (2 คะแนน)
รวม (10 คะแนน)

เกณฑการประเมินต่ํากวา 5 คะแนน ควรปรับปรุง


5-6 คะแนน พอใช
7-8 คะแนน ดี
9 – 10 คะแนน ดีมาก

ลงชื่อ............................................ผูประเมิน
(............................................)
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 3 บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. อานโนตในบรรทัด 5 เสนได
2. บอกประโยชนของกุญแจซอลได
สาระการเรียนรู
1. บรรทัด 5 เสน
2. กุญแจซอล
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกับจังหวะและตัวหยุด
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน ใหแตละกลุมอานบัตรคําสั่งเรื่อง
บรรทัด 5 เสน กุญแจซอลที่ครูแจกให
3. หลังจากที่นักเรียนอานบัตรคําสั่งแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง
บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล
4. ครูเก็บกระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน
5. ครูแจกใบความรู เรื่องจังหวะและตัวหยุด ใหแตละกลุมศึกษาอยางละเอียด
6. ครูอธิบายการบันทึกโนตลงบนบรรทัด 5 เสน โดยเริ่มตนที่กุญแจซอล
7. ครูอธิบายตําแหนงของโนตแตละเสียงที่บันทึกบนบรรทัด 5 เสน
8. นักเรียนฝกอานโนตจากบรรทัด 5 เสนตามแบบฝกหัดที่ครูกําหนด โดยเริ่มจาก
การฝกอานรูปแบบจังหวะปกติ
9. ใหนักเรียนอานโนตเปนทํานองเพลง โดยฝกอานโนตเพลง โด เร มี ฟา เริ่มจาก
การฝกอานรูปแบบจังหวะใหคลองแลวจึงอานเปนเสียงโนตใหถูกตองทั้งจังหวะและทํานอง
10. ครูแจกใบงาน เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล และใหแตละกลุมปฏิบัติตามใบงาน
11. ใหนักเรียนแตละกลุมตรวจใบงานจากใบเฉลย เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอลที่
ครูแจกให
12. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายในสิ่งที่เรียน พรอมกับชวยสรุป เรื่อง บรรทัด 5
เสน กุญแจซอล
13. ใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอยหลังเรียน เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล

สื่อการเรียนรู
1. ใบความรู เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล
2. โนตเพลง โด เร มี ฟา
3. ใบงาน เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล
4. แบบประเมินการรองโนต

การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน
............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบันทึก

(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 3

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหแตละกลุมทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่องบรรทัด 5 เสน
กุญแจซอล
3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรู เรื่องบรรทัด 5 เสน กุญแจซอล
4. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงานที่ครูแจกให
5. นักเรียนแตละกลุมตรวจใบงานและนําสงครู
6. นักเรียนแตละกลุมอภิปรายและชวยกันสรุปการเรียน เรื่องบรรทัด 5
เสนกุญแจซอล
7. นักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องบรรทัด 5 เสน
กุญแจซอล
ใบความรู
ชุดที่ 3 เรื่อง บรรทัด 5 เสน กุญแจซอล

บรรทัด 5 เสน

การบันทึกตัวโนตหรือการอานโนตดนตรี จําเปนตองอาศัยบรรทัด 5 เสน เพื่อบอก


ตําแหนงระดับเสียง สูง – ต่ํา ของตัวโนต

ลักษณะบรรทัด 5 เสนสําหรับใชในการบันทึกตัวโนต มีลักษณะดังนี้

วิธีนบั ใหนับตั้งแตลางขึ้นไปหาบน โดยนับเสนลางเปนเสนที่ 1 แลวเรียงลําดับขึ้นไป

ชองระหวางบรรทัด 5 เสน

การบันทึกตัวโนตนั้น ตองอาศัยชองระหวางเสนของบรรทัด 5 เสน เปนที่สําหรับบันทึก


ตัวโนต ชองเหลานี้มีจํานวน 4 ชอง สวนวิธีนับก็ยังคงนับตั้งแตเสนลางขึ้นไปหาเสนบน
กุญแจประจําหลักเสียง “ซอล”

กุญแจซอล เปนกุญแจที่ใชกันเปนสวนมาก หลักของกุญแจชนิดนี้ตั้งประจําเสียง “ ซอล ”


โดยการบันทึก คาบเสนที่ 2 ของบรรทัด 5 เสน

ตัวอยางกุญแจ “ ซอล ” ประกอบดวยตัวโนตลักษณะตางๆ

ตัวโนตไมจํากัดวาจะเปนลักษณะอยางหนึ่งอยางใด (คือมีอัตรายาวหรือสั้น) ในเมื่อปรากฏ


วาบันทึก คาบเสนที่ 2 ใหเรียกวา “ ซอล ” และโนตเสียงซอลนี้ก็คือเสียงที่ 5 ของการเรียงลําดับ
ชื่อของเสียงจากการไลลําดับขั้นตั้งแตลางขึ้นไปหาบน
ฉะนัน้ เมื่อไลลําดับขั้นจากบนลงมาลาง ก็จะปรากฏเปนชื่อประจําตัวโนตตางๆ ดังนี้

และถาหากจะเริ่มบันทึกดวยเสียง “ โด ” ขึ้นกอน แลวไลชื่อของตัวโนตเรียงลําดับจาก


ลางขึ้นไปหาบน ก็จะมีลักษณะ ดังนี้
เพลง “ โด เร มี ฟา ”

เนื้อรองและทํานอง บรรเลง ศิลปะบรรเลง


ใบงานชุดที่ 3 เรื่องบรรทัด 5 เสน กุญแจซอล วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนปฏิบัติตามคําสั่งตอไปนี้

1. จงเติมชื่อตัวโนตลงในชองวางใหถูกตอง

2. จงเติมโนตลงบนบรรทัด 5 เสนใหถูกตอง
ใบเฉลยชุดที่ 3 เรื่องบรรทัด 5 เสน กุญแจซอล วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนปฏิบัติตามคําสั่งตอไปนี้

1. จงเติมชื่อตัวโนตลงในชองวางใหถูกตอง

2. จงเติมโนตลงบนบรรทัด 5 เสนใหถูกตอง

แบบทดสอบกอน – หลังเรียน
ชุดการสอนที่ 3 เรื่องบรรทัด 5 เสน กุญแจซอล วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................
จงเลือกคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
1. หัวของกุญแจซอลอยูในตําแหนงใดบนบรรทัด 5 เสน
ก. บนเสนที่ 1 ข. ระหวางเสนที่ 1 กับเสนที่ 2
ค. บนเสนที่ 2 ง. ระหวางเสนที่ 2 กับเสนที่ 3

2. กุญแจซอลมีหนาที่อยางไร
ก. กําหนดความ ดัง – เบา ของโนต ข. กําหนดความ สั้น – ยาว ของตัวโนต
ค. กําหนดตําแหนงของตัวโนตบนบรรทัด 5 เสน ง. กําหนดเสียง สูง – ต่ํา ของตัวโนต

3. โนตตัว “ ลา ” อยูตําแหนงใดบนบรรทัด 5 เสน


ก. บนเสนที่ 2 ข. ระหวางเสนที่ 2 กับเสนที่ 3
ค. บนเสนที่ 3 ง. ระหวางเสนที่ 3 กับเสนที่ 4

4. จากภาพ โนตที่เห็นมีชื่อวาอะไร

ก. ที ข. ลา
ค. ซอล ง. ฟา

5. จากภาพ โนตที่เห็นมีชื่อวาอะไร
ก. ซอล ข. ลา
ค. ที ง. โด

......................................................................................................................................................
แบบประเมินการรองโนต

ชุดการสอนที่ 3 เรื่องบรรทัด 5 เสน กุญแจซอล วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

กลุมที่................. สมาชิกภายในกลุม 1........................................................................


2........................................................................
3.........................................................................
4.........................................................................
5.........................................................................

รายละเอียด คะแนนที่ได สรุปการประเมิน ขอคิดเห็น

1. การเคาะจังหวะ (3 คะแนน)
2. การรองโนตเปนทํานอง (3
คะแนน)
3. ความมั่นใจ (2 คะแนน)
4. ลีลา (2 คะแนน)
รวม (10 คะแนน)

เกณฑการประเมินต่ํากวา 5 คะแนน ควรปรับปรุง


5-6 คะแนน พอใช
7-8 คะแนน ดี
9 – 10 คะแนน ดีมาก

ลงชื่อ............................................ผูประเมิน
(............................................)
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 4 การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. อานโนตไดถูกตองตามระดับเสียงสูง – ต่ํา
2. บอกคาของตัวโนตไดถูกตอง
3. อานโนตไดถูกตองตามอัตราความสั้น – ยาวของตัวโนต
สาระการเรียนรู
1. ระดับเสียง
2. คาของตัวโนต
3. การรองโนต
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกับ บรรทัด 5 เสนและ กุญแจซอล
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน ใหแตละกลุมอานบัตรคําสั่งที่ครู
แจกให
3. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง
จํานวน 5 ขอ
4. ครูแจกใบความรู เรื่องโนตแทนระดับเสียง ใหแตละกลุมศึกษาอยางละเอียด
5. ครูแจกใบงาน เรื่อง โนตแทนระดับเสียง และใหแตละกลุมปฏิบัติตามใบงาน
6. ใหนักเรียนแตละกลุมฝกปฏิบัติดังนี้
- ฝกอานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตตัวกลม
- ฝกอานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตตัวขาว
- ฝกอานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตตัวดํา
- ฝกอานโนตเปนทํานองเพลง โดยใชทํานองเพลง Twinkle โดยเริ่มจากฝกอาน
รูปแบบจังหวะเปนทํานองเสียง “ทา” ใหไดกอน จากนั้นจึงอานเปนเสียงโนตประกอบรูปแบบ
จังหวะ
7. ใหนักเรียนแตละกลุมตรวจใบงานจากใบเฉลย เรื่อง โนตแทนระดับเสียง ตามที่ครู
แจกให
8. ใหนกั เรียนแตละกลุม ปฏิบัติดังนี้
- อานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตตัวกลม
- อานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตตัวขาว
- อานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตตัวดํา
9. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายในสิ่งที่เรียน พรอมกับชวยกันสรุป เรื่องการออก
เสียงตามโนตแทนระดับเสียง
10. ใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การออกเสียงตามโนตแทนระดับ
เสียง
สื่อการเรียนรู
1. ใบความรู เรื่อง โนตแทนระดับเสียง
2. ใบงาน เรื่อง โนตแทนระดับเสียง
3. ใบเฉลย เรื่อง โนตแทนระดับเสียง
4. โนตเพลง Twinkle
5. คียบอรด
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน
บันทึกหลังการสอน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบนั ทึก

(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 4

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง
3. ใหแตละกลุมศึกษาใบความรู เรื่อง โนตแทนระดับเสียง
4. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงาน
5. นักเรียนแตละกลุมตรวจใบงาน
6. นักเรียนทุกกลุมอภิปรายและชวยกันสรุปการเรียน เรือ่ ง การออกเสียงตามโนต
แทนระดับเสียง
7. นักเรียนทุกกลุมทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การออกเสียงตามโนตแทนระดับ
เสียง
ใบความรู
ชุดที่ 4 เรื่อง โนตแทนระดับเสียง
ชื่อประจําเสียงของตัวโนต
ตัวโนตแตละตัวนั้นจําเปนตองมีชื่อเรียกประจําตัว เพื่อจะไดเรียกขาน และทราบวามี
ความสู ง หรื อ ต่ํ า กว า กั น มากน อ ยโดยลํ า ดั บ เพี ย งใด ชื่ อ ของเสี ย งที่ ป ระจํ า ตั ว โน ต ต า งๆนั้ น
เรียงลําดับไว ดังตอไปนี้
ตารางชื่อประจําเสียงตัวโนตหรืออักษรดนตรี
ตําแหนงเสียง อักษรดนตรีระบบอังกฤษ อักษรดนตรีระบบอิตาลี

1 C โด ( Do )
2 D เร ( Re )
3 E มี ( Me )
4 F ฟา ( Fa )
5 G ซอล ( Sol )
6 A ลา ( La )
7 B ซี ( Si ) หรือ ที ( Te )
8 C โด ( Do )

แผนภูมิระดับเสียง

สูง
C
โด
B ที ที B
A ลา ลา A
G ซอล ซอล G
F ฟา ฟา F
E มี มี E
D เร เร D
C โด โด C
ต่ํา ต่ํา
ใบงานชุดที่ 4 เรื่องโนตแทนระดับเสียง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนฝกอานโนตตั้งแตเสียง โดต่ํา – โดสูง โดยใชโนตที่กําหนดให

1. ตัวกลม

2. ตัวขาว

3. ตัวดํา
ใบงานชุดที่ 4 เรื่องโนตแทนระดับเสียง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนฝกอานโนตตอไปนี้

โด โด ซอล ซอล ลา ลา ซอล ฟา ฟา มี มี เร เร โด

ซอล ซอล ฟา ฟา มี มี เร ซอล ซอล ฟา ฟา มี มี เร

โด โด ซอล ซอล ลา ลา ซอล ฟา ฟา มี มี เร เร โด


ใบงานชุดที่ 4 เรื่องโนตแทนระดับเสียง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนเติมโนตตามระดับเสียงตอไปนี้
แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

ชุดการสอนที่ 4 เรื่องการออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

จงเลือกคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. โนตในขอใดเรียงลําดับจากต่ําไปหาสูงไดถูกตอง
ก. เร ฟา มี ซอล โด ข. โด ที ลา ซอล ฟา
ค. โด เร มี ฟา ซอล ง. ซอล มี ฟา เร โด

2. โนตในขอใดเรียงลําดับจากสูงไปหาต่ําไดถูกตอง
ก. เร ฟา มี ซอล โด ข. โด ที ลา ซอล ฟา
ค. โด เร มี ฟา ซอล ง. ซอล มี ฟา เร โด

3. อักษรภาษาอังกฤษที่ใชแทนตัวโนต “ ที ” คือขอใด
ก. G ข. A
ค. B ง. C

4. อักษรภาษาอังกฤษตอไปนี้อานออกเสียงไดวาอยางไร “ C E G E C ”
ก. ฟา ซอล ลา เร โด ข. โด มี ซอล มี โด
ค. เร มี เร ฟา ซอล ง. โด ฟา ลา ฟา โด

5. ขอใดแทนอักษรภาษาอังกฤษถูกตองตามระดับเสียง
ก. E B F ข. B F E
ค. B E F ง. F B E

.........................................................................................................................................................
แบบประเมินการรองโนต

ชุดการสอนที่ 4 เรื่องการออกเสียงตามโนตแทนระดับเสียง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

กลุมที่................. สมาชิกภายในกลุม 1........................................................................


2........................................................................
3.........................................................................
4.........................................................................
5.........................................................................

รายละเอียด คะแนนที่ได สรุปการประเมิน ขอคิดเห็น


1. การเคาะจังหวะ (3 คะแนน)
2. การรองโนตเปนทํานอง (3
คะแนน)
3. ความมั่นใจ (2 คะแนน)
4. ลีลา (2 คะแนน)
รวม (10 คะแนน)

เกณฑการประเมินต่ํากวา 5 คะแนน ควรปรับปรุง


5-6 คะแนน พอใช
7-8 คะแนน ดี
9 – 10 คะแนน ดีมาก

ลงชื่อ............................................ผูประเมิน
(............................................)
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5
กลุมการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 5 การอานโนตตามจังหวะและทํานอง เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. อานโนตตามจังหวะและทํานองไดถูกตอง
2. รองโนตตามจังหวะและทํานองไดถูกตอง
สาระการเรียนรู
การอานและรองโนตตามจังหวะและทํานอง
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่ องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกั บการออกเสีย งตามโนตแทน
ระดับเสียง
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4-5 คน ใหแตละกลุมอานบัตรคําสั่ง เรื่อง
การอานโนตตามจังหวะและทํานองที่ครูแจกให
3. ครูแจกใบงาน เรื่องการอานโนตตามจังหวะและทํานอง และใหแตละกลุมปฏิบัติ
ตามใบงาน ดังนี้
3.1 ใหนกั เรียนฝกอานรูปแบบจังหวะเพลงเด็กดีและเพลงแมงมุมที่ประกอบดวย
โนตตัวกลม ตัวขาว ตัวดํา และตัวหยุด
3.2 ใหนักเรียนแตละกลุมฝกอานโนตเพลงเด็กดี ที่บันทึกบนบรรทัด 5 เสน
3.3 นักเรียนแตละกลุมฝกปฏิบัติตามขั้นตอนเดิมแตเปลี่ยนจากเพลงเด็กดี
เปนเพลงแมงมุม
4. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายเกี่ยวกับการอานโนตตามจังหวะและทํานอง
พรอมกับชวยกันสรุป เรื่องการอานโนตตามจังหวะและทํานองเพลง
สื่อการเรียนรู
1. ใบความรู เรื่องเครื่องหมายกําหนดจังหวะ
2. ใบงาน เรื่องการอานโนตเพลงตามจังหวะและทํานอง
3. โนตเพลงเด็กดี
4. โนตเพลงแมงมุม
5. คียบอรด
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบนั ทึก
(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 5

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหแตละกลุมปฏิบัติตามใบงาน เรื่องการอานโนตตามจังหวะและทํานองที่ครู
แจกให
3. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงาน
4. นักเรียนทุกกลุมอภิปรายเกี่ยวกับการอานโนตตามจังหวะและทํานอง
5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปการเรียน เรื่องการอานโนตตามจังหวะและทํานอง
ใบความรู
ชุดที่ 5 เรื่อง เครื่องหมายกําหนดจังหวะ

ในการอ า นโน ต ตามจั ง หวะและทํ า นองเพลง สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ และมี ค วามจํ า เป น
นอกเหนือจากกุญแจประจําหลักแลว เครื่องหมายกําหนดจังหวะ (Time Signature) ก็ถือวามี
ความสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ในการอ า นโน ต และบรรเลงบทเพลง เครื่ อ งหมายกํ า หนดจั ง หวะ เป น
เครื่องหมายที่กําหนดวาในหองเพลงแตละหองมีอัตราจังหวะเทาไร และใชโนตตัวใดเปนเกณฑ
ตัวละ 1 จังหวะ
เครื่องหมายกําหนดจังหวะประกอบดวย ตัวเลข 2 ตัวซอนกัน บันทึกไวตอนตนของบท
เพลง หลังกุญแจประจําหลัก
เลขตัวบน หมายถึง จํานวนจังหวะในหนึ่งหองเพลง
เลขตัวลาง หมายถึง เลขประจําตัวโนตที่ใหเปนเกณฑตัวละ 1 จังหวะ

ตัวอยางของเครื่องหมายกําหนดจังหวะ
เครื่องหมายกําหนดจังหวะ หมายถึง ในหนึ่งหองเพลงมี 2 จังหวะ และใชโนตตัวดํา
เปนเกณฑ ตัวละ 1 จังหวะ

เครื่องหมายกําหนดจังหวะ หมายถึง ในหนึ่งหองเพลงมี 4 จังหวะ และใชโนตตัว


ดําเปนเกณฑ ตัวละ 1 จังหวะ
ใบงานชุดที่ 5 เรื่อง การอานโนตตามจังหวะและทํานอง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนฝกอานรูปแบบจังหวะตอไปนี้

1. รูปแบบจังหวะเพลง เด็กดี

2. รูปแบบจังหวะเพลงแมงมุม
โนตเพลง เด็กดี

โนตเพลงแมงมุม
แบบประเมินการรองโนต

ชุดการสอนที่ 5 เรื่องการอานโนตตามจังหวะและทํานอง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

กลุมที่................. สมาชิกภายในกลุม 1........................................................................


2........................................................................
3.........................................................................
4.........................................................................
5.........................................................................

รายละเอียด คะแนนที่ได สรุปการประเมิน ขอคิดเห็น


1. การเคาะจังหวะ (3 คะแนน)
2. การรองโนตเปนทํานอง (3
คะแนน)
3. ความมั่นใจ (2 คะแนน)
4. ลีลา (2 คะแนน)
รวม (10 คะแนน)

เกณฑการประเมินต่ํากวา 5 คะแนน ควรปรับปรุง


5-6 คะแนน พอใช
7-8 คะแนน ดี
9 – 10 คะแนน ดีมาก

ลงชื่อ............................................ผูประเมิน
(............................................)
แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านกลุม

ชุดการสอนที่ 5 เรื่องการอานโนตตามจังหวะและทํานอง วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

พฤติกรรม การวางแผนการ การแบงงานกัน การรับฟง ความรวมมือ


ทํางานรวมกัน รับผิดชอบ และแสดง ในการทํางาน
ความเห็น
กลุมที่ มี ไมมี มี ไมมี มี ไมมี มี ไมมี
1.
2.
3.
4.
5.

ประเมินโดยวิธีการทําเครื่องหมาย 9 ลงในแตละชอง ผูเรียนตองเกิดพฤติกรรมครบทั้ง 4 ดาน


จึงจะถือวาผานเกณฑ

ลงชื่อ............................................ผูประเมิน
(............................................)
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 6 วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกวิธีการจับขลุยรีคอรเดอรไดถูกตอง
2. บอกวิธีการนั่งเปาขลุยรีคอรเดอรไดถูกตอง
สาระการเรียนรู
1. การจับขลุยรีคอรเดอรที่ถูกตอง
2. การนั่งเปาขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธี
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียน ในเรื่องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกับการอานโนตตามจังหวะ
และทํานอง
2. ครูแจกบัตรคําสั่งใหนักเรียนปฏิบัติตามคําสั่งดังนี้
2.1 ใหนักเรียนแบงกลุม จํานวนกลุมละ 4 – 5 คน
2.2 ใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
จํานวน 5 ขอ
2.3 ครูแจกใบความรูเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอรใหแตละกลุมศึกษา
อยางละเอียด
2.4 ใหนักเรียนดูวีดีทัศนเกี่ยวกับวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอรใหแตละกลุม
ศึกษาจากวีดิทัศนอยางละเอียด
3. ครูแจกใบงานเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอรและใหแตละกลุมปฏิบัติตาม
ใบงานดังนี้
3.1 ฝกการจับขลุยรีคอรเดอรที่ถูกตอง
3.2 ฝกนั่งเปาขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธี
4. ใหนักเรียนแตละกลุม ตรวจใบงานจากใบเฉลย เรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
ตามที่ครูแจกให
5. ครูใหนักเรียนแตละกลุม ปฏิบัติดังนี้
- จับขลุยรีคอรเดอรที่ถูกตอง
- นั่งเปาขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธี
6. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายในสิ่งที่เรียน พรอมกับชวยสรุปเรื่องวิธีการเปาขลุย
รีคอรเดอร
สื่อการเรียนรู
1. ขลุยรีคอรเดอร
2. ใบความรูเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
3. ใบงานเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
4. ใบเฉลยเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
5. วีดิทัศนเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบนั ทึก
(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 6

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหแตละกลุมทําแบบทดสอบกอนเรียน วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
3. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลวใหตัวแทนกลุมนําสงครู
4. ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรู เรื่องวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอรที่ครูแจกให
5. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงาน
6. นักเรียนทุกกลุมอภิปรายและชวยสรุปการเรียน เรื่องลักษณะและคาของตัวโนต
7. นักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
ใบความรู
ชุดที่ 6 เรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร

รีคอรเดอร หมายถึง เครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่เรียกวา ขลุย ซึ่งจัดอยูในประเภทเครื่องลมไม


(Woodwind Instrument) ขลุยรีคอรเดอรมีประวัติอันยาวนาน นักประวัติศาสตรทางดานเครื่อง
ดนตรีไดกลาววาตั้งแตสมัยคริสตศตวรรษที่ 12 ในระยะเวลาที่ผานมานั้นไดมีการพัฒนาทั้งขนาด
รูปราง จํานวนรูและสวนประกอบของตัวขลุยมาโดยตลอด ในสมัยโบราณนั้นรีคอรเดอรเปนที่นิยม
มาก ตอมาหมดความนิยมไปเนื่องจากมีเสียงที่เบาและมีเครื่องดนตรีอื่นๆเกิดขึ้นมาอีกมากมาย แต
ในปจจุบันรีคอรเดอรกลับมามาเปนที่นิยมอีกครั้งหนึ่ง และตอมารีคอรเดอรจึงกลายเปนเครื่อง
ดนตรีที่มีความสําคัญมากในการศึกษา เนื่องจากเปนเครื่องดนตรีที่มีราคาถูก มีคุณภาพเสียงที่
สามารถบรรเลงและถายทอดถึงความสวยงามทางดนตรีไดเปนอยางดี อีกทั้งยังเปนเครื่องดนตรีที่
สามารถใชในการฝกฝนในการปฏิบัติเครื่องดนตรีขั้นพื้นฐานไดอยางดียิ่ง
ขลุยรีคอรเดอร แบงออกเปน 5 ชนิด ไดแก
1. โซปราริโน รีคอรเดอร (Sopranino Recorder)
2. โซปราโน รีคอรเดอร (Soprano Recorder and Descant Recorder)
3. อัลโต รีคอรเดอร (Alto Recorder and Treble Recorder)
4. เทเนอร รีคอรเดอร (Tenor Recorder)
5. เบส รีคอรเดอร (bass Recorder)
สวนประกอบของขลุยโซปราโน รีคอรเดอร

Head Joint
ทางลมผาน

ปากนกแกว
ชองลม

สวนกลาง
Left – Hand
Finger Holes

Right – Hand
Finger Holes

Foot Joint
วิธีการจับขลุยรีคอรเดอร
ขลุยรีคอรเดอร ประกอบดวยรูจํานวน 8 รูโดยดานบนจะมี 7 รูและดานลาง 1 รู ซึ่งมี
รายละเอียดดังนี้

มือซาย การวางนิว้ 1-2-3 จะวางบนตําแหนงรู (3 รู) ใกลตําแหนงปากเปา(Mouth-


Piece) นิ้วหัวแมมือ (T) ปดรูดานหลัง
มือขวา การวางนิ้ว1-2-3-4 ปดบนรู 4 รูที่เหลือ สวนนิว้ หัวแมมือทําหนาที่รับน้ําหนัก
ขลุย

ในการปฏิบัติ นิ้วที่ปดรูควรใชบริเวณตําแหนงสวนกลางของนิ้ว (อุงนิ้ว) ปดบนรูให


สนิท นิ้วหัวแมมือของมือซายปดรูดานหลังโดยน้ําหนักของขลุยรีคอรเดอร จะอยูที่นวิ้ หัวแมมือขวา
ซึ่งจะอยูดานหลังของนิ้วที่1 ของมือขวา
บริเวณสวนบน 3 รูบนสําหรับ 3 นิ้วแรกของมือซาย และสวนลาง 4 รู สําหรับ 4 นิ้วของ
มือขวา การจับหรือถือขลุยรีคอรเดอร จะทํามุมประมาณ 45 องศา

สวนกลางของนิ้ว สวนมุมของนิ้วหัวแมมอื ซาย (Finger pads)


(Corner of left thumb)

บริเวณตําแหนงการวางนิ้ว
วิธีการจับขลุยรีคอรเดอร

ดานหนา

มือซายจะอยูดานบนเสมอ
ตําแหนงการวางนิ้ว

มือซาย

ใชนิ้วชี้ กลางและนาง (1,2และ3)


ของมือซายปดปด 3 รูสวนบน
มือขวา
ปด 2 รูที่เหลือดวยนิ้วชี้และกลาง
(1และ2) ของมือขวา

ดานหลัง ใหน้ําหนักของขลุย รีคอรเดอร


อยูที่นิ้วหัวแมมือของมือขวา

มือซาย มือขวาตําแหนงของนิ้วหัวแมมือ
จะอยูตรงกันขามกับรูที่ 4

นิ้วหัวแมมือของมือซายปดบนรู

มือขวา

วิธีการนั่งเปาขลุยรีคอรเดอร
1. ศีรษะอยูใ นลักษณะตรง ไมเกร็ง
2. ทานั่งหรือยืน ควรอยูในลักษณะอกผายไหลผึ่ง (แตไมยกไหล) อยางธรรมชาติ
3. การนั่ง กระดูกสันหลังอยูในลักษณะตรง (ไมเกร็ง)
4. บริเวณปากและริมฝปาก อยูในลักษณะธรรมชาติที่สุด
5. การเปา หลอดลมควรอยูในลักษณะทีเ่ ปนธรรมชาติที่สุด คือ ผอนคลาย ในขณะ
หายใจหลอดลมและบริเวณแกมจะมีการเปลี่ยนแปลงเล็กนอยโดยเปดกวางแตไมมากจนเกินไป
แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

ชุดการสอนที่ 6 เรื่องวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

จงเลือกคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขลุยรีคอรเดอรแบงออกไดเปนกี่ชนิด
ก. 5 ชนิด ข. 4 ชนิด
ค. 3 ชนิด ง. 2 ชนิด

2. ขลุยรีคอรเดอรประกอบไปดวยรูทั้งหมดกี่รู
ก. 5 รู ข. 6 รู
ค. 7 รู ง. 8 รู

3. ขลุยรีคอรเดอรที่นิยมใชในปจจุบัน คือขลุยรีคอรเดอรชนิดใด
ก. Tenor Recorder ข. Alto Recorder
ค. Soprano Recorder ง. Sopranino Recorder

4. การจับขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธี ควรปฏิบัติอยางไร
ก. มือซายอยูบน มือขวาอยูลาง ข. มือขวาอยูบน มือซายอยูลาง
ค. มือขวาหรือมือซายอยูไหนก็ได ง. ไมมีขอใดถูก

5. การนั่งเปาขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธีควรปฏิบัติอยางไร
ก. นั่งสมาธิ ข. นั่งคุกเขา
ค. นั่งยองๆ ง. นั่งเปนธรรมชาติ ไมเกร็ง

.........................................................................................................................................................
ใบงานชุดที่ 6 เรื่องวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนกั เรียนเติมคําตอบใหถูกตอง

1. ขลุยรีคอรเดอรจัดอยูใ นเครื่องดนตรีประเภทใด..............................................................................
2. ขลุยรีคอรเดอรมีทั้งสิ้น...................ชนิด
3. ขลุยรีคอรเดอรชนิดที่นยิ มใชคือ.....................................................................................................
4. ดานบนของ ขลุยรีคอรเดอร จะมีรูทั้งสิ้น.......................รู
5. ดานลางของ ขลุยรีคอรเดอร จะมีรูทั้งสิ้น.......................รู
6. การเปาขลุยรีคอรเดอรใหมีเสียงที่ไพเราะ มีหลักการปลอยลมคือ..................................................
7. ในการเปาขลุยรีคอรเดอรควรนั่งในทา...........................................................................................
8. ในการจับขลุยรีคอรเดอรมีวิธีการจับคือ.........................................................................................
9. ในการจับขลุยรีคอรเดอรมิใหหลน มีวิธคี ือ....................................................................................
10. การเปาขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธีคือ..................................................................................................
ใบเฉลยชุดที่ 6 เรื่องวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนเติมคําตอบใหถูกตอง

1. ขลุยรีคอรเดอรจัดอยูในเครื่องดนตรีประเภทใด เครื่องเปาลมไม
2. ขลุยรีคอรเดอรมีทั้งสิ้น 5 ชนิด
3. ขลุยรีคอรเดอรชนิดที่นิยมใชคือ Soprano Recorder
4. ดานบนของ ขลุยรีคอรเดอร จะมีรูทั้งสิ้น 7 รู
5. ดานลางของ ขลุยรีคอรเดอร จะมีรูทั้งสิ้น 1 รู
6. การเปาขลุยรีคอรเดอรใหมีเสียงที่ไพเราะ มีหลักการปลอยลมคือ เปาลมออกมาเบาๆ ประคอง
ลมใหสม่ําเสมอ
7. ในการเปาขลุยรีคอรเดอรควรนั่งในทา นั่งเปนธรรมชาติ ไมเกร็ง
8. ในการจับขลุยรีคอรเดอรมีวิธีการจับคือ มือซายอยูบน มือขวาอยูลาง
9. ในการจับขลุยรีคอรเดอรมิใหหลน มีหลักคือ ใชนิ้วหัวแมมือของมือขวารับน้ําหนักของขลุย
10. การเปาขลุยรีคอรเดอรที่ถูกวิธีคือ คอยๆปลอยลมออกมาเบาๆ อยางผอนคลาย
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี)ชุดที7่ การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียงCเมเจอรเวลา 2ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. เปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร ขาขึ้นไดถูกตอง
2. เปาขลุยรีคอรเดอร ในบันไดเสียง C เมเจอร ขาลงไดถูกตอง
สาระการเรียนรู
การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอรที่ถูกวิธี
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียน ในเรื่องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกับวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
2. ใหนักเรียนแบงกลุม จํานวนกลุมละ 4 – 5 คน ใหแตละกลุมอานบัตรคําสั่งที่ครูแจกให
3. ครูแจกใบความรูเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร ใหแตละ
กลุมศึกษาอยางละเอียด
4. ใหนักเรียนดูวีดิทัศนเกี่ยวกับ การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร ใหแต
ละกลุมศึกษาอยางละเอียด
5. ครูแจกใบงานเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร และใหแตละกลุม
ปฏิบัติตามใบงาน
6. ใหนักเรียนแตละกลุม ตรวจใบงานจากใบเฉลยเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอร ในบันได
เสียง C เมเจอร ตามที่ครูแจกให
7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายในสิ่งที่เรียน พรอมกับชวยกันสรุปเรื่อง การเปา
ขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร
สื่อการเรียนรู
1. ขลุยรีคอรเดอร
2. ใบความรูเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร
3. ใบงานเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร
4. ใบเฉลยเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร
5. วีดิทัศนเรื่อง วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน

.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบนั ทึก
(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 7

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหแตละกลุมเลือกประธาน รองประธาน และเลขานุการ อยางละ 1 คน
3. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลวใหประธานกลุมนําสงครู
4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูที่ครูแจกให
5. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงาน
6. นักเรียนแตละกลุมตรวจใบงาน
7. นักเรียนทุกกลุมอภิปรายและชวยกันสรุปการเรียนเรือ่ ง การเปาขลุยรีคอรเดอร
ในบันไดเสียง C เมเจอร
ใบความรูที่ 1
ชุดที่ 7 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร

บันไดเสียง C เมเจอร (C Major)

ประกอบไปดวยโนต 7 ชื่อ 8 เสียง ที่นํามาเรียงลําดับจากต่ําไปหาสูง หรือจากสูงลงไป


หาต่ํา ดังนี้ คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด หรือ โด ที ลา ซอล ฟา มี เร โด และในบันไดเสียง
C เมเจอรนี้ โนตแตละตัวจะมีระยะความหางของเสียงแตกตางกันที่ระดับหนึ่งเสียงเต็ม กับระดับ
ครึ่งเสียง ดังตอไปนี้คือ ระยะที่ 3 – 4 กับ 7 – 8 จะมีระยะหางของเสียงอยูที่ครึ่งเสียง สวนโนต
ระยะที่ 1 – 2, 2 – 3, 4 – 5, 5 – 6, 6 – 7 จะมีความหางของเสียงอยูที่ หนึ่งเสียงเต็ม ตามตัวอยาง
ตอไปนี้
การไลโนตในบันไดเสียง C เมเจอร ขาขึ้น

การไลโนตในบันไดเสียง C เมเจอร ขาลง

หมายถึง เครื่องหมายแทนหนึ่งเสียงเต็ม

หมายถึง เครื่องหมายแทนครึ่งเสียง
ใบความรูที่ 2
ชุดที่ 7 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร

วิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร
1. จับขลุยรีคอรเดอร ในลักษณะพรอมที่จะเปา โดยมือซายจับทอนบน มือขวาจับทอน
ลาง จะเปนพื้นฐานในการฝกจับเครื่องดนตรี ไมทําใหเครื่องดนตรีอยูในวงแคบ อันที่จริงจะจับสลับ
มือกันก็ไดโดยไมมีขอหามแตใหเปนไปตามความถนัดเปนสําคัญ
2. นําสวนบนของขลุยรีคอรเดอรบริเวณปากนกแกว วางไวบริเวณริมฝปากปดปาก
บนลง
3. เปาลมออกมาเบาๆ ประคองลมใหสม่ําเสมอผานทอรีคอรเดอรจะเสียงทู หากเปาลม
ออกมาแรงเกินไปและประคองลมไมไดเสียงที่ออกมาจะแหลมสูงไมไดยินเสียงทู
4. ใชนิ้วปดทีรูของขลุยรีคอรเดอร ใหสนิทเวลาเปาจะไดเสียงตามโนตตัวที่ตองการ

การวางนิ้วขลุย รีคอรเดอรตามโนตในบันใดเสียง C เมเจอร

โนตตัว ที ( B ) ใชนิ้วชี้ ของมือซายปดรูที่ 1และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง (ตามรูปที่ 1 การ


วางนิ้วโนตตัวที)

โนตตัว ลา ( A ) ใชนิ้วชี้, กลางของมือซายปดรูที่ 1,2 และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง (ตามรูป


ที่ 2 การวางนิ้วโนตตัวลา)

โนตตัว ซอล ( G ) ใชนิ้วชี้, กลาง, นางของมือซายปดรูที่ 1,2,3 และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง (ตาม


รูปที่ 3 การวางนิ้วโนตตัวซอล)
โนตตัว ฟา ( F ) ใชนิ้วชี้, กลาง, นางของมือซายปดรูที่ 1,2,3 และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง
(เชนเดียวกับการวางนิ้วโนตตัว ซอล) และใชนิ้วชี้ ของมือขวาปดรูที่ 1 ของมือขวา (ตามรูปที่ 3 การ
วางนิ้วโนตตัวฟา)

โนตตัว มี ( E ) ใชนิ้วชี้, กลาง, นางของมือซายปดรูที่ 1,2,3 และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง


(เชนเดียวกับการวางนิ้วโนตตัว ซอล) และใชนิ้วชี้, กลาง ของมือขวาปดรูที่ 1,2 ของมือขวา (ตามรูป
ที่ 4 การวางนิ้วโนตตัวมี)

โนตตัว เร ( D ) ใชนิ้วชี้, กลาง, นางของมือซายปดรูที่ 1,2,3 และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง


(เชนเดียวกับการวางนิ้วโนตตัว ซอล) และใชนิ้วชี้, กลาง, นาง ของมือขวาปดรูที่ 1,2,3 ของมือขวา
(ตามรูปที่ 5 การวางนิ้วโนตตัวเร)

โนตตัว โด ( C ) ใชนิ้วชี้, กลาง, นางของมือซายปดรูที่ 1,2,3 และนิ้วหัวแมมือปดรูดานลาง


(เชนเดียวกับการวางนิ้วโนตตัว ซอล) และใชนิ้วชี้, กลาง, นาง,กอย ของมือขวาปดรูที่ 1,2,3,4 ของ
มือขวา (ตามรูปที่ 6 การวางนิ้วโนตตัวโด)

โนตตัว โดสูง ( C ) ใชนิ้วกลางของมือซายปดรูที่ 2 และนิ้วหัวแมมือของมือซายปดรูดานลาง (ตาม


รูปที่ 7 การวางนิ้วโนตตัวโดสูง)
ใบงานที่ 1
ชุดที่ 7 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร

ใบงานชุดที่ 7 เรื่องการเปาขลุย รีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................
การเปาขลุยรีคอรเดอรโนต ที (B) ลา (A) ซอล (G)
แบบฝกที่ 1

แบบฝกที่ 2

การเปาขลุย Recorderโนต โดสูง (C)


การเปาขลุยรีคอรเดอรโนต โดสูง (C)
แบบฝกที่ 3

การเปาขลุยรีคอรเดอรโนต ฟา (F)
แบบฝกที่ 4
การเปาขลุยรีคอรเดอรโนต มี (E) เร (D) โดต่ํา (C)
แบบฝกที่ 5

แบบฝกที่ 6

การเปาขลุยรีคอรเดอรโนต โด(ต่ํา) – โด(สูง)


แบบฝกที่ 7

แบบฝกที่ 8

ใบงานที่ 2
ชุดที่ 7 เรื่อง การเปาขลุย Recorder ในบันไดเสียง C เมเจอร
ใบงานชุดที่ 7 เรื่องการเปาขลุย รีคอรเดอรในบันไดเสียง C เมเจอร วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน ใหแตละกลุม อภิปรายและตอบคําถาม


ดังนี้

ใหนกั เรียนบอกวิธีการบํารุงรักษา และทําความสะอาดขลุยรีคอรเดอรมา 5 ขอ


1. ........................................................................................................
2. ........................................................................................................
3. ........................................................................................................
4. ........................................................................................................
5. ........................................................................................................

...............................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ดนตรี) ชุดที่ 8 การเปารีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด เวลา 2 ชั่วโมง
วันที่ เวลา ชวงชั้นที่ 2 ปการศึกษา 2551

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ศ 2.1 : เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
วิจารณ คุณคาทางดนตรี ถายทอดความรูสึกความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกอัตราจังหวะเพลงทีก่ ําหนดไดถูกตอง
2. อานโนตเพลงที่กําหนดไดถูกตองตามทํานองและจังหวะ
3. เปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนดไดถูกตองตามทํานองและจังหวะ
สาระการเรียนรู
1. อัตราจังหวะเพลง
2. การอานโนตเพลงที่กําหนด
3. การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด
กิจกรรมการเรียนรู
1. ครูสนทนากับนักเรียน ในเรื่องที่เรียนมาแลวเกี่ยวกับวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอรใน
บันไดเสียง C เมเจอร
2. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด
3. ใหนักเรียนแบงกลุม จํานวนกลุมละ 4 – 5 คน ใหแตละกลุมอานบัตรคําสั่งที่ครูแจกให
4. ใหนักเรียนดูวีดิทัศนเกี่ยวกับ การเปาขลุยรีคอรเดอรเปนบทเพลงตามอัตราจังหวะ
และทํานอง ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาจาก วีดิทัศนอยางละเอียด
5. ครูแจกใบความรูเกี่ยวกับ การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด เกี่ยวกับอัตรา
จังหวะและทํานองของเพลงใหแตละกลุมศึกษาอยางละเอียด
6. ครูแจกใบงานเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด (เพลงขอเปนเพื่อน)
และใหแตละกลุมปฏิบัติตามใบงาน
7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายในสิ่งที่เรียน พรอมกับชวยกันสรุป เรื่องการเปา
ขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด (เพลงขอเปนเพื่อน)
สื่อการเรียนรู
1. ขลุยรีคอรเดอร
2. ใบความรูเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด
3. ใบงานเรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด (เพลงขอเปนเพื่อน)
4. วีดิทัศนเกี่ยวกับวิธีการเปาขลุยรีคอรเดอร เปนบทเพลงตามอัตราจังหวะและทํานอง
5. โนตเพลง ขอเปนเพื่อน
6. เทปเพลง ขอเปนเพื่อน
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกิจกรรม และความสนใจ
2. ตรวจใบงานและแบบทดสอบกอนเรียน - หลังเรียน

บันทึกหลังการสอน

............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ......................................................ผูบนั ทึก
(.......................................................)
บัตรคําสัง่ ชุดที่ 8

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน
2. ใหนกั เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เรือ่ ง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่
กําหนด
3. ใหแตละกลุมเลือกประธาน รองประธาน และเลขานุการ อยางละ 1 คน
4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูที่ครูแจกให
5. นักเรียนทุกกลุมปฏิบัติตามใบงาน
6. นักเรียนทุกกลุมอภิปรายและชวยกันสรุปการเรียนเรือ่ ง การเปาขลุยรีคอรเดอร
ตามเพลงที่กําหนด
ใบความรูที่ 1
ชุดที่ 8 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด

ในการบรรเลงดนตรี หากตองการใหเกิดความสมบูรณและไพเราะนั้น สิ่งที่สําคัญที่สุด


ก็คือองคประกอบทางดนตรี ซึ่งประกอบไปสวนสวนสําคัญๆตางๆดังนี้

องคประกอบทางดนตรี หมายถึง รายละเอียดทางดนตรีตางๆ ที่นํามาประกอบกันเปน


บทเพลง ทําใหบทเพลงมีความสมบูรณ เกิดความไพเราะ ดังนั้นเราจึงตองเรียนรูถึงองคประกอบ
ของดนตรี เพื่อสรางความเขาใจในบทเพลงตางๆไดดียิ่งขึ้น ซึ่งองคประกอบทางดนตรีที่ควรเรียนรู
มีดังนี้

จังหวะ เปนตัวกําหนดความชา – เร็วของเพลงซึ่งขึ้นอยูกับผูประพันธเพลงวาจะใหมี


ลักษณะเสียงสั้น – ยาวมาเรียบเรียงใหเกิดจังหวะชา – เร็วอยางไร

ทํานอง เปนการนําเอาเสียงของดนตรีที่มีทั้งระดับเสียงสูง และระดับเสียงต่ํามาเรียบ


เรียงใหมใหอยูในแนวระดับสูงขึ้นและต่ําลงตามที่ผูประพันธเพลงตองการ

การประสานเสียง เปนการบรรเลงดนตรีไปพรอมกัน หรือการบรรเลงเครื่องดนตรี


รวมกัน ซึ่งการประสานเสียง จะตองเปนไปในทิศทางเดียวกัน สอดคลองกลมกลืนกัน ฟงแลวไม
ขัดหู บทเพลงจึงจะมีความไพเราะ

รูปแบบ เปนโครงสรางของบทเพลง ซึ่งไดจัดวรรคเพลง วลีเพลง ประโยคเพลง การซ้ํา


และการเปลี่ยนทํานองเพลงตามความตองการของผูประพันธ
ใบความรูที่ 2
ชุดที่ 8 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด (เพลง ขอเปนเพื่อน)

เพลงขอเปนเพื่อน เปนบทเพลงที่ประกอบดวยโนตในบันไดเสียง C เมเจอร ครบทุกตัว


แตมีจังหวะและทํานองที่ไมเหมือนโนตบันไดเสียง เพราะบทเพลงขอเปนเพื่อนจะมีจังหวะทํานอง
ที่เคลื่อนที่ โนตแตละตําแหนงวางสลับที่กัน ซึ่งตางจากโนตในบันไดเสียงที่เรียงลําดับขึ้นและ
เรียงลําดับลง และในบทเพลงนี้เปนบทเพลงที่พิสูจนความสามารถของผูเรียนเบื้องตนระดับหนึ่ง
คือ เปนการใชนิ้วมือปดเปดรูรีคอรเดอรในตําแหนงที่สลับกันไปสลับกันมาครบโนตในบันไดเสียง
C เมเจอร ที่มีดวยกันทั้งหมด 8 ตัว ดังแบบฝกและบทเพลงตอไปนี้
เพลง ขอเปนเพื่อน
ทํานอง Rasa Sayang เนื้อรอง วิชัย นอยเสนีย
ใบงานชุดที่ 8 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2
โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 4 – 5 คน ใหแตละกลุมฝกปฏิบัติงานดังนี้

1. ฝกอานโนตตามทํานองเพลงจากเทปเพลงขอเปนเพื่อน
2. ฝกการเคาะจังหวะใหตรงกับทํานองเพลงขอเปนเพื่อน
3. ฝกการเปาขลุยรีคอรเดอรเพลงขอเปนเพื่อน (รายบุคคล)
4. ฝกการเปาขลุยรีคอรเดอรเพลงขอเปนเพื่อน (รายกลุม)
5. สรุปและอภิปรายเกี่ยวกับ
- อัตราจังหวะเพลงขอเปนเพื่อน
- ทํานองเพลงขอเปนเพื่อน

.............................................................................................................................................................
แบบทดสอบกอน – หลังเรียน

ชุดการสอนที่ 8 เรื่อง การเปาขลุยรีคอรเดอรตามเพลงที่กําหนด วิชาดนตรี ชวงชั้นที่ 2


โรงเรียนโชคชัย ภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2551
.............................................................................................................................................................

จงเลือกคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขอใดคืออัตราจังหวะของเพลงขอเปนเพื่อน
ก. ข.
ค. ง.

2. ในหนึ่งหองเพลงของเพลงขอเปนเพื่อน จะมีไดทั้งสิ้นกี่จังหวะ
ก. 4 จังหวะ ข. 3 จังหวะ
ค. 2 จังหวะ ง. 1 จังหวะ

3. กุญแจประจําหลักของเพลงขอเปนเพื่อนมีชื่อเรียกวาอยางไร
ก. กุญแจ โด เทเนอร ข. กุญแจ โด อัลโค
ค. กุญแจ ฟา ง. กุญแจ ซอล

4. ในเพลงขอเปนเพื่อน โนตตัวใดมีระดับเสียงสูงที่สุด
ก. F ข. E
ค. D ง. C

5. เพลงขอเปนเพื่อน มีทํานองอยางไร
ก. ชา ข. สนุกสนาน
ค. เศรา ง. ออนหวาน

.............................................................................................................................................................
แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียน
เรื่อง ดนตรีสากลเบื้องตน

คําชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้มี 40 ขอ ใชเวลา 30 นาที


2. ใหนกั เรียนทําเครือ่ งหมายกากบาท × ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง
หนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

ชื่อ.....................................................................ชั้น..........เลขที่..........โรงเรียนโชคชัย

แบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียน
เรื่อง ดนตรีสากลเบื้องตน

คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท × ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง


คําตอบเดียว

1. โนตในขอใดมีคา 2 จังหวะ
ก. ข. ค. ง.

2. โนตตัวกลม ( ) มีคามากกวาโนตตัวดํา ( ) กี่จังหวะ


ก. 1 จังหวะ ข. 2 จังหวะ ค. 3 จังหวะ ง. 4 จังหวะ

3. อัตราจังหวะของโนตตัวดํา ( ) 2 ตัว และโนตตัวขาว ( ) 1 ตัว รวมกันมีคากี่จังหวะ


ก. 1 จังหวะ ข. 2 จังหวะ ค. 3 จังหวะ ง. 4 จังหวะ

4. ในขอใดมีคารวมกันเทากับ 5 จังหวะ
ก. ตัวดํา 1 ตัว ตัวขาว 1 ตัว ข. ตัวขาว 1 ตัว ตัวดํา 2 ตัว
ค. ตัวขาว 2 ตัว ตัวดํา 1 ตัว ง. ตัวดํา 3 ตัว ตัวขาว 2 ตัว
5. กลุมโนตในขอใดมีคารวมกันเทากับ 7 จังหวะ
ก. ข.

ค. ง.

6. จากกลุมโนต ( ) มีคากี่จังหวะ
ก. 6 จังหวะ ข. 7 จังหวะ ค. 8 จังหวะ ง. 9 จังหวะ

7. สัญลักษณที่ทําใหการเลนเพลงหยุดเสียงลงชั่วขณะคือสัญลักษณตวั ใด
ก. ตัวกลม ข. ตัวขาว ค. ตัวดํา ง. ตัวหยุด

8. สัญลักษณในขอใดแทนการหยุดของโนตตัวดํา
ก. ข.
ง.
ค. ง. ง

9. สัญลักษณในขอใดมีคาในการหยุดมากที่สุด
ก. ข. ค. ง.

10. โนตตัวขาว ( ) มีเครื่องหมายหยุดตรงกับขอใด


ก. ข. ค. ข. ง. ค. ง.

11. สัญลักษณตอไปนี้ มีคาในการหยุดกี่จังหวะ


ก. 4 จังหวะ ข. 3 จังหวะ ค. 2 จังหวะ ง. 1 จังหวะ

12. ขอใดมีคารวมกันเทากับ 6 จังหวะ


ก. ข.

ค. ง.
13. ขอใดคือลักษณะของกุญแจซอล
ก. ข. ค. ง.

14. จากทฤษฎีดนตรีสากล หัวของกุญแจซอล ( ) จะอยูในตําแหนงใดบนบรรทัด 5 เสน


ก. ระหวางเสนที่ 2 กับเสนที่ 3 ข. บนเสนที่ 2
ค. ระหวางเสนที่ 1 กับเสนที่ 2 ง. บนเสนที่ 1

15. กุญแจซอล ( ) มีหนาที่อยางไร


ก. กําหนดจังหวะ ชา – เร็ว ของบทเพลง
ข. กําหนดตําแหนงของตัวโนตบนบรรทัด 5 เสน
ค. กําหนดความ สั้น – ยาว ของตัวโนต
ง. กําหนดความ ดัง – เบา ของบทเพลง

16. บรรทัด 5 เสนมีชองทั้งหมดกี่ชอง


ก. 6 ชอง ข. 5 ชอง ค. 4 ชอง ง. 3 ชอง

17. เสนเล็กๆที่อยูในบรรทัด 5 เสน มีชื่อเรียกวาอยางไร


ก. เสนเล็ก ข. เสนนอย ค. เสนใต ง. เสนลาง

18. การบันทึกโนตลงบรรทัด 5 เสน ควรคํานึงถึงสิ่งใดเปนอันดับแรก


ก. กุญแจประจําหลัก ข. จังหวะของตัวโนต
ค. ทํานองของตัวโนต ง. เสียงของตัวโนต

19. อักษรดนตรีระบบอังกฤษตัวใด ใชแทนเสียงโนตตัว ลา


ก. D ข. E ค. F ง. A

20. อักษร D คืออักษรประจําเสียงโนตเสียงใด


ก. มี ข. โด ค. เร ง. ฟา

21. อักษรดนตรี B A G D อานออกเสียงโนตไดอยางไร


ก. เร ซอล ลา ที ข. ซอล ลา ที เร
ค. ลา ที เร ซอล ง. ที ลา ซอล เร
22. อักษรดนตรีในขอใดใชแทนตัวโนต ฟา ลา ซอล ที
ก. F A G B ข. A G B F
ค. G B F A ง. B F A G

23. โนตในขอใดเรียงลําดับจากต่ําไปหาสูงไดถูกตอง
ก. D F E G B ข. C B A G F
ค. C D E F G ง. G F E D C

24. โนตในขอใดเรียงลําดับจากสูงไปหาต่าํ ไดถูกตอง


ก. D F E G B ข. C B A G F
ค. C D E F G ง. G F E D C

25. ในบันไดเสียงตอไปนี้ โนตเสียงใดที่หายไป C E F B


ก. E A B C ข. D G A C
ค. C E F G ง. D E B C

26. ขอใดอานชื่อเครื่องหมายกําหนดจังหวะ ไดถูกตอง


ก. สองสวนสี่ ข. สองตอสี่ ค. เศษสองสวนสี่ ง. สองสี่

27. เครื่องหมายกําหนดจังหวะ เลขตัวบนหมายความวาอยางไร

ก. ในหนึ่งหองเพลงมีสองจังหวะ
ข. ใหหนึ่งหองเพลงมีโนตสองตัว
ค. ในหนึ่งหองเพลงมีกุญแจประจําหลักสองตัว
ง. ในหนึ่งหองเพลงมีโนตตัวดําสองตัว

28. จังหวะ หมายถึงใน 1 หองเพลงจะมีไดกี่จังหวะ


ก. 5 จังหวะ ข. 4 จังหวะ ค. 3 จังหวะ ง. 2 จังหวะ
29. โนตชุดที่เห็นนี้มกี ี่จังหวะใน 1 หองเพลง

ก. 4 จังหวะ ข. 3 จังหวะ ค. 2 จังหวะ ง. 1 จังหวะ

30. โนตชุดที่เห็นนี้ ใน 1 หองเพลง ควรมีกี่จังหวะ

ก. 1 จังหวะ ข. 2 จังหวะ ค. 3 จังหวะ ง. 4 จังหวะ

31. ขลุยรีคอรเดอรจัดอยูใ นเครื่องดนตรีประเภทใด


ก. เครื่องลมไม ข. เครื่องลมทองเหลือง
ค. เครื่องเคาะจังหวะ ง. เครื่องสาย

32. ขลุยรีคอรเดอรที่นิยมใชกันในปจจุบนั คือชนิดใด


ก. Tenor Recorder ข. Alto Recorder
ค. Soprano recorder ง. Sopranino Recorder

33. การจับขลุยรีคอรเดอรควรปฏิบัติอยางไร
ก. มือซายอยูบน มือขวาอยูลาง ข. มือขวาอยูบ น มือซายอยูล าง
ค. มือขวาหรือมือซายอยูไหนก็ได ง. ไมมีขอใดถูก

34. การนั่งเปาขลุยรีคอรเดอรควรปฏิบัติอยางไร
ก. นั่งเปนธรรมชาติ ไมเกร็ง ข. นั่งยองๆ
ค. นั่งคุกเขา ง. นั่งสมาธิ

35. ขอใดไมใช วิธีการบํารุงรักษาขลุยรีคอรเดอร


ก. นําขลุยไปวางตากแดดเพื่อฆาเชือ้ โรค
ข. ทําความสะอาดขลุย ทุกครั้งหลังใชเสร็จ
ค. หลังใชขลุยแลวจะวางไวที่ไหนก็ได
ง. ใชผาชุบแอลกอฮอลเช็ดขลุยหลังใชเสร็จ
36. จากภาพเปนการวางนิ้วขลุยรีคอรเดอรของโนตเสียงใด

ก. ก. ข.

ค. ง.

37. โนตเสียง ลา ควรวางนิว้ บนขลุยรีคอรเดอรอยางไร

ก. ข. ค. ง.

38. กุญแจประจําหลักของเพลงขอเปนเพื่อนมีชื่อเรียกวาอยางไร
ก. กุญแจ โด เทเนอร ข. กุญแจ โด อัลโค
ค. กุญแจ ฟา ง. กุญแจ ซอล

39. ขอใดคืออัตราจังหวะของเพลงขอเปนเพื่อน
ก. ข.
ค. ง.

40 เพลงขอเปนเพื่อน มีทํานองอยางไร
ก. ชา ข. สนุกสนาน
ค. เศรา ง. ออนหวาน
ภาคผนวก ข

ผลการวิเคราะห
ผลการวิเคราะหแบบทดสอบวัดความรู เรื่อง ดนตรีสากลเบื้องตน
ผลคะแนนทําแบบฝกหัดระหวางเรียนจากชุดการสอน
ผลการวิเคราะหผลการวิจยั
ผลการวิเคราะหแบบทดสอบวัดความรูเรื่อง ดนตรีสากลเบื้องตน
ตารางแสดงผลคะแนน การตรวจสอบของแบบทดสอบวัดความรู

ขอสอบ คะแนนความเห็นของผูเชี่ยวชาญ คา


รวม
ขอที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 IOC
1 +1 +1 +1 3 1.00
2 +1 +1 +1 3 1.00
3 +1 +1 +1 3 1.00
4 +1 +1 +1 3 1.00
5 +1 +1 +1 3 1.00
6 +1 +1 +1 3 1.00
7 +1 +1 +1 3 1.00
8 +1 +1 +1 3 1.00
9 +1 +1 +1 3 1.00
10 +1 +1 +1 3 1.00
11 +1 +1 +1 3 1.00
12 +1 +1 +1 3 1.00
13 +1 +1 +1 3 1.00
14 +1 +1 +1 3 1.00
15 +1 +1 +1 3 1.00
16 +1 +1 +1 3 1.00
17 +1 +1 +1 3 1.00
18 +1 +1 +1 3 1.00
19 +1 +1 +1 3 1.00
20 +1 +1 +1 3 1.00
21 +1 +1 +1 3 1.00
22 +1 +1 +1 3 1.00
23 +1 +1 +1 3 1.00
24 +1 +1 +1 3 1.00
25 +1 +1 +1 3 1.00
ตารางแสดงผลคะแนน การตรวจสอบของแบบทดสอบวัดความรู

ขอสอบ คะแนนความเห็นของผูเชี่ยวชาญ คา


รวม
ขอที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 IOC
26 +1 +1 +1 3 1.00
27 +1 +1 +1 3 1.00
28 +1 +1 +1 3 1.00
29 +1 +1 +1 3 1.00
30 +1 +1 +1 3 1.00
31 +1 +1 0 2 0.67
32 +1 0 +1 2 0.67
33 +1 +1 +1 3 1.00
34 +1 +1 +1 3 1.00
35 +1 0 +1 2 0.67
36 +1 +1 +1 3 1.00
37 +1 +1 +1 3 1.00
38 +1 +1 +1 3 1.00
39 +1 +1 +1 3 1.00
40 +1 +1 +1 3 1.00
ผลคะแนนทําแบบฝกหัดระหวางเรียนจากชุดการสอน
คะแนนทําแบบฝกหัดระหวางเรียนจากชุดการสอน

ชุดที่ 1 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 6 ชุดที่ 7 รวมคะแนน


เลขที่
(10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (50 คะแนน)
1 7 7 9 8 8 39
2 7 7 7 8 8 37
3 7 7 9 7 8 38
4 9 6 9 10 9 43
5 7 8 8 10 9 42
6 10 6 10 10 9 45
7 8 6 9 10 9 42
8 8 8 10 9 9 44
9 8 8 8 9 8 41
10 8 8 8 9 9 42
11 7 8 7 8 9 39
12 6 6 10 10 9 41
13 7 6 9 10 10 42
14 10 6 10 10 9 45
15 9 7 8 10 9 43
16 6 6 6 9 7 34
17 8 8 6 9 9 40
18 8 7 7 8 8 38
19 7 7 7 10 8 39
20 9 6 6 9 9 39
21 8 7 9 8 9 41
22 8 6 10 10 8 42
23 8 9 7 9 9 42
24 10 6 9 10 9 44
25 6 8 8 9 8 39
คะแนนทําแบบฝกหัดระหวางเรียนจากชุดการสอน

เลขที่ ชุดที่ 1 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ชุดที่ 6 ชุดที่ 7 รวมคะแนน


(10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (50 คะแนน)
26 8 7 7 10 9 41
27 6 7 7 10 9 39
28 6 7 7 9 7 36
29 10 6 6 10 9 41
30 10 6 7 8 8 39
31 6 6 9 10 9 40
32 9 6 6 10 8 39
33 9 6 6 9 9 39
รวม 260 225 261 305 284 1335
รอย 78.79 68.18 79.09 92.42 86.06 80.91
ละ
ผลการวิเคราะหผลการวิจยั
ภาคผนวก ค

แบบประเมินชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
แบบประเมินชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
แบบประเมินชุดการสอนดนตรีสากลเบื้องตน
กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ (ดนตรี)

คําชี้แจง 1. แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรูนใี้ ชสําหรับผูเชี่ยวชาญ


2. โปรดกาเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน
มากที่สุด ซึ่งระดับคุณภาพมี 5 ระดับ ดังนี้
5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากทีส่ ุด
4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก
3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมนอย
1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมนอยทีส่ ุด

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1. คูมือครู
1.1 ความชัดเจน
1.2 ความสมบูรณครบถวน
2. แผนการจัดการเรียนรู
2.1 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง / วัตถุประสงค
2.2 สาระการเรียนรูที่เหมาะสม
3. กิจกรรมการเรียนรู
3.1 เนนผูเรียนเปนสําคัญ
3.2 กิจกรรมนําไปสูการบรรลุวัตถุประสงค
4. สื่อ / อุปกรณ
4.1 สอดคลองกับวัตถุประสงค
4.2 เราความสนใจผูเรียน
4.3 นําไปสูการบรรลุวัตถุประสงค
4.4 ชวยใหเกิดการเรียนรูเร็วขึ้น
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
5. ดานการวัดผล / ประเมินผลการเรียนรู
5.1 การประเมินครอบคลุมจุดประสงคการ
เรียนรู
5.2 ประเมินผูเรียนตามสภาพจริง
5.3 สามารถนํามาใชไดจริง

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................ผูประเมิน
(.....................................................)
ตําแหนง..................................................................
........../..................../...............
ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นายภาสันต เพชรสุภา


วันเดือนปเกิด 5 ธันวาคม พ.ศ. 2524
สถานที่เกิด อ. เมือง จ.ชุมพร
ที่อยู 20/1 หมู 1 ตําบล บางหมาก
อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000
ตําแหนง ครูประจําวิชาดนตรีสากลโรงเรียนโชคชัย
สถานที่ทํางาน โรงเรียนโชคชัย (ลาดพราว) แขวงลาดพราว
เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2547 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาดนตรีศึกษา (สากล)
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
พ.ศ. 2552 หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการการเรียนรู
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

You might also like